แบบ สผ. 6 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ชื่อโครงการ โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ที่ตั้งโครงการ ตำบลเกาะกลาง และตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ชื่อเจ้าของโครงการ กรมทางหลวงชนบท ที่อยู่เจ้าของโครงการ เลขที่ 9 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 การมอบอำนาจ ( ) เจ้าของโครงการได้มอบอำนาจให้บริษัท พรี ดีเวลลอปเมนท์ คอนซัลแตนท์ จำกัด เป็นผู้ดำเนินการเสนอรายงานดังหนังสือมอบอำนาจที่แนบมา (✓ ) เจ้าของโครงการมิได้มีการมอบอำนาจแต่อย่างใด จัดทำโดย บริษัท พรี ดีเวลลอปเมนท์ คอนซัลแตนท์ จำกัด แบบ สผ. 9 แบบแสดงรายละเอียดการเสนอรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม --------------------------------------- ชื่อโครงการ โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ที่ตั้งโครงการ ตำบลเกาะกลาง และตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ชื่อเจ้าของโครงการ กรมทางหลวงชนบท เหตุผลในการเสนอรายงาน ( ✓) เป็นโครงการเข้าข่ายต้องจัดทำรายงานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจ การ หรือ การดำเนิ น การ ซึ่ งต้ องจัด ทำรายงานการประเมิ น ผลกระทบ สิ่ ง แวดล้ อ ม และหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขในการจั ด ทำรายงานการประเมิ น ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม สำหรับโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการประเภททางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมาย ตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ห้ามล่าสัตว์ป่า และอยู่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตร ห่างจากระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ ( ✓) เป็นโครงการที่จัดทำรายงานเนื่องจากมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี (เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และ 17 ตุลาคม 2543) และอยู่ ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตร ห่างจากระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ ( ✓) อื่นๆ (ระบุ) อยู่ในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม เรื่อง กำหนดเขตพื้ น ที่ และมาตรการคุ้มครองสิ่ งแวดล้ อมในท้ องที่ อำเภออ่ าวลึ ก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประกาศ ณ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2559 การขออนุมัติ/อนุญาตโครงการ ( ) รายงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการขออนุมัติ/อนุญาตจาก (ระบุชื่อหน่วยงานผู้ให้อนุมัติ/อนุญาต) กำหนดโดย พ.ร.บ. มาตรา/ประเภทที่/ข้อ/ลำดับที่ ( ✓) รายงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ( ) รายงานนี้เป็นโครงการที่ไม่ต้องยื่นขอรับอนุญาตจากหน่วยงานราชการและไม่ต้องขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ( ) รายงานนี้เป็นโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการด้าน (ระบุ) ที่มีความจำเป็นเร่งด่วนเพี่อประโยชน์สาธารณะ ตามมาตรา 49 วรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 ( ) อื่นๆ (ระบุ) สถานภาพโครงการตามขั้นตอนการเสนอรายงาน (ระบุได้มากกว่า 1 ข้อ) (✓ ) ยังไม่ได้ก่อสร้าง/ดำเนินโครงการ ( ) เริ่มก่อสร้างโครงการแล้ว (พร้อมระบุวันที่ และรายละเอียดโดยสังเขป และคำสั่งทางปกครอง (ถ้ามี)) ( ) เปิดดำเนินโครงการแล้ว ( ) อื่นๆ (ระบุ) สถานภาพโครงการนี้รายงานเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 สำเนาหนังสือเห็นชอบ สผ. ที่ ทส 1010.4/5139 ลงวันที่ 15 มีนาคม 2565 สำเนาหนังสือเห็นชอบ กกวล. ที่ ทส (กกวล) 1008/ว2012 ลงวันที่ 30 มกราคม 2566 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สรุปข้อมูลรายละเอียดโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ข้อมูลแนวเส้นทางโครงการ รายละเอียดโครงการ จุดเริ่มต้นโครงการ กม.0+000 เชื่อมต่อกลับทางหลวงหมายเลข 4206 (กม.26+620) บริเวณบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จุดสิ้นสุดโครงการ กม.2+527 เชื่อมต่อกับทางหลวงชนบท กบ.5035 บริเวณบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ในพื้นที่ตำบล เกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ระยะทาง 2.527 กิโลเมตร เขตความรับผิดชอบ แขวงทางหลวงชนบทกระบี่ เขตทางปัจจุบัน ทางหลวงหมายเลข 4206 เขตทาง 30 เมตร ทางหลวงชนบท กบ.5035 เขตทาง 30 เมตร มาตรฐานการออกแบบ มาตรฐานการออกแบบของกรมทางหลวงชนบท และมาตรฐานสากลอื่นๆ ได้แก่ - AASHTO Guide Specification for LRFD Seismic Bridge Design 2nd Edition, 201 - วสท. มาตรฐานต่าง ๆ ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย - มยผ.1301/1302-61 มาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของ แผ่นดินไหว (กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย) รูปแบบโครงการ 1. โครงสร้างสะพานคานขึง - ก่อสร้างตอม่อ P16- P19 จำนวนรวม 4 ต่อม่อ ช่วง กม.0+572 - กม.1+012 ระยะทาง 440 เมตร ออกแบบเป็นสะพานคานขึง ความสูงช่องลอด 15.40 เมตร จากระดับน้ำขึ้นสูงสุดเฉลี่ย โดยฐานรากสะพานใช้เสาเข็มเจาะหน้าตัดกลม (Bored Piles) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เมตร จำนวน 12 ต้น/ฐานราก สำหรับเสาตอม่อ P16 และเสาตอม่อ P19 ในขณะที่เสาสูงของสะพาน คานขึง (Pylon Pier) คือ P17 และ P18 ที่เป็นเสาตอม่อหลัก จำนวน 2 ตอม่อหลัก มีฐานราก สะพานใช้เสาเข็มเจาะหน้าตัดกลม (Bored Piles) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เมตร จำนวน 18 ต้น/ฐานราก ซึ่ง Bored Pile แต่ละต้น มีกำลังรับน้ำหนักปลอดภัยต้นละ 1,100 ตัน โดยเสา ตอม่อของ Main Pier Pile Cap of Extradoses Bridge มีขนาด 12.00x 21.75x3.50 เมตร โครงสร้างส่วนบน (Superstructure) แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ คานสะพานรูปกล่องแบบ ไม่มีสายเคเบิ้ลในการรับแรง และคานสะพานรูปกล่องที่ใช้สายเคเบิ้ลในการรองรับโครงสร้าง กรมทางหลวงชนบท -1- รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สรุปข้อมูลรายละเอียดโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (ต่อ) ข้อมูลแนวเส้นทางโครงการ รายละเอียดโครงการ 2. โครงสร้างสะพานคานยื่น - ก่อสร้างตอม่อ P20-P32 ช่วง กม.1+062 - กม.1+937 ระยะทางประมาณ 875 เมตร ออกแบบ เป็นสะพานคานยื่น มีความสูงช่องลอด 3.0 - 8.0 เมตร โดยฐานรากสะพานใช้เสาเข็มเจาะ Bored Pile ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.50 เมตร จำนวน 13 ตอม่อ ซึ่ง Bored Pile แต่ละต้น มีกำลังรับน้ำหนักปลอดภัยต้นละ 1,100 ตัน ส่วนเสานั้นได้จัดเป็นเสาเดี่ยว ความหนาของเสา เพียง 2.50 เมตร และความกว้างเสา 6.20 เมตร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับโมเมนต์ดัด และมี Stiffness น้อย เพื่อลดโมเมนต์ดัดที่กระทำต่อเสา ขณะที่โครงสร้างส่วนบนมีลักษณะ เป็ นคอนกรี ตอั ดแรงรู ปกล่ องหล่ อในที ่ ก ่ อสร้ างด้ วยวิ ธ ี คานยื ่ นอิ สระสมดุ ล (Pre-stress Concrete Box Girder built by Balanced Cantilever Method) โดยจั ดเป็ นคานคอนกรี ต อัดแรงรูปกล่องแบบ 1 cells 3. จุดชมวิว - จุดชมวิวบนสะพานโครงการ จำนวน 2 จุด ได้แก่ จุดชมวิวที่ 1 (กม.0+692) และจุดชมวิว ที่ 2 (กม.0+892) ระยะห่างจากจุดขึ้น-ลงสะพาน (กม.0+512) เท่ากับ 180 และ 380 เมตร ตามลำดับการจราจรบนสะพานเป็นการเดินรถสวนทาง ประชาชนไม่สามารถเดินบนสะพาน ไปมา 2 ฝั่งได้ ซึ่งบริเวณจุดชมวิวทั้งสองแห่งมีสะพานเดินข้ามฝั่งอยู่ใต้โครงสร้างสะพาน กรมทางหลวงชนบท -2- รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สรุปข้อมูลรายละเอียดโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (ต่อ) ข้อมูลแนวเส้นทางโครงการ รายละเอียดโครงการ 4. ถนนระดับดิน ฝั่งตำบลเกาะกลาง ก่อสร้างถนนระดับดิน ขนาด 2-4 ช่องจราจร (รวมสองฝั่งทาง) ช่วง กม.0+060-กม.0+400 ระยะทาง 340 เมตร ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ก่อสร้างถนนระดับดิน ขนาด 2-4 ช่องจราจร (รวมสองฝั่งทาง) ช่วง กม.2+000-กม.2+527 ระยะทาง 527 เมตร 5. จุดกลับรถ กำหนดให้ มี จุด กลั บรถ จำนวน 3 จุ ด ได้ แ ก่ 1) จุ ด กลั บ รถใต้ สะพานฝั่ง ตำบลเกาะกลาง (กม.0+500) 2) จุดกลับรถใต้สะพานฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย (กม.2+040) และ 3) จุดกลับรถ ทางระดับดิน (กม.2+440) ที่มีรัศมีวงเลี้ยวด้านนอก เท่ากับ 15.0 เมตร รถบรรทุกแบบ Single Car Unit สามารถเลี้ยวได้ กรมทางหลวงชนบท -3- รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สรุปข้อมูลรายละเอียดโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (ต่อ) ข้อมูลแนวเส้นทางโครงการ รายละเอียดโครงการ พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมาย - พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม อยู่ในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ตามประกาศกระทรวง ที่แนวเส้นทางตัดผ่าน ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล้ อ ม เรื ่ อ ง กำหนดเขตพื ้ น ที ่ แ ละมาตรการคุ ้ ม ครอง สิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประกาศ ณ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2559 - พื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ตัดผ่าน พื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล ช่วง กม.0+922 - กม.1+369 ระยะทางประมาณ 0.447 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 4.0 ไร่ - พื้นที่ป่าชายเลนตามมติค ณะรัฐ มนตรี (2543) ตัดผ่านพื้นที่ ป่าชายเลนตามมติ ต าม คณะรั ฐ มนตรี เ มื่ อวั น ที่ 22 สิ ง หาคม 2543 และ 14 ตุ ล าคม 2543 ช่ ว ง กม.1+828- กม.1+957 บริเวณคอสะพานฝั่งเกาะลันตาน้อย ระยะทาง 0.129 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ ประมาณ 1.2 ไร่ - พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ตัดผ่านพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 1 แห่ง คือ ป่าสงวนแห่งชาติป่าหลัง สอด/ป่าควนบากันเกาะ ช่วง กม.1+958-กม.2+240 ระยะทาง 0.282 กิโลเมตร คิดเป็น พื้นที่ประมาณ 4.0 ไร่ - พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ อยู่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำที่ 5 ทั้งหมด ค่าก่อสร้างโครงการ งบประมาณค่าก่อสร้างโครงการ 1,806.3 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 7.575 ล้านบาท แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม 8.028 ล้านบาท รวมค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการ รวมทั้งสิ้น 15.603 ล้านบาท กรมทางหลวงชนบท -4- แบบรายการแสดงผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ่ มเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โครงการสะพานเชือ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ รายงานฉบับสมบูรณ์ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานหลัก 1/2 สารบัญ หน้า รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (แบบ สผ. 6) หนังสือรับรองการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (แบบ สผ.7) บัญชีรายชื่อผู้จัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท (แบบ สผ. 8) แบบแสดงรายละเอียดการเสนอรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (แบบ สผ. 9) ใบอนุญาตเป็นผู้มีสิทธิทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษาและมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบกระเทือน ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม (แบบ สวล. 4) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (แบบ สผ. 1) สารบัญ ก สารบัญรูป ค สารบัญตาราง ฏ บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและเหตุผลความจำเป็นของโครงการ 1-1 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำรายงาน 1-4 1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ 1-4 1.4 ขอบเขตและวิธีการศึกษา 1-4 1.5 พื้นที่ศึกษาโครงการ 1-7 1.6 ข้อจำกัดและพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม 1-10 1.7 สรุปผลการประเมินผลกระทบสิง ่ แวดล้อมเบื้องต้น 1-28 1.8 การศึกษาคัดเลือกแนวเส้นทางโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 1-31 1.8.1 การศึกษาแนวเส้นทาง 1-31 1.8.2 การศึกษาคัดเลือกแนวเส้นทางที่เหมาะสม 1-32 1.9 องค์ประกอบของรายงาน 1-42 กรมทางหลวงชนบท ก รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 2 รายละเอียดโครงการ 2.1 บทนำ 2-1 2.2 การทบทวนรายงานการศึกษาทีเ่ กี่ยวข้อง 2-1 2.3 สภาพปัจจุบนั ของพื้นที่โครงการ 2-16 2.4 รูปแบบโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา 2-22 2.5 งานศึกษาด้านจราจรและขนส่ง 2-50 2.6 การศึกษาสภาพทางธรณีวท ิ ยา 2-100 2.7 การเกิดแผ่นดินไหว 2-104 2.8 การเกิดสึนามิในพืน ้ ที่โครงการ 2-117 2.9 หน่วยงานที่รับผิดชอบเมื่อเกิดพิบัติภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ 2-123 2.10 ระบบสาธารณูปโภค 2-134 2.11 การออกแบบป้ายจราจรและสิ่งอำนวยความปลอดภัย 2-142 2.12 แหล่งวัสดุและเส้นทางลำเลียงขนส่ง 2-147 2.13 วิธีการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 2-163 2.14 การจัดจราจรในช่วงก่อสร้าง 2-205 2.15 การดำเนินโครงการ 2-216 2.15.1 แผนการก่อสร้างโครงการ 2-216 2.15.2 สำนักงานควบคุมโครงการ/บ้านพักคนงาน และสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ 2-216 2.16 งบประมาณราคาค่าก่อสร้าง 2-220 2.17 การศึกษาวิเคราะห์โครงการด้านเศรษฐกิจ 2-221 บทที่ 3 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.1 บทนำ 3-1 3.2 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 3-2 3.2.1 ทรัพยากรดิน 3-2 3.2.2 ธรณีวิทยาและแผ่นดินไหว 3-35 3.2.3 น้ำผิวดิน 3-69 3.2.4 คุณภาพน้ำทะเล สมุทรศาสตร์และการกัดเซาะ 3-84 3.2.5 อากาศและบรรยากาศ 3-120 3.2.6 เสียง 3-146 3.2.7 ความสั่นสะเทือน 3-152 3.3 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ 3-160 3.3.1 ระบบนิเวศ 3-160 กรมทางหลวงชนบท ข รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป รูปที่ หน้า 1.1-1 แถวคอยและการจราจรติดขัด เพื่อรอแพขนานยนต์ข้ามฝั่งไปเกาะลันตา 1-2 1.1-2 การเกิดอุบัติเหตุขณะเดินทางข้ามฝั่งโดยใช้แพขนานยนต์ 1-2 1.4-1 ขั้นตอนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ 1-6 1.5-1 ที่ตั้งโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 1-8 1.5-2 พื้นที่ศึกษาโครงการ 1-9 1.6-1 แนวเส้นทางโครงการในเขตพืน ้ ที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ (วันที่ 31 มีนาคม 2559) 1-12 1.6-2 แนวเส้นทางโครงการในเขตพืน ้ ที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ (วันที่ 31 มีนาคม 2559) (ส่วนขยาย) 1-13 1.6-3 พื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ปา ่ ทุ่งทะเลในพื้นที่ดำเนินโครงการ 1-14 1.6-4 พื้นที่ปา ่ ชายเลนมติคณะรัฐมนตรีในพื้นที่ดำเนินโครงการ 1-15 1.6-5 พื้นที่ปา ่ สงวนแห่งชาติในพืน ้ ที่ดำเนินโครงการ 1-16 1.6-6 พื้นที่ชนั้ คุณภาพลุ่มน้ำในพืน ้ ที่ดำเนินโครงการ 1-18 1.6-7 ผังเมืองรวมจังหวัดกระบี่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 1-19 1.6-8 แผนผังกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จำแนกประเภทท้ายกฎกระทรวงให้ใช้บังคับ ผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 1-25 1.6-9 พื้นที่อ่อนไหวด้านสิง ่ แวดล้อมในพื้นที่ศึกษาโครงการ 1-27 1.8.1-1 แนวเส้นทางเลือกของโครงการ 1-33 1.8.2-2 แนวเส้นทางเลือกโครงการ ผ่านพื้นที่ปา ่ สงวนแห่งชาติ 1-38 ่ ชายเลนพื้นที่เขตอนุรักษ์ และพื้นที่ปา 2.2-1 ตำแหน่งที่ตั้งสะพานสิริลันตา เชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ 2-8 2.2-2 ผังบริเวณโครงการสะพานสิริลน ั ตาเชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 2-9 2.2-3 แปลงตามยาวสะพานสิริลันตาเชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 2-10 2.3-1 ที่ตั้งโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 2-17 2.3-2 สภาพปัจจุบน ั บริเวณพื้นที่โครงการ 2-18 2.3-3 โครงข่ายถนนสายหลักระหว่างเกาะกลางกับเกาะลันตาน้อยและเกาะลันตาใหญ่ 2-19 2.3-4 สภาพพื้นที่โดยบริเวณแนวเส้นทางโครงการ จังหวัดกระบี่ 2-21 2.4-1 แบบรายละเอียดโครงการ 2-23 2.4-2 ตำแหน่งตอม่อสะพานโครงการวางคร่อมร่องน้ำเดินเรือคลองช่องลาด 2-32 2.4-3 รูปแบบโครงสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) 2-35 2.4-4 รูปแบบโครงสร้างสะพานคานยืน ่ (Balanced Cantilever Bridge) 2-37 2.4-5 รูปแบบถนนระดับดินของโครงการ 2-39 2.4-6 ตำแหน่งและรูปแบบจุดกลับรถของโครงการ 2-40 กรมทางหลวงชนบท ค รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 2.4-7 ตัวอย่างการทาสีตอม่อสะพานบริเวณที่เป็นช่องทางเดินเรือ 2-41 2.4-8 ่ หล่ทางตลอดแนวสะพาน การติดตั้ง Road Stud ที่เกาะกลางสี และตีเส้นทแยงทีไ 2-42 2.4-9 รูปตัดตามขวางของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาด 2-43 2.4-10 รูปตัดตามยาวของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาด 2-43 2.4-11 ผังแสดงระบบระบายน้ำของโครงการ 2-44 2.4-12 การออกแบบระบบไฟฟ้าส่องสว่างบนสะพาน 2-45 2.4-13 ตำแหน่งและรูปแบบจุดชมวิวสะพานของโครงการ 2-46 2.4-14 ่ ีกสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) ทางเดินไปจุดชมวิวทีป 2-47 2.4-15 ทางเดินไปจุดชมวิวทีป่ ีกสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) 2-47 2.4-16 หน่วยดูแลบำรุงรักษาสะพานเชือ ่ มเกาะลันตา (ส่วนหน้า) 2-49 2.5-1 แผนที่แสดงปริมาณจราจรบนทางหลวงแผ่นดินในพื้นที่ศึกษา พ.ศ. 2562 2-56 2.5-2 แผนที่แสดงปริมาณรถขนาดใหญ่บนทางหลวงแผ่นดินในพื้นที่ศก ึ ษา พ.ศ. 2562 2-57 2.5-3 โครงข่ายคมนาคมขนส่งในพื้นทีโ ่ ครงการ 2-61 2.5-4 การเดินทางระหว่างบ้านหัวหิน-เกาะลันตาน้อย 2-63 2.5-5 ตำแหน่งสำรวจปริมาณจราจรในบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ 2-68 2.5-6 ลักษณะกายภาพของถนนบริเวณทางแยก ทล.4 ตัด ทล.4206 ต.ห้วยน้ำขาว อ.คลองท่อม จ.กระบี่ 2-70 2.5-7 ลักษณะกายภาพของถนน ทล.4206 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ 2-70 2.5-8 ลักษณะกายภาพของถนน ทช.กบ.6019 ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ 2-70 2.5-9 ลักษณะกายภาพของถนน ทช.กบ.6022 ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ 2-71 2.5-10 ลักษณะกายภาพของถนน ทช.กบ.5035 ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ 2-71 2.5-11 ลักษณะกายภาพของถนน ทช.กบ.5036 ต.กาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ 2-71 2.5-12 ลักษณะกายภาพของถนน ทช.กบ.4245 ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ 2-71 2.5-13 ลักษณะกายภาพของถนนสายศาลาด่าน-บ้านสังกาอู้ (อยู่ในระหว่างการปรับปรุงฯ) ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ 2-72 2.5-14 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทล.4206 (MB-01) และการสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทาง (OD-01) 2-72 2.5-15 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.6022 (MB-02) และการสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทาง (OD-02) 2-73 2.5-16 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.4245 (MB-03) และการสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทาง (OD-03) 2-73 2.5-17 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนนสายศาลาด่าน-บ้านสังกาอู้ (MB-04) และการสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทาง (OD-04) 2-74 2.5-18 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.6019 (MB-05) 2-74 2.5-19 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.5035 (MB-07) 2-74 กรมทางหลวงชนบท ง รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 2.5-20 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทล.4206 (MB-01) 2-76 2.5-21 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.6022 (MB-02) 2-76 2.5-22 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.4245 (MB-03) 2-77 2.5-23 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนนสายศาลาด่าน-บ้านสังกาอู้ (MB-04) 2-77 2.5-24 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.6019 (MB-05) 2-78 2.5-25 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.5035 (MB-07) 2-78 2.5-26 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก บริเวณสามแยกห้วยน้ำขาว (TMC-01) ถนน ทล.4206 ตัดถนน ทล.4 2-81 2.5-27 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก บริเวณถนน ทช.กบ.6022 ตัดถนน ทช.กบ.6019 (TMC-02) 2-81 2.5-28 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 (วันทำงาน) เวลา 07.00-19.00 น. 2-82 2.5-29 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563 (วันหยุด) เวลา 07.00-19.00 น. 2-82 2.5-30 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) ระหว่างวันทำงานและวันหยุด 2-83 2.5-31 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 (วันทำงาน) เวลา 07.00-19.00 น. 2-83 2.5-32 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563 (วันหยุด) เวลา 07.00-19.00 น. 2-84 2.5-33 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) ระหว่างวันทำงานและวันหยุด 2-86 2.5-34 ประเภทของยวดยานที่ใช้ในการเดินทาง 2-86 2.5-35 วัตถุประสงค์ของการเดินทาง 2-86 2.5-36 ระดับรายได้ของผู้ตอบแบบสำรวจ 2-86 2.5-37 จำนวนผู้โดยสารบนรถ 2-87 2.5-38 ประเภทสินค้า (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) 2-87 2.5-39 ปริมาณสินค้าทีบ ่ รรทุก (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) 2-87 2.5-40 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า 2-89 2.5-41 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงนอกเวลาเร่งด่วน 2-90 2.5-42 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น 2-91 2.5-43 ระดับการให้บริการบนโครงข่ายถนน กรณี High Season ออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร 2-93 2.5-44 ระดับการให้บริการบนโครงข่ายถนน กรณี Low Season ออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร 2-94 2.5-45 ระดับการให้บริการบนโครงข่ายถนน กรณี High Season ออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 2 แผนดำเนินโครงการฯ ตามปกติ) 2-98 2.5-46 ระดับการให้บริการบนโครงข่ายถนน กรณี Low Season ออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 2 แผนดำเนินโครงการฯ ตามปกติ) 2-99 กรมทางหลวงชนบท จ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 2.6-1 แผนที่ทางธรณีวิทยา (กรมทรัพยากรธรณี 2549) 2-101 2.6-2 การสำรวจธรณีวิทยาบริเวณแนวเส้นทางโครงการ 2-102 2.6-3 รูปตัดเส้นทางโครงการ 2-103 2.7-1 แผนที่ประเทศไทยและพื้นที่ข้างเคียงแสดงการกระจายตัวเชิงพื้นที่ของค่า PGA (หน่วย g) ที่มีโอกาส (ก) 2% POE และ (ข) 10% POE ในอีก 50 ปี (Palasri และ Ruangrassamee, 2010) 2-107 2.7-2 แผนที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี, 2559) 2-109 2.7-3 แผนที่รอยเลื่อนที่มีพลังในประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี, 2563) 2-110 2.7-4 แผนที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยและศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (กรมทรัพยากรธรณี, 2561) 2-111 2.7-5 ขั้นตอนการสำรวจความเสียหายขั้นต้นของสะพานภายหลังการเกิดแผ่นดินไหว 2-114 2.8-1 ขอบเขตพื้นที่น้ำทะเลท่วมถึงจากเหตุการณ์คลื่นสึนามิ เมื่อ 26 ธันวาคม 2547 2-118 2.8-2 พื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิ ฝั่งตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา คือ ท่าเรือบ้านหัวหิน (ซ้ายมือของภาพ) และท่าเรือพิมาลัย ซึ่งเป็นท่าเรือเอกชน (ขวามือของภาพ) 2-120 2.8-3 สภาพพื้นที่ปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ ฝัง ่ ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา คือ พื้นที่เชิงเขา ที่อยู่ห่างจากท่าเรือบ้านหัวหิน ไปตาม ทล.4206 ซึ่งมีระยะทางในการอพยพเพียง 200 เมตร 2-121 2.8-4 พื้นที่โครงการฝัง ่ เกาะลันตาน้อย ซึ่งไม่มีชุมชนในพื้นที่และมีพน ื้ ที่เสี่ยงสึนามิ อยู่บริเวณป่าชายเลนริมเกาะลันตาน้อย 2-122 2.8-5 พื้นที่อพยพหนีภัยสึนามิ กรณีมโ ี ครงการ 2-123 2.9-1 กลไกการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย 2-124 2.9-2 โครงสร้างศูนย์ปฏิบต ั ิการฉุกเฉินท้องถิ่น อปท. เกาะกลาง, เกาะลันตาน้อย, เกาะลันตาใหญ่ 2-129 2.9-3 เอกสารประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับภัยสึนามิ (ที่มา : กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย) 2-130 2.9-4 ตัวอย่างป้ายเตือนในเขตพื้นที่เสีย ่ งภัยคลื่นยักษ์สึนามิ 2-132 2.9-5 ตัวอย่างป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์สน ึ ามิ 2-133 2.9-6 ป้ายแสดงตำแหน่งพื้นทีป ่ ลอดภัย 2-133 2.10-1 เสาไฟฟ้าขนาด 69kV และแรงต่ำ บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 2-134 2.10-2 เสาไฟฟ้าขนาด 22kV และแรงต่ำ บนทางหลวงชนบท กบ.6020 2-135 2.10-3 เสาไฟฟ้าขนาด 22kV และแรงต่ำ บนทางหลวงชนบท กบ.6019 และ กบ.5035 2-135 2.10-4 ระบบสายไฟฟ้าอากาศ ขนาด 33 KV. ในทะเลบริเวณคลองช่องลาด 2-136 2.10-5 บริเวณท่าเทียบเรือบ้านหัวหิน 2-137 2.10-6 แนวสายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ตำบลเกาะกลาง ผ่านแนวเกาะปลิง ในคลองช่องลาด 2-137 2.10-7 แนวท่อใต้น้ำสายไฟฟ้า33 kV การไฟฟ้าส่วนภูมผ ิ ่านเกาะปลิงในคลองช่องลาด 2-139 2.10-8 แนวท่อสายสื่อสารในบริเวณเกาะลันตาน้อย 2-139 2.10-9 ผังตำแหน่งรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคในพืน ้ ที่ดำเนินโครงการ 2-140 กรมทางหลวงชนบท ฉ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 2.11-1 ตัวอย่างป้ายแนะนำแหล่งท่องเที่ยว 2-142 2.11-2 ตำแหน่งการติดตั้งป้ายจราจรบนแนวเส้นทางโครงการ 2-143 2.12-1 แหล่งวัสดุก่อสร้างและเส้นทางขนส่ง 2-148 2.12-2 การขนส่งเครื่องจักรกลในการติดตั้งปลอกเหล็กถาวรสำหรับเสาเข็มเจาะในทะเล 2-151 2.12-3 การขนส่งเครื่องจักรกลในการขุดเจาะดิน-หิน สำหรับการก่อสร้างเสาเข็มเจาะของโครงการ 2-151 2.12-4 ตำแหน่งที่ตั้ง Concrete Plant ที่ตั้งที่พักคนงาน สำนักงานชั่วคราวและโรงซ่อมบำรุง (Work Shop) 2-152 2.12-5 ที่ตั้ง Concrete Plant, Casting Yard, Camo Site, Site Office, Work Shop ด้านซ้ายทางของ ทล.4206 ระหว่าง กม.25+600 ถึง กม.26+000 2-153 2.12-6 พื้นที่กองเก็บวัสดุก่อสร้างของโครงการ อยู่ภายในเขตพื้นที่สำนักงานก่อสร้างโครงการ และบ้านพักคนงาน 2-153 2.12-7 แผนภูมิการขนส่งด้วยรถบรรทุกคอนกรีตผสมเสร็จ บน ทล.4206 ระหว่าง Concrete Plant กม.25+600 ของ ทล.4206 กับท่าเรือบ้านหัวหิน 2-154 2.12-8 แผนภูมิการขนส่งวัตถุดิบสำหรับการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ บน ทล.4206 ระหว่าง กม.0+000 ถึง Concrete Plant กม. 25+600 ของ ทล.4206 2-155 2.12-9 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทล.4206 (MB-01) บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการ ใกล้กับที่ตั้งโรงงานผสมคอนกรีต 2-156 2.12-10 แผนภูมิการขนส่งวัตถุดิบและคอนกรีตผสมเสร็จ บน ทล.4206 ทำให้มีปริมาณจราจรเฉลี่ยเข้า-ออกโรงผสมคอนกรีต 200 pcu/วัน 2-156 2.13-1 การใช้เรือท้องแบนชนิดมีขาหยั่ง (Jack Up Barge) ในการก่อสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) 2-164 2.13-2 วิธีการก่อสร้างแบบคานยืน ่ โดยใช้การถ่วงน้ำหนักด้านท้ายโครงสร้างสะพานต่อเนื่อง ในการก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) 2-164 2.13-3 ผังและรูปตัดตามยาวแสดงตำแหน่งท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) 2-166 2.13-4 กิจกรรมการก่อสร้างโครงการ โดยเครื่องจักรกลทำงานอยู่บนท่าเทียบเรือชั่วคราว 2-170 2.13-5 กิจกรรมการก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเลด้วยเครื่องจักรที่ทำงานบนเรือท้องแบน 2-171 2.13-6 ขั้นตอนการก่อสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) 2-174 2.13-7 กำแพงกันดินป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่ง 2-176 2.13-8 ขั้นตอนการก่อสร้างสะพานแบบคานยืน ่ (Balanced cantilever bridge) 2-177 2.13-9 ตัวอย่างม่านดักตะกอนชนิดป้องกันการฟุ้งกระจายของตะกอนถึงก้นทะเล (Bottom – Sealed Filter Barrier) 2-183 2.13-10 ตัวอย่างแบบรายละเอียดม่านดักตะกอนในน้ำ 2-184 2.13-11 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเทียบเรือชัว ่ คราวฝั่งเกาะกลาง 2-186 2.13-12 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเทียบเรือชัว ่ คราวฝั่งเกาะลันตา 2-186 2.13-13 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณตอม่อสะพานในแต่ละแบบ 2-187 กรมทางหลวงชนบท ช รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 2.13-14 คุณสมบัติของม่านดักตะกอนที่ใช้ในโครงการ 2-188 2.13-15 ติดตั้งทุ่นไฟกระพริบบริเวณพื้นที่ก่อสร้างตอม่อสะพานและท่าเทียบเรือชั่วคราว 2-190 2.13-16 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างใต้ท้องสะพานในบริเวณร่องน้ำเดินเรือและบรรทัดน้ำ ที่เสาตอม่อสะพาน 2-190 2.13-17 กิจกรรมการก่อสร้างสะพานด้วยคานสะพานคอนกรีตอัดแรง 2-193 2.13-18 ติดตั้งปลอกเหล็กถาวรเสาเข็มเจาะ 2-194 2.13-19 กิจกรรมการขุดเจาะดิน-หินภายในปลอกเหล็กถาวรในทะเล 2-194 2.13-20 เรือท้องแบนสำหรับบรรทุกดินและวัสดุจากการเจาะเสาเข็มในทะเล 2-195 2.13-21 ท่าเรือขนดินจากการเจาะเสาเข็มในทะเลฝั่งเกาะกลาง และฝั่งเกาะลันตาน้อย 2-196 2.13-22 แบบหล่อคอนกรีตชนิดกันน้ำและป้องกันการรั่วของน้ำปูน ออกจากแบบหล่อลงทะเล 2-197 2.13-23 ตัวอย่างการติดตั้งรั้วตาข่ายป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากทีส ่ ูง 2-198 2.13-24 ตำแหน่งที่ทง ิ้ ดินของโครงการ พืน ้ ที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะกลาง 2-200 2.13-25 สภาพพื้นที่บริเวณที่ทง ิ้ ดินของโครงการ อบต.เกาะกลาง 2-201 2.13-26 ตำแหน่งที่ทง ิ้ ดินของโครงการ พืน ้ ที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะลันตาน้อย 2-202 2.13-27 สภาพพื้นที่บริเวณที่ทง ิ้ ดินของโครงการ อบต.เกาะลันตาน้อย 2-203 2.13-28 ผังเมืองรวมเกาะลันตากับพืน ่ ริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต.เกาะลันตาน้อย ้ ทีบ 2-204 2.13-29 สภาพปัจจุบน ั ของพื้นทีบ ่ ริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต.เกาะลันตาน้อย 2-204 2.14-1 ป้ายจราจรในช่วงดำเนินงานก่อสร้างโครงการ 2-207 2.14-2 ตัวอย่างการจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ 2-211 2.15.2-1 ตำแหน่งที่ตั้งสำนักงานควบคุมโครงการ/บ้านพักคนงาน 2-218 2.15.2-2 ตัวอย่างผังสำนักงานควบคุมโครงการ/บ้านพักคนงาน 2-219 3.2.1-1 กลุ่มชุดดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-3 3.2.1-2 การชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-6 3.2.1-3 การเจาะสำรวจชั้นดินในสนาม 3-10 3.2.1-4 ตำแหน่งหลุมเจาะสำรวจชั้นดิน สภาพชั้นดินตามแนวยาว (Soil Profile) 3-16 3.2.2-1 ลักษณะธรณีวิทยาจังหวัดกระบี่ 3-36 3.2.2-2 แผนที่ธรณีวิทยาพื้นที่สำรวจ 3-40 3.2.2-3 Sand nodule ที่พบในหินทราย เนื้อละเอียดหน่วยหิน CPkp (St. 2/2) 3-42 3.2.2-4 แนวแตกที่พบในหินทรายเนื้อละเอียดหน่วยหิน CPkp (St. 2/2) 3-42 3.2.2-5 หินโผล่แสดงชั้นหินแบบบางมาก (Lamination) ของหินทรายเม็ดละเอียด 3-42 3.2.2-6 หินโผล่แสดงการแทรกสลับของหินทรายเม็ดปานกลางและเม็ดหยาบ 3-42 3.2.2-7 การวางตัวของชั้นหินหน่วยหิน CPkc 3-45 3.2.2-8 แนวแตกของหน่วยหิน CPkc 3-45 3.2.2-9 การวางตัวของชั้นหินหน่วยหิน CPkp 3-46 กรมทางหลวงชนบท ซ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 3.2.2-10 ชุดรอยแตกของหน่วยหิน CPkp 3-46 3.2.2-11 ภาพแสดงตำแหน่งที่ทำการทดสอบ Schmidt Hammer 3-47 3.2.2-12 จุดทดสอบที่ 74 หินทรายค่าเฉลี่ย 4.62 พิกัด 47P 511977E 849550N 3-49 3.2.2-13 จุดทดสอบที่ 10 หินทรายค่าเฉลี่ย 32.6 พิกัด 47P 510781 E 851394 N 3-49 3.2.2-14 แผนที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี, 2559) 3-51 3.2.2-15 แผนที่รอยเลื่อนที่มีพลังในประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี, 2563) 3-52 3.2.2-16 แผนที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยและศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (กรมทรัพยากรธรณี, 2561) 3-53 3.2.2-17 ขอบเขตพื้นที่น้ำทะเลท่วมถึงจากเหตุการณ์คลื่นสึนามิ เมื่อ 26 ธันวาคม 2547 3-68 3.2.3-1 โครงการชลประทานขนาดกลางในจังหวัดกระบี่ 3-73 3.2.3-2 แผนงานโครงการขนาดกลาง ระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ 3-76 3.2.3-3 การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2563 3-81 3.2.3-4 การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม เข้าร่วมประชุมประชาคมหมู่บ้าน พื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2563 3-82 3.2.3-5 สภาพอุทกวิทยาน้ำผิวดินและการระบายน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-83 3.2.4-1 สถานีตรวจวัดคุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-85 3.2.4-2 การเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งในเดือนมกราคม พ.ศ. 2564 ทั้ง 3 สถานี 3-87 3.2.4-3 การเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 3-92 3.2.4-4 การเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 3-96 3.2.4-5 พื้นที่แสดงการกัดเซาะชายฝั่งทะเล 3-102 3.2.4-6 ขั้นตอนและวิธีการศึกษาแบบจำลอง AQUASEA 3-105 3.2.4-7 แผนที่ร่องน้ำเดินเรือ ระวาง 308 ของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ 3-108 3.2.4-8 แผนที่แสดงขอบเขตของการศึกษาวิเคราะห์ด้วยแบบจำลอง 3-109 3.2.4-9 แผนที่แสดงความลึกท้องทะเลในพื้นที่ 1 (AREA 1) 3-110 3.2.4-10 แผนที่แสดงความลึกท้องทะเลในพื้นที่ 2 (AREA 2) 3-111 3.2.4-11 ตำแหน่งจุดติดตั้งเครื่องมือสำรวจความสูงคลื่น ความเร็วกระแสน้ำ และระดับน้ำ 3-112 3.2.4-12 แสดงการตรวจวัดกระแสน้ำและค่าระดับน้ำของโครงการ 3-113 3.2.4-13 ผลการเปรียบเทียบระดับน้ำจากการสำรวจกับจากแบบจำลอง 3-114 3.2.4-14 ผลการเปรียบเทียบความเร็วกระแสน้ำจากการสำรวจกับจากแบบจำลอง 3-114 3.2.4-15 ผลการเปรียบเทียบทิศทางการไหลของกระแสน้ำจากการสำรวจกับจากแบบจำลอง 3-114 3.2.4-16 ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำในช่วงน้ำขึ้นในสภาพไม่มีโครงการ 3-117 3.2.4-17 ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำในช่วงน้ำลงในสภาพไม่มีโครงการ 3-117 3.2.4-18 การไหลเวียนของกระแสน้ำในพื้นที่โครงการในชั่วโมงต่างๆ ในสภาพไม่มีโครงการ 3-118 3.2.5-1 จุดสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน 3-121 3.2.5-2 ตำแหน่งร่องความกดอากาศต่ำ ทิศทางลมมรสุม และทางเดินพายุหมุนเขตร้อน 3-127 กรมทางหลวงชนบท ฌ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 3.2.5-3 การตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษาโครงการ ครั้งที่ 1 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) 3-129 3.2.5-4 ผังแสดงทิศทางลมของแต่ละสถานีตรวจวัด ครั้งที่ 1 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) 3-133 3.2.5-5 การตรวจวัดคุณภาพอากาศ ครั้งที่ 2 ในพื้นที่ศึกษาโครงการ (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) 3-138 3.2.5-6 ผังแสดงทิศทางลมของแต่ละสถานีตรวจวัด ครั้งที่ 2 (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) 3-142 3.2.6-1 การติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดเสียงบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 3-6 ธันวาคม 2563 3-148 3.2.6-2 การติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดเสียงบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564 3-150 3.2.7-1 การติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดความสั่นสะเทือนบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 3-6 ธันวาคม 2563 3-156 3.2.7-2 การติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดความสั่นสะเทือนบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564 3-159 3.3.1.1-1 พื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเลในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-161 3.3.1.1-2 พื้นที่ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรีในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-163 3.3.1.1-3 พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-164 3.3.1.1-4 พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-165 3.3.1.1-5 สภาพื้นที่ทั่วไปและแนวเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-166 3.3.1.2-1 ตำแหน่งจุดเก็บตัวอย่างน้ำทะเลและนิเวศวิทยาทางน้ำ 3-172 3.3.1.2-2 การเก็บตัวอย่างนิเวศวิทยาทางน้ำ (วันที่ 16 มกราคม 2564) 3-181 3.3.1.2-3 ชนิดปลาที่สำรวจได้ในพื้นที่โครงการ (วันที่ 16 มกราคม 2564) 3-189 3.3.1.2-4 การเก็บตัวอย่างน้ำนิเวศวิทยาทางน้ำ (วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564) 3-193 3.3.1.2-5 ชนิดปลาที่สำรวจได้ในพื้นที่โครงการ (วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564) 3-201 3.3.1.2-6 การเก็บตัวอย่างน้ำนิเวศวิทยาทางน้ำ (วันที่ 17 มิถุนายน 2564) 3-204 3.3.1.2-7 ชนิดปลาที่สำรวจได้ในพื้นที่โครงการ (วันที่ 17 มิถุนายน 2564) 3-212 3.3.1.3-1 พื้นที่ป่าชายเลนมติคณะรัฐมนตรีในพื้นที่ดำเนินโครงการ 3-217 3.3.1.3-2 พื้นที่สำรวจทรัพยากรป่าชายเลนในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-218 3.3.1.3-3 จุดวางแปลงสำรวจสังคมพืชป่าชายเลนในระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ 3-219 3.3.1.3-4 วิธีการสำรวจแบบ Line Plot System และขนาดแปลงสำรวจสังคมพืชป่าชายเลน 3-220 3.3.1.3-5 ต้นไม้ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ 3-224 3.3.1.3-6 จุดสำรวจทรัพยากรป่าชายเลนในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ 3-226 3.3.1.3-7 พื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-229 3.3.1.3-8 พื้นที่ 1.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณ จุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-231 3.3.1.3-9 พื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ข้างแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-235 กรมทางหลวงชนบท ญ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 3.3.1.3-10 สภาพพื้นที่ป่าชายเลนและพื้นที่ป่าบกบนเกาะปลิง 3-237 3.3.1.3-11 พื้นที่ป่าชายเลนรอบเกาะปลิง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-238 3.3.1.3-12 พื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณจุดสิ้นสุดโครงการบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-244 3.3.1.3-13 พื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดชมวิว คลองหมากบ้านทุ่งโต๊ะยม ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-247 3.3.1.3-14 พื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทาง เชื่อมเกาะบริเวณจุดสิ้นสุดโครงการ บ้านทุ่งโต๊ะยม ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-251 3.3.1.4-1 แผนที่แสดงแนวปะการังในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการ 3-267 3.3.1.4-2 แผนที่แสดงจุดสุ่มสำรวจครอบคลุมพื้นที่ระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวสันทางโครงการ 3-288 3.3.1.4-3 การดำน้ำสำรวจขอบเขตปะการังในพื้นที่ศีกษาโครงการ 3-289 3.3.1.4-4 แนวปะการังบริเวณรอบเกาะปลิงที่อยู่ใกล้เคียงกับแนวเส้นทางโครงการ 3-290 3.3.1.4-5 ปะการังที่พบในพื้นที่ศึกษาโครงการบริเวณรอบเกาะปลิง 3-294 3.3.1.4-6 หญ้าคาทะเล (Enhalus acoroides) ที่พบในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-296 3.3.1.4-7 ตำแหน่งหญ้าทะเลที่พบในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-297 กรมทางหลวงชนบท ฎ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1.1-1 อัตราค่าโดยสารแพขนานยนต์ทา ่ เรือหัวหิน-ท่าเรือคลองหมาก 1-3 1.1-2 กำหนดโครงการกิจกรรมหรือดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม 1-3 1.5-1 พื้นที่ศึกษาโครงการ 1-10 1.7-1 สรุปปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบในระดับปานกลาง-สูง เพื่อนำไปศึกษาต่อ ในการศึกษาผลกระทบในขั้นรายละเอียด (EIA) 1-28 1.8.2-1 ข้อมูลและค่าตัวคูณตามปัจจัยย่อยด้านระยะทางความยาวของแนวเส้นทาง 1-34 1.8.2-2 ข้อมูลและค่าตัวคูณตามปัจจัยย่อยด้านความยาวสะพานของแนวเส้นทาง 1-34 1.8.2-3 ข้อมูลและค่าตัวคูณตามปัจจัยย่อยด้านความยุง ่ ยากในการก่อสร้าง 1-35 1.8.2-4 ข้อมูลและค่าตัวคูณตามปัจจัยย่อยด้านเรขาคณิตแนวราบ 1-35 1.8.2-5 ข้อมูลและค่าตัวคูณตามปัจจัยย่อยด้านการเกิดทางแยกขึ้นใหม่กับทางหลวงเดิม 1-36 1.8.2-6 รายละเอียดการให้คะแนนปัจจัยมูลค่าการก่อสร้าง 1-36 1.8.2-7 รายละเอียดการให้คะแนนปัจจัยมูลค่ากรรมสิทธิที่ดน ิ 1-36 1.8.2-8 รายละเอียดการให้คะแนนปัจจัยมูลค่าในการบำรุงรักษา 1-37 1.8.2-9 สรุปผลการประเมินค่าตัวคูณจากปัจจัยด้านการลงทุน 1-37 1.8.2-10 รายละเอียดการให้คะแนนปัจจัย ผลกระทบต่อพื้นทีป ่ ่าชายเลน ผลกระทบต่อพืน ้ ที่ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุง่ ทะเล ผลกระทบต่อป่าสงวนแห่งชาติ 1-37 1.8.2-11 ข้อมูลและค่าตัวคูณตามปัจจัยย่อยด้านผลกระทบต่อพืน ่ ชายเลน ผลกระทบ ้ ที่ปา ่ ทุ่งทะเล ผลกระทบต่อป่าสงวนแห่งชาติ ต่อพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ปา 1-38 1.8.2-12 การให้คะแนนปัจจัยผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสัน ่ สะเทือน 1-38 1.8.2-13 รายละเอียดการให้คะแนนปัจจัยผลกระทบด้านสมุทรศาสตร์และการกัดเซาะ 1-39 1.8.2-14 รายละเอียดการให้คะแนนปัจจัยผลกระทบด้านการโยกย้ายเวนคืน 1-39 1.8.2-15 รายละเอียดการให้คะแนนปัจจัยผลกระทบด้านคมนาคมทางบกและทางน้ำ (จุดเชื่อมต่อถนนและจุดตัดแพขนานยนต์) 1-39 1.8.2-16 รายละเอียดการให้คะแนนปัจจัยความสามารถของการพัฒนาโครงการ (พื้นที่) 1-40 1.8.2-17 ข้อมูลและค่าตัวคูณตามปัจจัยย่อยด้านผลกระทบด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1-40 1.8.2-18 สรุปผลการคัดเลือกแนวเส้นทางโครงการที่เหมาะสม 1-41 2.4-1 Profile สะพานและระยะลอดทีเ่ สาตอม่อในทะเล 2-33 2.4-2 รายละเอียดเสาเข็มเจาะของโครงการ 2-34 2.5-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 2-51 2.5-2 อัตราค่าโดยสารแพขนานยนต์ทา ่ เรือหัวหิน (ฝั่งตำบลเกาะกลาง)-ท่าเรือคลองหมาก (ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย) 2-64 2.5-3 สถิติการจราจรทางน้ำ ปริมาณจราจรการเดินทางไปยังเกาะลันตาน้อย ระหว่างปี 2561-2562 2-65 กรมทางหลวงชนบท ฏ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 2.5-4 ปริมาณจราจรฝัง ่ ตำบลเกาะกลาง-ฝั่งเกาะลันตาน้อย (วันที่ 31 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม 2563) 2-66 2.5-5 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ณ จุดสำรวจ 2-80 2.5-6 ข้อมูลตารางจุดต้นทางและปลายทางของการเดินทางในพืน ึ ษา ้ ที่ศก 2-88 2.5-7 ข้อเสนอแนะระดับการให้บริการที่ยอมรับได้ตามมาตรฐาน AASHTO 2-92 2.5-8 ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ กรณีออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 1 แผนเร่งรัดการดำเนินโครงการฯ) 2-96 2.5-9 ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ กรณีออกแบบเป็น 4 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 1 แผนเร่งรัดการดำเนินโครงการฯ) 2-96 2.5-10 ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ กรณีออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 2 แผนดำเนินโครงการฯ ตามปกติ) 2-97 2.5-11 ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ กรณีออกแบบเป็น 4 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 2 แผนดำเนินโครงการฯ ตามปกติ) 2-97 2.7-1 ความสัมพันธ์ PGA กับระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวตามมาตรา Mercalli 2-106 2.7.2 ระดับความเสียหาย ข้อจำกัดในการใช้งานสะพานและป้ายประกาศระดับความเสียหาย แต่ละระดับ 2-115 2.12-1 แหล่งวัสดุก่อสร้างและเส้นทางขนส่ง 2-147 2.12-2 รายละเอียดการขนส่งทางทะเลและทางบก 2-149 2.13-1 รายละเอียดเสาเข็มเจาะของโครงการ 2-163 2.13-2 การทดสอบคุณสมบัติของเหลวพยุงเสถียรภาพหลุมเจาะ 2-181 2.14-1 ป้ายสัญญาณและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในพื้นที่ก่อสร้าง 2-206 2.15.1-1 แผนการดำเนินงานก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 2-217 2.16-1 ประมาณการเบื้องต้น ค่าก่อสร้าง (ฐานราคา 2563) 2-220 2.16-2 ประมาณการค่าบำรุงรักษาประจำปี (ฐานราคา 2563) 2-220 2.17-1 มูลค่าทางการเงินในการลงทุนโครงการ กรณี Fast Track 2-224 2.17-2 มูลค่าทางการเงินในการลงทุนโครงการ กรณี Normal Track 2-225 2.17-3 มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการลงทุนโครงการ กรณี Fast Track 2-226 2.17-4 มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการลงทุนโครงการ กรณี Normal Track 2-227 2.17-5 สรุปผลการวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจของโครงการ 2-228 2.17-6 การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจ กรณีการลงทุนอย่างรวดเร็ว (Fast Track) 2-229 2.17-7 การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจ กรณีการลงทุนตามปกติ (Normal Track) 2-230 2.17-8 ผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหวโครงการ กรณี Fast Track 2-231 2.17-9 ผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหวโครงการ กรณี Normal Track 2-231 กรมทางหลวงชนบท ฐ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 3.2.1-1 กลุ่มชุดดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-4 3.2.1-2 ชุดดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-5 3.2.1-3 ความอุดมสมบูรณ์และการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-5 3.2.1-4 การชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-5 3.2.1-5 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-1 3-7 3.2.1-6 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-2 3-7 3.2.1-7 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-3 (ในพื้นที่ทะเล) 3-8 3.2.1-8 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-4 (ในพื้นที่ทะเล) 3-8 3.2.1-9 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-5 (ในพื้นที่ทะเล) 3-8 3.2.1-10 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-6 (ในพื้นที่ทะเล) 3-9 3.2.1-11 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-7 (บนบก ฝั่ง ต.เกาะลันตาน้อย) 3-9 3.2.1-12 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-8 (บนบก ฝั่ง ต.เกาะลันตาน้อย) 3-9 3.2.2-1 ตารางสรุปผลการสำรวจธรณีวิทยาภาคสนาม 3-43 3.2.2-2 ตัวแทนการวางตัวของรอยแตกของหน่วยหิน 3-45 3.2.2-3 ตัวแทนการวางตัวของชุดรอยแตกของหน่วยหิน CPkp 3-46 3.2.2-4 แสดงข้อมูลจุดทดสอบ 3-48 3.2.2-5 ตารางแสดงระดับความแกร่งของหิน 3-48 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 3-54 3.2.3-1 ข้อมูลการผลิตน้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาคสาขากระบี่ 3-69 3.2.3-2 จํานวนประชากรและการคาดการณ์ในอนาคตจังหวัดกระบี่ 3-70 3.2.3-3 โครงการชลประทานขนาดกลางในจังหวัดกระบี่ 3-71 3.2.3-4 โครงการชลประทานที่มีอยู่ในปัจจุบัน จังหวัดกระบี่ 3-72 3.2.3-5 แผนงานโครงการขนาดกลาง ระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ 3-75 3.2.3-6 แผนงานโครงการขนาดเล็ก ระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ 3-77 3.2.3-7 จำนวนผู้ใช้น้ำเฉลี่ย ปริมาณความต้องการใช้น้ำ และปริมาณน้ำที่ผลิตได้ของพื้นที่ หมู่เกาะลันตา 3-79 3.2.4-1 ดัชนีตรวจคุณภาพน้ำทะเล 3-84 3.2.4-2 ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทะเลในบริเวณพื้นที่โครงการ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2564 3-88 3.2.4-3 ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทะเลในบริเวณพื้นที่โครงการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 3-93 3.2.4-4 ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทะเลในบริเวณพื้นที่โครงการ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2564 3-97 3.2.4-5 ชนิดและสัดส่วนของตะกอนท้องน้ำและค่า D50 3-100 3.2.4-6 การกัดเซาะชายฝั่งทะเล แยกเป็นรายจังหวัด ปี 2560 3-101 3.2.4-7 ความเหมือนและแตกต่างของแบบจำลอง MIKE21 กับ AQUASEA 3-104 3.2.4-8 ผลการปรับเทียบค่าระดับน้ำ ความเร็วกระแสน้ำและทิศทางการไหลของกระแสน้ำ ของแบบจำลอง ช่วงระหว่างวันที่ 15-18 มกราคม 2564 3-115 กรมทางหลวงชนบท ฑ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 3.2.5-1 จุดตรวจวัดด้านคุณภาพอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน 3-122 3.2.5-2 ดัชนีตรวจวัดคุณภาพอากาศของโครงการ 3-122 3.2.5-3 มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป 3-123 3.2.5-4 เกณฑ์ความเร็วลมที่ระดับสูงมาตรฐาน 10 เมตร เหนือพื้นดินในบริเวณที่โล่งแจ้ง 3-124 3.2.5-5 สถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2533-2562) ของสถานีตรวจอากาศเกาะลันตา 3-125 3.2.5-6 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษาโครงการ (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) 3-128 3.2.5-7 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 1 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) 3-132 3.2.5-8 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 2 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) 3-134 3.2.5-9 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 3 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) 3-135 3.2.5-10 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 4 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) 3-136 3.2.5-11 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษาโครงการ (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) 3-137 3.2.5-12 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 1 (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) 3-141 3.2.5-13 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 2 (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) 3-143 3.2.5-14 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 3 (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) 3-144 3.2.5-15 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 4 (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) 3-145 3.2.6-1 ดัชนีตรวจวัดระดับเสียง วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ และมาตรฐานวิธีการวิเคราะห์ 3-146 3.2.6-2 ค่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป 3-147 3.2.6-3 ผลการตรวจวัดระดับเสียงในพื้นที่โครงการ (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) 3-148 3.2.6-4 ผลการตรวจวัดระดับเสียงในพื้นที่โครงการ (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) 3-150 3.2.7-1 ดัชนีตรวจวัดความสั่นสะเทือน วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ และมาตรฐาน วิธีการวิเคราะห์ 3-152 3.2.7-2 มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน และการรับรู้ 3-153 3.2.7-3 ค่ามาตรฐานความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร 3-153 3.2.7-4 ผลการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนในพื้นที่โครงการ (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) 3-155 3.2.7-5 ผลการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนในพื้นที่โครงการ (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564) 3-158 3.3.1.2-1 ชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 18 พฤษภาคม 2551 3-175 3.3.1.2-2 รายชื่อปลาทะเลที่สำรวจพบในเขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-178 3.3.1.2-3 แสดงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 16 มกราคม 2564 3-182 3.3.1.2-4 แสดงชนิดและปริมาณของสัตว์หน้าดิน (ตัว/ตารางเมตร) วันที่ 16 มกราคม 2564 3-185 3.3.1.2-5 การแพร่กระจายของกลุ่มลูกปลาวัยอ่อนที่รวบรวมได้ วันที่ 16 มกราคม 2564 3-186 3.3.1.2-6 การแพร่กระจายของชนิดปลาที่รวบรวมได้ วันที่ 16 มกราคม 2564 3-188 3.3.1.2-7 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 1 วันที่ 16 มกราคม 2564 3-189 3.3.1.2-8 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 2 วันที่ 16 มกราคม 2564 3-190 3.3.1.2-9 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 3 วันที่ 16 มกราคม 2564 3-190 กรมทางหลวงชนบท ฒ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 3.3.1.2-10 แสดงชนิดพืชน้ำที่พบบริเวณพื้นที่โครงการ วันที่ 16 มกราคม 2564 3-191 3.3.1.2-11 แสดงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 3-194 3.3.1.2-12 แสดงชนิดและปริมาณของสัตว์หน้าดิน (ตัว/ตารางเมตร) วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 3-197 3.3.1.2-13 การแพร่กระจายของกลุ่มลูกปลาวัยอ่อนที่รวบรวมได้ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 3-198 3.3.1.2-14 การแพร่กระจายของชนิดปลาที่รวบรวมได้จากพื้นที่โครงการ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 3-200 3.3.1.2-15 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 1 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 3-202 3.3.1.2-16 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 2 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 3-202 3.3.1.2-17 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 3 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 3-203 3.3.1.2-18 แสดงชนิดพืชน้ำที่พบบริเวณพื้นที่โครงการ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 3-203 3.3.1.2-19 แสดงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 17 มิถุนายน 2564 3-206 3.3.1.2-20 แสดงชนิดและปริมาณของสัตว์หน้าดิน (ตัว/ตร.ม.) วันที่ 17 มิถุนายน 2564 3-208 3.3.1.2-21 การแพร่กระจายของกลุ่มลูกปลาวัยอ่อนที่รวบรวมได้ วันที่ 17 มิถุนายน 2564 3-210 3.3.1.2-22 การแพร่กระจายของชนิดปลาที่รวบรวมได้ วันที่ 17 มิถุนายน 2564 3-213 3.3.1.2-23 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 1 วันที่ 17 มิถุนายน 2564 3-213 3.3.1.2-24 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 2 วันที่ 17 มิถุนายน 2564 3-214 3.3.1.2-25 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 3 วันที่ 17 มิถุนายน 2564 3-215 3.3.1.2-26 แสดงชนิดพืชน้ำที่พบบริเวณพื้นที่โครงการ วันที่ 17 มิถุนายน 2564 3-215 3.3.1.3-1 ต้นไม้ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ 3-222 3.3.1.3-2 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณ จุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-227 3.3.1.3-3 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญของ พรรณไม้พื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-227 3.3.1.3-4 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออก เฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-228 3.3.1.3-5 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-230 3.3.1.3-6 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 1.2 ป่าชายเลน ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-230 3.3.1.3-7 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญ ของพรรณไม้พื้นที่ 1.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของแนวเส้นทาง เชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-232 3.3.1.3-8 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 1.2 ป่าชายเลนด้านทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-232 กรมทางหลวงชนบท ณ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 3.3.1.3-9 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 1.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-233 3.3.1.3-10 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-234 3.3.1.3-11 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญ ของพรรณไม้พื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะ ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-234 3.3.1.3-12 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้ แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-234 3.3.1.3-13 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทาง เชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน 3-236 3.3.1.3-14 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ป่าชายเลน บริเวณเกาะปลิง 3-240 3.3.1.3-15 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญ ของพรรณไม้พื้นป่าชายเลนบริเวณเกาะปลิง 3-240 3.3.1.3-16 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ป่าชายเลนบริเวณเกาะปลิง 3-241 3.3.1.3-17 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ป่าชายเลนบริเวณเกาะปลิง 3-241 3.3.1.3-18 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุด โครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย 3-243 3.3.1.3-19 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญของ พรรณไม้พื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย 3-243 3.3.1.3-20 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตก เฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย 3-245 3.3.1.3-21 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ แนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย 3-246 3.3.1.3-22 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการ ฝั่งเกาะลันตาน้อย 3-246 3.3.1.3-23 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญของ พรรณไม้พื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณ สิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย 3-248 กรมทางหลวงชนบท ด รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 3.3.1.3-24 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออก ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย 3-249 3.3.1.3-25 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออก ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย 3-250 3.3.1.3-26 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ บริเวณสิ้นสุดโครงการ 3-250 3.3.1.3-27 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญของ พรรณไม้พื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตก เฉียงเหนือบริเวณสิ้นสุดโครงการ 3-252 3.3.1.3-28 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้ แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือบริเวณสิ้นสุดโครงการ 3-253 3.3.1.3-29 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทาง เชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือบริเวณสิ้นสุดโครงการ 3-253 3.3.1.3-30 บัญชีรายชื่อพรรณไม้ป่าชายเลนที่พบในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร 3-254 3.3.1.4-1 การประเมินสถานภาพของแนวปะการัง 3-256 3.3.1.4-2 ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ปกคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิต (LC) ปะการังตาย (DC) พื้นทราย (SD) พื้นหิน (R) ปะการังอ่อน (SC) และสิ่งมีชีวิตเกาะติดอื่นๆ (OT) และสภาพแนวปะการัง ในพื้นที่จังหวัดกระบี่ 3-258 3.3.1.4-3 สัดส่วนของสภาพแนวปะการังในแต่ละพื้นที่ของจังหวัดกระบี่ 3-260 3.3.1.4-4 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสภาพของแนวปะการังจังหวัดกระบี่ ระหว่างปี พ.ศ. 2548 – 2553 และข้อมูลล่าสุด (สำรวจตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา) 3-263 3.3.1.4-5 ข้อมูลแนวปะการังบริเวณอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-266 3.3.1.4-6 สรุปปัจจัยที่ควรพิจารณาในการเลือกพื้นที่ฟื้นฟูแนวปะการัง 3-274 3.3.1.4-7 พื้นที่แหล่งหญ้าทะเลของประเทศไทยแยกรายจังหวัด 3-277 3.3.1.4-8 ประเภทของแหล่งหญ้าทะเลที่แพร่กระจายอยู่บริเวณน่านน้ำไทย 3-279 3.3.1.4-9 ชนิดและปริมาณของปะการังและสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ที่พบบริเวณเกาะปลิง ทางทิศตะวันออก (วันที่ 30 มกราคม 2564 - วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564) 3-292 3.3.1.4-10 ชนิดและปริมาณของปะการังและสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ที่พบบริเวณเกาะปลิงทางทิศเหนือ (วันที่ 30 มกราคม 2564 - วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564) 3-293 กรมทางหลวงชนบท ต บทที่ 1 บทนำ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปนมาและเหตุผลความจำเปนของโครงการ เกาะลันตา ตั้งอยูหางจากจังหวัดกระบี่ไปทางทิศใตประมาณ 80 กิโลเมตร มีศูนยกลางความเจริญ และธุรกิจทองเที่ยวอยูที่เกาะลันตาใหญ ดวยความเปนธรรมชาติที่สวยงามและความเงียบสงบของเกาะลันตา จึงทำใหมีนักทองเที่ยวทั้งตางชาติและภายในประเทศเขามายังพื้นที่อยูอยางตอเนื่อง ปจจุบันการเดินทางไปยัง เกาะลันตาใชทางหลวงหมายเลข 4206 เขาสูบานหัวหิน เพื่อลงแพขนานยนต (บานหัวหิน-เกาะลันตานอย) ขามฝงไปยังเกาะลันตานอย จากนั้นเดินทางเขาสูทางหลวงชนบท กบ.5035 ลงไปทางทิศใต ขามสะพานสิริลันตา ที่เชื่อมระหวางเกาะลันตานอย-เกาะลันตาใหญ เดินทางไปยังแหลงชุมชนและพื้นที่ชายหาดบริเวณทายเกาะลันตา ซึ่งจะเห็นไดวาการเดินทางระหวางฝงกับเกาะมีเพียงเสนทางเดียว คือ การลงแพขนานยนต ถึงแมจะเปนระยะทาง เพียงสั้นๆ 1.53 กิโลเมตร แตเนื่องจากขอจำกัดน้ำหนักบรรทุกของแพขนานยนตไดไมเกิน 60 คันตอเที่ยว ซึ่งมี จำนวนไมเพียงพอตอความตองการของผูใชทาง กอใหเกิดแถวคอยและการจราจรติดขัด เนื่องจากตองใชเวลานาน เพื่อรอแพขนานยนตขามฝง (รูปที่ 1.1-1) โดยเฉพาะในชวงวันหยุดหรือฤดูกาลทองเที่ยวในชวงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนเมษายนของทุกๆ ป การเดินทางโดยใชแพขนานยนตขามฝง ยังมีขอจำกัดดานระยะเวลาของการใหบริการ คือ เปดบริการ เวลา 06.00 น. และปดบริการเวลา 22.00 น. จึงทำใหเปนอุปสรรคตอการเดินทาง โดยเฉพาะการนำสงผูปวยไปยัง สถานพยาบาลในตัวเมืองของจังหวัดกระบี่ กอใหเกิดความลาชาและอาจถึงขั้นการสูญเสียชีวิตได ประกอบกับ ในการเดินทางในชวงกลางคืนหรือชวงฤดูมรสุมที่มีคลื่นลมแรงจะมีความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุไดงาย ซึ่งจาก สถิติการเกิดอุบัติเหตุที่ผานมา มีรถพยาบาลพลัดตกจากแพขนานยนตที่บริเวณทาเทียบแพหัวหิน แพขนานยนต ถูกคลื่นทะเลซัดลม และรถพลัดตกทะเลขณะโดยสาร (รูปที่ 1.1-2) กอใหเกิดการสูญเสียตอชีวิตและทรัพยสิน จำนวนมาก นอกจากนี้ประชาชนในพื้นที่และนักทองเที่ยวตองเสียคาบริการแพขนานยนตขามฝง (ตารางที่ 1.1-1) ในอัตราที่สูง เชน ประชาชนใชรถยนต 4 ลอ เดินทางไป-กลับ ตองเสียคาใชจายครั้งละ 200 บาท/วัน หรือประมาณ 4,000-6,000 บาท/เดือน การขนสงสินคาทางการเกษตร ที่มีตนทุนคาขนสงผลผลิตสูงขึ้น ดังนั้น จึงมีความจำเปนตองกอสรางสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เพื่อใหโครงขายคมนาคมในพื้นที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผลการตรวจสอบพื้นที่ศึกษาโครงการ พบวา แนวเสนทางโครงการตั้งอยูในเขตหามลาสัตวปา ตามกฎหมาย วาดวยการสงวนและคุมครองสัตวปา (เขตหามลาสัตวปาทุงทะเล) อยูในพื้นที่ปาชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี (เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และ 14 ตุลาคม 2543) และอยูในพื้นที่ชายฝงทะเลในระยะ 50 เมตร หางจาก ระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ รวมทั้งอยูในเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมจังหวัดกระบี่ ตามประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมในทองที่ อำเภออาวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองทอม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประกาศ ณ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2559 จึงเขาขายตองจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล อม ตามประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ ซึ่งตองจัดทำ รายงานการประเมิ น ผลกระทบสิ ่ ง แวดล อม และหลั กเกณฑ วิ ธ ี การ และเงื ่ อนไขในการจั ด ทำรายงานการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ซึ่งประกาศ ณ วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2562 (ตารางที่ 1.1-2) กรมทางหลวงชนบท 1-1 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ กรมทางหลวงชนบท จึงไดวาจางกลุมบริษัทที่ปรึกษา ประกอบดวย บริษัท เอพซิลอน จำกัด บริษัท สแปน จำกัด และบริษัท พรี ดีเวลลอปเมนท คอนซัลแตนท จำกัด ใหดำเนินการศึกษาความเหมาะสมและ ประเมินผลกระกระทบสิ่งแวดลอมโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เพื่อเสนอตอสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) เสนอใหคณะกรรมการผูชำนาญการพิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมดานโครงสรางพื้นฐาน ทางบกและอากาศ (คชก.) เสนอตอคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติพิจารณากอน เพื่อประกอบการขอความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรีกอนการดำเนินโครงการตอไป รูปที่ 1.1-1 แถวคอยและการจราจรติดขัด เพื่อรอแพขนานยนตขามฝงไปเกาะลันตา แพขนานยนตขามฝงเกาะลันตาลม ณ ทาเรือบานคลองหมาก รถยนตตกแพขนานยนตขณะขนสงขามฝง (ที่มา : ภาพขาวจาก เว็บไซต ผูจัดการออนไลน) (ที่มา : เว็บไซต ไทยโพสต) รูปที่ 1.1-2 การเกิดอุบัติเหตุขณะเดินทางขามฝงโดยใชแพขนานยนต กรมทางหลวงชนบท 1-2 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ตารางที่ 1.1-1 อัตราคาโดยสารแพขนานยนตทาเรือหัวหิน-ทาเรือคลองหมาก คาโดยสาร ลำดับที่ รายการ ทาเรือหัวหิน-ทาเรือคลองหมาก 1 ขาราชการในเครื่องแบบ พระภิกษุสามเณร - (ไมรวมพาหนะ) และนักเรียนแตงเครื่องแบบทุกประเภท ไมเก็บคาโดยสาร 2 ประชาชนภูมิลำเนาอำเภอเกาะลันตา 3 นักทองเที่ยวชาวไทยและประชาชนทัว ่ ไป 10 นักทองเที่ยวตางประเทศ 20 3 รถจักรยาน รถจักรยานยนต 5 4 รถจักรยานมีรถพวงรถเข็น 20 5 รถยนต 4 ลอ (รถเกง รถจิ๊บ รถกระบะ รถตู) ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 100 6 รถบัส 6 ลอ ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 400 รถบัสขนาดใหญ 8 ลอขึ้นไป ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 600 7 รถบรรทุก 4 ลอ ไมบรรทุกสิ่งของ ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 150 8 รถบรรทุก 4 ลอ บรรทุกสิ่งของ น้ำหนักรวมรถไมเกินที่กฎหมายกำหนด 200 ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 9 รถบรรทุก 4 ลอใหญ และรถบรรทุก 6 ลอเล็ก ไมบรรทุกสิ่งของ ไมรวมคนโดยสาร 250 ยกเวนคนขับ 10 รถบรรทุก 4 ลอใหญ และรถ 6 ลอเล็ก บรรทุกน้ำหนักรวมไมเกินน้ำหนัก 300 ที่กฎหมายกำหนด ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 11 รถบรรทุก 6 ลอใหญ ไมบรรทุกสิ่งของ ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 350 12 รถบรรทุก 6 ลอใหญ บรรทุกน้ำหนักรวมรถไมเกินน้ำหนักที่กฎหมายกำหนด 400 ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 13 รถบรรทุก 10 ลอ ไมบรรทุกสิ่งของ ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 450 14 รถบรรทุก 10 ลอ บรรทุกสิ่งของน้ำหนักรวมรถ ไมเกินน้ำหนักที่กฎหมายกำหนด 650 ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 15 รถบรรทุก 10 ลอ บรรทุกปูนผง รถผสมปูน ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 1,100 16 รถบรรทุก 10 ลอ บรรทุกสิ่งของ มีความยาวแนวทายรถออกไปไมเกิน 1 เมตร คิดเพิ่มเมตรละ ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 10 บาท 17 รถบรรทุก 10 ลอพวง ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 1,000 18 รถบรรทุก 10 ลอ บรรทุกน้ำมันเชื้อเพลิง ไมรวมคนโดยสาร ยกเวนคนขับ 1,100 ที่มา : บริษัท สงเสริม ทรานเซอรวิส จำกัด, พฤษภาคม 2563 ตารางที่ 1.1-2 กำหนดโครงการกิจกรรมหรือดำเนินการ ซึ่งตองจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม หลักเกณฑ วิธีการ ลำดับที่ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด ระเบียบปฏิบต ั ิ 20 ทางหลวงหรือถนนซึ่งมีความหมายตามกฎหมายวาดวยทางหลวงที่ตัดผาน พื้นที่ดังตอไปนี้ 20.1 พื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาและเขตหามลาสัตวปา ตามกฎหมายวาดวย ทุกขนาด ใหเสนอในขั้นตอนอนุมัติ การสงวนและคุมครองสัตวปา หรือขออนุญาตโครงการ 20.5 พื ้ นที ่ ชายฝ  งทะเลในระยะ 50 เมตร ห างจากระดั บน้ ำทะเลขึ ้ นสู งสุด ตามปกติทางธรรมชาติ ที่มา : ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562 กรมทางหลวงชนบท 1-3 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ 1.2 วัตถุประสงคของการจัดทำรายงาน 1) เพื่อศึกษาที่ตั้งของแนวเสนทาง รายละเอียดองคประกอบ/กิจกรรมตางๆ ในการพัฒนาโครงการ และสวนที่เกี่ยวของ ลักษณะของถนนที่เชื่อมโยงกับแนวเสนทางโครงการ รวมทั้งรายละเอียดแหลงกำเนิดสาร มลพิษตางๆ ทั้งในระยะเตรียมการกอสราง ระยะกอสราง และระยะดำเนินการ ซึ่งอาจทำใหเกิดผลกระทบ ตอทรัพยากรสิ่งแวดลอมและคุณคาตางๆ โดยครอบคลุมพื้นที่เขตทางและพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนว เสนทางโครงการเปนอยางนอย 2) เพื่อรวบรวมและวิเคราะหขอมูลพื้นฐานตางๆ ในสภาพปจจุบันของทรัพยากรสิ่งแวดลอมและ คุณคาตางๆ ซึ่งประกอบดวย ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ คุณคาการ ใชประโยชนของมนุษย และคุณคาตอคุณภาพชีวิต โดยครอบคลุมพื้นที่เขตทางและพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเสนทางโครงการเปนอยางนอย 3) เพื ่ อประเมิ น ผลกระทบที ่ อาจเกิ ด ขึ ้ น จากกิ จ กรรมต า งๆ ในการพั ฒ นาโครงการต อทรั พ ยากร สิ่งแวดลอม และคุณคาตางๆ ทั้งผลกระทบดานบวกและผลกระทบดานลบ ครอบคลุมทั้งในระยะเตรีย มการ กอสราง ระยะกอสราง และระยะดำเนินการ 4) เพื่อเสนอมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบ ผลกระทบสิ่งแวดลอม รวมทั้งมาตรการสงเสริมและปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดลอม 5) เพื่อจัดทำแผนการจัดการดานสิ่งแวดลอมของโครงการ (Environmental Management Plan) 1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากโครงการ 1) เพื่อเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่และกระจายความเจริญสูทองถิ่นและภูมิภาค สนับสนุน และ อำนวยความสะดวกดานพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม และการทองเที่ยว 2) เพื่อยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยในการเดินทางของประชาชน 3) พัฒนาและยกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบทเพื่อเชื่อมโยงตอเติมโครงขายการคมนาคม และ การขนสง แกไขปญหาจราจรดวยการสรางทางเชื่อม (Missing Link) ใหสมบูรณยิ่งขึ้น 4) เพื่อบรรเทาปริมาณจราจรของถนนทางหลวง และแกไขปญหาการจราจรที่ลาชาบริเวณทางเชื่อมเกาะ ระหวางตำบลเกาะกลาง และตำบลเกาะลันตานอย จังหวัดกระบี่ 1.4 ขอบเขตและวิธีการศึกษา กระบวนการศึ ก ษาและจั ด ทำรายงานการประเมิ น ผลกระทบสิ ่ ง แวดล อมของโครงการ เพื ่ อให ไ ด ผลการศึกษาที่ถูกตองที่สุดบนพื้นฐานทางวิชาการและกฎหมายที่เกี่ยวของ โดยดำเนินการศึกษาตามขอกำหนด การศึกษาของกรมทางหลวงชนบทเปนอยางนอย รวมทั้งไดใชแนวทางและหลักเกณฑในการศึกษาและจัดเตรียม รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ดังนี้ - แนวทางการวิเคราะห ผลกระทบสิ่ งแวดลอมโครงการดานการคมนาคม ซึ่งจัดเตรี ยมโดยกลุ ม คมนาคม สำนักวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - แนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม โดยสำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2550 กรมทางหลวงชนบท 1-4 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ - ระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมของประเทศไทย โดยสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร- ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2562 ซึ่งมีขั้นตอนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม แบงออกเปน 2 ขั้นตอนหลัก (รูปที่ 1.4-1) ไดแก 1) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน (Initial Environmental Examination : IEE) ไดดำเนินการ ตามรูปแบบการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม เพื่อคัดกรองปจจัยดานสิ่งแวดลอมที่มีนัยสำคัญหรือมีผลกระทบ ในระดับปานกลาง-สูง มาดำเนินการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมในขั้นรายละเอียด เพื่อเสนอแนะมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบที่เหมาะสม 2) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมขั้นรายละเอียด การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมขั้นรายละเอียด (Environmental Impact Assessment : EIA) ไดนำประเด็นสิ่งแวดลอมที่มีนัยสำคัญจากการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน มาดำเนินการศึกษา วิเคราะห และประเมินผลกระทบเพิ่มเติมอยางละเอียด ดังนี้ (1) รวบรวมขอมูลพื้นฐานของปจจัยทางดานสิ่งแวดลอมทั้งขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิที่จำเปน จากแหลงตางๆ ที่เกี่ยวของรวมกับการศึกษาเพิ่มเติมจากเอกสารและรายงานตางๆ ที่เกี่ยวกับโครงการและขอมูล อื่นๆ ที่เกี่ยวของจากหนวยงานตางๆ ทบทวนขอกำหนด ขอบเขต และแผนงานตามขอเสนอ EIA รวบรวมขอมูล ดานนโยบาย กฎระเบียบและขอกฎหมายที่เกี่ยวของกับการดำเนินโครงการ (2) นำขอมูลที่รวบรวมไดตามขอ (1) มาศึกษาทบทวนการพัฒนาโครงการโดยละเอียด ศึกษาความ เพียงพอของขอมูลตางๆ วามีความตองการขอมูลเพิ่มเติมหรือไม (3) ดำเนินการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอมในภาคสนาม จำนวน 2 ครั้ง เพื่อเปนตัวแทนชวงฤดูฝน และฤดูแลง ดำเนินการสำรวจขอมูลสภาพดานเศรษฐกิจ-สังคม และความคิดเห็นตอโครงการ โดยทำแบบสอบถาม สัมภาษณ เก็บรวบรวมขอมูลทรัพยากรสิ่งแวดลอมสาขาตางๆ เพื่อนำมาจัดทำฐานขอมูลสำหรับนำไปใชวิเคราะห และแสดงผลความสัมพันธเชื่อมโยงกับสาขาทรัพยากรสิ่งแวดลอมและคุณคาตางๆ โดยฐานขอมูลดังกลาว จะครอบคลุมพื้นที่ในเขตทางและระยะ 500 เมตร จากแนวเสนทางโครงการเปนอยางนอย ในกรณีที่โครงการ มี แ นวโน มที่ จะกอให เกิ ดผลกระทบเป นวงกวางหรือมีผ ลกระทบต อเนื ่อง สำหรั บการศึกษาผลกระทบดาน ประวัติศาสตรและโบราณคดี จะครอบคลุมพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกลเคียงในระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเสนทาง โครงการ (4) วิเคราะหขอมูลที่รวบรวมไดทั้งหมด เพื่อเลือกสรรขอมูลที่เกี่ยวของและเปนประโยชนหรื อ ที่เชื่อถือได ตามดวยการวิเคราะหขอมูลโดยใชแบบจำลองทางคณิตศาสตร หลักการทางดานสถิติตามความจำเปน วิเคราะหขอมูลตางๆ ในรูปตารางขอมูล และความสัมพันธของขอมูลตางๆ ตามความจำเปน โดยผูเชี่ยวชาญ สาขาตางๆ เปนผูดำเนินการวิเคราะหขอมูล (5) ศึกษาลักษณะกิจกรรมการดำเนินโครงการในแตละระยะของการพัฒนา รวมทั้งแผนการ กอสรางและวิธีการกอสรางอยางละเอียด ขอมูลเหลานี้จะใชเปนขอมูลพื้นฐานที่สำคัญในการวิเคราะหและ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมดานตางๆ ในระหวางการศึกษาหากมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลลักษณะโครงการ หรือแนวเสนทางโครงการหรือมีประเด็นที่ประชาชนใหความสนใจ ตลอดจนเปนขอหวงกังวลจะมีการศึกษา ขอมูลดังกลาวเพิ่มเติมตามความเหมาะสมใหสอดคลองกับลักษณะโครงการและเปนขอมูลทันสมัยมากที่สุด กรมทางหลวงชนบท 1-5 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ รูปที่ 1.4-1 ขั้นตอนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 1-6 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ (6) เสนอผลการวิ เคราะหข  อมูล แสดงสภาพแวดล อมป จจุบ ันของปจจัยดานสิ่ งแวดล อม และ คาดการณหรือพยากรณสภาพหรือแนวโนมในอนาคตของปจจัยดานสิ่งแวดลอม อันเนื่องมาจากการดำเนินโครงการ รวมถึงการแสดงความสัมพันธของปจจัยดานสิ่งแวดลอมที่มีความเกี่ยวของกัน (7) จากผลการศึกษาในขอ (4) (5) และ (6) ดังกลาวขางตน นำมาเปนขอมูลประกอบการศึกษา และประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมที่อาจเกิดขึ้นจากกิจกรรมตางๆ ในการพัฒนาโครงการ ทั้งกรณีไมมีโครงการ และกรณีมีโครงการ โดยพิจารณาทั้งในระยะกอสราง และระยะดำเนินการและบำรุงรักษา โดยการทำนายผล สำหรับปจจัยดานสิ่งแวดลอม ซึ่งประเมินออกมาในเชิงปริมาณหรือคาดการณสภาพในอนาคต อันเนื่องมาจากการ ดำเนินโครงการตอปจจัยดานสิ่งแวดลอมตางๆ และโครงการพัฒนาอื่นๆ ที่อยูใกลเคียงที่มีแนวโนมจะเกิดขึ้น ในอนาคต ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงพรรณนา สำหรับปจจัยดานสิ่งแวดลอมตางๆ แตละประเภทในลักษณะแบบ ผสมผสาน โดยจะประเมิ นผลกระทบใหม ี ค วามเชื ่อมโยงของประเด็ นต างๆ ร ว มกั บ ป จ จั ยด านสิ ่ งแวดลอม ทุกประเภทที่เกี่ยวของกัน โดยผูเชี่ยวชาญสาขาตางๆ เปนผูประเมิน (8) ศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดานสิ่งแวดลอมตางๆ และ/หรือผลกระทบจากการดำเนิน โครงการทั้งหมด (Overall Project) เพื่อทำใหการประเมินผลกระทบในขอ (7) มีความสมบูรณยิ่งขึ้น (9) จากผลการศึกษาในข อ (7) และ (8) นำมาจัดทำขอเสนอแนะมาตรการป องกันและแก ไ ข ผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ เพื่อใหการดำเนินโครงการกอใหเกิดผลกระทบสิ่งแวดลอมในระดับนอยที่สุด และเปนที่ยอมรับและเสนอแนะมาตรการสงเสริมและปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อเพิ่มพูนผลดีของโครงการ (10) เสนอแนะมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการทั้งหมด (Overall Environmental Monitoring Program) โดยใชผลการศึกษาในขอ (7) (8) และ (9) ตามความจำเปนและเกี่ยวของ (11) จัดทำแผนการจัดการดานสิ่งแวดลอม โดยจะนำขอเสนอแนะมาตรการตางๆ ในขอ (9) และ (10) มาจัดทำเปนแผนการจัดการสิ่งแวดลอมของโครงการ 1.5 พื้นที่ศึกษาโครงการ พื้นที่ศึกษาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ครอบคลุมพื้นที่ในเขตทางและระยะ 500 เมตร จากแนวเสนทางโครงการเปนอยางนอย หรือ มากกวาขึ้นกับประเด็นการศึกษา โดยมีจุดเริ่มตนโครงการที่ กม.0+000 เชื่อมตอกลับทางหลวงหมายเลข 4206 (กม.26+620) บริเวณบานหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และจุดสิ้นสุดโครงการ ที่ กม.2+527 เชื่อมตอกับทางหลวงชนบท กบ.5035 บริเวณบานทุงโตะหยุม ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ครอบคลุมพื้นที่ 1 อำเภอ 2 ตำบล 2 หมูบาน แสดงดังรูปที่ 1.5-1 ถึงรูปที่ 1.5-2 และตารางที่ 1.5-1 กรมทางหลวงชนบท 1-7 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ รูปที่ 1.5-1 ที่ตั้งโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 1-8 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ รูปที่ 1.5-2 พื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 1-9 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ตารางที่ 1.5-1 พื้นที่ศึกษาโครงการ จังหวัด อำเภอ ตำบล หมูบาน เกาะกลาง หมูที่ 8 บานหัวหิน กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตานอย หมูที่ 2 บานทุงโตะหยุม 1 จังหวัด 1 อำเภอ 2 ตำบล 2 หมูบาน ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 1.6 ขอจำกัดและพื้นที่ออนไหวดานสิ่งแวดลอม 1) พื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมในทองที่อำเภออาวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอ คลองทอม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การตรวจสอบพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมในพื้นที่ศึกษาโครงการกับสำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) ตามหนังสือเลขที่ ทส.1011.3/1642 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ 2564 พบวาแนวเสนทางโครงการ ตั้งอยูในเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมในทองที่อำเภออาวลึก อำเภอ เมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองทอม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประกาศ ณ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2559 (รูปที่ 1.6-1 และรูปที่ 1.6-2) (ภาคผนวก ก) โดยอยูในเขตพื้นที่ที่ใหใชมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอม รวม 3 บริเวณ ไดแก บริเวณที่ 1 เขตอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน บริเวณที่ 3 เขตนานน้ำเพื่อคุมครอง ทรัพยากรทางทะเล ประมงและชายฝง และบริเวณที่ 4 เขตการจัดการชายฝงทะเลและเกาะ ซึ่งหากมีการ ดำเนินการโครงการดังกลาวจะตองปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดไวในประกาศกระทรวงฯ ไดแก ขอ 5 (1) (ก) (3) (ค) (4) (ก) ขอ 7 (5) และ ขอ 11 (2) (ก) - ขอ 5 ในพื้นที่ตามขอ 3 หามกระทำการหรือกิจกรรมใดๆ ที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ภายใน บริเวณ ดังตอไปนี้ • บริเวณที่ 1 (ก) การใชประโยชนไมวาดวยประการใดๆ • บริเวณที่ 3 (ค) เก็บ ทำลาย หรือกระทำดวยประการใดๆ ที่อาจเปนอันตรายหรือมีผลกระทบตอ ปะการัง ซากปะการัง หินปะการัง กัลปงหา หรือหญาทะเล เวนแตเปนการศึกษาและวิจัยทางวิชาการ ซึ่งไดรับ อนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช อธิบดีกรมประมง หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ แลวแตกรณี • บริเวณที่ 4 (ก) การกระทำใดๆ ที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางธรณีสัณฐาน หรือสภาพทาง ธรรมชาติของชายหาดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หรือทำใหทัศนียภาพบริเวณชายหาดเสียไป - ขอ 7 ในพื้นที่ตามขอ 3 หามกระทำหรือประกอบกิจกรรม ดังตอไปนี้ (5) การปลูกสรางอาคารหรือสิ่งอื่นใดลวงล้ำลำแมน้ำ เวนแตกรณีที่ไดรับอนุญาตตามขอ 4 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 63 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 และกระชังเลี้ยงสัตวน้ำที่ไดรับอนุญาตตามกฎกระทรวงที่ออกตามกฎหมายวาดวยการเดินเรือในนานน้ำไทย และกฎหมายวาดวยการประมง กรมทางหลวงชนบท 1-10 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ - ข อ 11 ในพื ้ นที่ ตามขอ 3 นอกจากต องปฏิบั ติ ตามหลั กเกณฑท ี่ กำหนดไว ในประกาศนี้แลว กอนการกอสรางอาคาร หรือดำเนินโครงการหรือประกอบกิจการ ใหจัดทำและเสนอรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม เบื้องตน หรือรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม แลวแตกรณี ตอสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร- ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตามหลักเกณฑ วิธีการ และระเบียบปฏิบัติที่กำหนดไว ตามมาตรา 46 แหงพระราชบัญญัติ สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ดังตอไปนี้ (2) การจัดทำรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการหรือกิจการตามประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งกำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งตองจัดทำ รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงาน การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 46 แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 2) พื้นที่เขตหามลาสัตวปาตามกฎหมายวาดวยการสงวนและคุมครองสัตวปา การตรวจสอบพื้นที่ดำเนินการโครงการพบวาตัดผานพื้นที่เขตหามลาสัตวปาตามกฎหมายวาดวย การสงวนและคุมครองสัตวปา โดยตัดผานพื้นที่เขตหามลาสัต วปาทุ งทะเล ชวง กม.0+922 – กม.1+369 ระยะทางประมาณ 0.447 กิโลเมตร คิดเปนพื้นที่ประมาณ 4.0 ไร (รูปที่ 1.6-3) โดยเขตหามลาสัตวปาทุงทะเล เปนพื้นที่ปาเสม็ดผืนใหญเนื้อที่หลายพันไร ผืนเดียวในประเทศไทย และเปนพื้นที่ที่มีสังคมพรรณพืชที่เชื่อมตอ ระหวางปาชายหาด-ปาเสม็ด และปาชายเลนที่คงความบริสุทธิ์มากที่สุด นอกจากนี้ยังเปนที่อาศัยของสัตวปา คุมครอง ซึ่งการเขาไปกระทำการศึกษาในพื้นที่ดังกลาว จะตองดำเนินการยื่นคำขออนุญาตเขากระทำการศึกษา หรือวิจัยทางวิชาการในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติ ตามแนวทางและขั้นตอนตามระเบียบกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช วาดวยการอนุญาตเขาไปทำการศึ กษาหรื อวิจัย ทางวิชาการในเขตรั กษาพันธุส ัต ว ป า และเขตหามลาสัตวปา ซึ่งผลการขออนุญาตฯ ไดรับหนังสืออนุญาตเขาไปทำการศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการ ตามหนังสือเลขที่ ทส 0909.204/27279 ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2563 (ภาคผนวก ข) 3) พื้นที่ปาชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี ผลการตรวจสอบพื้นที่ดำเนินการโครงการตัดผานเฉพาะพื้นที่ปาชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 14 ตุลาคม 2543 (ไม อ ยู ใ นเขตปาชายเลนในเขตปาสงวนแหงชาติ) ชวง กม.1+828-กม.1+957 ระยะทางประมาณ 0.129 กิโลเมตร คิดเปนพื้นที่ประมาณ 1.2 ไร (รูปที่ 1.6-4) 4) พื้นที่ปาสงวนแหงชาติ แนวเสนทางโครงการตัดผานพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ 1 แหง คือ ปาสงวนแหงชาติปาหลังสอด/ ปาควนบากันเกาะ ชวง กม.1+958-กม.2+527 ระยะทาง 0.569 กิโลเมตร คิดเปนพื้นที่ประมาณ 4.0 ไร (รูปที่ 1.6-5) การเขาไปศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติตองขออนุญาตตอกรมปาไม เพื่อใหเปนไป ตามมาตรา 17 แหงพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 ซึ่งผลการขออนุญาตฯ ไดรับหนังสืออนุญาต เขาไปทำการศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการ ตามหนังสือเลขที่ ทส 1635.4/2613 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 (ภาคผนวก ค) กรมทางหลวงชนบท 1-11 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ รูปที่ 1.6-1 แนวเสนทางโครงการในเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมจังหวัดกระบี่ (วันที่ 31 มีนาคม 2559) กรมทางหลวงชนบท 1-12 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ รูปที่ 1.6-2 แนวเสนทางโครงการในเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมจังหวัดกระบี่ (วันที่ 31 มีนาคม 2559) (สวนขยาย) กรมทางหลวงชนบท 1-13 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ  ทะเลในพื้นที่ดำเนินโครงการ รูปที่ 1.6-3 พื้นที่เขตหามลาสัตวปาทุง กรมทางหลวงชนบท 1-14 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ รูปที่ 1.6-4 พื้นที่ปาชายเลนมติคณะรัฐมนตรีในพื้นที่ดำเนินโครงการ กรมทางหลวงชนบท 1-15 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ่ ำเนินโครงการ รูปที่ 1.6-5 พื้นที่ปาสงวนแหงชาติในพื้นทีด กรมทางหลวงชนบท 1-16 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ 5) พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำ การตรวจสอบพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการกับสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร- ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) ตามหนังสือเลขที่ ทส 1009.6/1528 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ 2564 พบวา พื้นที่ ดำเนินโครงการตั้งอยูในเขตพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำที่ 5 ทั้งหมด มีขนาดพื้นที่ประมาณ 13 ไร แสดงดังรูปที่ 1.6-6 โดยพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำชั้นที่ 5 มติคณะรัฐมนตรีกำหนดใหใชพื้นที่ไดทุกกิจกรรม 6) ผังเมืองรวมจังหวัดกระบี่ (รูปที่ 1.6-7) (1) การกำหนดการใชประโยชนที่ดินในอนาคต จากการตรวจสอบขอมูลการวางและจัดทำผังเมืองรวมจังหวัดกระบี่ ซึ่งประกาศในราชกิจจา- นุเบกษา เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใชมีวัตถุประสงคเพื่อขอแนวทางในการพัฒนา และการดำรงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวของหรือชนบท ในดานการใชประโยชนในทรัพยสิน การคมนาคมและ การขนสง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดลอม ใหสอดคลองกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยการกำหนดการใชประโยชนที่ดินใน อนาคตเปน 9 ประเภท ดังนี้ ก) ที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู) ข) ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) ค) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ง) ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) จ) ที่ดินประเภทอนุรักษสภาพแวดลอมเพื่อการทองเที่ยว (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีขาว) ฉ) ที่ดินประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) ช) ที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) ซ) ที่ดินประเภทที่โลงเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (สีฟา) ฌ) ที่ดินประเภทอนุรักษเพื่อสงเสริมเอกลักษณศิลปวัฒนธรรมไทย (สีน้ำตาลออน) (2) แผนแมบทพื้นที่เปาหมายการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่จังหวัดกระบี่ แผนแมบทและพื ้นที ่เป าหมายการจั ดรู ปแบบที่ ดิ นเพื่ อพั ฒนาพื ้นที ่ของจังหวัด กระบี ่ คื อ แผนการพัฒนาพื้นที่จังหวัดดวยการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประสานการพัฒนาเมือง ใหสอดคลองกับยุทธศาสตรจังหวัดหรือนโยบายพิเศษ ใหหนวยงานตามมาตรา 13 (6) ในจังหวัดมีเปาหมายพัฒนา พื้นดวยการจัดรูปแบบที่ดินฯ ที่ชัดเจน สอดคลองและเปนไปตามโครงการหลักของจังหวัด หรือนโยบายพิเศษอื่นๆ ซึ่งจุดมุงหมายในการจัดรูปแบบที่ดินเพื่อ - เพื่อจัดระเบียบเมืองในเรื่องแปลงที่ดิน โครงสรางพื้นฐานใหเหมาะสมกับการใชประโยชน ที่ดินในการพัฒนาสภาพที่อยูอาศัย แหลงธุรกิจ อุตสาหกรรมและเกษตรกรรมตามผังเมือง - การปรับปรุงหรือการพัฒนาโครงการสรางพื้นฐานตามแผนผังเมืองที่วางไวอยางเปนระบบ มีประสิทธิภาพ และเปนรูปธรรมนำไปสูการปฏิบัติไดมากขึ้น - เพื่อแกปญหาสภาพแวดลอมของเมือง พัฒนาใหเกิดความนาอยู สะดวก ปลอดภัย - สงเสริมใหเอกชนเขามามีสวนรวมกับภาครัฐในการจัดรูปแบบที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ กรมทางหลวงชนบท 1-17 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ รูปที่ 1.6-6 พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำในพื้นที่ดำเนินโครงการ กรมทางหลวงชนบท 1-18 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ที่ตั้งโครงการ รูปที่ 1.6-7 ผังเมืองรวมจังหวัดกระบี่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 กรมทางหลวงชนบท 1-19 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ก) วิสัยทัศนการพัฒนาจังหวัดกระบี่ วิสัยทัศนของจังหวัดกระบี่ คือ “กระบี่เมืองทองเที่ยว คุณภาพระดับนานาชาติ แหลงเกษตร อุตสาหกรรมที่ยั่งยืน สังคมที่นาอยู” โดยที่ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมไดมีการนำไปใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพและการอนุรักษใหคงอยูอยางยั่งยืนโดยชุมชนมีสวนรวม มีการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรมูลคาการผลิตและรายไดตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมการสรางแผน ผลิตภัณฑชุมชน พัฒนาผลิตภัณฑชุมชนที่เขม แข็ง และเปนฐานรายได เพื่ อยกระดับรายได ของคนในชุ ม ชน โดยผูดอยโอกาส ผูไดรับผลกระทบจากปญหาไดรับความชวยเหลือสงเคราะหจากภาครัฐตามสิทธิ เยาวชนไดรับ การสนับสนุนการศึกษา ประชาชนไดรับการพัฒนาอาชีพที่สอดคลองกับตลาด และไดรับการอำนวยความสะดวก จากการบริการภาครัฐ เกิดความสัมพันธที่ดีระหวางรัฐกับประชาชน ซึ่งในการคัดเลือกพื้นที่เปาหมายการจัดรูป ที่ดินเพื่อพัฒนาที่จัดรูปแบบที่ดิน และคัดเลือกพื้นที่โครงการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่จะตอบสนองนโยบาย การปฏิบัติใหเปนไปตามผังเมืองรวมและเปนโครงการพัฒนาที่สอดคลองสนับสนุนกับวิสัยทัศนของจังหวัดกระบี่ ข) พื้นที่เขตสงเสริมการจัดรูปแบบที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดกระบี่ แผนแมบท และพื้นที่เปาหมายการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่จังหวัดกระบี่ ไดกำหนดพื้นที่เขตสงเสริมการจัดรูปที่ดิน เพื่อพัฒนาพื้นที่ของจังหวัด (Land Readjustment Promotion Area) ไวในเขตผังเมืองรวมเขตเทศบาล ทั้งนี้ เพื่อใหโครงการจัดรูปแบบที่ดิน เพื่อพัฒนาพื้นที่ เปนเครื่องมือในการสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ใหสอดคลองกับ แผนพัฒนาจังหวัดหรือผังเมืองรวมเมืองตางๆ ในพื้นที่จังหวัด ซึ่งเปนพื้นที่ที่ไดรับการออกแบบวางผังไวแลว และ พื้นที่สวนใหญมีศักยภาพในการพัฒนาคอนขางสูง หรือพื้นที่เขตชุมชนเมือง เชน พื้นที่เขตเทศบาลตำบลตางๆ สำหรับพื้นที่เขตสงเสริมจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดกระบี่ในพื้นที่เขตสงเสริมการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนา ที่ดิน จำนวน 12 แหง รายละเอียดตามแผนผังแสดงพื้นที่เขตสงเสริมการจัดรูปแบบที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่ของ จังหวัดกระบี่ ไดแก (ก) พื้นที่ในเขตผังเมืองรวมเมืองกระบี่ ซึ่งประกอบดวยพื้นที่ในเขตเทศบาลเมืองกระบี่ องคการบริหารสวนตำบลไสไทย องคการบริหารสวนตำบลทับปริก และเทศบาลตำบลกระบี่นอย (ข) พื้นที่ในเขตผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ – เกาะลันตานอย ซึ่งประกอบดวย พื้นที่ในเขตเทศบาลตำบลเกาะลันตาใหญ องคการบริหารสวนตำบลเกาะลันตานอย องคการบริหารสวนตำบล เกาะลันตาใหญ และองคการบริหารสวนตำบลศาลาดาน (ค) เทศบาลตำบลปลายพระยา อำเภอปลายพระยา (ง) เทศบาลตำบลแหลมสัก อำเภออาวลึก (จ) เทศบาลตำบลอาวลึกใต อำเภออาวลึก (ฉ) เทศบาลตำบลเขาพนม อำเภอเขาพนม (ช) เทศบาลตำบลเหนือคลอง อำเภอเหนือคลอง (ซ) เทศบาลตำบลลำทับ อำเภอลำทับ (ฌ) เทศบาลตำบลคลองทอมใต อำเภอคลองทอม (ญ) เทศบาลตำบลคลองพน อำเภอคลองทอม (ฎ) เทศบาลตำบลคลองพนพัฒนา อำเภอคลองทอม (ฏ) เทศบาลตำบลทรายขาว อำเภอคลองทอม ค) พื้นที่เปาหมายการจัดรูปที่ดิน พื้นที่เปาหมายการจัดรูปที่ดิน (Land Readjustment Target Area) หมายถึงพื้นที่ที่จะดำเนินโครงการจัดรูปที่ดินในพื้นที่เขตสงเสริมใหพัฒนาดวยการจัดรูปที่ดิน ของจังหวัดกระบี่ ไดแก พื้นที่ในเขตผังเมืองรวมเมืองกระบี่ จำนวน 1 บริเวณ และพื้นที่ในเขตผังเมืองรวมชุมชน เกาะลันตาใหญ – เกาะลันตานอย จังหวัดกระบี่ จำนวน 1 บริเวณ โดยมีเปาหมายเพื่อพัฒนาหรือปรับปรุง โครงสรางพื้นฐาน สภาพแวดลอม และสอดคลองตามการผังเมือง ประกอบดวย กรมทางหลวงชนบท 1-20 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ (ก) พื้นที่เปาหมายบริเวณที่ 1 ตามประกาศจังหวัดกระบี่ เรื่อง แผนแมบทและพื้นที่ เปาหมายการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดกระบี่ ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลาคม 2553 (ข) พื้นที่เปาหมายบริเวณที่ 2 ตามประกาศจังหวัดกระบี่ เรื่อง แผนแมบทและพื้นที่ เปาหมายการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดกระบี่ ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลาคม 2553 (ค) พื ้ น ที ่ เ ป า หมายบริเ วณที ่ 3 (เพิ ่ ม เติ ม ) ที ่ ต ั ้ ง : อยู  ใ นเขตผั งเมืองรวมเมื องกระบี่ (กฎกระทรวงผังเมืองรวมเมืองกระบี่ พ.ศ. 2554) อยูในเขตเทศบาลเมืองกระบี่ อำเภอเมืองกระบี่ มีพื้นที่ประมาณ 3,318 ไร ประกอบดวย แปลงที่ดินจำนวนประมาณ 4,251 แปลง ซึ่งตามแผนผังการใชประโยชนที่ดินตามที่ได จำแนกประเภทและแสดงโครงการคมนาคมและขนสงทายกฎกระทรวงผังเมืองรวมเมือง พ.ศ. 2554 ไดกำหนดไว เปนบริเวณดังนี้ - บริเวณที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) - บริเวณที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม) - บริเวณพาณิชยกรรมและที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (สีแดง) - บริเวณชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ดานเหนือ จดเสนขนานระยะ 200 เมตร กับศูนยกลางถนนสาย ง2 แนวเขตปาสงวน แหงชาติปาไสโปะแปลงทีห ่ นึ่ง และสถานบันพลศึกษาวิทยาเขตกระบี่ ดานตะวันออก จดถนนราษฎรพัฒนา ฟากตะวันออกแนวเขตผังเมืองรวมดานตะวันออก เขาแกวเสนขนานระยะ 200 เมตร กับศูนยกลางทางหลวงแผนดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เสนขนาน ระยะ 200 เมตร กับศูนยกลางถนนสาย ง5 เสนขนานระยะ 200 เมตร กับศูนยกลางถนนอุตรกิจและถนนอุตรกิจ ฟากตะวันออก ดานใต จดถนนสุดมงคล ฟากใตดานตะวันตก จดถนนมหาราช ฟากตะวันตก และ ถนนศรีพังงา ฟากใต วัตถุประสงคในการกำหนดพื้นที่เปาหมาย ไดแก - เพื่อใชในการแกปญหาใหกับเจาของที่ดินที่มีแนวถนนโครงการตามผังเมืองรวม เมืองกระบี่ผาน ซึ่งทำใหสามารถใชประโยชนที่ดินในการพัฒนาพื้นที่ไดอยางเต็มที่ - เพื่อกอสรางระบบโครงขายคมนาคมขนสงใหมีประสิทธิภาพและเชื่อมตออยาง เปนระบบตามผังโครงการคมนาคมและขนสง - เพื่อจัดใหมีพื้นที่รองรับการขยายตัวของเมืองและยานพาณิชยกรรมใหสงเสริม กิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่เมือง - เพื่อพัฒนาระบบสาธารณูปโภคใหมีความสมบูรณและเชื่อมโยงกับพื้นที่ภายนอก ไดอยางเปนระบบ - เพื่อแกปญหาความขาดแคลนสิ่งบริการพื้นฐานจำเปนของชุมชน (ง) พื ้ น ที ่ เ ป า หมายบริ เ วณที ่ 4 (เพิ ่ ม เติ ม) ที ่ ต ั ้ ง : อยู  ใ นเขตผั งเมืองรวมเมื องกระบี่ (กฎกระทรวงผังเมืองรวมกระบี่ พ.ศ. 2554) อยูในเขตเทศบาลเมืองกระบี่ อำเภอเมืองกระบี่ มีพื้นที่ประมาณ 1,170 ไร ประกอบดวย แปลงที่ดิน จำนวน 2,112 แปลง ซึ่งตามแผนผังการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจำแนกประเภท และแสดงโครงการคมนาคมและขนสง ทายกฎกระทรวงผังเมืองรวมเมือง พ.ศ. 2554 กำหนดไวบริเวณดังนี้ - บริเวณที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) - บริเวณที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม) - บริเวณพาณิชยกรรมและที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (สีแดง) - บริเวณพาณิชยกรรมและสถานบริการ (สีแดงและเสนทางแยกสีขาว) กรมทางหลวงชนบท 1-21 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ดานเหนือ จดเสนขนานระยะ 200 เมตร กับศูนยกลางถนนสาย ง8 ถนนมหาราช ฟากตะวันออก และถนนปานุราช ฟากใต ดานตะวันออก จดถนนอุตรกิจ ฟากตะวันตก ถนนสาย ง12 ฟากใต และถนนมหาราช ฟากตะวันออก ดานใต จดถนนสาย ข4 ฟากใต และถนนสาย ข5 ฟากตะวันออก ดานตะวันตก จดถนนกระบี่ ฟากตะวันตก วัตถุประสงคในการกำหนดพื้นที่เปาหมาย ไดแก - เพื่อพัฒนาที่ดินที่ยังไมไดพัฒนาใหเกิดการใชที่ดินอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ - เพื่อจัดการใหมีการพัฒนาระบบโครงขายคมนาคมและขนสง (โครงการพัฒนา ตามผัง) - เพื่อจัดใหมีพื้นที่รองรับการขยายตัวของยานที่พักอาศัยและยานพาณิชยกรรม ใหสงเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่เมือง - พัฒนาระบบสาธารณูปโภคใหมีความสมบูรณและเชื่อมโยงภายในพื้นที่เมืองได อยางเปนระบบ - เพื่อแกปญหาความขาดแคลนสิ่งบริการพื้นฐานจำเปนของชุมชน (จ) พื้ น ที่ เ ป า หมายบริ เ วณที่ 5 (เพิ่ ม เติ ม ) ที่ ตั้ ง : พื้ น ที่ อ ยู ใ นเขตผั ง เมื องรวมชุ ม ชน เกาะลันตาใหญ – เกาะลันตานอย จังหวัดกระบี่ โดยตั้งอยูในเขตองคการบริหารสวนตำบลศาลาดาน มีพื้นที่ ประมาณ 2,732 ไร ประกอบดวย แปลงที่ดินประมาณ 1,123 แปลง ซึ่งตามแผนผังการใชประโยชนที่ดินตามที่ได จำแนกประเภทและแสดงโครงการคมนาคมและขนสง กำหนดไวบริเวณดังนี้ - บริเวณที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) - บริเวณที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม) - บริเวณพาณิชยกรรมและที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (สีแดง) ดานเหนือ จดถนนสาธารณะไมปรากฏชื่อ ฟากเหนือ และเสนขนานระยะ 30 เมตร กับแนวชายฝงทะเลอันดามัน ดานตะวันออก จดเสนขนานระยะ 100 เมตร กับศูนยกลางถนนสาย ค1 ถนนบาน ศาลาดาน – บานทุงหยีเพ็ง ฟากเหนือ และเสนขนานระยะ 300 เมตร กับศูนยกลางถนนบานศาลาดาน – บานสังกาอู ดานใต จดเสนขนานระยะ 200 เมตร กับศูนยกลางถนนสาย ค2 และเสนตั้งฉากกับ ถนนบานศาลาดาน – บานสังกาอู ฟากตะวันตก ซึ่งจุดที่อยูหางจากถนนสาย ค2 บรรจบกับถนนบานศาลาดาน – บานสังกาอู ไปทางทิศใตตามแนวถนนบานศาลาดาน – บานสังกาอู เปนระยะ 200 เมตร ดานตะวันตก จดเสนขนานระยะ 30 เมตร กับแนวชายฝงทะเลอันดามันและสวน สาธารณะบานพระแอะ วัตถุประสงคในการกำหนดพื้นที่เปาหมาย ไดแก - เพื่อพัฒนาที่ดินที่ยังไมไดพัฒนาใหเกิดการใชที่ดินอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ - เพื่อจัดระเบียบเมืองสำหรับรองรับดานการทองเที่ยว - เพื่อจัดการใหมีการพัฒนาระบบโครงขายคมนาคมและขนสงใหเปนไปตามผังเมือง กำหนด - เพื่อจัดระเบียบแปลงที่ดินใหมใหมีความสวยงามและแกไขปญหาพื้นที่ตาบอด ไมมีทางเขา-ออก - เพื่อแกปญหาความขาดแคลนสิ่งบริการพื้นฐานจำเปนของชุมชน กรมทางหลวงชนบท 1-22 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ (ฉ) พื ้ นที ่ เป าหมายบริ เวณที ่ 6 (เพิ ่ มเติ ม) ที ่ ต ั ้ ง : พื ้ นที ่ อยู  ในเขตผั งเมื องรวมชุ มชน เกาะลันตาใหญ – เกาะลันตานอย จังหวัดกระบี่ โดยตั้งอยูในเขตเทศบาลตำบลเกาะลันตาใหญและองค การ บริหารสวนตำบลเกาะลันตาใหญ มีพื้นที่ประมาณ 432 ไร ประกอบดวย แปลงที่ดินจำนวนประมาณ 342 แปลง ซึ่งตามแผนผังการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจำแนกประเภทและแสดงโครงการคมนาคมและขนสง กำหนดไว บริเวณดังนี้ - บริเวณที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) - บริเวณชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ดานเหนือจดถนนบานศาลาดาน – บานสังกาอู ฟากตะวันออกและฟากตะวันตก ดานตะวันออก จดถนนสาย ก10 ฟากตะวันออก และชายฝงทะเลอันดามัน ดานใต จดเสนขนานระยะ 200 เมตร กับศูนยกลางถนนสาย ก10 เสนระยะ 200 เมตร กับศูนยกลางถนนสาย ก13 และโรงเรียนเกาะลันตาราษฎรประชาอุทิศ ดานตะวันตก จดโรงเรียนเกาะลันตาราษฎรประชาอุทิศ เสนขนานระยะ 200 เมตร กับศูนยกลางถนนสาย ก13 และถนนบานศาลาดาน – บานสังกาอู ฟากตะวันตก วัตถุประสงคในการกำหนดพื้นที่เปาหมาย ไดแก - เพื่อพัฒนาที่ดินที่ยังไมไดพัฒนาใหเกิดการใชที่ดินอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ - เพื่อจัดระเบียบเมืองสำหรับรองรับดานการทองเที่ยว - เพื่อจัดการใหมีการพัฒนาระบบโครงขายคมนาคมและขนสงใหเปนไปตามผังเมือง กำหนด - เพื่อจัดระเบียบแปลงที่ดินใหมใหมีความสวยงามและแกไขปญหาพื้นที่ตาบอด ไมมีทางเขา-ออก - เพื่อแกปญหาความขาดแคลนสิ่งบริการพื้นฐานจำเปนของชุมชน ง) แผนการดำเนินการ (ก) การดำเนินการ การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ที่จะดำเนินการในพื้นที่จังหวัดกระบี่ จะตองผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่สวนจังหวัดทุกโครงการโดยที่หนวยงาน ของทางราชการตามมาตรา 35 (2) ตองดำเนินการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ภายใตแผนแมบทและพื้นที่เปาหมาย การจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดกระบี่ สวนการดำเนินโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่โดยเอกชน ในรูปของสมาคมไมจำเปนตองดำเนินการภายใตแผนแมบทและพื้นที่เปาหมายการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ของ จังหวัดแตอยางใด (ข) ผูรับผิดชอบโครงการ คือ ผูที่จะดำเนินโครงการจัดรูปที่ดินตามแผนแมบทและพื้นที่ เปาหมายการจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดกระบี่ ไดแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น (เทศบาลเมือง กระบี่ องคการบริหารสวนตำบลไสไทย องคการบริหารสวนตำบลทับปริก องคการบริหารสวนตำบลกระบี่นอย เทศบาลตำบลเกาะลันตาใหญ องคการบริหารสวนตำบลลันตานอย องคการบริหารสวนตำบลเกาะลันตาใหญ และ องคการบริหารสวนตำบลศาลาดวน) หรือการเคหะแหงชาติ หรือสำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ (ค) ระยะเวลาดำเนินการ - พื้นที่เปาหมายบริเวณที่ 1 ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 10 ป - พื้นที่เปาหมายบริเวณที่ 2 ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 10 ป - พื้นที่เปาหมายบริเวณที่ 3 (เพิ่มเติม) ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 10 ป - พื้นที่เปาหมายบริเวณที่ 4 (เพิ่มเติม) ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 10 ป - พื้นที่เปาหมายบริเวณที่ 5 (เพิ่มเติม) ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 10 ป - พื้นที่เปาหมายบริเวณที่ 6 (เพิ่มเติม) ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 10 ป กรมทางหลวงชนบท 1-23 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ 7) ผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ-เกาะลันตานอย (รูปที่ 1.6-8) ผลการตรวจสอบแผนผังการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจำแนกประเภททายประกาศกฎกระทรวง ใหใชบังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ-เกาะลันตานอย จังหวัดกระบี่ (2559) พบวา แนวเสนทางโครงการ ตั้งอยูในเขตพื้นที่ดินประเภทโลงเพื่อการักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (เขตสีฟา) และอยูในพื้นที่ดินประเภทอนุรักษ ปาไม (เขตสีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) ผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีนโยบายและมาตรการ เพื่อจัดระบบการใชประโยชนที่ดิน โครงขายคมนาคมขนสงและบริการสาธารณะใหมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและสอดคลองกับการขยายตัวของ ชุมชนในอนาคต รวมทั้งสงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีสาระสำคัญดังตอไปนี้ • สงเสริมและพัฒนาใหเกาะลันตาใหญและเกาะลันตานอยเปนแหลงทองเที่ยวที่สำคัญของ ภาคใต • สงเสริมการพัฒนาดานที่อยูอาศัย การบริการ การคมนาคมและขนสง ที่มีคุณภาพเพียงพอ สะดวก ไดมาตรฐาน ตลอดจนพัฒนาสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใหสอดคลองกับการขยายตัวของชุมชน และระบบเศรษฐกิจของเกาะลันตาใหญและเกาะลันตานอย • ดำรงรักษารูปแบบการตั้งถิ่นฐาน วิถีชีวิตดั้งเดิม และประเพณี ซึ่งเปนเอกลักษณของชุมชน • สงวนรัก ษาสภาพแวดลอมและทรัพ ยากรธรรมชาติ ที ่สวยงามกลมกลืนกั บวั ฒนธรรม ทองถิ่นตามแนวทางการพัฒนาแบบยั่งยืน • สงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศและสนับสนุนบทบาทดานเกษตรกรรมควบคูกับการพัฒนา การทองเที่ยว การใชประโยชนที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ใหเปนไปตามแผนผังกำหนดการใชประโยชนที่ดิน ตามที่ไดจำแนกประเภท แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสง และรายการประกอบแผนผังทายกฎกระทรวงนี้ ใหเปนไปดังตอไปนี้ ที่ดินประเภทอนุรักษปาไม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการสงวนและคุมครองดูแลรักษาหรื อ บำรุงปาไม สัตวปา ตนน้ำ ลำธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายเกี่ยวกับการ ปาไม การสงวนและคุมครองสัตวปา และการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติเทานั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเปนเจาของหรือผูครอบครองโดยชอบดวยกฎหมาย ใหใชประโยชน ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับเกษตรกรรม การอยูอาศัยประเภทบานเดี่ยว หรือสาธารณประโยชนเปน สวนใหญ สำหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่น ใหใชไดไมเกินรอยละสามสิบของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต และหามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจกรรมตามที่กำหนด ดังตอไปนี้ - โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายวาดวยโรงงาน - คลังน้ำมัน สถานที่เก็บรักษาน้ำมัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ำมันประเภท ก สถานี บริการน้ำมันประเภท ข สถานีบริการน้ำมันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริการน้ำมันประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ำมันประเภท ฉ ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อการจำหนาย - คลังกาซปโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุกาซปโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุ กาซปโตรเลียมเหลวประเภทหองบรรจุ สถานที่เก็บรักษากาซปโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บและสถานีบริการ กาซปโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง กรมทางหลวงชนบท 1-24 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ รูปที่ 1.6-8 แผนผังกำหนดการใชประโยชนที่ดินตามทีไ่ ดจำแนกประเภททายกฎกระทรวงใหใชบังคับ ผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ-เกาะลันตานอย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 กรมทางหลวงชนบท 1-25 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ โรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรม - จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม - จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม - จัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย - จัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - การอยูอาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ - การอยูอาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทหองแถว ตึกแถว หรือบานแถว - การอยูอาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยูอาศัยรวม - คลังสินคา - กำจัดมูลฝอย - ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ การใชประโยชนที่ดินประเภทนี้ ใหเปนไปดังตอไปนี้  ใหมีที่วางไมนอยกวารอยละหาสิบของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต และใหดำเนินการหรือ ประกอบกิจการไดในอาคารที่มีความสูงไมเกิน 6 เมตร แตไมหมายความรวมถึงโครงสรางสำหรับใชในกิจการ สาธารณูปโภคที่อยูหางจากแนวชายฝงทะเลไมนอยกวา 200 เมตร การวัดความสูงของอาคารใหวัดจากระดับ พื้นดินที่กอสรางถึงสวนที่สูงที่สุดของอาคาร  ในระยะ 50 เมตร จากแนวชายฝงทะเล ใหมีที่วางตามแนวขนานแนวชายฝงตามสภาพ ธรรมชาติของทะเลไมนอยกวา 30 เมตร และใหดำเนินการหรือประกอบกิจการไดในอาคารที่มีความสูงไมเกิน 6 เมตร และมีที่วางไมนอยกวารอยละเจ็ดสิบหาของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต การวัดความสูงของอาคารใหวัด จากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงสวนที่สูงที่สุดของอาคาร  ใหมีที่วางตามแนวขนานริมฝงตามสภาพธรรมชาติของลำคลองหรือแหลงน้ำสาธารณะ ไมนอยกวา 6 เมตร เวนแตเปนการกอสรางเพื่อการคมนาคมทางน้ำหรือการสาธารณูปโภค  ใหมีที่วางตามแนวขนานริมเขตทางถนนสาธารณะไมนอยกวา 3 เมตร ที่ดินประเภทที่โลง เพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อนันทนาการ หรือเกี่ยวของกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ การประมงชายฝง หรือ สาธารณประโยชนเทานั้น เวนแตเปนการกอสรางเพื่อการคมนาคมและขนสงทางน้ำหรือการสาธารณูปโภค 8) พื้นที่ออนไหวดานสิ่งแวดลอม ผลการตรวจสอบพื้นที่ออนไหวดานสิ่งแวดลอมในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเสนทาง โครงการ มี จ ำนวน 4 แห ง ได แ ก หมู  ท ี ่ 8 บ า นหั ว หิ น (ก อนเข า ท า เรื อ) (กม.0+000) หมู  ท ี ่ 8 บ า นหั ว หิน (บานทาเรือ) (กม.0+342) กุโบรบานทุงโตะหยุ ม (กม.2+012) และหมูที่ 2 บานทุงโตะหยุม (กม.2+527) มีระยะหางจากแนวเสนทางโครงการ 199, 26, 32 และ 500 เมตร ตามลำดับ แสดงดังรูปที่ 1.6-9 กรมทางหลวงชนบท 1-26 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ รูปที่ 1.6-9 พื้นที่ออนไหวดานสิ่งแวดลอมในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 1-27 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ 1.7 สรุปผลการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน (Initial Environmental Examination ; IEE) ของโครงการ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยวิธี Leopold Matrix ตอปจจัยดานสิ่งแวดลอมจำนวน 38 ปจจัยยอย ครอบคลุมทรัพยากรสิ่งแวดลอมทั้ง 4 ประเภท คือ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางดานกายภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางดานชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของ มนุษย และคุณคาตอคุณภาพชีวิต ตามรูปแบบการพัฒนาโครงการทั้งในระยะเตรียมการกอสราง ระยะกอสราง และระยะดำเนินการ พบวามีปจจัยสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบอยางมีนัยสำคัญ ซึ่งตองนำไปศึกษาขอมูลในขั้น รายละเอียดเพื่อประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมและกำหนดมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม จำนวน 22 ปจจัย ไดแก ทรัพยากรดิน ธรณีวิทยาและแผนดินไหว น้ำผิวดิน น้ำทะเล คุณภาพอากาศ เสียง ความ สั่นสะเทือน ระบบนิเวศ สัตวในระบบนิเวศ พืชในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตหายาก การคมนาคมขนสง สาธารณูปโภค การควบคุมน้ำทวมและการระบายน้ำ การใชที่ดิน เศรษฐกิจ-สังคม การสาธารณสุข สุขาภิบาล อาชีวอนามัย อุบัติเหตุและความปลอดภัย โบราณคดีและประวัติศาสตร และทัศนียภาพ แสดงดังตารางที่ 1.7-1 ตารางที่ 1.7-1 สรุปปจจัยดานสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบในระดับปานกลาง-สูง เพื่อนำไปศึกษาตอ ในการศึกษาผลกระทบในขั้นรายละเอียด (EIA) ระดับผลกระทบ ปจจัยดานสิ่งแวดลอม ปานกลาง ไมมี ต่ำ ถึงสูง 1. ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางดานกายภาพ ิ ัณฐาน 1.1 ภูมส • ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศ  1.2 ทรัพยากรดิน • ผลกระทบจากการสูญเสียดินหรือการเคลื่อนยายดินออกจากบริเวณเดิม  • ผลกระทบตอการชะลางพังทลายของดิน  • ผลกระทบตอการเปลีย่ นแปลงเสถียรภาพและการทรุดตัวของดิน  • ผลกระทบตอการเปลีย ่ นแปลงโครงสรางของดิน  • ผลกระทบตอการปนเปอ  นในดิน  1.3 ธรณีวิทยา • ผลกระทบตอโครงสรางทางธรณีวิทยา  • ผลกระทบตอการเกิดแผนดินไหวจากการพัฒนาโครงการ  1.4 ทรัพยากรแรธาตุ • ผลกระทบตอการสูญเสียประโยชนในการใชทรัพยากรแรธาตุ  1.5 น้ำผิวดิน • ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพอุทกวิทยาน้ำผิวดิน  • ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำผิวดิน  1.6 น้ำใตดิน • ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพอุทกวิทยาน้ำใตดิน  • ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำใตดิน  1.7 น้ำทะเล • ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงทางสมุทรศาสตร  กรมทางหลวงชนบท 1-28 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ตารางที่ 1.7-1 สรุปปจจัยดานสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบในระดับปานกลาง-สูง เพื่อนำไปศึกษาตอ ในการศึกษาผลกระทบในขั้นรายละเอียด (EIA) (ตอ) ระดับผลกระทบ ปจจัยดานสิ่งแวดลอม ปานกลาง ไมมี ต่ำ ถึงสูง 1.8 อากาศและบรรยากาศ • ผลกระทบจากการฟุงกระจายของฝุนละอองที่เกิดจากการดำเนินโครงการตอพืน้ ที่ออนไหว  ทางดานสิ่งแวดลอม • ผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของมลพิษทางอากาศ เชน CO, NO2 จากยานพาหนะและ  เครื่องจักรตอพื้นที่ออนไหวทางสิ่งแวดลอม 1.9 เสียง • ผลกระทบเสียงรบกวนจากการดำเนินโครงการตอพื้นที่ออนไหวทางดานสิ่งแวดลอม  1.10 ความสั่นสะเทือน • ผลกระทบจากความสั่นสะเทือนที่มีตอพื้นที่ออนไหวทางดานสิ่งแวดลอม  2. ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางดานชีวภาพ 2.1 ระบบนิเวศ • ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศบก  • ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงนิเวศวิทยาทางน้ำ  • ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงนิเวศวิทยาชายฝง  2.2 สัตวในระบบนิเวศ ขอมูลเบื้องตนยังไมเพียงพอ • ผลกระทบตอการรบกวนแหลงอาศัย แหลงหากิน และแหลงหลบภัยของสัตวในระบบนิเวศ จึงนำไปศึกษาตอในขั้นรายละเอียด 2.3 พืชในระบบนิเวศ • ผลกระทบตอพืชในระบบนิเวศ  2.4 สิ่งมีชีวิตที่หายาก ขอมูลเบื้องตนยังไมเพียงพอ • ผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตที่หายาก จึงนำไปศึกษาตอในขั้นรายละเอียด 3. คุณคาการใชประโยชนของมนุษย 3.1 น้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค • ผลกระทบตอปริมาณและคุณภาพน้ำอุปโภคและบริโภคของประชาชน  3.2 การคมนาคมขนสง • ผลกระทบตอการกีดขวางหรือเปนอุปสรรคตอการสัญจร/การจราจรของโครงขายเสนทาง  คมนาคมในทองถิ่น 3.3 สาธารณูปโภค • ผลกระทบจากการรื้อยายสาธารณูปโภค เชน เสาไฟฟา ทอประปา สายโทรศัพท เปนตน  3.4 พลังงาน • ผลกระทบจากการเพิ่มของการใชพลังงานของโครงการ  3.5 การควบคุมน้ำทวมและการระบายน้ำ • ผลกระทบตอการกีดขวางการไหลของน้ำ หรือลดประสิทธิภาพการระบายน้ำตามสภาพ  ธรรมชาติ ระบบควบคุมน้ำทวมและการระบายน้ำที่มีอยูเดิม 3.6 การเกษตรกรรม • ผลกระทบตอการสูญเสียพื้นที่เกษตรกรรม  3.7 การอุตสาหกรรม • ผลกระทบตอการประกอบการอุตสาหกรรม  3.8 เหมืองแร • ผลกระทบตอการทำเหมืองแร  กรมทางหลวงชนบท 1-29 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ตารางที่ 1.7-1 สรุปปจจัยดานสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบในระดับปานกลาง-สูง เพื่อนำไปศึกษาตอ ในการศึกษาผลกระทบในขั้นรายละเอียด (EIA) (ตอ) ระดับผลกระทบ ปจจัยดานสิ่งแวดลอม ปานกลาง ไมมี ต่ำ ถึงสูง 3.9 สันทนาการ • ผลกระทบตอการเปนอุปสรรคในการเขาสูแหลงทองเที่ยวหรือสูญเสียพื้นที่ทองเที่ยว/  พื้นที่สันทนาการ 3.10 การใชที่ดิน • ผลกระทบตอการเปลีย ่ นแปลงการใชประโยชนที่ดินจากสภาพปจจุบัน  4. คุณคาตอคุณภาพชีวิต 4.1 เศรษฐกิจสังคม • ผลกระทบตอโครงสรางความสัมพันธทางสังคมของชุมชน  • ผลกระทบดานเศรษฐกิจของชุมชน  4.2 การโยกยายและเวนคืน • ผลกระทบตอการโยกยายถิ่นฐาน การสูญเสียทรัพยสินและกรรมสิทธิ์ที่ดิน  4.3 การศึกษา • ผลกระทบตอการพัฒนาดานการศึกษา/โอกาสในการเขารับการศึกษา  4.4 การสาธารณสุข • ผลกระทบตอปญหาดานสาธารณสุขของชุมชน  4.5 อาชีวอนามัย • ผลกระทบจากโรคและการบาดเจ็บตอสุขภาพและอนามัยเนื่องจากอุบัติเหตุจากการทำงาน  ของคนงาน 4.6 การแบงแยก • ผลกระทบตอความสะดวกในการเดินทางติดตอระหวางคนในชุมชน รวมทั้งการเขาถึงพื้นที่ที่ตองการ  4.7 อุบัติเหตุและความปลอดภัย • ผลกระทบตอความเสี่ยงในการเกิดอุบัตเิ หตุของผูใชรถ/ถนน และคนเดินเทา/จุดเสี่ยง  ตอการเกิดอุบัติเหตุ 4.8 ความปลอดภัยในสังคม • ผลกระทบตอการเกิดอาชญากรรมและการเกิดความไมปลอดภัยในสังคม  4.9 สุขาภิบาล • ผลกระทบตอปญหาจัดการขยะมูลฝอย ของเสีย น้ำเสียของชุมชน  4.10 สารอันตราย • ผลกระทบจากสารอันตรายที่ใชในกิจกรรมของโครงการ  4.11 ความสำคัญเฉพาะตอชุมชน • ผลกระทบตอสิ่งปลูกสรางและพื้นที่ที่มคี วามสำคัญเฉพาะตอชุมชน  4.12 ผูใชทาง • ผลกระทบตอระยะเวลาที่ใชในการเดินทาง  4.13 ประวัติศาสตรและโบราณคดี ขอมูลเบื้องตนยังไมเพียงพอ • ผลกระทบตอการถูกทำลายหรือทำใหเสียหายตอโบราณสถานและโบราณวัตถุ จึงนำไปศึกษาตอในขั้นรายละเอียด ที่มีความสำคัญ 4.14 ทัศนียภาพ • ผลกระทบตอการเปลีย ่ นแปลงทัศนียภาพหรือลดคุณคาของภูมิทัศน/ทัศนียภาพ  หมายเหตุ : - ผลกระทบระดับต่ำ เสนอมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมทั่วไป นำเสนอไวในรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน (IEE) - ผลกระทบอยูในระดับปานกลาง-สูง ซึ่งเปนผลกระทบที่มีนัยสำคัญที่จะตองศึกษาและประเมินผลกระทบในขั้นรายละเอียด (EIA) เพื่อเสนอแนะ มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม กรมทางหลวงชนบท 1-30 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ 1.8 การศึกษาคัดเลือกแนวเสนทางโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 1.8.1 การศึกษาแนวเสนทาง 1) การกำหนดแนวเสนทาง (1) หลักเกณฑในการกำหนดจุดเริ่มตน-สิ้นสุดโครงการ การกำหนดจุดเริ่มตน-สิ้นสุดโครงการ เปนขั้นตอนแรกของการศึกษาแนวทางเลือก ซึ่งมีผล โดยตรงตอการกำหนดแนวเสนทางเลือกที่เปนไปไดของโครงการ และตอเนื่องไปจนถึงการศึกษามูลคาการลงทุน และผลกระทบสิ่งแวดลอมของแตละแนวเสนทางเลือก ดังนั้น เพื่อใหผลการศึกษาโครงการกอใหเกิดผลประโยชน โดยรวมสูงสุด โดยใชตนทุนในการกอสรางและดำเนินโครงการอยางเหมาะสม จำเปนตองดำเนินการอยาง รอบคอบ โดยจะตองสามารถเชื่อมโยงระบบโครงขายคมนาคมขนสงบริเวณพื้นที่โครงการใหเกิดเปนโครงขายทีม ่ี ประสิทธิภาพและสนองความตองการเดินทางของผูใชรถใชถนน รวมทั้งเอื้อตอการกำหนดแนวทางเลือกทีเ ่ ปนไป ไดของโครงการ ซึ่งจะทำใหแนวเสนทางโครงการมีความปลอดภัย มูลคาลงทุนที่เหมาะสม ตลอดจนมีผลกระทบ ตอสภาพแวดลอม สังคม และชุมชนใหนอยที่สุด ทั้งนี้จะตองหลีกเลี่ยงผลกระทบตอประชาชนจากการโยกยาย เวนคืนที่ไมจำเปน (2) หลักเกณฑในการกำหนดแนวเสนทาง ไดแก เปนแนวเสนทางที่ตรงมากที่ส ุด เปนแนวเสนทางที่มีความเปนไปไดทางวิ ศวกรรม เปนแนวเสนทางที่มีมูลคาการลงทุนที่เหมาะสม เพื่อใหคุมคาการลงทุน และเปนแนวเสนทางที่กอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนและสิ่งแวดลอมนอยที่สุด (3) ขอพิจารณาถนนตอเชื่อมโครงการ การพิจารณาสภาพทางกายภาพบริเวณจุดเริ่มตนโครงการ บนพื้นที่ตำบลเกาะกลาง อำเภอ เกาะลั น ตา จั ง หวั ด กระบี ่ พบว า ทางหลวงแผน ดิน หมายเลข 4206 เป น ถนนสายหลั กของพื ้ นที่ เหมาะสม ที่จะเปนโครงขายเชื่อมตอกับทางเชื่อมเกาะลันตา เนื่องจากมีลักษณะทางกายภาพที่ดี แนวเสนทางคอนขางตรง ทางโคงเปนไปตามมาตรฐานการออกแบบ สภาพปจจุบันมีขนาด 2 ชองจราจร ไป/กลับ ขนาดชองจราจรละ 3.50 เมตร ไหลทางกวางฝงละ 1.00 เมตร บนเขตทางหลวง 25 เมตร โดยสิ้นสุดทางหลวงแผนดินหมายเลข 4206 ที่ทาเรือบานหัวหิน (เปนทาเรือสำหรับขามฝงตำบลเกาะกลางไปยังฝงตำบลเกาะลันตานอย) การพิจารณาสภาพทางกายภาพบริเวณจุดสิ้นสุดโครงการ บนพื้นที่ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พบวา จุดสิ้นสุดโครงการควรจะเปนทางหลวงชนบท กบ.6022 บานคลองหมาก- บานหลังสอด เปนถนนสายหลักของเกาะลันตานอย เปนเสนทางไปเกาะลันตาใหญ มีลักษณะทางกายภาพดี เปนถนนขนาด 2 ชองจราจร ไป/กลับ หรืออาจจะเปนทางหลวงชนบท กบ.5035 (แยกทางหลวงชนบท กบ.5019 – บานทุง) เปนถนนขนาด 2 ชองจราจร ไป/กลับ ซึ่งเปนทางหลวงที่สามารถไปเกาะลันตาใหญไดเชนกัน และ ในอนาคตจะมีการสนับสนุนใหมีการทองเที่ยวเชิงอนุรักษที่เกาะลันตานอย ทางหลวงเสนนี้จะสามารถเดินทาง ในเกาะลันตานอยไดสะดวกกวา ดังนั้น จุดสิ้นสุดโครงการจะเปนไปไดทั้ง 2 เสนทาง กรมทางหลวงชนบท 1-31 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ 2) แนวเสนทางเลือกของโครงการ จากจุดเริ่มตนโครงการและทางเลือกจุดสิ้นสุดโครงการขางตน ที่ปรึกษานำมากำหนดแนวเสนทาง 3 แนวเสนทางเลือก มีการสำรวจ เก็บขอมูลโครงการ ศึกษารูปแบบ และนำขอมูลทั้งหมดเพื่อนำเสนอในรายงานการ คัดเลือกรูปแบบและไดมีการหารือกับกรมทางหลวงชนบทและผูเกี่ยวของ จึงไดแนวทางเลือกที่เหมาะสม แนว ทางเลือกของโครงการมี 3 แนวทางเลือก แสดงดังรูปที่ 1.8.1-1 สิ่งสำคัญในการศึกษาคัดเลือกแนวเสนทางที่เหมาะสม มีประเด็นที่มีความสำคัญที่สุดคือตองให ความสำคัญกับผลกระทบทางสิ่งแวดลอม ดังนั้นการคัดเลือกแนวเสนทางที่เหมาะสมไดใหความสำคัญกับปจจัย ดานสิ่งแวดลอมสูงสุด จึงพิจารณากำหนดคะแนนในการคัดเลือกแนวเสนทางที่เหมาะสม ที่ใหความสำคัญกับ ปจจัยดานสิ่งแวดลอมมากที่สุด คือ 40 คะแนน สวนปจจัยดานวิศวกรรมมีความสำคัญรองลงมา จึงใหคะแนน 30 คะแนน และปจจัยดานการลงทุนที่ 30 คะแนน - ปจจัยดานวิศวกรรมและจราจร รอยละ 30 - ปจจัยดานการลงทุน รอยละ 30 - ปจจัยดานผลกระทบสิ่งแวดลอม รอยละ 40 1.8.2 การศึกษาคัดเลือกแนวเสนทางที่เหมาะสม 1) ขอกำหนดหรือหลักเกณฑที่ใชในการพิจารณาคัดเลือกแนวเสนทาง การกำหนดหลักเกณฑการคัดเลือกแนวเสนทาง ที่ปรึกษาจะไดกำหนดปจจัยในการคัดเลื อกให ครอบคลุมปจจัยตางๆ คือ วิศวกรรม และจราจร เศรษฐกิจการลงทุน และผลกระทบสิ่งแวดลอม เพื่อใหไดแนว เสนทางขามเกาะลันตาและถนนเชื่อมตอที่มีความเหมาะสมทุกดาน โดยในสวนของหลักเกณฑการพิจารณา ดานสิ่งแวดลอมจะนำประเด็นผลกระทบสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะมีนัยสำคัญ ซึ่งเปนผลมาจากการคัดกรองปจจัย ดานสิ่งแวดลอม ทั้งนี้เพื่อใหไดแนวเสนทางที่เหมาะสมที่สุด ที่ปรึกษาจะนำปจจัยที่สำคัญในดานวิศวกรรมและ จราจร ดานการลงทุน ดานผลกระทบสิ่งแวดลอม โดยนำแตละปจจัยมาเปรียบเทียบความสำคัญโดยผูเชี่ยวชาญ และวิศวกรที่มีประสบการณ และกำหนดเปนคะแนน น้ำหนัก จากนั้นจะดำเนินการหาขอมูลพื้นฐานตางๆ เพื่อ นำมาเปรียบเทียบและปรับเปลี่ยนขอมูลใหเปนขอมูลเชิงปริมาณ เพื่อใหสามารถเปรียบเทียบและใหคะแนนได ซึ่งที่ปรึกษาจะใหคะแนนในแตละปจจัยยอยในแตละทางเลือก โดยทางเลือกที่ไดคะแนนมากที่สุดจะเปนแนว เสนทางโครงการที่เหมาะสมที่สุดที่จะนำไปศึกษาดานเศรษฐศาสตรและผลกระทบสิ่งแวดลอมในขั้นรายละเอียด ในลำดับถัดไป และจากขอมูลตางๆ เบื้องตน และการสำรวจพื้นที่โครงการของที่ปรึกษา สำหรับปจจัยดานสิ่งแสดลอม จะใชผลการคัดกรองปจจัยดานสิ่งแวดลอมที่มีนัยสำคัญจากการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมโดยพื้นที่โครงการมีแนวเสนทางตัดผานพื้นที่ในเขตพื้นที่ปาชายเลน และพื้นที่ปา ชายเลนที่ซอนทับปาสงวนแหงชาติ เปนระบบนิเวศที่ประกอบดวยพืชและสัตวนานาชนิด ดำรงชีวิตรวมกันใน สภาพแวดลอมที่เปนดินเลน น้ำกรอย หรือมีน้ำทะเลทวมถึงสม่ำเสมอ พบทั่วไปตามที่ราบปากแมน้ำ อาว บริเวณ ชายฝงทะเลในเขตน้ำขึ้น-น้ำลง ทะเลสาบ และบริเวณรอบเกาะแกงตางๆ ซึ่งแตละแนวทางมีความยาวของพื้นที่ ที่ตัดผานแตกตางกัน จึงกอใหเกิดผลกระทบทรัพยากรตางๆ บริเวณเขตพื้นที่ปาชายเลน และพื้นที่ปาชายเลน ที่ซอนทับปาสงวนแหงชาติ จึงนำมาพิจารณาในการคัดเลือก กรมทางหลวงชนบท 1-32 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ รูปที่ 1.8.1-1 แนวเสนทางเลือกของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 1-33 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ่ ยู พื้นที่อุทยาน/เขตหามลาสัตวปา หมายถึง อาณาบริเวณพื้นที่ที่ทางราชการไดกำหนดไวใหเปนทีอ อาศัยของสัตวปา หรือเปนที่ที่สัตวปาตองการใชสำหรับกิจกรรมบางอยางในการดำรงชีวิต เชน เปนที่ผสมพันธุ วางไข เลี้ยงตัวออน เปนแหลงอาหาร เปนที่ลงพักระหวางเดินทางยายถิ่นฐาน เปนตน โดยเฉพาะสัตวปาที่หายาก หรือถูกคุกคามใหอยูอาศัยในพื้นที่นั้นไดอยางปลอดภัย สามารถดำรงพันธุตอไปไดตามธรรมชาติ ซึ่งแตละแนวทาง มีความยาวของพื้นที่ที่ตัดผานแตกตางกัน และกอใหเกิดผลกระทบทรัพยากรตางๆ พื้นที่อุทยาน/เขตหามลา สัตวปา จึงนำมาพิจารณาในการคัดเลือก 2) การประเมินคาตัวคูณของแตละปจจัยในการพิจารณาคัดเลือกแนวเสนทางที่เหมาะสม (1) ปจจัยดานวิศวกรรม ก) ระยะทางความยาวของแนวเสนทาง ผลการสำรวจการจราจรในการเดินทางมายังเกาะ ลันตา พบวา การจราจรสวนใหญเปนการเดินทางจากฝงตำบลเกาะกลาง เพื่อไปยังเกาะลันตาใหญ บริเวณตำบล ศาลาดาน ดังนั้นในการประเมินความยาวของแนวเสนทาง จึงพิจารณาจากจุดเริ่มตนของแนวเสนทางเลือกที่ 1 ซึ่งอยูบน ทล.4206 บริเวณ กม.25+450 ซึ่งเปนขอบเขตที่อยูไกลที่สุดจากทาเรือบานหัวหินในการพิจารณา แนวทางเลือก สวนจุดปลายทางที่นำมาใชประกอบการพิจารณา ใชจุดปลายทางของทางเลือกที่ 1 ที่บรรจบเขา กับทางหลวงชนบท กบ.6022 ซึ่งเปนถนนที่มุงหนาไปยังศูนยราชการอำเภอเกาะลันตา ที่อยูบนเกาะลันตานอย และสามารถไปยังตำบลศาลาดาน เกาะลันตาใหญ อีกดวย ทั้งนี้ระยะทางความยาวของเสนทางทีน ่ อย ยอมมีความ เหมาะสมกวา เสนทางเลือกที่มีระยะความยาวเสนทางที่มากกวา รายละเอียดขอมูลระยะทางความยาวแนว เสนทาง และการประเมินคาตัวคูณของระยะทางของแนวเสนทางเลือก แสดงไดตามตารางที่ 1.8.2-1 ตารางที่ 1.8.2-1 ขอมูลและคาตัวคูณตามปจจัยยอยดานระยะทางความยาวของแนวเสนทาง แนวเสนทางเลือกที่ รายละเอียด 1 2 3 ความยาวแนวเสนทาง (กม.) 3.50 4.0 8.2 คาตัวคูณ 0.80 0.80 0.20 ข) ระยะทางของสะพาน เนื่องจากสะพานเปนสวนที่จำเปนที่สุดของโครงการ เนื่องจาก จะเปนสวนที่จะเชื่อมสองฝงของสะพาน และสะพานเปนจุดที่จำเปนที่จะตองมีความปลอดภัยสูงสุด เนื่องจาก รถไมสามารถหลบรถดานขางได เนื่องจากดานขางอาจมีความสูง หรืออาจเปนทะเลที่ทำใหเกิดอันตรายรายแรงได คาตัวคูณของปจจัยนี้ใชการประเมินแบบสัดสวนโดยแสดงผลการประเมินคาตัวคูณ แสดงดังตารางที่ 1.8.2-2 ตารางที่ 1.8.2-2 ขอมูลและคาตัวคูณตามปจจัยยอยดานความยาวสะพานของแนวเสนทาง แนวเสนทางเลือกที่ รายละเอียด 1 2 3 ความยาวสะพาน (กม.) 2.16 1.95 1.92 คาตัวคูณ 0.60 0.80 0.80 กรมทางหลวงชนบท 1-34 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ค) ความยุงยากในการกอสราง ความยุงยากในการกอสรางของโครงการนี้ประกอบดวย การ ที่มีเสาและฐานรากในทะเล เนื่องจากการกอสรางในทะเลมีความยุงยากและอาจจะกีดขวางการจราจรทางน้ำทั้ง ในระหวางการกอสรางและเมื่อกอสรางแลวเสร็จดวย ความยุงยากในการกอสรางอีกประการหนึ่งคือการที่จะตอง ่ งจากการกอสรางที่ปาชายเลนจะตองอยูในมาตรการดานสิ่งแวดลอม ไดแก จะตอง กอสรางบริเวณปาชายเลน เนือ ่ด เปนรูปแบบสะพาน หามถมดินเพื่อดำเนินการกอสราง และจะตองจำกัดเรื่องพื้นที่ที่กระทบปาชายเลนใหนอยทีส ุ ทำใหมีขอจำกัดในการกอสรางโดยเฉพาะในสวนโครงสรางสะพาน คาปจจัยยอยในสวนนี้ ดังตารางที่ 1.8.2-3 ตารางที่ 1.8.2-3 ขอมูลและคาตัวคูณตามปจจัยยอยดานความยุงยากในการกอสราง แนวเสนทางเลือกที่ รายละเอียด 1 2 3 จำนวนเสาในทะเล มี เสาในทะเล 10 ตน มี เสาในทะเล 14 ตน มีเสาในทะเล 15 ตน และการกอสราง (คาตัวคูณ 0.80) (คาตัวคูณ 0.60) (คาตัวคูณ 0.60) บริเวณปาชายเลน ตองกอสรางในปาชายเลนยาว ตองกอสรางในปาชายเลน ตองกอสรางในปาชายเลน ประมาณ 1,200 เมตร ยาวประมาณ 800 เมตร ยาวประมาณ 100 เมตร (คาตัวคูณ 0.60) (คาตัวคูณ 0.80) (คาตัวคูณ 1.00) คาตัวคูณเฉลี่ย 0.70 0.70 0.80 ง) ลักษณะเรขาคณิตทางราบและทางดิ่ง ลักษณะเรขาคณิตทางราบจะพิจารณาจากจำนวน ของโคงแนวราบ โดยเสนทางที่เปนแนวตรง หรือมีโคงรัศมีกวาง มีความเหมาะสมกวาเสนทางที่มีโคงแนวราบ หลายแหง ซึ่งเมื่อพิจารณาขอมูลเรขาคณิตแนวราบแลวพบวา แนวทางเลือกที่ 1 มีแนวเสนทางราบเปนแนวตรง แนวเสนทางเลือกที่ 2 มีแนวเสนทางราบ เปนแนวตรงเชนกัน ในขณะที่แนวทางเลือกที่ 3 แนวเสนทางมีโคงรัศมี 250-400 เมตร จำนวน 3 โคง การประเมินคาตัวคูณ สำหรับเรขาคณิตทางราบ ใชวิธีการประเมินแบบขั้นบันได แสดงดังตารางที่ 1.8.2-4 ลักษณะเรขาคณิตทางดิ่งพิจารณาจากจำนวนของโคงแนวดิ่ง ซึ่งพบวาทุกแนวเสนทาง เลือกมีจำนวนโคงแนวดิ่ง 6 แหง เทากันทุกแนวเสนทางเลือก จึงไมนำปจจัยเรขาคณิตของโคงแนวดิ่งมาใช ประกอบการคัดเลือก ตารางที่ 1.8.2-4 ขอมูลและคาตัวคูณตามปจจัยยอยดานเรขาคณิตแนวราบ รายละเอียด ทางเลือกที่ 1 คาตัวคูณ ทางเลือกที่ 2 คาตัวคูณ ทางเลือกที่ 3 คาตัวคูณ จำนวนโคงแนวราบ (แหง) 0 1.00 0 1.00 3 0.40 ระดับการประเมิน ดี ลักษณะแนวเปนเสนตรง คาตัวคูณ 1.00 ระดับการประเมิน คอนขางดี มีโคง จำนวน 1 โคง คาตัวคูณ 0.80 ระดับการประเมิน ปานกลาง มีโคง จำนวน 2 โคง คาตัวคูณ 0.60 ระดับการประเมิน คอนขางไมดี มีโคง จำนวน 3 โคง คาตัวคูณ 0.40 ระดับการประเมิน ไมดี มีโคง จำนวนมากกวา 3 โคง คาตัวคูณ 0.20 กรมทางหลวงชนบท 1-35 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ จ) การเกิ ด ทางแยกที ่ จุ ดเชื่ อมตอกั บ ทางหลวงเดิ ม การเชื่อมตอแนวเสนทางโครงการ กับถนนเดิม แลวกอใหเกิดทางแยกขึ้นนอยแหง ยอมเปนขอดีกวา แนวเสนทางที่มีทางแยกเกิดขึ้นหลายแหง โดยพบวา แนวทางเลื อกที ่ 1 มี ท างแยกที ่ เกิด ขึ้ น จำนวน 2 แห ง คื อ ที ่ จ ุ ด ต นทางและที ่จ ุด ปลายทางของ แนวทางเลือกที่ 1, แนวเสนทางเลือกที่ 2 มีทางแยกที่เกิดขึ้นใหม จำนวน 2 แหง เชนกันที่ จุดตนทางและ จุดปลายทางของแนวทางเลือกที่ 2 ในขณะที่แนวทางเลือกที่ 3 มีทางแยก 1 แหง ที่จุดปลายทาง ในการประเมิน คาตัวคูณ สำหรับการเกิดทางแยกที่จุดบรรจบกับถนนเดิม ใชวิธีการประเมินแบบขั้นบันได ดังนี้ (ตารางที่ 1.8.2-5) ตารางที่ 1.8.2-5 ขอมูลและคาตัวคูณตามปจจัยยอยดานการเกิดทางแยกขึ้นใหมกับทางหลวงเดิม รายละเอียด ทางเลือกที่ 1 คาตัวคูณ ทางเลือกที่ 2 คาตัวคูณ ทางเลือกที่ 3 คาตัวคูณ จำนวนทางแยกที่ 2 0.60 2 0.60 1 0.80 เกิดขึ้นใหม (แหง) ระดับการประเมิน ดี ไมมีทางแยกเกิดขึ้นใหม คาตัวคูณ 1.00 ระดับการประเมิน คอนขางดี มีทางแยก จำนวน 1 แหง คาตัวคูณ 0.80 ระดับการประเมิน ปานกลาง มีทางแยก จำนวน 2 แหง คาตัวคูณ 0.60 ระดับการประเมิน คอนขางไมดี มีทางแยก จำนวน 3 แหง คาตัวคูณ 0.40 ระดับการประเมิน ไมดี มีทางแยก จำนวน 4 แหง คาตัวคูณ 0.20 (2) ปจจัยดานการลงทุน ในการประเมินคาตัวคูณสำหรับปจจัยดานการลงทุนกอสราง และคาบำรุงรักษาใชวิธีสัดสวน จึงใชวิธีการประเมินคาตัวคูณแบบขั้นบันได ดังตารางที่ 1.8.2-6 ถึงตารางที่ 1.8.2-8 ตารางที่ 1.8.2-6 รายละเอียดการใหคะแนนปจจัยมูลคาการกอสราง คาการกอสราง หนวย (ลานบาท) คาตัวคูณ นอยกวา 1,000 1.00 1,001-2,000 0.80 2,001-3,000 0.60 3,001-4,000 0.40 มากกวา 4,000 0.20 ตารางที่ 1.8.2-7 รายละเอียดการใหคะแนนปจจัยมูลคากรรมสิทธิที่ดิน คาเวนคืน หนวย (ลานบาท) คาตัวคูณ นอยกวา 50 1.00 51-100 0.80 101-150 0.60 151-200 0.40 มากกวา 200 0.20 กรมทางหลวงชนบท 1-36 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ตารางที่ 1.8.2-8 รายละเอียดการใหคะแนนปจจัยมูลคาในการบำรุงรักษา คาในการบำรุงรักษา หนวย (ลานบาท/ป) คาตัวคูณ นอยกวา 0.500 1.00 0.501-1.000 0.80 1.001-1.500 0.60 1.501-2.000 0.40 มากกวา 2.000 0.20 โดยสรุปผลการประเมินคาตัวคูณจากปจจัยดานการลงทุน ดังตารางตอไปนี้ (ตารางที่ 1.8.2-9) ตารางที่ 1.8.2-9 สรุปผลการประเมินคาตัวคูณจากปจจัยดานการลงทุน รายละเอียด ทางเลือกที่ 1 คาตัวคูณ ทางเลือกที่ 2 คาตัวคูณ ทางเลือกที่ 3 คาตัวคูณ คากอสราง (ลานบาท) 2,507 0.60 2,384 0.60 1,600. 0.80 คาจัดกรรมสิทธิที่ดิน 187 0.40 162 0.40 0 1.00 คาบำรุงรักษา (ลานบาท/ป) 1.192 0.60 1.133 0.60 0.692 0.80 (3) ปจจัยดานสิ่งแวดลอม การประเมินคาตัวคูณสำหรับปจจัยดานสิ่งแวดลอมสำหรับปจจัยเรื่อง ผลกระทบตอพื้นที่ ปาชายเลน ผลกระทบตอพื้นที่เขตหามลาสัตวปาทุ งทะเล ผลกระทบตอปาสงวนแหงชาติ ซึ่งประเมินจาก ขนาดพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบนั้นแบงเปนชวง แสดงดังตารางที่ 1.8.2-10 โดยสรุปผลการประเมินคาตัวคูณจาก ปจจัยดานผลกระทบตอพื้นที่ปาชายเลน ผลกระทบตอพื้นที่เขตหามลาสัตวปาทุงทะเล ผลกระทบตอปาสงวน แหงชาติ ดังตารางที่ 1.8.2-11 และรูปที่ 1.8.2-2 ซึ่งในการประเมินคาตัวคูณสำหรับปจจัยดานสิ่งแวดลอมสำหรับ ปจจัยเรื่อง ผลกระทบดานคุณภาพอากาศ-เสียง ความสั่นสะเทือน, ผลกระทบดานสมุทรศาสตรและการกัดเซาะ ผลกระทบดานการโยกยายเวนคืน และผลกระทบดานการคมนาคมทางบกและทางน้ำ (จุดเชื่อมตอถนนและ จุดตัดแพขนานยนต) ซึ่งปจจัยดังที่กลาวนี้ ใชการประเมินผลกระทบแบงเปนชวง ดังตารางที่ 1.8.2-12 ถึง ตารางที่ 1.8.2-15 ตารางที่ 1.8.2-10 รายละเอียดการใหคะแนนปจจัย ผลกระทบตอพื้นที่ปาชายเลน ผลกระทบตอพื้นที่เขต หามลาสัตวปาทุงทะเล ผลกระทบตอปาสงวนแหงชาติ ระดับ ตัดผานพื้นที่ (ไร) ดานผลกระทบสิ่งแวดลอม คาตัวคูณ 1 นอยกวา 10 ี ลกระทบ ไมมผ 1.00 2 11 – 20 มีผลกระทบนอย 0.80 3 21 – 30 มีผลกระทบปานกลาง 0.60 4 31 – 40 มีผลกระทบมาก 0.40 5 มากกวา 40 มีผลกระทบรุนแรง 0.20 กรมทางหลวงชนบท 1-37 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ตารางที่ 1.8.2-11 ขอมูลและคาตัวคูณตามปจจัยยอยดานผลกระทบตอพื้นที่ปาชายเลน ผลกระทบ  ทะเล ผลกระทบตอปาสงวนแหงชาติ ตอพื้นที่เขตหามลาสัตวปาทุง แนวเสนทางเลือกที่ 1 แนวเสนทางเลือกที่ 2 แนวเสนทางเลือกที่ 3 รายละเอียด ขอมูล คาตัวคูณ ขอมูล คาตัวคูณ ขอมูล คาตัวคูณ พื้นที่ปาชายเลน (ไร) 23 0.60 15 0.80 1.2 1.00 พื้นที่เขตหามลาสัตวปา (ไร) 36 0.40 35 0.40 4 1.00 พื้นที่ปาสงวนแหงชาติ (ไร) 28 0.60 18 0.80 4 1.00 รูปที่ 1.8.2-2 แนวเสนทางเลือกโครงการ ผานพื้นที่ปาชายเลนพื้นที่เขตอนุรักษ และพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ตารางที่ 1.8.2-12 การใหคะแนนปจจัยผลกระทบดานอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน อากาศ เสียง และ จำนวนพื้นที่ออนไหว ระดับ ดานผลกระทบสิ่งแวดลอม คาตัวคูณ ความสั่นสะเทือน (จุด) 1 ดีมาก นอยกวา 2 ไมมีผลกระทบ 1.00 2 ดี 3–4 มีผลกระทบนอย 0.80 3 พอใช 5–6 มีผลกระทบปานกลาง 0.60 4 คอนขางไมดี 7–8 มีผลกระทบมาก 0.40 5 ไมดี มากกวา 8 มีผลกระทบรุนแรง 0.20 กรมทางหลวงชนบท 1-38 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ตารางที่ 1.8.2-13 รายละเอียดการใหคะแนนปจจัยผลกระทบดานสมุทรศาสตรและการกัดเซาะ สมุทรศาสตรและ ระดับ เสาตอมอในทะเล (ตน) ดานผลกระทบสิ่งแวดลอม คาตัวคูณ การกัดเซาะ 1 ดีมาก นอยกวา 5 ไมมีผลกระทบ 1.00 2 ดี 6 – 10 มีผลกระทบนอย 0.80 3 พอใช 11 – 15 มีผลกระทบปานกลาง 0.60 4 คอนขางไมดี 16 – 20 มีผลกระทบมาก 0.40 5 ไมดี มากกวา 20 มีผลกระทบรุนแรง 0.20 ตารางที่ 1.8.2-14 รายละเอียดการใหคะแนนปจจัยผลกระทบดานการโยกยายเวนคืน ระดับ การโยกยายเวนคืน อาคาร (หลัง) ดานผลกระทบสิ่งแวดลอม คาตัวคูณ 1 ดีมาก นอยกวา 2 ไมมีผลกระทบ 1.00 2 ดี 3–4 มีผลกระทบนอย 0.80 3 พอใช 5–6 มีผลกระทบปานกลาง 0.60 4 คอนขางไมดี 7–8 มีผลกระทบมาก 0.40 5 ไมดี มากกวา 8 มีผลกระทบรุนแรง 0.20 ตารางที่ 1.8.2-15 รายละเอียดการใหคะแนนปจจัยผลกระทบดานคมนาคมทางบกและทางน้ำ (จุดเชื่อมตอถนนและจุดตัดแพขนานยนต) ระดับ คมนาคมทางบกและทางน้ำ จำนวนจุดตัดแนวเสนทาง ดานผลกระทบสิ่งแวดลอม คาตัวคูณ 1 ดีมาก 0 ไมมีผลกระทบ 1.00 2 ดี 1 มีผลกระทบนอย 0.80 3 พอใช 2 มีผลกระทบปานกลาง 0.60 4 คอนขางไมดี 3 มีผลกระทบมาก 0.40 5 ไมดี 4 มีผลกระทบรุนแรง 0.20 ความสามารถของการพัฒ นาโครงการ (พื ้ น ที ่ ) คื อ ความสามารถในการพั ฒนาในอนาคต เนื่องจากการพัฒนาของเกาะลันตาในปจจุบัน สวนใหญเปนการพัฒนาในเกาะลันตาใหญ ทำใหเกาะลันตาใหญ เปนศูนยกลางของการทองเที่ยว เศรษฐกิจ ที่พัก อาหาร บันเทิง และนาจะเต็มความจุของพื้นที่ รวมถึงสาธารณูปโภค และจำนวนผูพำนักในพื้นที่ การที่จะพัฒนาในเกาะลันตาใหญเพิ่มขึ้นอีก อาจจะมีปญหาในหลายๆ ดาน ในขณะที่ เกาะลันตานอย ซึ่งมีสถานที่ทองเที่ยวจำนวนมากกลับไมมีการพัฒนาเทาที่ควร โดยเกาะลันตานอยมีศักยภาพสูง ในการพัฒนาพื้นที่เพื่อการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ดังนั้นปจจัยนี้จึงมีความสำคัญไมนอยกวาปจจัยอื่น ๆ แสดงดัง ตารางที ่ 1.8.2-16 โดยสรุ ป ผลการประเมิ นค า ตั ว คู ณ จากป จ จั ยด านผลกระทบด านคุ ณ ภาพอากาศ - เสียง ความสั่นสะเทือน ผลกระทบดานสมุทรศาสตรและการกัดเซาะ ผลกระทบดานการโยกยายเวนคืน ผลกระทบ ดานการคมนาคมทางบกและทางน้ำ (จุดเชื่อมตอถนนและจุดตัดแพขนานยนต) และความสามารถของการพัฒนา โครงการ แสดงดังตารางที่ 1.8.2-17 กรมทางหลวงชนบท 1-39 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ตารางที่ 1.8.2-16 รายละเอียดการใหคะแนนปจจัยความสามารถของการพัฒนาโครงการ (พื้นที่) ระดับ การพัฒนาโครงการ จำนวนพื้นที่ คาตัวคูณ 1 ดีมาก 5 1.00 2 ดี 4 0.80 3 พอใช 3 0.60 4 คอนขางไมดี 2 0.40 5 ไมดี 1 0.20 ตารางที่ 1.8.2-17 ขอมูลและคาตัวคูณตามปจจัยยอยดานผลกระทบสิ่งแวดลอม รายละเอียด ขอมูล คาตัวคูณ ขอมูล คาตัวคูณ ขอมูล คาตัวคูณ ผลกระทบดานอากาศ เสียง 5 0.60 5 0.60 2 0.80 และความสั่นสะเทือน (แหง) ผลกระทบดานสมุทรศาสตร 10 0.80 14 0.60 15 0.60 และการกัดเซาะ (ตน) ผลกระทบดานการโยกยายเวนคืน 5 0.60 4 0.80 0 1.00 (หลัง) ผลกระทบดานคมนาคมทางบก 3 0.40 3 0.40 2 0.60 และทางน้ำ (จุด) ความสามารถของการพัฒนา 3 0.60 4 0.80 5 1.00 โครงการ (พื้นที่) 3) สรุปคะแนนการคัดเลือกแนวเสนทางที่เหมาะสม การประเมินคาตัวคูณของทุกปจจัยในการพิจารณาคัดเลือกแนวเสนทาง ดังแสดงไวในหัวขอขางตน (ภาคผนวก ฑ) ไดนำมาสรุปเปนคะแนนการคัดเลือกแนวเสนทางที่เหมาะสม พบวา แนวเสนทางเลือกที่ 3 เปนแนวเสนทางที่มีความเหมาะสมมากที่สุด ไดคะแนนรวมเปนลำดับที่ 1 ประกอบดวย คะแนนดานวิศวกรรม 18.00 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน) คะแนนดานการลงทุนได 26.00 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน) และดานสิ่งแวดลอมได 35.60 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน) โดยมีผลกระทบสิ่งแวดลอมน อยที ่ สุ ด รวมคะแนนทั้งสิ้น 79.60 คะแนน ในขณะที่แนวเสนทางที่ 2 ไดคะแนนรวม 65.70 คะแนน มาเปนลำดับที่ 2 และแนวเสนทางเลือกที่ 1 ไดคะแนนรวม 61.30 คะแนน เปนลำดับที่ 3 รายละเอียดของการประเมินคะแนน ่ หมาะสม สรุปรายละเอียดในตารางที่ 1.8.2-18 ในการคัดเลือกแนวเสนทางทีเ กรมทางหลวงชนบท 1-40 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ตารางที่ 1.8.2-18 สรุปผลการคัดเลือกแนวเสนทางโครงการที่เหมาะสม แนวเสนทางเลือก แนวเสนทางเลือกที่ 1 แนวเสนทางเลือกที่ 2 แนวเสนทางเลือกที่ 3 ลำดับที่ รายละเอียด ตะแนนเต็ม คาตัวคูณ คะแนน คาตัวคูณ คะแนน คาตัวคูณ คะแนน 1 ดานวิศวกรรม 1.1 ระยะทาง/ความยาวของแนวเสนทาง 6.0 0.8 4.8 0.8 4.8 0.2 1.2 1.2 ระยะทาง/ความยาวของสะพาน 6.0 0.6 3.6 0.8 4.8 0.8 4.8 1.3 ความยุงยากในการกอสราง 9.0 0.7 6.3 0.7 6.3 0.8 7.2 1.4 ลักษณะเลขาคณิตทางราบและทางดิ่ง 6.0 1.0 6.0 1.0 6.0 0.4 2.4 1.5 การเกิดทางแยก/จุดตัดกับถนนเดิม 3.0 0.6 1.8 0.6 1.8 0.8 2.4 รวมคะแนน (1) 30.0 22.5 23.7 18.0 2 ดานเศรษฐศาสตรและการลงทุน 2.1 มูลคาการกอสราง 15.0 0.6 9.0 0.6 9.0 0.8 12.0 2.2 มูลคาจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน 10.0 0.4 4.0 0.4 4.0 1.0 10.0 2.3 มูลคาในการบำรุงรักษา 5.0 0.6 3.0 0.6 3.0 0.8 4.0 รวมคะแนน (2) 30.0 16.0 16.0 26.0 3 ดานผลกระทบสิ่งแวดลอม 3.1 พื้นที่ปาชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี (ไร) 6.0 0.6 3.6 0.8 4.8 1.0 6.0 3.2 พื้นที่เขตหามลาสัตวปาทุงทะเล (ไร) 6.0 0.4 2.4 0.4 2.4 1.0 6.0 3.3 พื้นที่ปาสงวนแหงชาติ (ไร) 6.0 0.6 3.6 0.8 4.8 1.0 6.0 3.4 ผลกระทบดานอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือนตอพื้นที่ออนไหวดานสิ่งแวดลอม (แหง) 6.0 0.6 3.6 0.6 3.6 0.8 4.8 3.5 ผลกระทบดานสมุทรศาสตรและการกัดเซาะ 4.0 0.8 3.2 0.6 2.4 0.6 2.4 3.6 ผลกระทบดานการโยกยาย (แหง) 4.0 0.6 2.4 0.8 3.2 1.0 4.0 3.7 ผลกระทบดานคมนาคมทางบกและทางน้ำ 4.0 0.4 1.6 0.4 1.6 0.6 2.4 3.8 ความสามารถของการพัฒนาพื้นที่ 4.0 0.6 2.4 0.8 3.2 1.0 4.0 รวมคะแนน (3) 40.0 22.8 26.0 35.6 รวมคะแนนทั้งหมด (1) + (2) + (3) 100.0 61.3 65.7 79.6 ั การคัดเลือก ลำดับที่ไดรบ 3 2 1 กรมทางหลวงชนบท 1-41 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ 1.9 องคประกอบของรายงาน 1) บทที่ 1 บทนำ นำเสนอความเปนมาของโครงการ วัตถุประสงคของโครงการ พื้นที่ศึกษา วัตถุประสงคของการศึกษา แนวทางการดำเนินการศึกษา และขั้นตอนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม 2) บทที่ 2 รายละเอียดของโครงการ นำขอมูลโครงการมาพิจารณา ทำความเขาใจ และสรุปลักษณะองคประกอบของโครงการ กิจกรรม การดำเนินโครงการในระยะตางๆ ทั้งระยะเตรียมการกอสราง ระยะกอสราง และระยะดำเนินการ 3) บทที่ 3 สภาพแวดลอมในปจจุบัน ดำเนินการเก็บรวบรวมขอมูลเพิ่มเติม และวิเคราะหสภาพแวดลอมบริเวณพื้นที่ศึกษาอยางละเอียด โดยอาศัยหลักเกณฑทางวิชาการที่ถูกตองเหมาะสม ครอบคลุมประเด็นสิ่งแวดลอมที่มีนัยสำคัญซึ่งไดจากผลการ ศึกษาในขั้น IEE เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการพัฒนาโครงการ 4) บทที่ 4 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ประกอบดวย เกณฑการพิจารณาผลกระทบสิ่งแวดลอม ขอบเขตการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ลักษณะกิจกรรมการดำเนินงานโครงการ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมที่มีตอทรัพยากรสิ่งแวดลอมตางๆ ทั้งทางทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางดานกายภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางดานชีวภาพ คุณคาการใชประโยชน ของมนุษย และคุณคาตอคุณภาพชีวิต 5) บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม เสนอมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม ทั้งระยะเตรียมการกอสราง ระยะกอสราง และระยะดำเนินการ โดยคำนึงถึงความเหมาะสมและความเปนไปไดในทางปฏิบัติ 6) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม เสนอมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม ทั้งระยะเตรียมการกอสราง ระยะกอสราง และระยะดำเนินการ โดยคำนึงถึงความเหมาะสมและความเปนไปไดในทางปฏิบัติ 7) บทที่ 7 แผนปฏิบัติการจัดการดานสิ่งแวดลอม ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการดานสิ่งแวดลอม โดยระบุถึงสิ่งที่จะตองดำเนินการ ชวงเวลา ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ การประมาณราคาคาใชจายในการดำเนินการตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ในแตละมาตรการ 8) บทที่ 8 การมีสวนรวมของประชาชน การประชาสัมพันธและการมีสวนรวมของประชาชน นำเสนอวัตถุประสงคของการศึกษา พื้นที่ ดำเนินการ การคัดเลือก และวิเคราะหกลุมเปาหมาย แผนการดำเนินงานการประชาสัมพันธและการมีสวนรวม ของประชาชน และผลการดำเนินงานการประชาสัมพันธและการมีสวนรวม กรมทางหลวงชนบท 1-42 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ 9) ภาคผนวก ภาคผนวก ก หนังสือขอตรวจสอบขอมูลพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ศึกษา โครงการ ภาคผนวก ข หนังสือขออนุญาตเขาทำการศึกษาและวิจัยทางวิชาการในพื้นที่ปาอนุรักษกรมอุทยาน แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ภาคผนวก ค หนังสือขออนุญาตเขาศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการในปาสงวนแหงชาติ ภาคผนวก ง หนังสือขอตรวจสอบขอมูลพื้นทีช ่ ั้นคุณภาพลุมน้ำที่อยูในขอบเขตพื้นที่ศึกษา โครงการ ภาคผนวก จ หนังสือขออนุญาตเขาศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการในปาชายเลนในเขตปาสงวนแหงชาติ (ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง) ภาคผนวก ฉ มติคณะรัฐมนตรีพื้นที่ปา  ชายเลน ภาคผนวก ฉ.1 มติคณะรัฐมนตรีพื้นที่ปา  ชายเลน วันที่ 13 ตุลาคม 2543 ภาคผนวก ฉ.2 มติคณะรัฐมนตรีพื้นที่ปา  ชายเลน วันที่ 31 สิงหาคม 2543 ภาคผนวก ช ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพอากาศ เสียง และความสัน ่ สะเทือน ภาคผนวก ช.1 ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพอากาศ เสียง และความสัน ่ สะเทือน ครั้งที่ 1 วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563 ภาคผนวก ช.2 ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพอากาศ เสียง และความสัน ่ สะเทือน ครั้งที่ 2 วันที่ 7-10 กุมภาพันธ 2564 ภาคผนวก ช.3 เอกสารการขึ้นทะเบียนหองปฏิบัติการ ภาคผนวก ซ การศึกษาดานเศรษฐกิจ-สังคม ภาคผนวก ซ.1 กลุมครัวเรือน 500 เมตร - ผลการดำเนินการสงจดหมายทางไปรษณียบ  า นรางและบานไมมีคนอยู ภาคผนวก ซ.2 กลุมผูนำชุมชน - ความคิดเห็นตอโครงการของผูนำชุมชนในพืน ้ ที่โครงการ ภาคผนวก ซ.3 กลุมพื้นที่ออนไหว ภาคผนวก ซ.4 การโยกยายและเวนคืน ภาคผนวก ฌ ขอมูลจำนวนสถานประกอบการ อำเภอเกาะลันตา ภาคผนวก ญ การมีสวนรวมของประชาชน ภาคผนวก ญ.1 การเตรียมความพรอมชุมชน ภาคผนวก ญ.2 การประชุมปฐมนิเทศโครงการ (การประชุมใหญ ครั้งที่ 1) ภาคผนวก ญ.3 การประชุมกลุมยอย ครั้งที่ 1 ภาคผนวก ญ.4 การประชุมสรุปแนวทางเลือกทีเ่ หมาะสม (การประชุมใหญ ครั้งที่ 2) ภาคผนวก ญ.5 การประชุมหารือมาตรการและปจฉิมนิเทศ ภาคผนวก ญ.6 การประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ และมาตรการดานสิง ่ แวดลอม ภาคผนวก ฎ ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ำทะเล ภาคผนวก ฎ.1 ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 18-27 มกราคม 2564 ภาคผนวก ฎ.2 ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 11-19 กุมภาพันธ 2564 ภาคผนวก ฎ.3 ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2564 ภาคผนวก ฏ การทบทวนการศึกษาเดิมและแผนพัฒนาที่เกี่ยวของ กรมทางหลวงชนบท 1-43 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA Report) บทที่ 1 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตานอย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ บทนำ ภาคผนวก ฐ รายละเอียดแบบสอบถามหนวยงานที่เกี่ยวของ - สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จังหวัดกระบี่ - สำนักงานทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดกระบี่ - สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝงที่ 10 - แขวงทางหลวงจังหวัดกระบี่ - ศูนยอนุรักษทรัพยากรปาชายเลนที่ 19 (ลันตากระบี)่ - สมาคมคนรักเลกระบี่ ภาคผนวก ฑ สรุปผลการศึกษาคัดเลือกแนวเสนทางโครงการที่เหมาะสม ภาคผนวก ฒ เศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอม ภาคผนวก ณ รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาดานผังเมือง ภาคผนวก ด คูมือบำรุงสะพานและทางลอด ป 2562 กรมทางหลวงชนบท ภาคผนวก ต สรุปประชุมหารือกรมทางหลวง ภาคผนวก ถ แนวทางปฏิบัตต ิ ามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง วาดวยการปลูกและ บำรุงปาชายเลนทดแทน ภาคผนวก ถ.1 ระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง  วาดวยการปลูกและบำรุงปาชายเลน ทดแทน ภาคผนวก ถ.2 ระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง  วาดวยการปลูกและบำรุงปาชายเลน ทดแทน พ.ศ. 2564 ภาคผนวก ถ.3 แนวทางปฏิบัตต ิ ามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง วาดวยการปลูก และบำรุงปาชายเลนทดแทน พ.ศ. 2564 กรมทางหลวงชนบท 1-44 บทที่ 2 รายละเอียดโครงการ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ บทที่ 2 รายละเอียดโครงการ 2 .1 บทนำ เกาะลันตาอยู่ในทะเลอันดามันในเขตจังหวัดกระบี่ ระหว่างทะเลกระบี่กับทะเลตรังห่างจากกระบี่ ไปทาง ทิศใต้ ประมาณ 80 กิโลเมตร อำเภอเกาะลันตา ประกอบด้วย 5 ตำบล คือ ตำบลคลองยาง ตำบลเกาะกลาง ตำบลเกาะลัน ตาน้อย ตำบลศาลาด่าน และตำบลเกาะลัน ตาใหญ่ โดยที ่ ต ั้ ง ของที่ ทำการอำเภอเกาะลันตา อยู่ที่ตำบลเกาะลันตาน้อย นอกจากนี้ยังมีเกาะเล็กๆ อีกมากมายหลายเกาะ ศูนย์กลางความเจริญ และศูนย์กลาง ธุรกิจท่องเที่ยวอยู่ที่เกาะลันตาใหญ่ ซึ่งเป็นเกาะที่อยู่ทางด้านทิศใต้ของหมู่เกาะลันตา เป็นเกาะใหญ่ ปลายสุด ด้านทิศใต้ของเกาะลันตาใหญ่ เป็นที่ตั้งของที่ ทำการอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตาและประภาคารสัญลักษณ์ ของเกาะลันตา ด้วยความสวยงามและความเงียบสงบของเกาะลันตาทำให้นักท่องเที่ยวติดใจ จึง ทำให้ชื่อเสียง ของเกาะลันตาเป็นที่รู้จักในหมู่ของนักท่องเที่ยวต่างชาติในเวลาอันรวดเร็ว ปัจจุบันการเดินทางไปเกาะลันตาจะต้องผ่านทางหลวงหมายเลข 4206 สู่บ้านหัวหิน ซึ่งเป็นจุดลง แพขนานยนต์ไปยังเกาะลันตาน้อย ลงแพขนานยนต์ 1 ครั้ง คือ บ้านหัวหิน-เกาะลันตาน้อย โดยมีสะพานสิริลันตา เชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ จึงจะถึงตัวเมือง ย่านชุมชนและการค้า และตรงต่อไปยังหาดต่างๆ จนไปสุด ถนนที่ท้ายเกาะบริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา ซึ่งการใช้แพขนานยนต์ในปัจจุบันนั้น แม้จะเป็น ระยะทางสั้นเพียง 1.53 กิโลเมตร แต่เนื่องจากแพขนานยนต์บรรทุกรถได้น้อย ปัญหาที่ประสบอยู่ในขณะนี้ คือ ปัญหาเรื่องของความล่าช้า ซึ่งผู้โดยสารจะต้องมารอแพขนานยนต์เป็นเวลานาน 1-2 ชั่วโมง หรือบางครั้งก็นาน กว่านั้น ทำให้การจราจรติดขัด ขบวนรถติดยาวเหยียด/จากปัญหาดังกล่าวจึงสรุปข้อเท็จจริงได้ว่า สาเหตุมาจาก ในขณะนี้เป็นช่วง High Season (เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน) มีนักท่องเที่ยวเดินทางเป็นจำนวนมาก และ มีปัญหาเรื่องของระดับน้ำทะเลที่ขึ้น-ลงโดยธรรมชาติ ซึ่งเป็นอุปสรรคของแพขนานยนต์ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ กรมทางหลวงชนบท เล็งเห็นความจำเป็นของการก่อสร้างเส้นทางคมนาคมขนส่งทางบกเชื่อมระหว่าง บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง กับเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ดังกล่าว จึงได้ดำเนินการจัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อให้บริการงานศึกษาความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์การลงทุน และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ( EIA) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เป็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งทางบก และสนับสนุนการ แข่งขันภาคการท่องเที่ยวของประเทศอีกด้วย 2.2 การทบทวนรายงานการศึกษาที่เกี่ยวข้อง 1) แผนพัฒนาจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2561 – 2565 ฉบับทบทวน รอบปี พ.ศ. 2564 จังหวัดกระบี่ ได้จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561 – 2565 ฉบับทบทวน รอบปี พ.ศ. 2564 เพื่อทบทวนแนวทางการพัฒนาในแผนให้เหมาะสมกับสถานการณ์และปัญหาความต้องการในปัจจุบัน ให้เป็น ทิศทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนำไปเป็น แนวทางหลักในการกำหนดทิศทางการพัฒนาของแต่ละภาคส่วน เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัดกระบี่ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งด้านการท่องเที่ยว เกษตร อุตสาหกรรม พลังงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ภายใต้ วิสัยทัศน์ “เมืองท่องเที่ยวคุณภาพระดับนานาชาติ เกษตรอุตสาหกรรมยั่งยืน สังคมน่าอยู่ มีการปรับตัวเท่าทันต่อ บริบทการเปลี่ยนแปลง” กรมทางหลวงชนบท 2-1 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ประเด็นการพัฒนาที่ 1 : พัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นการท่องเที่ยวสีเขียว ( Green Tourism) เพิ่มศักยภาพให้ได้มาตรฐานในระดับสากล และเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระดับภูมิภาคและนานาชาติ ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : ยกระดับขีดความสามารถในการผลิตด้านการเกษตรและแปรรูปสินค้า เกษตรอย่างครบวงจร ควบคู่กับการพัฒนาอุตสาหกรรมสะอาดและพลังงานทางเลือก ประเด็นการพัฒนาที่ 3 : พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนสู่สังคมน่าอยู่ และปรับตัวเท่าทันต่อบริบท การเปลี่ยนแปลง ประเด็นการพัฒนาที่ 4 : อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดความยั่งยืน 2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) สำนั กงานคณะกรรมการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ (สศช.) ได้ จ ั ด ประชุ ม เพื ่ อระดม ความคิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางในการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2564) เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2558 โดยตั้งเป้าให้ไทยหลุดพ้นจากกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และเป็นประเทศที่มีรายได้สูงในปี 2569 ในการประชุมได้ทำการแบ่งกลุ่มเพื่อระดมความคิดเห็น จำนวน 7 กลุ่ม ประกอบด้วย (1) กลุ่มที่ 1 ศักยภาพการแข่งขันเพื่อมุ่งสู่การเป็นประเทศรายได้สูง โครงสร้างการผลิตของไทย เปลี ่ ย นผ่า นจากสั ง คมเกษตรไปสู่ เกษตรอุ ต สาหกรรม อุ ต สาหกรรม และบริ การมากขึ ้ น แม้ จ ะมี การสั่งสม องค์ความรู้และเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนทำให้ไทยอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง แต่ด้วยบริบทโลกที่เปลี่ยนอย่างรวดเร็ว และการที่ไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย ทำให้จำนวนแรงงานลดลง ผลิตภาพ การผลิตถดถอย การพัฒนาเทคโนโลยียังไม่เข้มข้นมากพอ ส่งผลให้แรงขับเคลื่อนเริ่มช้าลง ทำอย่างไรที่จะเพิ่ม ศักยภาพการแข่งขันของภาคการผลิต บริการ การค้า วิจัยและนวัตกรรม เพื่อมุ่งสู่ประเทศรายได้สูง และมีความสุข อย่างยั่งยืน (2) กลุ่มที่ 2 การลงทุนเพื่ออนาคตของประเทศไทย ภายใต้ข้อจำกัดด้านแรงงานที่จะเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ ระบบเศรษฐกิจที่ผลิตภาพการผลิตที่ยังเพิ่มขึ้นอย่างเชื่องช้า ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ยังอยู่ในระดับสูง และภาวะเศรษฐกิจโลกที่ยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ ประเทศไทยควรวางยุทธศาสตร์การลงทุนภาครัฐ เพื่อยกระดับศักยภาพทางเศรษฐกิจและขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจไทยก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างไร (3) กลุ่มที่ 3 คนไทยกับสังคมสูงวัยที่มีคุณภาพ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคมสูงวัย ประเทศ จึงจำเป็นต้องเร่งพัฒนาศักยภาพคนในทุกช่วงวัย ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ พัฒนา ระบบสุขภาพและสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว และชุมชนในสังคม (4) กลุ่มที่ 4 การพัฒนาภาค และการเชื่อมโยงภูมิภาค การกำหนดยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงภูมิภาค และประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาภาคและเมือง รวมทั้งการสร้างความอยู่ดีมีสุขของประชาชนไทย และประชาชนประเทศเพื่อนบ้าน โดยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ (5) กลุ่มที่ 5 การพัฒนาการเกษตรไทยสู่ความเป็นเลิศด้านอาหารของโลกภายใต้บริบทที่เปลี่ยนแปลง นำเสนอการวิเคราะห์สถานการณ์การพัฒนาการเกษตรและอาหารของไทยในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ว่ามีผล การดำเนินงาน ประเด็นปัญหาและข้อจำกัดใดบ้างในการพัฒนาการเกษตรสู่ค วามเป็นเลิศด้านอาหารของโลก รวมถึงการกำหนดเป้าหมายสู่ความเป็นเลิศด้านอาหารของโลก และแนวทางการพัฒนาตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ตลอดจนกลไกการขับเคลื่อนให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรม รวมทั้งประเด็นการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เป็น ฐานการผลิตสำคัญของภาคเกษตร เช่น ทรัพยากรน้ำและที่ดิน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเกษตรที่มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน กรมทางหลวงชนบท 2-2 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (6) กลุ่มที่ 6 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน นำเสนอการวิเคราะห์ สถานะของประเทศและบริบทการเปลี่ยนแปลงที่ประเทศต้องเผชิญ ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภาวะ การพั ฒ นาของโลกภายหลั ง พ.ศ. 2558 ( Post Development 2015) เพื่ อ กำหนดแนวทางการรั กษาทุ น ทางธรรมชาติ การตั้งเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก และการส่งเสริมการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการจัดการมลพิษ และระบบจัดการภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพ (7) กลุ่มที่ 7 การบริหารงานภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน ภาครัฐยังขาดประสิทธิภาพ ที่จะสนับสนุนการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีมีความสุขของประชาชน และความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ ภาครัฐขยายขึ้นอย่างรวดเร็วโดยขาดการบูรณาการการทำงานในการขับเคลื่อนการพั ฒนา ประเทศ ส่งผลให้การใช้จ่ายงบประมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จะปฏิรูปภาครัฐอย่างเร่งด่วนในทุกมิติอย่างไร ทิศทางใด ทั้งรูปแบบโครงสร้างองค์กรภาครัฐ บุคลากร ระบบการติดตามประเมินผลการทำงานของภาครัฐ และการตรวจสอบ ระบบการให้บริการประชาชน ระบบงบประมาณ และการแบ่งอำนาจและความรับผิดชอบ ระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เป็นภาครัฐของประชาชนและเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนไทยอย่างแท้จริง สศช. ได้ตั้งเป้าหมายในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ถึง 13 ว่าเศรษฐกิจไทยจะต้องเติบโต ปีละ 5% ซึ่งอาจเป็นเรื่องท้าทาย เพราะในช่วง 8 ปีที่ผ่านมา เศรษฐกิจไทยขยายตัวประมาณ 3% ต่อปี เท่านั้น และไทย ไม่สามารถคาดหวังการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่มาจากภาคส่งออกได้แล้ว จึงมีความจำเป็นที่ไทยจะต้องพึ่งพิง การลงทุนภายในประเทศอย่างมาก โดยภายใต้สมมติฐานนี้จะทำให้คนไทยมีรายได้ 12,735 เหรียญสหรัฐ/คน/ปี หรือเป็นประเทศที่หลุดจากการเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลางในช่วงปี พ.ศ. 2560-2564 การส่งออกจะต้อง ขยายตัว เฉลี่ยปีละ 4% การลงทุนเอกชนขยายตัว ปีละ 7.5% การลงทุนภาครัฐขยายตัว ปีละ 10% หรือจะต้อง มีเม็ดเงินลงทุน 26.36 ล้านล้านบาท แบ่งเป็นการลงทุนเอกชน 19.47 ล้านล้านบาท และการลงทุนภาครัฐ 6.89 ล้านล้านบาท คือ การลงทุนของรัฐบาล 4.13 ล้านล้านบาท และรัฐวิสาหกิจ 2.75 ล้านล้านบาท สศช. ยังประเมิน ว่าหากเศรษฐกิจไทยปี พ.ศ. 2558 - 2559 จะขยายตัวได้ที่ 5% ต่อปี การส่งออกจะต้องขยายตัวที่ระดับ 4% มี การลงทุ น ภาคเอกชน 5. 45 ล้ า นล้ า นบาท และภาครั ฐ 1. 06 ล้ า นล้ า นบาท อย่ า งไรก็ ต าม แผนการลงทุน จะขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจขยายตัวได้ตามเป้าหมายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12-13 สศช. ยึดกรอบและแผนลงทุน ภายใต้โครงการลงทุนเพื่ออนาคตประเทศไทย 7 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย (1) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศปี พ.ศ. 2558-2565 เช่น รถไฟ ทางคู่ 6 เส้นทาง รถไฟไทย-จีน รถไฟไทย-ญี่ปุ่น รถไฟฟ้า 10 เส้นทาง พัฒนาทางหลวงเชื่อมประเทศเพื่อนบ้าน มอเตอร์เวย์ 3 เส้นทาง มูลค่าลงทุนกว่า 1.6 แสนล้านบาท ตลอดจนพัฒนาสนามบินสุวรรณภูมิ เฟส 2 สนามบิน ดอนเมือง สนามบินอู่ตะเภา และท่าเรือนํ้าลึก (2) การลงทุนเพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (3) โครงการปรับปรุงกิจการประปา 1.21 แสนล้านบาท และโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน 5.5 แสนล้านบาท (4) การลงทุนด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านไอซีที เช่น ลงทุนระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง 3.07 หมื่นล้านบาท และการลงทุนเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจดิจิทัล (5) การลงทุนบริหารจัดการน้ำ ซึ่งในช่วงปี พ.ศ. 2558-2560 จะมีการลงทุนปีละ 1-1.3 แสนล้านบาท (6) การลงทุนเพื่อการวิจั ยและพัฒนา โดยแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 มีเป้าหมายเพิ่ มค่าใช้ จ ่ า ย เพื่อการลงทุนวิจัยและพัฒนาเป็น 2% ต่อจีดีพี กรมทางหลวงชนบท 2-3 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (7) ขับเคลื่อนการลงทุนของภาคเอกชนเพื่อเพิ่มบทบาทของอุตสาหกรรมและบริการในยุคที่ 3 เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ การขนส่งทางราง อิเล็กทรอนิ กส์ขั้นสูง การบินและอากาศยาน วัสดุกลุ่มคาร์บอนไฟเบอร์ บริการทางการศึกษาและบริการทางการแพทย์ เป็นต้น ขณะที่ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ระบุว่า แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 มีเป้าหมาย ที่จะยกระดับประชาชนมั่งคั่งและยั่งยืนในอนาคต และต้องการให้ สศช.จั ดทำแผนพัฒนาฯ ให้สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์ประเทศในระยะ 20 ปีข้างหน้า และจัดทำเป็นแผนปฏิบัติการ ( Action Plan) เพื่อวางรากฐาน ให้ประเทศไทยมีความเข้มแข็งจากภายใน โดยจะมีการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน 18 โครงการ งบประมาณ 1.76 ล้านล้านบาท เช่น รถไฟทางคู่ 5 เส้นทาง รถไฟไทย-จีน ปรับปรุงการขนส่งทางนํ้า ทางอากาศ ปรับโครงสร้าง เอสเอ็มอี พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษโดยเฉพาะการพัฒนาคนที่รัฐบาลให้ความสําคัญมากและเพื่อให้แผนพัฒนาฯ ฉบั บ ที่ 12 มี การดำเนิ นการเป็นรู ปธรรม โดยเฉพาะโครงการลงทุ นโครงการพื ้นฐาน เช่ น แผนแม่บทรถไฟ ระบบราง ที่มีความชัดเจนแล้ว รวมถึงโครงการลงทุนโรงไฟฟ้าที่มีการศึกษาผลกระทบต่อประชาชนชัดแล้ว แผนพัฒนาฯ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติ (สนช.) เพื่อให้มีผลผูกพันกับทุกรัฐบาลที่จะเข้ามา บริหารประเทศ และในร่างรัฐธรรมนูญที่ควํ่าไปแล้วก็ได้บรรจุเรื่องนี้ไว้ เพื่อให้ผูกพันทุกรัฐบาลหากแผนพัฒนาฯ ผ่าน สนช. 3) แผนการพัฒนาระบบขนส่งของไทยในระยะ 20 ปี กระทรวงคมนาคม (พ.ศ. 2560-2579) กระทรวงคมนาคมได้บูรณาการความต้องการด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย เพื่อสร้างรากฐานความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม ความปลอดภัยในการเดินทางและขนส่ง รวมทั้งสร้างโอกาส สำหรับการใช้ประโยชน์สูงสุดจากการเป็นประชาคมอาเซียน ตามเป้าหมายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้ง มุ่งเน้นประเด็นท้าทายของการพัฒนาที่จะสนับสนุนการปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งสินค้าที่พึ่งพาทางถนน เป็นหลักไปใช้การขนส่งหลักที่เป็นรูปแบบที่มีต้นทุนต่ อหน่วยต่ำกว่า และการเชื่อมต่อการเดินทางและการขนส่ง กับประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งการยกระดับความคล่องตัวในการเดินทางและการขนส่งไปสู่ศูนย์กลางของภูมิภาค ทั่วประเทศโดยแผนงานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 มีทั้งสิ้น 5 ด้าน ดังนี้ - แผนงานการพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง - แผนงานการพัฒนาโครงข่ายขนส่งสาธารณะเพื่อแก้ไขปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล - แผนงานการเพิ่มขีดความสามารถทางหลวงเพื่อเชื่อมโยงฐานการผลิตที่สำคัญของประเทศและ เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านสู่ประชาคมอาเซียน - แผนงานการพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน้ำ - แผนงานการเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการขนส่งทางอากาศ 4) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม จากแผนหลักการขนส่งฯ กระทรวงคมนาคมได้นำแนวคิดมาจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง โดยมีวิสัยทัศน์เดียวกัน คือ “มุ่งสู่การขนส่งที่ยั่งยืน” สำหรับเป้าประสงค์และยุทธศาสตร์มีเพิ่มเติม 2 เป้าประสงค์ สรุปทั้งหมด คือ - เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อการเดินทางและการขนส่ง (Hubs for Connectivity) โดยมียุทธศาสตร์ คือ การเพิ่มศักยภาพศูนย์การขนส่ง ( Hub) และโครงข่ายเชื่อมโยง (Spoke) รวมถึงกฎระเบียบ เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการขนส่ง กรมทางหลวงชนบท 2-4 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ - เพื่อให้มีระบบขนส่งและการจราจรที่มีประสิทธิภาพ และระดับการให้บริการที่ดี เชื่อมโยงพื้นที่ เศรษฐกิจและชุมชน (Accessibility) โดยมียุทธศาสตร์ คือ การเพิ่มประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานการขนส่ง และระบบโลจิสติกส์ เพื่อรองรับการพัฒนาภาคเศรษฐกิจ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ - เพื่อปรับปรุงและเพิ่มความปลอดภัย ( Safety) ในการเดินทาง การขนส่งและการจราจร โดยมี ยุทธศาสตร์ คือ การพัฒนาระบบการขนส่งและการจราจรเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชน - เพื่อส่งเสริมการขนส่งที่ประหยัดพลังงาน ( Energy Saving) โดยมียุทธศาสตร์ คือ การส่งเสริม และสนับสนุนการขนส่งทางน้ำและราง รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีการใช้พลังงานและยานพาหนะที่สะอาด เพื่อลดต้นทุนการขนส่ง ประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม - เพื่อยกระดับการเข้าถึงและเพิ่มการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ ( Public Transport) อย่างทั่วถึง และเท่าเทียม โดยมียุทธศาสตร์ คือ การผลักดันและเพิ่มโครงข่ายระบบขนส่ งสาธารณะเพื่อให้ประชาชนเข้าถึง อย่างสะดวก - เพื่อเพิ่มความคล่องตัว (Mobility) ในการเดินทาง การขนส่ง และการจราจร โดยมียท ุ ธศาสตร์ คือ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การเชื่อมต่อโครงข่ายการเดินทาง การบริหารจัดการขนส่งและจราจร รวมถึง สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี เพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าถึงและลดเวลาในการเดินทาง - เพื่อส่งเสริมการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการขนส่งและการจราจร รวมถึงพัฒนาระบบฐานข้อมูล และบุคลากรด้านการขนส่ง (HR/R&D) โดยมียุทธศาสตร์ คือ การส่งเสริมการศึกษา วิจัย พัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยี รวมถึงนวัตกรรมในภาคขนส่งและจราจร เพื่อสนับสนุนระบบการขนส่งและ การจราจร - เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการบริหารจัดการด้านการขนส่ง การจราจร และบริการที่มีประสิทธิภาพ และโปร่งใส (Efficiency and Transport) โดยมียุทธศาสตร์ คือ การบริหารจัดการระบบขนส่งและการจราจร ให้มีประสิทธิภาพ 5) ยุทธศาสตร์การพัฒนากรมทางหลวงชนบท (1) วิสัยทัศน์ (Vision) “เชื่อมโยงโครงข่ายถนน ระหว่างทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงท้องถิ่น ท่าอากาศยาน ท่าเรือ สถานีรถไฟ สถานีรถโดยสารเขตเศรษฐกิจพิเศษ และโครงการพระราชดำริเข้าด้วยกัน ได้ครบถ้ว นภายในปี พ.ศ. 2579” (2) พันธกิจ (Mission) - พัฒนาและยกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบท เพื่อเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่ง การสัญจร การท่องเที่ยว การพัฒนาชายแดน การพัฒนาเมือง การแก้ไขปัญหาจราจรด้วยการสร้างทางต่อเชื่อม ( Missing Link) ทางเลี่ยง (By Pass) และทางลัด (Shortcut) - พัฒนาเส้นทางให้สนองตอบระบบโลจิสติกส์ - บำรุงรักษาและอำนวยความปลอดภัยให้โครงข่ายทางหลวงชนบทอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และได้มาตรฐาน - ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบจัดการทางหลวงท้องถิ่นที่ถูกต้อง ได้มาตรฐานและบุคลากรมีความรู้ด้านงานทางสามารถจัดการวางแผน กรมทางหลวงชนบท 2-5 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนากรมทางหลวงชนบท พ.ศ. 2560-2569 (Strategy) ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาโครงข่ายชนบทเข้าสู่พื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึงและใช้งานอย่างปลอดภัย พร้อมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนทางหลวงท้องถิ่น เพื่อความมั่นคงของประเทศ (Stability) ยุทธศาสตร์ที่ 2 เชื่อมโยงโครงข่ายทางหลวงชนบท เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและ ความมั่งคั่งของประเทศ (Prosperity) ยุทธศาสตร์ที่ 3 บำรุงรักษาและเพิ่มคุณค่าโครงข่ายทางหลวงชนบท เพื่อการพัฒนาประเทศ อย่างยั่งยืน (Sustainability) ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาองค์กร เพื่อให้เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูงที่ยึดมั่นในหลักการบริหาร จัดการบ้านเมืองที่ดี (High Performance Organization) 6) รายงานติ ด ตามตรวจสอบผลกระทบสิ ่ ง แวดล้ อม โครงการสะพานเชื ่ อมเกาะลั นตาน้ อย - เกาะลัน ใหญ่ ของกรมทางหลวงชนบท การเปรียบเทียบข้อมูลจากผลการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ พบว่าการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัด กระบี่ มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางด้านคุณภาพอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน มีค่าไม่เกินค่ามาตรฐานที่กำหนดในทุกๆ ดัชนีที่ทำการตรวจวัด ส่วนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านการ กัดเซาะพื้นท้องน้ำและการเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง พบว่า โครงสร้างตอม่อของสะพานสิริลันตาที่ตั้งอยู่ในน้ำมีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงทิศทางและความแรงของกระแสน้ำไม่มาก และจากการวิเคราะห์พบว่าหลังจากมีโครงการแล้ว ทั้งทิศทางและความแรงของกระแสน้ำไม่มีความรุนแรงที่จะทำให้เกิดการกัดเซาะตลิ่งได้ ไม่มีผลกระทบต่อ โครงสร้างตอม่อ และการกีดขวางการเดินเรือที่สัญจรผ่านใต้สะพานแต่อย่างใด สำหรับผลจากการสำรวจด้านเศรษฐกิจ -สังคมในระยะดำเนินการ พบว่า ในประเด็นผลกระทบ ด้านบวกจากการเปิดใช้งานสะพาน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าการเปิดใช้สะพานมีผลกระทบด้านบวก ช่วยสร้างความเจริญในชุมชน เช่น มีแสงสว่าง และมีทางกลับรถใต้สะพาน ร้อยละ 95.50 ภาพลักษณ์ที่ดีให้กับ ชุมชน ร้อยละ 94.00 การคมนาคมสะดวกขึ้น ร้อยละ 84.00 ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง ร้อยละ 70.50 เพิ่มรายได้ให้แก่ผู้ประกอบการร้านค้าจากการขายของให้แก่นักท่องเที่ยว ร้อยละ 61.50 สภาพภูมิทัศน์บริเวณ สะพานที่สวยงาม ร้อยละ 56.00 และส่งเสริมการท่องเที่ยว/มีจำนวนนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในพื้นที่ มากขึ้น ร้อยละ 41.00 ส่วนผลกระทบด้านลบจากการเปิดใช้งานสะพาน กลุ่มตัวอย่างที่ไม่ได้รับผลกระทบจากการเปิดใช้ สะพาน ร้อยละ 31.00 และส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดใช้สะพานร้อยละ 69.00 มีความ คิดเห็นว่าการเปิดใช้สะพานมีผลกระทบด้านลบ ได้แก่ มีปริมาณรถยนต์เข้ามาในชุมชนเกาะลันตาใหญ่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 46.50 และสร้างความรำคาญให้กับชุมชนที่ อยู่บ ริ เวณสะพาน เพราะมีรถจักรยานยนต์ แล่นไป -มา และเสียงดังจากคนตกปลาใต้สะพาน ร้อยละ 22.50 และผลการสำรวจในภาพรวมของประโยชน์ที่ได้รับเมื่อ เปรียบเทียบกับก่อนและหลังเปิดใช้สะพาน กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นว่าหลังเปิดใช้สะพาน ได้ใช้ประโยชน์ มากกว่าช่วงเวลาที่ไม่มีสะพาน เนื่องจากประโยชน์ที่กลุ่มตัวอย่างได้รับช่วยให้การคมนาคมจากฝั่งเกาะลันตาน้อย ข้ามไปยังเกาะลันตาใหญ่สะดวกมากขึ้น ร้อยละ 80.50 รองลงมา ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง ร้อยละ 31.00 มีความปลอดภัยในการเดินทาง ร้อยละ 23.50 และมีสุขภาพจิตดีขึ้น ร้อยละ 19.50 ไม่ต้องรอแพขนานยนต์ ข้ามฝาก กรมทางหลวงชนบท 2-6 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ผลการเพิ่มติมข้อมูลการถอดบทเรียนจากการดำเนินการของสะพานสิริลันตา จากการทบทวน รายงานติ ด ตามตรวจสอบผลกระทบสิ ่ ง แวดล้ อ ม โครงการสะพานเชื ่ อ มเกาะลั น ตาน้ อย-เกาะลั น ตาใหญ่ จังหวัดกระบี่ ของกรมทางหลวงชนบท มีรายละเอียดดังนี้ เกาะลันตาเป็นเกาะที่อยู่ทางตอนใต้ของจังหวัดกระบี่ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดกระบี่ ประมาณ 70 กิ โ ลเมตร ลั ก ษณะพื ้ น ที ่ เ ป็ น หมู ่ เ กาะ ประกอบด้ ว ย เกาะขนาดใหญ่ 2 เกาะ ได้ แ ก่ เกาะลั น ตาน้ อยและ เกาะลันตาใหญ่ และเพื่อให้เกาะลันตาน้อยและเกาะลันตาใหญ่มีการเชื่อมต่อกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการ ปกครองและทำให้ ป ระชาชนบนเกาะลั น ตาน้ อยและเกาะลั น ตาใหญ่ สามารถใช้ บ ริ การโครงสร้ า งพื ้ น ฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวกของรัฐได้อย่างทั่วถึงและต่อเนื่องตลอดเวลา ตลอดจนเป็นการอำนวยความสะดวก ให้แก่นักท่องเที่ยว จึงได้มีการพิจารณาก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ โดยกรมทางหลวง ชนบทได้ เ ริ่ ม ก่ อสร้ างสะพานเชื่ อ มเกาะลั นตาน้ อย-เกาะลั น ตาใหญ่ จั ง หวั ด กระบี่ ตั้ ง แต่ วั นที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2555 และเปิดให้ประชาชนใช้สะพานอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นมา (1) รูปแบบสะพานสิริลันตาเชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ สะพานเชื่อมเกาะลันตาน้อย- เกาะลันตาใหญ่ มีความยาวรวม 741.962 เมตร แบ่งเป็นถนนต่อเชื่อมสะพานฝั่งเกาะลันตาใหญ่ ยาว 441.962 เมตร และถนนต่อเชื่อมสะพานฝั่งเกาะลันตาน้อย ยาว 300 เมตร (รูปที่ 2.2-1 ถึงรูปที่ 2.2-3) รายละเอียดดังนี้ ก) ถนนต่ อเชื ่อมสะพานสิริ ลั นตาฝั ่ง เกาะลั นตาใหญ่ กม.0+008.038 ถึ ง กม.0+450 จุดเริ่มต้นของถนนโครงการอยู่บนเกาะลันตาใหญ่ บริเวณสามแยกไปท่าเทียบแพขนานยนต์ บ้านศาลาด่าน ที่พิกัด 844787N/ 504659E ซึ่งอยู่บนแนวถนนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ที่มีอยู่เดิมในปัจจุบัน ต่อเนื่องไป จนถึงจุดเริ่มต้นสะพานบริเวณแนวถนนก่อนถึงท่าเทียบแพขนานยนต์บ้านศาลาด่าน ที่พิกัด 845408N/505065E มีระยะทางประมาณ 441.962 เมตร แนวถนนดังกล่าวอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านศาลาด่าน ตำบลศาลาด่าน อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ถนนต่อเชื่อมสะพานฝั่งเกาะลันตาใหญ่ ประกอบด้วย - ผิวจราจรคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 7.00 - 14.00 เมตร ยาว 364.962 เมตร - ไหล่ทางคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 0 - 1.50 เมตร - Approach structure ยาว 60.00 เมตร ข) ถนนต่อเชื่อมสะพานสิริลันตาฝั่งเกาะลันตาน้อย กม.1+100 ถึง กม.1+400 เป็นแนว ถนนต่อเชื่อมจากจุดสิ้นสุดสะพานฝั่งเกาะลันตาน้อย ที่พิกัด 845574 N/505095E ไปจนถึงจุดสิ้นสุดโครงการ ที่พิกัด 845941 N/ 505186E มีระยะทางประมาณ 300 เมตร ซึ่งอยู่บนแนวถนนทางหลวงชนบท กบ.3181 แนวถนนดังกล่าวอยู่ ในพื้นที่ หมู่ท ี่ 1 บ้านหลังสอด ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ถนนต่อเชื่อมสะพานฝั่งเกาะลันตาน้อย ประกอบด้วย - ผิวจราจรคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 6.00 เมตร ยาว 223.00 เมตร - ไหล่ทางคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 1.00 เมตร - Approach slab ยาว 17.00 เมตร - Approach structure ยาว 60.00 เมตร - Approach slab ยาว 17.00 เมตร กรมทางหลวงชนบท 2-7 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.2-1 ตำแหน่งที่ตั้งสะพานสิริลันตา เชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 2-8 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.2-2 ผังบริเวณโครงการสะพานสิริลันตาเชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 2-9 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.2-3 แปลงตามยาวสะพานสิริลันตาเชื่อมเกาะลันตาน้อย- เกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 2-10 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ค) สะพานสิริลันตา กม.0+450 ถึง กม.1+100 สะพานเชื่อมเกาะลันตาน้อยกับเกาะลันตาใหญ่ มี ขนาด 2 ช่ องทางจราจร จาก กม.0+450 ถึ ง กม.1+100 มี ความยาวประมาณ 650 เมตร [(1×35.00) + (1×45.00) + (7×70.00) + (1×45.00) + (1×35.00) ] มีมุมเฉียงของสะพานต่อกระแสน้ำ 25 องศา แสดงแบบ แปลนและรูปด้านสะพานมีโครงสร้างสะพานแบบ Balance Cantilever Cast in Place Concrete Box Girder โครงสร้างสะพานส่วนบนเป็นโครงสร้างแบบ Single Cell Box Girder มีความลึกช่วงกลางคาน 2.50 เมตร และ ความลึกช่วงหัวเสา 5.50 เมตร ก่อสร้างโดยวิธี Cast-In-Place Cantilever Method โดยมีความยาว Segment 3.00 เมตร โดยมีผิวทางจราจร 2 ช่องทางจราจร ความกว้างช่องทางละ 3.5 เมตร รวมความกว้างผิวทางจราจร 7 เมตร และมี ไ หล่ ท างกว้ า งข้ า งละ 2 เมตร ส่ ว นทางเดิ น เท้ า ทั ้ ง สองฝั ่ ง มี ค วามกว้ า งข้ า งละ 2.50 เมตร เป็นพื้นผิวทางเดินเท้าเพียง 1.925 เมตร โดยมีราวสะพานชั้นในสูง 0.7 เมตร กั้นระหว่างผิวทางจราจรและ ทางเดินเท้า เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู้ใช้ทางเดินเท้า และมีราวสะพานชั้นนอก สูง 1.20 เมตร เพื่อเพิ่ม ความปลอดภัย ง) ตอม่ อ สะพานสิ ริ ล ั น ตา ใช้ ต อม่ อ 12 ตั บ แบ่ ง เป็ น ตอม่ อบนพื ้ น ดิ น จำนวน 6 ตั บ และตอม่อที่อยู่ในคลองลัดบ่อแหน จำนวน 6 ตับ โดยตอม่อบนพื้นดิน 6 ตับ ได้แก่ ตอม่อ P1, P2, P3 บนฝั่ง เกาะลันตาใหญ่ และตอม่อ P10, P11, P12 บนฝั่งเกาะลันตาน้อย มีระยะห่างระหว่างตอม่อในช่วงนี้ประมาณ 35 และ 45 เมตร และมีความสูงของเสาตอม่อสะพานอยู่ในช่วง 4.730-6.230 เมตร สำหรับตอม่อที่อยู่ในคลอง ลัดบ่อแหน 6 ตับ ได้แก่ ตอม่อ P4, P5, P6, P7, P8 และ P9 มีระยะห่างระหว่างตอม่อในช่วงนี้ประมาณ 70 เมตร และมีความสูงของเสาตอม่อสะพานอยู่ในช่วง 8.030-12.826 เมตร โดยตอม่อ P1 และ P12 โครงสร้างฐานรากสะพานจะรวมอยู่ในโครงสร้าง Approach structure โดยตอม่อ P1 และ Approach structure ฝั่งเกาะลันตาใหญ่ กำหนดให้ใช้เสาเข็มขนาด 0.4 x 0.4 เมตร จำนวน 110 ต้น และตอม่อ P12 และ Approach structure ฝั่งเกาะลันตาน้อย กำหนดให้ใช้เสาเข็มขนาด 0.4 x 0.4 เมตร จำนวน 107 ต้น สำหรับตอม่อ P2, P3, P4, P5, P6, P7, P8, P9, P10 และ P11 ลักษณะของตอม่อ จะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนฐานรากและส่วนเสาตอม่อ รายละเอียดดังนี้ • ส่วนฐานรากตอม่อ ในการออกแบบได้กำหนดให้มีฐานรากตอม่อ 2 แบบ ได้แก่ - ฐานรากตอม่อแบบ F1 ได้แก่ ตอม่อ P2, P3, P10 และ P11 ซึ่งมีตำแหน่งฐาน รากตอม่ออยู่บนบก กำหนดให้ฐานรากมีขนาด 11.05 ×11.05 เมตร ใช้เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กสี่เหลี่ยมขนาด 0.65x0.65 เมตร จำนวน 36 ต้น ดำเนินการก่อสร้างตอม่อโดยใช้เสาเข็มตอก - ฐานรากตอม่อแบบ F2 ได้แก่ ตอม่อ P4, P5, P6, P7, P8 และ P9 ซึ่งมีตำแหน่ง ฐานรากตอม่ออยู่ในคลองลัดบ่อแหน กำหนดให้ฐานรากมีขนาด 9.10 ×18.250 เมตร ใช้เสาเข็มคอนกรีตเสริม เหล็กสี่เหลี่ยมขนาด 0.65 x0.65 เมตร จำนวน 39 ต้น ทั้งนี้กำหนดให้มีระดับท้องฐานรากของ Pile Cap อยู่ที่ ระดับ +0.00 ม.รทก. โดยที่ระดับน้ำสูงสุดเฉลี่ย (+1.20 ม.รทก.) จะเห็นเพียงโครงสร้างฐานรากโผล่ขึ้นมาประมาณ 1.10 เมตร และที่ระดับน้ำต่ำสุดเฉลี่ย (-1.50 ม.รทก.) จะเห็นโครงสร้างเสาเข็มโผล่ขึ้นมาประมาณ 1.50 เมตร และเห็นโครงสร้างตอม่อโผล่ขึ้นมาทั้งหมดประมาณ 2.30 เมตร ดำเนินการก่อสร้างตอม่อโดยใช้เสาเข็มตอก • ส่วนเสาตอม่อ ในการออกแบบได้กำหนดให้มีเสาตอม่อ 2 แบบ ได้แก่ - เสาตอม่ อ แบบ C1 ได้ แ ก่ ตอม่ อ P2 และ P11 ซึ ่ ง มี ล ั ก ษณะเป็ น เสาเดี ่ ย ว โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กรูปแบบเป็น Oblong Shape มีโคนเสาใหญ่กว่าปลายเสา มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ส่วนที่ยาวที่สุด 5.5 เมตร - เสาตอม่ อ แบบ C2 ได้ แ ก่ ตอม่ อ P3 , P4 , P5 , P6 , P7 , P8 , P9 และ P10 ซึ่งมีลักษณะเป็นเสาเดี่ยว โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กรูปแบบเป็น Oblong Shape มีโคนเสาใหญ่กว่าปลายเสา มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางส่วนที่ยาวที่สุด 7.58 เมตร กรมทางหลวงชนบท 2-11 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ จ) ความสูงช่องลอด ความสูงช่องลอดบริเวณกึ่งกลางสะพานเหนือระดับน้ำสูงสุดไม่น้อยกว่า 15.40 เมตร (ที่ระดับน้ำ ทะเลสูงสุดเฉลี่ย 1.20 ม.รทก.) โดยมีระดับน้ำลึกที่ช่องลอดสำหรับการเดินเรือลึก 7.60 เมตร ซึ่งเพียงพอให้เรือทัวร์ท่องเที่ยว เรือประมงพื้นบ้าน เรือหางยาว ที่มีเส้นทางการเดินทางผ่านคลอง ลัดบ่อแหนสามารถลอดผ่านได้ และจากการพิจารณาเรือประเภทต่าง ๆ ที่วิ่งผ่านคลองลัดบ่อแหน พบว่า เรือเฟอร์รี่ เป็นเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่วิ่งผ่านคลองลัดบ่อแหน โดยเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ “เรือเพชรไพลิน” ซึ่งมีเที่ยว การเดินทางระหว่างเกาะลันตา-เกาะพีพี-เกาะภูเก็ต สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้ประมาณ 368 คน มีความกว้ าง 5.8 เมตร ยาว 40 เมตร สูง 7 เมตร (จากผิวน้ำถึงหลังคา) จากหลังคาถึงปลายเสาวิทยุอีก 5.0 เมตร รวมความสูง ทั้งสิ้น 12.0 เมตร ซึ่งสามารถวิ่งลอดใต้สะพานโครงการได้ ฉ) ความกว้างช่องลอด สะพานมีความกว้างช่องลอดกลางน้ำสุทธิ 60.90 เมตร เพียงพอ ให้เรือทัวร์ท่องเที่ยว เรือประมงพื้นบ้าน เรือหางยาว ที่มีเส้นทางการเดินทางผ่านคลองลัดบ่อแหนลอดผ่านได้ ช) ทัศนสัญญาณ โครงการได้ทาสีตอม่อ และมีตัวเลขแสดงความสูงสุทธิช่องลอดสะพาน บนโครงสร้างเสาตอม่อ P6 และ P7 ซ) ระบบไฟฟ้าส่องสว่าง โครงการได้ติดตั้งระบบไฟฟ้าส่องสว่างบนสะพานเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 20 ลั กซ์ ทุ กๆ ระยะประมาณ 24 เมตร ติ ด ตั ้ ง สลั บฟัน ปลากั น เพื ่ อความปลอดภั ย ของผู ้ใช้ รถ คนเดินเท้า และกำหนดให้ติดตั้งระบบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณตอม่อสะพานทุกตอม่อ และติดตั้งระบบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณ ช่องลอดใต้สะพานระหว่างตอม่อทุกช่วง เพื่อเป็นจุดสังเกตให้แก่เรือประมงในเวลากลางคืน หรือเวลาที่ทัศนวิสัย ไม่ดี ฌ) ระบบระบายน้ำ • ระบบระบายน้ำบริเวณโครงสร้างสะพานสิริลันตา ระบบระบายน้ำติดตั้ง ท่อ PVC สีดำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร ทุกระยะ 3 เมตร บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทางทั้งสองด้านของสะพาน และได้แบ่งการระบายน้ำบริเวณโครงสร้างสะพานออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนโครงสร้างสะพานที่อยู่บนคลองลัดบ่อแหน และส่วนโครงสร้างสะพานที่อยู่บนพื้นดิน ดังนี้ - โครงสร้างสะพานที่อยู่บนคลองลัดบ่อแหนการระบายน้ำจากพื้นที่โครงสร้าง สะพานลงสู่คลองลัดบ่อแหนโดยตรง โดยระบายผ่านท่อ PVC สีดำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร ที่ติดตั้ง ไว้ทุกระยะ 3 เมตร บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทางทั้งสองด้าน - โครงสร้างสะพานที่อยู่บนพื้นดิ น แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ โครงสร้างสะพานที่อยู่บน พื้นดินฝั่งเกาะลันตาใหญ่ และโครงสร้างสะพานที่อยู่บนพื้นดินฝั่งเกาะลันตาน้อย การระบายน้ำผ่านท่อ PVC สีดำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร ที่ติดตั้งไว้ทุกระยะ 3 เมตร บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทางทั้งสองด้าน และ รวบรวมน้ำจากท่อ PVC ดังกล่าวเข้าสู่ ท่อ HDPE ในโครงสร้าง Box Girder และเสาตอม่อ เพื่อรวบรวมน้ำฝน ที่ตกลงบนโครงสร้างสะพานลงสู่พื้นที่ภูมิทัศน์ในแต่ละฝั่ง ก่อนที่จะระบายลงสู่แหล่งน้ำตามธรรมชาติที่อยู่ ใกล้เคียง • ระบบระบายน้ำบนโครงสร้างเชิงลาดสะพานสิริลันตา - โครงสร้างเชิงลาดฝั่งเกาะลันตาใหญ่ การระบายน้ำบริเวณโครงสร้างเชิงลาด สะพานผ่านท่อ PVC ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร ที่ติดตั้งไว้ทุกระยะ 2 เมตร บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทาง ฝั่งซ้ายทางก่อน เพื่อรวบรวมน้ำเข้าสู่ท่อ HDPE ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 250 มิลลิเมตร หลั งจากนั้นจะระบายน้ำ ลงสู่รางระบายน้ำ คสล. ฝารางวี กว้าง 0.6-0.8 เมตร ที่อยู่บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทางฝั่งซ้ายทางของแนวสายทางที่มี กำแพงกันดิน และระบายลงสู่ท่อระบายน้ำ Box Culvert ที่ กม.0+290 เพื่อระบายลงสู่พื้นที่ป่าชายเลนฝั่งขวา ทางต่อไป กรมทางหลวงชนบท 2-12 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ - โครงสร้างเชิงลาดฝั่งเกาะลันตาน้อย การระบายน้ำบริเวณโครงสร้างเชิงลาด สะพานนั้น ผ่านท่อ PVC ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางบริเวณพื้นที่ริมไหล่ทางทั้งสองด้าน และระบายลงสู่พื้นที่ป่าชายเลน ในแต่ละฝั่งต่อไป (2) มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ สิ่งแวดล้อมในระยะดำเนินการ ของโครงการสะพานสิริลันตา จังหวัดกระบี่ ก) มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ ่งแวดล้ อมของโครงการในระยะดำเนิ นก าร มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม ซึ่งกรมทางหลวงชนบท จักต้องยึดถือปฏิบัติในระยะดำเนินการ จำนวน 10 ปัจจัย ได้แก่ มาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ เสียง สมุทรศาสตร์ คุณภาพน้ำผิวดิน ทรัพยากรป่าไม้ การใช้ที่ดิน การคมนาคมขนส่ง การจั ด การขยะมู ลฝอย การสาธารณสุ ข และความปลอดภั ย สำหรั บ มาตรการติ ดตาม ตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการในระยะดำเนินการ จำนวน 5 ปัจจัย ได้แก่ มาตรการติดตาม ตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน คุณภาพอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน และการกัดเซาะพื้นท้องน้ำ และการเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง รายละเอียดดังแสดงในภาคผนวก ท (3) การปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ก) มาตรการการติดตามตรวจสอบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน ของโครงการสะพานสิริลั นตา สถานีติดตามตรวจสอบด้านคุณภาพน้ำผิวดินมี 3 สถานี ได้แก่ สถานีที่ 1 คลองลัดบ่อแหนทางด้านทิศตะวันตก ห่างจากตอม่อสะพานโครงการประมาณ 100 เมตร สถานีที่ 2 คลองลัดบ่อแหน บริเวณตอม่อสะพานโครงการ และสถานีที่ 3 คลองลัดบ่อแหนทางด้านทิศตะวันออก ห่างจากตอม่อสะพานโครงการประมาณ 100 เมตร โดยมี ดั ช นี เ ก็ บ ตั ว อย่ า งคุ ณ ภาพน้ ำ ผิ ว ดิ น มี 3 ดั ช นี ได้ แ ก่ ความโปร่ ง ใส ( Transparency) ของแข็ ง แขวนลอย (Suspended Solid) และน้ำมันและไขมัน (Oil & Grease) มีช่วงเวลาเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดิน แบ่งเป็น 3 ช่วงเวลา ได้แก่ 1) การเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดินในช่วงเวลาศึกษารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (รายงาน EIA) 2) การเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดิน ในช่วงเวลาศึกษารายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบ สิ่งแวดล้อมในช่วงระยะก่อสร้าง (รายงานติดตามระยะก่อสร้าง)และ 3) การเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดินใน ช่วงเวลาศึกษารายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมในช่วงระยะดำเนินการ (รายงานติดตามระยะ ดำเนินการ) เมื่อพิจารณาผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำในปีปัจจุบัน (ปี พ.ศ. 2562) กับคุณภาพน้ำในช่วงที่ผ่านมาในปี พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ. 2560 เมื่อนำผลคุณภาพน้ำทั้ง 3 สถานี มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำชายฝั่งทะเล พบว่าคุณภาพน้ำทะเลในคลองลัดบ่อแหนบริเวณโครงการอยู่ในข่ายของน้ำชายฝั่งทะเลที่มีคุณภาพดี เหมาะสมแก่ การดำรงชีวิตของสัตว์น้ำ และกิจกรรมสันทนาการอื่นๆ ได้ ข) มาตรการติดตามตรวจสอบด้านคุณภาพอากาศของโครงการสะพานสิริลันตา สถานี ติดตามตรวจสอบด้านคุณภาพอากาศมี 2 สถานี ได้แก่ สถานีที่ 1 บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ลต.3 (คลองทราย) ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และสถานีที่ 2 บริเวณบ้านเลขที่ 104 หมู่ที่ 5 ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยมีดัชนีเก็บตัวอย่างคุณภาพอากาศมี 3 ดัชนี ได้แก่ ปริมาณ ฝุ่นละอองรวม (TSP) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM-10) และความเร็วและทิศทางลม มีช่วงเวลา เก็บตัวอย่างคุณภาพอากาศ แบ่งเป็น 3 ช่วงเวลา ได้แก่ 1) การเก็บตัวอย่างคุณภาพอากาศในช่วงเวลาศึกษา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (รายงาน EIA) 2) การเก็บตัวอย่างคุณภาพอากาศในช่วงเวลาศึกษา รายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมในช่วงระยะก่อสร้าง (รายงานติดตามระยะก่อสร้าง) และ 3) การเก็บตัวอย่างคุณภาพอากาศในช่วงเวลาศึกษารายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมในช่วงระยะ ดำเนิ น การ (รายงานติ ด ตามระยะดำเนิ น การ) เมื่ อ พิ จ ารณาภาพรวมของผลการตรวจวั ด คุ ณ ภาพอากาศ ในบรรยากาศในช่วงที่ผ่านมากับปัจจุบัน ทั้งในช่วงระยะก่อนก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ พบว่า กรมทางหลวงชนบท 2-13 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ผลการตรวจวัดปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) และปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM-10) มีค่าอยู่ใน เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 เนื่องจากสภาพพื้นที่ของโครงการโดยรอบเป็นชุมชนและเป็นพื้นที่ท่องเที่ยวธรรมชาติ กิจกรรม ที่เกิดขึ้นบริเวณโดยรอบส่วนใหญ่เป็นกิจกรรม เพื่อการท่องเที่ยวและค้าขาย จึงไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ แต่อย่างใด ค) มาตรการติ ด ตามตรวจสอบด้ า นเสี ยงของโครงการสะพานสิ ริ ล ั นตา สถานี ต ิ ดตาม ตรวจสอบด้านเสียงมี 2 สถานี บริเวณเดียวกับการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ได้แก่ สถานีที่ 1 บริเวณหน่วยพิทักษ์ อุทยานแห่งชาติที่ ลต.3 (คลองทราย) ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และสถานีที่ 2 บริเวณ บ้านเลขที่ 104 หมู่ที่ 5 ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยดัชนีตรวจวัดค่าระดับเสียงมี 2 ดัชนี ได้แก่ ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่ วโมง (Leq 24 hr) และค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) มีช่วงเวลาเก็บตัวอย่างเสียง แบ่งเป็น 3 ช่วงเวลา ได้แก่ 1) การเก็บตัวอย่างเสียงในช่วงเวลาศึกษารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (รายงาน EIA) 2) การเก็บตัวอย่างเสียงในช่วงเวลาศึกษารายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้ อม ในช่วงระยะก่อสร้าง (รายงานติดตามระยะก่อสร้าง)และ 3) การเก็บตัวอย่างเสียงในช่วงเวลาศึกษารายงาน การติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมในช่วงระยะดำเนินการ (รายงานติดตามระยะดำเนินการ) เมื่อ พิจารณาภาพรวมของผลการตรวจวัดค่าระดับเสียงในช่วงเวลาที่ผ่านมากับปัจจุบัน พบว่า ผลการตรวจวัดทั้ง 3 ช่วง มีค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) และค่าระดับเสียงสูงสุด (Lmax) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 ที่กำหนดให้ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) และระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) มีค่าได้ไม่เกิน 70.00 และ 115.00 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ และเมื่อพิจารณา ผลการตรวจวัดปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) มีค่าระดับเสียงต่ำกว่าในช่วงที่ผ่านมาแหล่งกำเนิดเสียงส่วนใหญ่เป็นเสียง ของรถยนต์และจักรยานยนต์ที่แล่นผ่านไป-มา ง) มาตรการติดตามตรวจสอบด้านความสั่นสะเทือนของโครงการสะพานสิริลันตา สถานี ติดตามตรวจสอบด้านความสั่นสะเทือนมี 2 สถานี บริเวณเดียวกับการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ได้แก่ สถานีที่ 1 บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ลต.3 (คลองทราย) ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และสถานีที่ 2 บริเวณบ้านเลขที่ 104 หมู่ที่ 5 ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยมีดัชนีตรวจวั ด ค่าความสั่นสะเทือนมี 2 ดัชนี ได้แก่ ค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด ( Peak Particle Velocity (PPV)) และค่าความถี่ (เฮิรตซ์) มีช่วงเวลาเก็บตัวอย่างความสั่นสะเทือน แบ่งเป็น 3 ช่วงเวลา ได้แก่ 1) การเก็บตัวอย่างความสั่นสะเทือน ในช่วงเวลาศึกษารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (รายงาน EIA) 2) การเก็บตัวอย่างความสั่นสะเทือน ในช่วงเวลาศึกษารายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมในช่วงระยะก่อสร้าง (รายงานติดตามระยะ ก่อสร้าง)และ 3) การเก็บตัวอย่างความสั่นสะเทือนในช่วงเวลาศึกษารายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบ สิ่งแวดล้อมในช่วงระยะดำเนินการ (รายงานติดตามระยะดำเนินการ) เมื่อพิจารณาภาพรวมของผลการตรวจวัด ความสั่นสะเทือนในช่วงที่ผ่านมากับปัจจุบัน พบว่า ผลการตรวจวัดทั้ง 3 ช่วง มีค่าความสั่นสะเทือนใกล้เคียงกับ ผลการตรวจวั ด ในช่ ว งเวลาที่ ผ่ า น คื อ พ.ศ. 2555 ถึ ง พ.ศ. 2560 และเมื่ อ นำผลการตรวจวั ด ทั้ ง 2 สถานี มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานความสั่นสะเทือน ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2553) เรื่อง กำหนดมาตรฐานความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร พบว่า ค่าความสั่นสะเทือน ไม่ ส ่ งผลกระทบต่ อโครงสร้ างอาคาร และเมื ่ อเปรีย บเทีย บค่ามาตรฐานความสั่ นสะเทือนที่ มี ต่ อมนุ ษย์ของ Department of the Navy Naval Facilities Engineering Command, Design Manual 7.3 และค่ามาตรฐาน กำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อ ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนและการรับรู้ของ Reiher and Meister ถือว่ามีค่าต่ำมาก โดยแรงสั่นสะเทือนส่วนใหญ่เกิดจากรถบรรทุก 6 ล้อ และ 10 ล้อ ที่แล่นผ่านไป-มาในช่วงเวลา กลางวัน ประชาชนไม่สามารถรับรู้ถึงแรงสั่นสะเทือนได้ถึงมีความรู้สึกได้พียงเล็กน้อยจนถึงรู้สึกเคยชิน กรมทางหลวงชนบท 2-14 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ จ) การติดตามตรวจสอบการกัดเซาะพื้นท้องน้ำและการเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง ของโครงการ สะพานสิริลันตา การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นท้องน้ำ และตลิ่งคลองด้วยวิธีการซ้อนทับ ( Overlay) ชั้นข้อมูลระดับท้องน้ำในแต่ละช่วงเวลา โดยอ้างอิงจากแบบแปลนและรูปตัดลำน้ำจากโครงการก่อสร้างสะพาน เชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ (ตุลาคม 2551) ของสำนักสำรวจและออกแบบ กรมทางหลวงชนบท พบว่า โครงการการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เป็นการ ก่อสร้างสะพานข้ามคลองลัดบ่อแหน ซึ่งโครงสร้างตอม่อของสะพานที่อยู่ในน้ำจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทิศทาง และความแรงของกระแสน้ำ แต่ทั้งนี้จากการวิเคราะห์ พบว่า หลังจากมีโครงการแล้วทั้งทิศทางและความแรง ของกระแสน้ำจะไม่มากพอที่จะทำให้เกิดการกัดเซาะตลิ่งได้ และไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างตอม่อและการกีดขวาง การเดินเรือที่สัญจรผ่านใต้สะพานแต่อย่างใด ฉ) การติดตามตรวจสอบด้านเศรษฐกิจ-สังคมของโครงการสะพานสิริลันตา การศึ ก ษาสภาพเศรษฐกิ จ -สั ง คม และความคิ ด เห็ น ของชุ ม ชนต่ อ โครงการสะพาน เชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ อำเภอลันตา จังหวัดกระบี่ ในช่วงระยะดำเนินการ 1 ครั้ง จำนวน 200 ตัวอย่าง เพื่อศึกษาและประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินการโครงการ ซึ่งอาจส่งผลกระทบด้านเศรษฐกิจ - สังคมต่อชุมชน ตลอดจนแนวทางและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้องกันแก้ไขผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดต่อชุมชน โดยดำเนินการสำรวจชุมชนในพื้นที่ฝั่งเกาะลันตาน้อย และชุมชนฝั่งเกาะลั นตาใหญ่เมื่อวันที่ 19-21 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 เน้นที่ชุมชนซึ่งได้รับผลกระทบจากโครงการโดยตรง ได้แก่ ชุมชนฝั่งเกาะลันตาใหญ่ หมู่ที่ 1 บ้านศาลาด่าน ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และชุมชนฝั่งเกาะลันตาน้อย หมู่ที่ 1 บ้านหลังสอด ตำบลเกาะ ลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยผลการดำเนินงานด้านความคิดเห็นต่อโครงการสะพานสิริลันตา สรุปได้ว่า - ผลกระทบด้านบวกจากการเปิดใช้งานสะพาน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความคิดเห็น ว่าการเปิดใช้สะพานมีผลกระทบด้านบวกช่วยสร้างความเจริญในชุมชน เช่น มีแสงสว่าง และมีทางกลับรถ ใต้สะพาน ร้อยละ 95.50 ภาพลักษณ์ที่ดีให้กับชุมชน ร้อยละ 94.00 การคมนาคมสะดวกขึ้น ร้อยละ 84.00 ช่วยประหยัด เวลาในการเดินทาง ร้อยละ 7 0.50 เพิ่มรายได้ให้แก่ผู้ประกอบการร้านค้าจากการขายของให้แก่ นักท่องเที่ยว ร้อยละ 61.50 สภาพภูมิทัศน์บริเวณสะพานที่สวยงาม ร้อยละ 56.00 และส่งเสริมการท่องเที่ยว/ มีจำนวนนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในพื้นที่มากขึ้น ร้อยละ 41.00 - ผลกระทบด้านลบจากการเปิดใช้งานสะพาน กลุ่มตัวอย่างที่ไม่ได้รับผลกระทบ จากการเปิดใช้สะพาน ร้อยละ 31.00 และส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดใช้สะพานร้อยละ 69.00 มีความคิดเห็นว่าการเปิดใช้สะพานมีผลกระทบด้านลบ ได้แก่ มีปริมาณรถยนต์เข้ามาในชุมชนเกาะลันตาใหญ่ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 46.50 และสร้างความรำคาญให้กับชุมชนที่อยู่บริเวณสะพาน เพราะมีรถจักรยานยนต์แล่นไป-มา และเสียงดังจากคนตกปลาใต้สะพาน ร้อยละ 22.50 - ประโยชน์ที่ ได้รับเมื่อเปรียบเทียบกับก่อนและหลังเปิดใช้สะพาน กลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นว่าหลังเปิดใช้สะพาน ได้ใช้ประโยชน์มากกว่าช่วงเวลาที่ไม่มีสะพาน เนื่องจากประโยชน์ที่กลุ่ม ตัวอย่างได้รับช่วยให้การคมนาคมจากฝั่งเกาะลันตาน้อยข้ามไปยังเกาะลันตาใหญ่สะดวกมากขึ้น ร้อยละ 80.50 รองลงมา ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง ร้อยละ 3 1.00 มีความปลอดภัยในการเดินทาง ร้อยละ 2 3.50 และมี สุขภาพจิตดีขึ้น ร้อยละ 19.50 ไม่ต้องรอแพขนานยนต์ข้ามฝาก กรมทางหลวงชนบท 2-15 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมต่อโครงการสะพานสิริลันตา - ความพึงพอใจของท่านต่อการดำเนินโครงการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้ อม สะพานเชื ่ อมเกาะลั นตาน้ อย-เกาะลั นตาใหญ่ ที ่ จ ะช่ วยลดผลกระทบในช่ วงระยะดำเนิ นการโครงการ กลุ่มตัวอย่างมีความรู้สึกพึงพอใจปานกลางถึงมากที่โครงการได้จัดให้มีเจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อมเข้ามาสอบถาม ข้อมูลภายหลังจากโครงการเปิดใช้งาน ทำให้สามารถรับรู้ข้อมูลโครงการและแจ้งความประสงค์ที่ต้องการ ปัญหา และอุปสรรคต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากการมีโครงการ และต้องการให้โครงการเข้ามาสอบถามความคิดเห็น เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง - ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมต่อโครงการ กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นว่าโครงการควรติดตั้งไฟส่อง สว่ า งในบริ เ วณทางเดิ น เท้ า บนสะพาน ร้ อ ยละ 6 8.50 รองลงมา จั ด วางถั ง ขยะบริ เ วณพื ้ น ที ่ จ ั ด ภู ม ิ ท ั ศ น์ ทั้งฝั่งด้านเกาะลันตาน้อยและด้านฝั่งเกาะลันตาใหญ่ร้อยละ 62.50 และติดตั้งป้ายประชาสั มพันธ์ หมายเลข โทรศัพท์ติดต่อสำหรับแจ้งเรื่องร้องเรียนจากประชาชนไว้ทั้งฝั่งเกาะลันตาน้อยและเกาะลันตาใหญ่ ร้อยละ 54.00 2.3 สภาพปัจจุบันของพื้นที่โครงการ 1) ที่ตั้งโครงการ ที่ตั้งโครงการสะพานเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีจุดเริ่มต้นที่ กม.0+000 (ทล.4206 กม.26+620) และจุดสิ้นสุดที่ กม.2+527 (กบ.5035) ระยะทาง ประมาณ 2.527 กิโลเมตร พื้นที่โครงการฝั่งเกาะกลางอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา มีลักษณะ เป็นที่ราบจากบ้านร่าหมาดและค่อยๆ ลาดต่ำไปจนถึงบ้านหัวหิน มีบ้านเรือนประชาชนอยู่ประปราย ส่วนใหญ่ จะอยู่ฝั่งถนนริมทะเล ส่วนพื้นที่บนเกาะลันตาน้อย เป็นแหลมที่มีภูเขายื่นติดต่อกับทะเล ลักษณะเหมือนเกาะ ขนาดใหญ่ห่างจากฝั่งแผ่นดินประมาณ 6-7 กิโลเมตร อาณาเขตเกาะลันตาน้อยต่อเนื่องเกาะลันตาใหญ่ เชื่อมต่อ กันด้วยสะพานสิริลันตา ซึ่งเปิดใช้งานอย่างเป็นทางการตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2559 แสดงดังรูปที่ 2.3-1 และรูปที่ 2.3-2 2) สภาพโครงข่ายคมนาคมขนส่ง การเดินทางจากสนามบินกระบี่เพื่อ ไปเกาะลันตาจะใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 จนถึงแยก ห้วยน้ำขาว จากนั้นจะต้องเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 อีกประมาณ 27 กิโลเมตร จนสุดถนน ที่บริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน และเดินทางข้ามไปยังเกาะลันตาน้อย โดยอาศัยบริการแพขนานยนต์ในการเดินทาง ข้ามฟาก ในปัจจุบันหากพิจารณาโครงข่ายคมนาคมขนส่งสายหลักจากทางหลวงหมายเลข 4 จนถึงเกาะลันตาใหญ่ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวและธุรกิจการค้าของเกาะลันตา ประกอบด้วย แนวเส้นทางหลัก ดังนี้ (รูปที่ 2.3-3) (1) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 หรือถนนเพชรเกษม ซึ่งเป็นทางหลวงสายหลัก สำหรับในช่วง ถนนที่อยู่ในพื้นที่ศึกษา อยู่ในสายทางคลองท่อม-นาวง โดยเส้นทางที่แยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เพื่อไปเกาะลันตาจะแยกที่บริเวณสามแยกหัวยน้ำขาวตัดกับถนนทางหลวงแผ่นดิน 4206 โดยถนนเพชรเกษม (ในพื้นที่ศึกษา) เป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร (ไป-กลับ) แบบมีเกาะกลางแบบร่องกด กรมทางหลวงชนบท 2-16 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.3-1 ที่ตั้งโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 2-17 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.3-2 สภาพปัจจุบันบริเวณพื้นที่โครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-18 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.3-3 โครงข่ายถนนสายหลักระหว่างเกาะกลางกับเกาะลันตาน้อยและเกาะลันตาใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 2-19 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (1) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลัก แยกจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 บริเวณสามแยกห้วยน้ำขาว เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร (ไป-กลับ) แบบไม่มีเกาะกลาง มีระยะทาง ประมาณ 50 กิโลเมตร จนถึงท่าเทียบเรือบ้านหัวหิน ซึ่งเป็นท่าเรือสำหรับการเดินทางข้ามไปเกาะลันตาน้อย และ สิ้นสุดที่บริเวณที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท เป็นถนนขนาด 2 ช่อง จราจรไป-กลับ แบบไม่มีเกาะกลาง เส้นทางสายหลักจะแยกออกจากทางหลวงชนบท กบ.6022 บริเวณสามแยก ท่าแพ ซึ่งเป็นจุดตัดกับทางหลวงชนบท กบ.5036 ระยะทางจากท่าเรือจนถึงสามแยกท่าแพ ยาวประมาณ 4 กิโลเมตร (2) ทางหลวงชนบท กบ.5036 เริ่มต้นที่สามแยกท่าแพแยกออกจากทางหลวงชนบท กบ.6022 ไป เกาะลันตาใหญ่โดยสิ้นสุดสายทางที่สะพานสิริลันตา เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร (ไป-กลับ) แบบไม่มีเกาะกลาง มีระยะทาง 3 กิโลเมตร 3) สภาพพื้นที่ปัจจุบัน ผลการสำรวจบริเวณพื้นที่ตำบลเกาะกลาง ในบริเวณภูเขาจะมีสภาพเป็นป่าไม้ลักษณะเป็นป่าดิบชืน ้ ริ ม ฝั่ ง มี ป่ าชายเลน เช่ น ไม้ แสม ไม้ โ กงกาง เป็ น ต้ น บริ เวณเชิ งเขาส่ว นใหญ่จ ะเป็นพื้ นที่เกษตรกรรม ได้ แก่ สวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน สวนมะพร้าว และในบริเวณที่ราบและที่เนินใช้ประโยชน์ทางด้านที่อยู่ อาศัย เกษตรกรรมและการประมง ได้แก่ สวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน สวนมะพร้าว ที่นา ประมงชายฝั่งและประมง พื้นบ้าน เป็นต้น สำหรับพื้นที่ในตำบลเกาะลันตาน้อย ที่อยู่ในพื้นที่ศึกษาของโครงการฯ ที่มีลักษณะที่ อ่อคล้ายกับ ฝั่งตำบลเกาะกลาง โดยในบริเวณภูเขาจะมีสภาพเป็นป่าไม้ ลักษณะเป็นป่าดิบชื้นพันธุ์ไม้ที่สำคัญ เช่น หลุมพอ ตะเคียน ไม้ยาง นอกจากนี้ยังมีป่าชายเลน เช่น ไม้แสม ไม้โกงกาง เป็นต้น บริเวณเชิงเขาส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่ เกษตรกรรม ได้แก่ สวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน สวนมะพร้าว และในบริเวณที่ราบและที่เนินใช้ประโยชน์ ทางด้านที่อยู่อาศัยและเกษตรกรรม ได้แก่ สวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน สวนมะพร้าว ที่นา นอกจากนี้ยังมีการ ทำประมงชายฝั่งและประมงพื้นบ้าน เป็นต้น โดยพบแนวของสายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่พาดผ่านมาจากเกาะปลิง เพื่อขึ้นสู่เกาะลันตาน้อยบริเวณถนนสาย กบ.5035 ช่วง กม.3+400 ถึง กม.3+500 ที่อยู่ในแนวศึกษาโครงการฯ และยังพบตำแหน่งของแนวท่อร้อยสายไฟใต้น้ำของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้ามมา จากตำบลเกาะกลางมาขึ้นฝั่งที่บริเวณเดียวกัน และยังมีแนวของสายสื่อสาร CAT TOT TUC และ กฟภ. ที่บริเวณ หน้ากูโบร์ทุ่งหยุม หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะลันตาน้อย แสดงดังรูปที่ 2.3-4 กรมทางหลวงชนบท 2-20 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.3-4 สภาพพื้นที่โดยบริเวณแนวเส้นทางโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-21 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.4 รูปแบบโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การออกแบบสะพานเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีจุดเริ่มต้นที่ กม.0+000 (ทล.4206 กม.26+620) และจุดสิ้นสุดที่ กม.2+527 (กบ.5035) ระยะทาง 2.527 กิโลเมตร ได้พิจารณาครอบคลุมถึงโครงการพัฒนาต่างๆ ในพื้นที่และการเพิ่มศักยภาพในการรองรับ ปริมาณการจราจรในอนาคต รวมทั้งพิจารณาถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสังคมที่อาจเกิดขึ้นต่อประชาชน ในบริเวณพื้นที่โดยรอบโครงการ ซึ่งสามารถสรุปรายละเอียดของรูปแบบโครงการ ดังนี้ รู ป แบบสะพานและถนนเชื่ อมต่อ ของโครงการสะพานเชื ่ อมเกาะลั นตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบล เกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ขนาด 2 ช่องจราจร (1 ช่องจราจรต่อทิศทาง) ความกว้างผิวทาง รวม 13.50 เมตร ประกอบด้วย ช่องจราจรกว้าง 3.75 เมตร จำนวน 2 ช่องจราจร เกาะกลางสีกว้าง 1.00 เมตร สำหรับการแบ่งทิศทางการจราจร และไหล่ทางกว้าง 2.50 เมตร การออกแบบโครงการครั้งนี้เป็นไปตามมาตรฐาน การออกแบบของกรมทางหลวงชนบท และมาตรฐานสากลอื่นๆ ได้แก่ - AASHTO Guide Specification for LRFD Seismic Bridge Design 2nd Edition, 201 - วสท. มาตรฐานต่างๆ ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย - มยผ.1301/1302-61 มาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทื อนของแผ่นดิ น ไหว (กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย) ตำแหน่งแนวร่องน้ำปัจจุบันที่มีข้อมูลระบุถึงความกว้างของร่องน้ำ รวมทั้งระยะห่างจากเสาตอม่อ ลักษณะแนวเส้นทางสะพานเชื่อมเกาะลันตา ข้ามทะเลบริเวณคลองช่องลาด มีแนวเส้นทางที่ตัดผ่านร่องน้ำ เดินเรือในช่วงระหว่างเสาตอม่อ P-17 ถึง P-18 ซึ่งเป็นเสาสูงของสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) ที่มีความ ยาวช่วงสะพาน 200 เมตร ตำแหน่งที่เป็นร่องน้ำเดินเรือในคลองช่องลาดที่มีเพียงช่องเดียวในคลองช่องลาด ซึ่งมีร่องน้ำมีความกว้าง 110 เมตร ซึ่งได้ออกแบบเสาตอม่อ P-17 และ P-18 ให้มีความยาวช่วงสะพาน 200 เมตร มีระยะห่างกันของฐานรากเสาตอม่อ 180 เมตร และขอบฐานรากอยู่ห่างจากขอบร่องน้ำประมาณ 30 เมตร ระดับความลึกพื้นทะเล (Sea Bed) ภายในคลองช่องลาดประกอบด้วยพื้นที่ทะเลลึกที่เป็นร่องน้ำเดินเรือ และก่อสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) และพื้นที่ทะเลตื้นระหว่างเกาะปลิงกับเกาะลันตาน้อยที่ก่อสร้าง ด้วยสะพานคานยื่น (Balanced Cantilever Bridge) โดยในการออกแบบ Profile ของสะพานได้คำนึงถึงค่าระดับน้ำ ขึ้นสูงสุดเฉลี่ย +1.08 ม.รทก. และระดับยอดคลื่นสึนามิที่เคยโจมตีเกาะลันตาในปี พ.ศ. 2547 ที่มีความสูง ยอดคลื่นประมาณ +4.00 ม.รทก. และได้สรุปข้อมูลการออกแบบ Profile สะพานเชื่อมเกาะลันตาที่จะก่อสร้าง ในพื้นที่ทะเล ระหว่างเสาตอม่อ P-16 ถึงเสาตอม่อ P-35 ซึ่งแสดงค่าระดับพื้นสะพาน ระดับใต้ท้องสะพาน ระดับบนของฐานราก (Footing) สะพาน ความสูงของระยะลอดใต้สะพาน (เมื่อน้ำทะเลขึ้นสูงสุด) แสดงดัง รูปที่ 2.4-1 ถึงรูปที่ 2.4-2 และตารางที่ 2.4-1 กรมทางหลวงชนบท 2-22 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-1 (1/9) แบบรายละเอียดโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-23 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-1 (2/9) แบบรายละเอียดโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-24 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-1 (3/9) แบบรายละเอียดโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-25 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-1 (4/9) แบบรายละเอียดโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-26 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-1 (5/9) แบบรายละเอียดโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-27 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-1 (6/9) แบบรายละเอียดโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-28 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-1 (7/9) แบบรายละเอียดโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-29 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-1 (8/9) แบบรายละเอียดโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-30 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-1 (9/9) แบบรายละเอียดโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-31 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-2 ตำแหน่งตอม่อสะพานโครงการวางคร่อมร่องน้ำเดินเรือคลองช่องลาด กรมทางหลวงชนบท 2-32 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.4-1 Profile สะพานและระยะลอดที่เสาตอม่อในทะเล ระดับพื้น ระดับท้อง เสาตอม่อ Station Bridge Type ความสูงช่องลอด หมายเหตุ สะพาน สะพาน P16 0+572 18.48 คานขึง 16.58 15.50 ม. P17 0+692 19.90 คานขึง 16.48 15.40 ม. ตอม่อระหว่างร่องน้ำ เดินเรือ P18 0+892 19.79 คานขึง 16.48 15.40 ม. ตอม่อระหว่างร่องน้ำ เดินเรือ P19 1+012 17.01 คานยื่น 11.51 10.43 ม. P20 1+062 15.81 คานยื่น 10.31 9.23 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P21 1+137 14.01 คานยื่น 8.60 7.52 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P22 1+212 12.21 คานยื่น 6.71 5.63 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P23 1+287 10.43 คานยื่น 4.93 3.85 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P24 1+362 9.52 คานยื่น 4.02 2.94 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P25 1+437 9.50 คานยื่น 4.02 2.94 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P26 1+512 9.50 คานยื่น 4.02 2.94 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P27 1+587 9.50 คานยื่น 4.02 2.94 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P28 1+662 9.50 คานยื่น 4.02 2.94 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P29 1+737 9.50 คานยื่น 4.02 2.94 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P30 1+812 9.50 คานยื่น 4.02 2.94 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P31 1+887 9.50 คานยื่น 4.02 2.94 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P32 1+937 9.50 คานยื่น 4.02 2.94 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P33 1+957 9.49 Box Girder 8.49 7.41 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P34 1+977 9.34 Box Girder 8.34 7.26 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น P35 1+997 9.02 Box Girder 8.02 6.94 ม. พื้นที่น้ำทะเลตื้น ที่มา : ที่ปรึกษา 2564 กรมทางหลวงชนบท 2-33 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 1) โครงสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) โครงสร้างสะพานคานขึงส่วนนี้มี 3 ช่วง ประกอบด้วย สะพานคานขึงช่วงระหว่าง P16-P17 สะพาน คานขึงช่วงระหว่าง P17-P18 และสะพานคานขึงช่วงระหว่าง P18-P19 โดยทำการก่อสร้างตอม่อ P16- P19 จำนวนรวม 4 ต่อม่อ ช่วง กม.0+572 – กม.1+012 ระยะทาง 440 เมตร ออกแบบเป็นสะพานคานขึง ความสูง ช่องลอด 15.40 เมตร จากระดับน้ำขึ้นสูงสุดเฉลี่ย โดยฐานรากสะพานใช้เสาเข็มเจาะหน้าตัดกลม (Bored Piles) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เมตร จำนวน 12 ต้น/ฐานราก สำหรับเสาตอม่อ P16 และเสาตอม่อ P19 ในขณะที่ เสาสูงของสะพานคานขึง (Pylon Pier) คือ P17 และ P18 ที่เป็นเสาตอม่อหลัก จำนวน 2 ตอม่อหลัก มีฐานราก สะพานใช้เสาเข็มเจาะหน้าตัดกลม ( Bored Piles) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เมตร จำนวน 18 ต้น/ฐานราก ซึ่ง Bored Pile แต่ละต้น มีกำลังรับน้ำหนักปลอดภัยต้นละ 1,100 ตัน โดยเสาตอม่อของ Main Pier Pile Cap of Extradoses Bridge มีขนาด 12.00x 21.75x3.50 เมตร โครงสร้างส่วนบน ( Superstructure) แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ คานสะพานรูปกล่องแบบไม่มีสายเคเบิ้ลในการรับแรง และคานสะพานรูปกล่องที่ใช้สายเคเบิ้ล ในการรองรับโครงสร้าง สำหรับโครงสร้างคานสะพานที่ไม่มีสายเคเบิ้ลรองรับโครงสร้างนั้น จะอยู่ที่บริเวณเสาสูง ( Pylon Pier) P17 และ P18 และบริเวณปลายสุดของคานสะพานที่ P16 และ P19 ด้วย โครงสร้างคานสะพานหล่อในที่มี ลักษณะเป็นคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องหล่อในที่ ( Cast in Situ Segmental Box Girder) ก่อสร้างด้วยวิธีคานยื่น อิสระสมดุล (Priestess Concrete Box Girder built by Balanced Cantilever Method) โดยจัดเป็นคานคอนกรีต อัดแรงรูปกล่องแบบ 2 cells และมีลวดเคเบิ้ลขึงยึดโครงสร้างส่วนบนกับเสา Pylon ในขณะที่โครงสร้างคานสะพาน ที่มีสายเคเบิ้ลรองรับ จะเป็นโครงสร้างที่ทำการหล่อชิ้นส่วนคานสะพานด้วยแบบหล่อเคลื่อนที่ได้ (Form Traveler) พร้อมกับการติดตั้งขึงสายเคเบิ้ลรับแรงดึง เพื่อตรึงโครงสร้างคานสะพานและเสาสูง (Pylon) เข้าด้วยกัน แสดงดัง รูปที่ 2.4-3 และมีรายละเอียดเสาะเข็มเจาะของโครงการแสดงดังตารางที่ 2.4-2 ตารางที่ 2.4-2 รายละเอียดเสาเข็มเจาะของโครงการ Balanced Cantilever Extradosed Bridge Approach Bridge Bridge สะพานคานยื่น สะพานคานขึง รายละเอียด ก่อสร้างบนบกและพื้นที่ ก่อสร้างในพื้นที่ทะเล ก่อสร้างในพื้นที่ทะเล ใกล้ชายฝั่ง ในคลองช่องลาด ในคลองช่องลาด เสาเข็มเจาะหน้าตัดกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.50 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.50 จำนวน 21 ตอม่อ จำนวน 13 ตอม่อ เมตร จำนวน 2 ตอม่อ เสาเข็มเจาะ 4 ต้น/ตอม่อ 84 ต้น 8 ต้น/ตอม่อ รวม 104 ต้น 28 ต้น/ตอม่อ รวม 56 ต้น ความยาวเฉลี่ย 8 เมตร 16 เมตร 22 เมตร ความยาวเสาเข็มเจาะรวม 672 เมตร 1,664 เมตร 1,232 เมตร ปริมาณคอนกรีตเสาเข็ม 530 ลบ.ม. 3,000 ลบ.ม. 2,220 ลบ.ม. เจาะรวม กรมทางหลวงชนบท 2-34 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-3 รูปแบบโครงสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) กรมทางหลวงชนบท 2-35 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2) โครงสร้างสะพานคานยื่น (Balanced Cantilever Bridge) ก่อสร้างตอม่อ P20-P32 ช่วง กม.1+062 – กม.1+937 ระยะทางประมาณ 875 เมตร ออกแบบ เป็นสะพานคานยื่น มีความสูงช่องลอด 3.0 - 8.0 เมตร โดยฐานรากสะพานใช้เสาเข็มเจาะ Bored Pile ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.50 เมตร จำนวน 13 ตอม่อ ซึ่ง Bored Pile แต่ละต้น มีกำลังรับน้ำหนักปลอดภัยต้นละ 1,100 ตัน ส่วนเสานั้นได้จัดเป็นเสาเดี่ยว ความหนาของเสาเพียง 2.50 เมตร และความกว้างเสา 6.20 เมตร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับโมเมนต์ดัดและมี Stiffness น้อย เพื่อลดโมเมนต์ดัดที่กระทำต่อเสา ขณะที่ โครงสร้างส่วนบนมีลักษณะเป็นคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องหล่อในที่ก่อสร้างด้วยวิ ธีคานยื่นอิสระสมดุล (Pre-stress Concrete Box Girder built by Balanced Cantilever Method) โดยจั ด เป็ น คานคอนกรี ต อั ด แรงรู ป กล่ อ ง แบบ 1 cells แสดงดังรูปที่ 2.4-4 วิธีการป้องกันโครงสร้างจากการกัดกร่อนของน้ำทะเล ( Chloride) ตามมาตรฐาน มยผ.1332-55 กรมโยธาธิการและผังเมือง มีรายละเอียดดังนี้ โครงการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา เป็นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กที่จะก่อสร้างข้ามคลอง ช่องลาดที่เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของทะเลอันดามัน การใช้งานคอนกรีตของโครงการจึงจำเป็นต้องมีคุณลักษณะของ คอนกรีตที่ออกแบบมาเพื่อให้มีคุณสมบัติต้านทานการซึมผ่านของคลอไรด์และซัลเฟต ซึ่งมีอยู่ในน้ำทะเล ไอทะเล น้ำกร่อย น้ำใต้ดิน และดินเค็ม ซึ่งได้รับการออกแบบให้ถูกต้องตามข้อกำหนดมาตรฐานวัสดุและการก่อสร้าง สำหรับโครงสร้างคอนกรีต โดยทั้งคลอไรด์และซัลเฟต จะส่งผลร้ายต่อเหล็กเสริมและคอนกรีตอย่างรุนแรง โดยคลอไรด์ จะเร่งปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็กเสริม ทำให้สนิมเกิดได้เร็วขึ้น ส่วนซัลเฟตจะทำปฏิกิริยา กับคอนกรีต ทำให้คอนกรีตเสื่อมสภาพเร็วขึ้น และมีความแข็งแรงลดลง ข้อกำหนดในการออกแบบส่วนผสมคอนกรีต (Concrete Mix Design) สำหรับคอนกรีตชายฝั่ง ทะเล คอนกรีตที่ออกแบบส่วนผสม ต้องมีคุณสมบัติทนทานต่อน้ำทะเล ซึ่งมีองค์ประกอบของ คลอไรด์และซัลเฟต ซึ่งเป็นอันตรายต่อเหล็กเสริม และคอนกรีตจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ - เหมาะสำหรับโครงสร้างคอนกรีตที่ระยะห่างจากชายฝั่งทะเลในระยะห่างจากชายฝั่งทะเล 0 - 15 กิโลเมตร สามารถต้านทานการซึมผ่านของคลอไรด์ได้ถึงในระดับความเข้มข้น 10,000 - 27, 000 ppm และต้านทานซัลเฟตได้ถึง 10,000 ppm - อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน w/b ≤ 0.45 - ค่ายุบตัว 12 - 17 ซม. - ค่าการซึมผ่านของคลอไรด์ < 1,000 คูลอมบ์ - ค่าการขยายตัวเมื่อแช่คอนกรีตในสารละลายซัลเฟตมีต่ำกว่าคอนกรีตที่ใช้ปูนประเภท 1 หรือ 5 - มีกำลังอัดตามที่ระบุไว้ในแบบก่อสร้าง - คอนกรีตทึบน้ำสูง ลดการซึมผ่านของสารเคมีต่างๆ - ไหลลื่น ทำงานง่าย/ลดโอกาสเกิดโพรงในคอนกรีต - ป้องกันการเกิดสนิมในเหล็กเสริม - ลดการแตกร้าวจากปฏิกิริยาของซัลเฟต กรมทางหลวงชนบท 2-36 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-4 รูปแบบโครงสร้างสะพานคานยื่น (Balanced Cantilever Bridge) กรมทางหลวงชนบท 2-37 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ การก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเลใช้ปลอกเหล็กถาวร ( Permanent Steel Casing) ทำหน้าที่เป็น แบบหล่อของเสาเข็มเจาะในทะเล โดยไม่มีการถอนออก ทั้งนี้ปลอกเหล็กถาวรดังกล่าว ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อ รับแรงช่วยเสาเข็มแต่อย่างใด จึงไม่ใช่โครงสร้างหลักของฐานราก อย่างไรก็ตามการที่มีปลอกเหล็กถาวรหุ้ม คอนกรีตเสาเข็มเจาะเอาไว้ตลอดเวลา ทำให้ป้องกันมิให้ น้ำทะเลที่มีอิออนของคลอไรด์ อยู่ในน้ำทะเลไม่สามารถ สัมผัสกับผิวคอนกรีตของเสาเข็มเจาะได้ ซึ่งจะเป็นส่วนช่วยเสริ มการปกป้องการถูกกัดกร่อนจากน้ำทะเลได้ เป็นอย่างดี (คอนกรีตที่ใช้หล่อเสาเข็มเจาะได้กำหนดให้เป็นคอนกรีตต้านทานความเค็มของน้ำทะเลอยู่แล้ว) ส่วนปลอกเหล็กถาวรส่วนจมอยู่ในน้ำทะเลและชั้นตะกอนจนถึงชั้นทราย จะทาสีกันสนิมไว้ ซึ่งการที่เหล็กปลอก ถาวร จมอยู่ใต้ระดับน้ำทะเลตลอดเวลาตามธรรมชาติ มีการทาสีกันสนิมป้องกันการกัดกร่อนของปลอกเหล็กถาวร ช่วยให้มีอัตราการถูกกัดกร่อนน้อยลง 3) สะพานบกและเชิงลาดสะพาน (Bridge and Approach structure) บริเวณพื้นที่บนบกของฝั่งตำบลเกาะกลาง และฝั่งเกาะลันตาน้อย จะมีการก่อสร้างสะพานบก และเชิงลาดสะพาน (Bridge and Approach Structure) ดังสรุปดังนี้ ▪ สะพานบกและเชิงลาดสะพานฝั่งตำบลเกาะกลาง สะพานบกก่อสร้างตอม่อ P1-P15 ช่วง กม.0+272 – กม.0+552 ระยะทาง 280 เมตร ออกแบบเป็นสะพานคานกล่องหล่อสำเร็จ (Precast Box Girder) ความยาวช่วงสะพาน 20 เมตร มีความสูงช่องลอด 1.2-16.5 เมตร โดยฐานรากสะพานใช้เสาเข็มเจาะ Bored Pile ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.50 เมตร จำนวน 15 ตอม่อ ซึ่ง Bored Pile แต่ละต้น มีกำลังรับน้ำหนักปลอดภัย ต้นละ 1,100 ตัน แต่ละตอม่อมีเสาเข็มเจาะจำนวน 4 ต้น/ตอม่อ โดยผลการเจาะสำรวจชั้นดินบนบกฝั่งตำบล เกาะกลาง พบว่า ชั้นดินมีความแข็งแรงและไม่มีความเสี่ยงต่อการทรุดตัวไม่เท่ากันของเชิงลาดสะพานกับสะพานบก โดยชั ้นดินเป็ นดิ นทรายอั ดแน่น และมี ชั ้นหิ นอยู ่ในระดั บตื ้ น จึ ง ไม่ จำเป็ นต้ องมีการก่อสร้ าง Bearing Unit ที่เชิงลาดสะพาน ▪ สะพานบกและเชิงลาดสะพานฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย สะพานบกก่อสร้างตอม่อ P33-P40 ช่วง กม.1+957 – กม.2+097 ระยะทาง 140 เมตร ออกแบบเป็นสะพานคานกล่องหล่อสำเร็จ ( Precast Box Girder) ความยาวช่วงสะพาน 20 เมตร มีความสูงช่องลอด 1.4- 7.5 เมตร โดยฐานรากสะพานใช้เสาเข็มเจาะ Bored Pile ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.50 เมตร จำนวน 8 ตอม่อ ซึ่ง Bored Pile แต่ละต้น มีกำลังรับน้ำหนัก ปลอดภัยต้นละ 1,100 ตัน แต่ละตอม่อมีเสาเข็มเจาะจำนวน 4 ต้น/ตอม่อ โดยผลการเจาะสำรวจชั้นดินบนบก ฝั่งตำบลเกาะกลาง พบว่า ชั้นดินมีความแข็งแรงและไม่มีความเสี่ยงต่อการทรุดตัวไม่เท่ากันของเชิงลาดสะพาน กับสะพานบก โดยชั้นดินเป็นดินทรายอัดแน่น และมีชั้นหินอยู่ในระดับตื้น จึงไม่จำเป็นต้องมีการก่อสร้าง Bearing Unit ที่เชิงลาดสะพาน กรมทางหลวงชนบท 2-38 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 4) ปรับปรุงถนนระดับดิน ก่อสร้างถนนระดับดิน ผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต ขนาด 2-4 ช่องจราจร (รวมสองฝั่งทาง) ฝั่งตำบล เกาะกลาง ช่วง กม.0+060-กม.0+400 ระยะทาง 340 เมตร และฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ช่วง กม.2+000 - กม.2+527 ระยะทาง 527 เมตร แสดงดังรูปที่ 2.4-5 ถนนขนาด 4 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง) บริเวณจุดเชื่อมต่อกับสะพานโครงการ รูปตัดการปรับปรุงผิวทาง ขนาด 2 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง) รูปที่ 2.4-5 รูปแบบถนนระดับดินของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-39 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 5) จุดกลับรถ (U-Turn) กำหนดให้มีจุดกลับรถจำนวน 3 จุด ได้แก่ 1) จุดกลับรถใต้สะพานฝั่งตำบลเกาะกลาง (กม.0+500) 2) จุดกลับรถใต้สะพานฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย (กม.2+040) และ 3) จุดกลับรถทางระดับดิน (กม.2+440) ที่มีรัศมี วงเลี้ยวด้านนอก เท่ากับ 15.0 เมตร รถบรรทุกแบบ Single Car Unit สามารถเลี้ยวได้ แสดงดังรูปที่ 2.4-6 รูปที่ 2.4-6 ตำแหน่งและรูปแบบจุดกลับรถของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-40 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 6) ทัศนสัญญาณ (1) ทาสีตอม่อบริเวณที่เป็นช่องทางเดินเรือ ทำทาสีตอม่อบริเวณที่เป็นช่องทางเดินเรือ และมีตัวเลขแสดงความสูงสุทธิช่องลอดสะพาน บนโครงสร้าง เสาตอม่อสะพานขึง (Extradosed Bridge) ตับที่ P16 – P19 แสดงดังรูปที่ 2.4-7 รูปที่ 2.4-7 ตัวอย่างการทาสีตอม่อสะพานบริเวณที่เป็นช่องทางเดินเรือ (2) เครื่องหมายปุ่ม (Road Stud) บนผิวจราจร เป็นอุปกรณ์เสริมที่ใช้โดยการติดตั้งฝังลงบนผิวจราจรโดยให้ส่วนหนึ่งโผล่นูนขึ้นมาจากผิว เพื่อเพิ่มความชัดเจนของเส้นแบ่งช่องจราจร ซึ่งจะช่วยในการป้องกันความสับสน ตลอดจนเป็นการเตือนผู้ขับขี่ ให้ทราบว่ายานพาหนะของตนกำลังเบี่ยงเบนออกจากช่องจราจรเดิมเมื่อล้อวิ่งทั บบนปุ่มนูน โดยเครื่องหมายปุ่ม บนผิวจราจรที่ใช้เป็นอโลหะ เพื่อลดปัญหาการถูกกัดกร่อนจากน้ำเค็ม ชนิดสะท้อนแสงเพื่อช่วยให้ผู้ขับขี่ยวดยาน สามารถมองเห็นช่องจราจรได้ชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่มีทัศนะวิสัยไม่ดี เช่น ฝนตกหนัก (เนื่องจาก พื้นที่โครงการมีฝนตกชุก และมีโอกาสเกิดลมมรสุมจากฝั่งทะเลอันดามันพัดผ่านพื้นที่โครงการได้) และยังเป็นการ ป้องกันมิให้เกิดการชนแบบประสานอีกด้วย การฝังหมุดบริเวณเกาะกลางถนน Median Strip บนเส้นทึบเดี่ยว ทุกๆ ระยะ 12 เมตร สำหรับการตีเส้น Marking ส่วนที่เป็นไหล่ทาง บริเวณไหล่ทางกำหนดไม่ให้เป็นที่จอดรถ โดยการตี Strip ให้ชัดเจนเพื่อลดอันตราย แสดงดังรูปที่ 2.4-8 นอกจากนี้โครงการมีการปูผิวทาง Asphaltic Concrete Pavement หนา 8 เซนติเมตร บนพื้นที่สะพาน กรมทางหลวงชนบท 2-41 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-8 การติดตั้ง Road Stud ที่เกาะกลางสี และตีเส้นทแยงที่ไหล่ทางตลอดแนวสะพาน 7) ระบบระบายน้ำ (1) ระบบระบายน้ำบริเวณโครงสร้างสะพาน กำหนดให้การระบายน้ำผ่านท่อระบายน้ำขนาด 100 มิลลิเมตร ที่ติดตั้งไว้ทุกระยะ 3 เมตร บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทางทั้ง 2 ด้าน รวบรวมน้ำจากพื้นสะพานทั้ง 2 ด้าน เข้าสู่ระบบท่อ HDPE ในโครงสร้าง Box Girder และเสาตอม่อ เพื่อรวบรวมน้ำฝนจากพื้นสะพาน ระบายน้ำลงสู่บ่อรับน้ำที่โคนเสาตอม่อบนพื้นที่ทะเล ทุกเสาตอม่อ แล้วระบายน้ำฝนลงสู่ทะเล รายละเอียดของระบบระบายน้ำ ดังแสดงในรูปที่ 2.4-9 และรูปที่ 2.4-10 สำหรับรูปตัดตามขวางของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาด และรูปตัดตามยาวของระบบ ระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาดตามลำดับ (2) ระบบระบายน้ำบนทางระดับดิน การระบายน้ ำ บนทางระดั บดิ นตั ้ งแต่ บริ เวณจุ ดเริ ่ มต้ นโครงการถึ ง เชิ งลาดสะพานฝั ่ ง ตำบล เกาะกลาง ช่วง กม.0+000 – กม.0+568 ระยะทางประมาณ 568 เมตร น้ำจากผิวจราจรระบายลงสู่รางระบายน้ำ ค.ส.ล. รู ป ตั ว V แบบมาตรฐาน ขนาด 27×45×100 เซนติ เมตร อยู่บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทางของทางหลวง หมายเลข 4206 ทั้งสองฝั่งทาง เพื่อระบายลงสู่ ทะเลต่อไป ส่วนการระบายน้ำบริเวณฝั่ง ตำบลเกาะลันตาน้อย ช่วง กม.2+000 – กม.2+200 ระยะทาง 200 เมตร จากผิวจราจรระบายลงสู่รางระบายน้ำ ค.ส.ล. รูปตัว V แบบ มาตรฐาน ขนาด 27×45×100 เซนติเมตร บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทาง เพื่อรวบรวมน้ำระบายลงสู่พื้นที่ป่าชายเลน และทะเลต่อไป แสดงดังรูปที่ 2.4-11 กรมทางหลวงชนบท 2-42 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.4-9 รูปตัดตามขวางของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาด รูปที่ 2.4-10 รูปตัดตามยาวของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาด กรมทางหลวงชนบท 2-43 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ระบบระบายน้ำตามยาว ช่วง กม.0+000 – กม.0+568 ระบบระบายน้ำตามยาว ช่วง กม.2+000 – กม.2+200 รูปที่ 2.4-11 ผังแสดงระบบระบายน้ำของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-44 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 8) ระบบไฟฟ้าส่องสว่าง มาตรฐานในการออกแบบระบบไฟฟ้าส่องสว่าง - ตามมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท - Illuminating Engineering Society of North America (IESNA) - International Commission on Illumination (CIE) - มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 โครงการได้ติดตั้งระบบไฟฟ้าส่องสว่างบนสะพาน ใช้แสงที่มีอุณหภูมิสีของหลอดไฟ 3000 เคลวิน (สีเหลือง) ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด (ไม่ดึงดูดแมลง) พิจารณาค่าความส่องสว่าง ( LUX) ที่ต่ำที่สุด ที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาตามมาตรฐานกำหนด เพื่อความเหมาะสม และหลีกเลี่ยงการสะท้อนของแสงบนพื้นถนน ขึ้นไปยังท้องฟ้า อีกทั้งการออกแบบให้ LUX ต่ำ ส่งผลให้โคมมีกำลังวัตต์ต่ำ เพื่อการอนุรักษณ์พลังงาน พิจารณา ด้านความสวยงามโดยรวมของสะพาน เลือกความสูงของเสาไฟส่องสว่างที่ 9 เมตร และมีระยะห่างของเสา ที่ 30 เมตร โครงการจะรับไฟจากระบบจำหน่าย 33 kV ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยติดตั้งเสาหม้อแปลงไฟฟ้า มาตรวัดไฟฟ้า และ SUPPLY PILLAR SP-1 ที่ฝั่งตำบลเกาะกลาง เพื่อจ่ายระบบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณเชิงสะพาน และบนสะพานฝั่งทิศเหนือ และติดตั้งเสาหม้อแปลงไฟฟ้า มาตรวัดไฟฟ้า และ SUPPLY PILLAR SP-2 ที่ฝั่ง เกาะลันตาน้อย เพื่อจ่ายระบบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณเชิงสะพาน และบนสะพานฝั่งทิศใต้ โครงการได้พิจารณาค่าความส่องสว่าง (LUX) เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 20 ลักซ์ทุกๆ ระยะประมาณ 30 เมตร ติดตั้งสลับฟันปลากัน เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้รถ คนเดินเท้า แสดงดังรูปที่ 2.4-12 และกําหนดให้ติดตั้ง ระบบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณตอม่อสะพานทุกตอม่อ และติดตั้งระบบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณช่องลอดใต้สะพาน ระหว่างตอม่อทุกช่วงเพื่อเป็นจุดสังเกตให้แก่เรือประมงในเวลากลางคืนหรือเวลาที่ทัศนวิสัยไม่ดี รูปที่ 2.4-12 การออกแบบระบบไฟฟ้าส่องสว่างบนสะพาน กรมทางหลวงชนบท 2-45 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 9) จุดชมวิวบนสะพาน (1) จุดชมวิวบนสะพานโครงการ จำนวน 2 จุด ได้แก่ จุดชมวิวที่ 1 (กม.0+692) และจุดชมวิว ที่ 2 (กม.0+892) ระยะห่างจากจุดขึ้น-ลงสะพาน (กม.0+512) เท่ากับ 180 และ 380 เมตร ตามลำดับการจราจร บนสะพานเป็นการเดินรถสวนทาง ประชาชนไม่สามารถเดินบนสะพานไปมา 2 ฝั่ง ได้ ซึ่งบริเวณจุดชมวิวทั้งสอง แห่งมีสะพานเดินข้ามฝั่งอยู่ใต้โครงสร้างสะพาน (รูปที่ 2.4-13) มีระยะห่าง ดังนี้ รูปที่ 2.4-13 ตำแหน่งและรูปแบบจุดชมวิวสะพานของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-46 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ การเดินรถจักรยานยนต์และการเดินของประชาชนไปยังจุดชมวิว ที่มีการแบ่งพื้นที่กันอย่างชัดเจน โดยแยกการใช้พื้นที่รถจักรยานยนต์และการเดินชมวิวสะพานออกจากจากกันเพื่อความปลอดภัย เรียบร้อยแล้ว ดังนี้ • ทางเดินไปยังจุดชมวิว มีเฉพาะในช่วงสะพานคานขึง ซึ่งมี Barrier กั้นระหว่างช่องจราจร และทางคนเดิน ทำให้เกิดความปลอดภัยต่อประชาชนในการเดินไปยังจุดชมวิว (รูปที่ 2.4-14) • ช่องจราจรของรถจักรยานยนต์ แยกเป็นช่องจราจรเฉพาะที่ช่องจราจรด้านซ้ายสุด ทั้ง 2 ทิศทาง ทำให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ใช้รถจักรยานยนต์ โดยได้แยกการใช้พื้นที่รถจักรยานยนต์และการเดินชมวิวสะพาน ออกจากจากกันเพื่อความปลอดภัย การออกแบบรั้วป้องกันการตกบริเวณทางเดินไปยังจุดชมวิวของโครงการไม่ใช้รั้วสแตนเลส เนื่องจากเป็นรั้วที่สามารถมีการปีนป่ายได้ง่าย ดังนั้นจึงพิจารณาใช้รั้ว Concrete Barrier มีความสูง 1.50 เมตร เพื่อความปลอดภัยของประชาชนที่เดินไปยังจุดชมวิวบนสะพาน (รูปที่ 2.4-15) รูปที่ 2.4-14 ทางเดินไปจุดชมวิวที่ปีกสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) รูปที่ 2.4-15 ทางเดินไปจุดชมวิวที่ปีกสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) กรมทางหลวงชนบท 2-47 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2) ข้อมูลการดำเนินงาน (Operate) ของลิฟท์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ (1) หน่วยงานที่ดูแลความปลอดภัยในการให้บริการลิฟท์ เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายของหมวด ทางหลวงชนบทเกาะลันตา มีหน้าที่ในการควบคุ ม การเปิ ดให้บ ริ การลิฟ ท์ ในเวลากลางวัน ระหว่าง 8.00 น. ถึง 16.00 น. และห้ามใช้งานลิฟท์ในช่วงเวลาอื่นๆ รวมถึงช่วงเวลาที่เกิดพายุลมแรงในพื้นที่เกาะลันตา โดยจัดให้มี สำนักงานให้เจ้าหน้าที่ดูแลลิฟท์ด้วย ซึ่งได้กำหนดให้เป็นหน่วยดูแลบำรุงรักษาสะพานเชื่อมเกาะลันตา (ส่วนหน้า) ที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ใต้สะพาน ระหว่างเสาตอม่อ P6 กับ เสาตอม่อ P7 แสดงดังรูปที่ 2.4-16 (2) การจั ด ให้ ม ี ม าตรการความปลอดภั ย ทั ่ ว ไปของลิฟ ท์ กรมทางหลวงชนบท เป็ น หน่ ว ยงาน รับผิดชอบในการติดตั้ง-การเปิดใช้งานอย่างสะดวกปลอดภัย และการบำรุงลิฟท์อย่างสม่ำเสมอ โดยช่างมืออาชีพ ตามข้อกำหนดของผู้ผลิตลิฟท์ และอุปกรณ์ลิฟท์ ต้องได้รับการบำรุงรักษาโดยผู้ให้บริการติดตั้งลิฟท์ที่มีประสบการณ์ ในการประเมินความปลอดภัยเต็มรูปแบบ รวมถึงประสิทธิภาพในการใช้งานอย่างปลอดภัย ต้องมีการทดสอบปกติ ระหว่างการทำงานของลิฟท์อย่างสม่ำเสมอทุกวัน โดยเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลลิฟท์ของหมวดทางหลวงชนบทเกาะลันตา ต้องทำการตรวจสอบความปลอดภัยด้วยสายตาและการตรวจสอบความปลอดภัยในการทำงาน โดยปฏิบัติตาม คู่มือของผู้ผลิตลิฟท์ หากพบสิ่งผิดปกติต้องรายงานทันทีถึงช่างเทคนิคบริการของผู้ติดตั้งลิฟท์ (3) การตรวจสอบความปลอดภัยด้วยสายตาก่อนการเปิดให้บริการลิฟท์ เจ้าหน้าที่ หมวดทางหลวง ชนบทเกาะลันตา ผู้รับผิดชอบความปลอดภัยของการให้บ ริการลิฟท์ ต้องดำเนินการตรวจสอบด้วยสายตา ก่อนเปิดให้บริการลิฟท์ ดังนี้ - ตรวจสอบว่ามีความเสียหายที่เกิดจากการทำลายทรัพย์สินที่อาจส่งผลกระทบต่อ สภาพ อุปกรณ์ลิฟท์หรือไม่ - ตรวจสอบว่าส่วนประกอบที่ขาดหายไปหรือไม่ เช่น แผ่นปิดปุ่มกดลิฟท์ ที่อาจส่งผลต่อ ความปลอดภัยของผู้ใช้ - ตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่างภายในห้องโดยสารของลิฟท์ว่าใช้งานได้ตามปรกติ - ตรวจสอบความปลอดภัยทางเข้า -ออกลิฟท์ มีสภาพแห้ง ไม่ลื่น ไม่มีสิ่งกีดขวางในบริเวณ ทางเข้า-ออกลิฟท์ - ตรวจสอบความปลอดภัยบริเวณธรณีประตูที่ลิฟท์ลงจอด กับระดับภายในห้องโดยสาร ของลิฟท์มีระดับเสมอกัน โดยตรวจสอบว่าร่องธรณีประตูไม่มีเศษซากและ วัตถุแปลกปลอม หากร่องธรณีประตู ถูกกีดขวาง ให้พยายามเอาวัตถุที่ติดอยู่ออกด้วย การใช้แปรงหรือเครื่องดูดฝุ่น ถ้าวัตถุไม่สามารถนำออกมาได้ ให้ปิดการใช้ลิฟท์และติดต่อช่างซ่อมบำรุงมาแก้ไขปัญหาดังกล่าว กรมทางหลวงชนบท 2-48 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ที่ตั้งหน่วยดูแลบำรุงรักษา สะพานเชื่อมเกาะลันตา (ส่วนหน้า) รูปที่ 1.3-2 หน่วยดูแลบำรุงรักษาสะพานเชื่อมเกาะลันตา (ส่วนหน้า) (ต่อ) รูปที่ 2.4.1-15 รูปแบบรั้วสแตนเลสป้องกันบริเวณบันไดจุดขึ้น-ลงสะพานทางเดินไปยังบริเวณจุดชมวิว และบริเวณจุดชมวิว รูปที่ 2.4-16 หน่วยดูแลบำรุงรักษาสะพานเชื่อมเกาะลันตา (ส่วนหน้า) กรมทางหลวงชนบท 2-49 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.5 งานศึกษาด้านจราจรและขนส่ง การรวบรวมข้อมูลด้านการจราจรและขนส่งทั้งในอดีตและปัจจุบัน โดยนำมาใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับ การคาดการณ์ปริมาณจราจรในอนาคต เพื่อให้ทราบถึงความต้องการในการเดินทาง ปริมาณจราจรบนโครงข่าย ถนนและทางแยกต่างๆ บริเวณพื้นที่อิทธิพลโดยรอบในปีปัจจุบันและปีอนาคต ทั้งนี้ ในปัจจุบันพื้นที่ระหว่าง แผ่นดินกับเกาะลันตามีการเชื่อมต่อการเดินทางโดยใช้เรือเป็นหลัก แนวเส้ นทางโครงการจะส่งผลให้มีเสริมสร้าง ประสิทธิภาพด้านการคมนาคมขนส่ง และพัฒนาพื้นที่สองฝั่งให้มีความเจริญในพื้นที่ดังกล่าวมากขึ้น รวมถึง เพิ่มความสะดวกให้กับประชาชนในพื้นที่ ซึ่งนอกจากจะเป็นการแก้ไขปัญหาและขีดข้อจำกัดการเดินทางจาก จุดเริ่มต้นโครงการ (ท่าเรือบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง) ไปยังจุดสิ้นสุดโครงการ (ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย) แล้ว ยังจะเป็นการเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่ขึ้นเป็นเขตท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดกระบี่ได้อีกด้วย 1) งานรวบรวมข้อมูลด้านการจราจร ที่ปรึกษาได้ทำการรวบรวมข้อมูลโครงข่ายถนนภายในพื้นที่โครงการ เพื่อให้ทราบลักษณะของ โครงข่ า ยการให้ บ ริ การด้ า นการจราจร ตลอดจนลั กษณะทางกายภาพของถนน นอกจากนี ้ ยั ง ได้ รวบรวม ข้อมูลปริมาณการจราจรที่กรมทางหลวงได้ดำเนินการสำรวจเป็นประจำทุกปี โดยสำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง เพื่อให้การรวบรวมข้อมูลเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงส่งเสริมให้ที่ปรึกษาวิเคราะห์ข้ อมูล การจราจรได้อย่างแม่นยำยิ่งขึ้น (1) ข้อมูลสถิติปริมาณจราจร ข้อมูลที่ที่ปรึกษาได้ทำการรวบรวม คือ ข้อมูลปริมาณการจราจร ที่กรมทางหลวงได้ดำเนินการสำรวจเป็นประจำทุกปี โดยสำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวงได้ทำการเก็บ ปริมาณจราจรแยกตามประเภทยานพาหนะบนทางหลวงแต่ละช่วงทางหลวงควบคุม รายละเอียด ประกอบด้วย หมายเลขทางหลวง ( Route No.) และช่วงควบคุม ( Control Section) โดยทางหลวงสายหนึ่งอาจมีหลายช่วง ควบคุม ในแต่ละช่วงควบคุมจะมีข้อมูลปริมาณจราจร ดังแสดงสถิติปริมาณจราจรบนโครงข่ายทางหลวงสายหลัก ในพื้นที่โครงการไว้ในตารางที่ 2.5-1 และรูปที่ 2.5-1 ถึงรูปที่ 2.5-2 สรุปได้ดังนี้ • ทางหลวงหมายเลข 4 เป็นเส้นทางที่รองรับการเดินทางตั้ งแต่กรุงเทพมหานครจนสิ้นสุด เส้นทางที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยบริเวณ กม. 979+327 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 45,808 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 8.27 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็น ร้อยละ 16.26 ต่อปี • ทางหลวงชนบทหมายเลข 4033 เป็นเส้นทางที่รองรับการเดินทางที่ตั้งอยู่บนตำบล ทับปริก อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ โดยบริเวณ กม.3+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 2,261 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 22.07 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 24.66 ต่อปี • ทางหลวงชนบทหมายเลข 4034 รองรับการเดินทางที่ตั้งอยู่บนตำบลไสไทย อำเภอ เมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ โดยบริเวณ กม. 11+400 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 7,960 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 3.09 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 2.84 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4037 รองรับการเดินทางเข้า -ออกระหว่างอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จนสิ้นสุดเส้นทางที่อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม. 23+000 มีปริมาณจราจร ในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 8,875 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 17.76 มีอัตราการลดลง คิดเป็น ร้อยละ 3.36 ต่อปี กรมทางหลวงชนบท 2-50 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถจักรยาน หมายเลข รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร สัดส่วน รถจักรยานยนต์ อัตรา หมายเลข ตอน หลัก กม. พ.ศ. ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง รวม 2 ล้อ และ ควบคุม ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รถขนาดใหญ่ รถสามล้อ การขยายตัว 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ > 3 เพลา > 3 เพลา 3 ล้อ 4 1102 ตลาดเก่า-คลองท่อม 979+327 2558 6,950 2,916 1,412 1,246 228 11,116 460 341 208 200 25,077 10.70 3 3,710 16.26 TALAT KAO- 2559 8,612 4,272 2,391 223 274 13,797 559 274 309 200 30,911 5.95 10 5,727 KHLONG THOM 2560 11,062 4,394 3,194 250 230 13,037 537 300 241 132 33,377 5.06 14 4,310 2561 9,499 8,423 6,551 928 743 12,429 768 601 406 194 40,542 8.98 22 5,435 2562 12,055 11,415 6,395 1,003 792 12,153 783 613 387 212 45,808 8.27 36 7,618 4 1103 คลองท่อม-นาวง 1010+765 2558 1,159 1,787 108 243 125 2,061 192 166 147 69 6,057 15.43 10 1,310 16.75 KHLONG THOM- 2559 1,796 1,605 171 169 126 1,776 307 354 323 186 6,813 21.50 8 1,196 NA WONG 2560 2,039 1,735 217 264 134 2,614 234 266 228 107 7,838 15.73 15 1,500 2561 3,075 2,782 453 272 226 3,931 359 369 287 202 11,956 14.35 14 2,146 2562 3,460 2,600 488 318 210 2,734 533 436 302 173 11,254 17.52 17 2,191 4 1103 คลองท่อม-นาวง 1016+865 2558 2,010 1,776 171 35 112 2,751 203 162 133 107 7,460 10.08 0 1,452 6.95 KHLONG THOM- 2559 2,237 2,002 122 30 87 3,117 200 171 134 93 8,193 8.73 0 1,142 NA WONG 2560 1,878 1,594 122 161 109 2,289 264 286 214 69 6,986 15.79 9 1,186 2561 1,947 1,758 258 515 216 2,259 378 442 382 152 8,307 25.10 49 1,377 2562 2,722 2,525 341 498 283 1,962 416 445 347 222 9,761 22.65 62 1,461 4 1103 คลองท่อม-นาวง 1046+265 2558 1,769 1,619 182 434 192 1,501 659 430 241 145 7,172 29.29 33 1,469 3.51 KHLONG THOM- 2559 1,966 1,772 119 286 175 1,270 467 418 225 184 6,882 25.50 19 1,477 NA WONG 2560 1,738 1,698 71 171 109 1,848 524 526 207 159 7,051 24.05 26 1,202 2561 1,955 2,030 119 245 189 1,523 808 420 270 268 7,827 28.11 28 1,335 2562 1,944 2,127 212 283 289 1,143 761 569 472 432 8,232 43.09 120 1,351 4033 100 ในช่อง-ในไร่ 3+000 2558 1,820 1,372 488 434 408 677 583 610 493 132 7,017 37.91 100 1,603 -24.66 NAI CHONG-NAI RAI 2559 1,690 817 655 425 420 810 471 368 342 197 6,195 35.88 141 1,515 2560 1,271 385 187 272 122 350 126 144 147 53 3,057 28.26 61 880 2561 1,429 230 130 8 40 213 71 99 173 15 2,408 16.86 9 964 2562 1,211 254 128 23 19 169 162 142 115 38 2,261 22.07 1 565 4034 100 ปากน้ำกระบี่-เขาทอง 11+400 2558 2,102 1,065 221 368 67 3,058 139 50 42 5 7,117 9.43 18 2,673 2.84 PAKNAM KRABI- 2559 1,014 771 374 172 63 2,111 83 46 40 7 4,681 8.78 33 2,104 KHAO THONG 2560 1,108 600 294 132 51 1,791 90 32 98 0 4,196 9.60 23 1,844 2561 2,366 170 799 30 54 1,841 106 24 34 35 5,459 5.18 11 2,193 2562 4,407 782 221 12 20 2,304 104 65 27 18 7,960 3.09 23 3,683 กรมทางหลวงชนบท 2-51 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 (ต่อ) รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถจักรยาน หมายเลข รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร สัดส่วน รถจักรยานยนต์ อัตรา หมายเลข ตอน หลัก กม. พ.ศ. ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง รวม 2 ล้อ และ ควบคุม ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รถขนาดใหญ่ รถสามล้อ การขยายตัว 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ > 3 เพลา > 3 เพลา 3 ล้อ 4037 100 เหนือคลอง-สองแพรก 23+000 2558 3,848 3,044 93 117 99 1,331 492 378 621 154 10,177 18.29 44 2,337 -3.36 NUEA KHLONG- 2559 3,205 2,751 49 24 52 1,307 673 504 544 162 9,271 21.13 23 2,165 SONG PHRAEK 2560 2,782 2,369 67 24 52 1,083 691 544 706 204 8,522 26.06 23 1,875 2561 3,567 2,740 112 61 44 1,377 295 267 303 122 8,888 12.29 14 1,705 2562 2,052 1,330 319 103 103 3,598 392 300 435 243 8,875 17.76 64 1,864 4038 100 คลองท่อม-ทุ่งใหญ่ 5+000 2558 558 550 225 184 190 180 162 158 161 160 2,528 40.15 36 377 -1.21 KHLONG THOM- 2559 718 638 244 224 155 341 187 182 150 114 2,953 34.27 39 564 THUNG YAI 2560 497 371 195 142 102 224 184 185 153 92 2,145 40.00 20 436 2561 990 680 39 58 21 1,221 114 135 159 60 3,477 15.77 2 637 2562 868 717 41 89 27 1,099 142 149 132 48 3,312 17.72 27 966 4038 100 คลองท่อม-ทุ่งใหญ่ 48+000 2558 338 224 95 56 66 1,486 223 242 243 85 3,058 29.73 24 1,101 -0.60 KHLONG THOM- 2559 504 218 15 61 17 1,431 128 107 126 54 2,661 18.53 29 964 THUNG YAI 2560 379 168 35 32 12 1,142 151 102 140 72 2,233 22.79 9 1,020 2561 760 552 32 89 11 1,430 131 126 146 50 3,327 16.62 9 939 2562 708 546 26 26 13 1,035 144 196 214 77 2,985 22.45 3 747 4041 100 บางผึ้ง-โคกยาง 2+000 2558 448 104 26 0 0 513 44 39 4 0 1,178 7.39 1 818 8.39 BANG PHUENG- 2559 196 50 12 3 4 348 29 11 6 4 663 8.60 10 436 KHOK YANG 2560 217 87 10 0 3 458 49 13 17 4 858 10.02 12 514 2561 411 133 11 2 4 575 43 23 25 15 1,242 9.02 15 902 2562 527 246 49 10 7 652 63 34 27 11 1,626 9.35 28 956 4046 200 สิเกา-ควนกุน 41+865 2558 2,195 2,008 135 44 66 1,930 131 183 70 76 6,838 8.34 12 1,864 1.55 SIKAO-KHUAN KUN 2559 2,008 1,792 64 25 34 1,801 78 86 42 57 5,987 5.38 8 1,831 2560 1,975 1,765 47 12 17 1,731 56 70 39 47 5,759 4.19 4 1,729 2561 2,313 1,938 181 74 78 2,033 149 205 131 117 7,219 10.45 17 1,997 2562 2,428 1,525 222 106 114 2,128 239 203 181 125 7,271 13.31 57 2,111 4151 400 บางขัน-ลำทับ 100+693 2558 1,196 821 125 136 38 1,564 309 204 229 138 4,760 22.14 6 1,064 -7.81 BANG KHAN-LAMTHAP 2559 1,898 2,148 143 87 29 1,092 234 225 203 213 6,272 15.80 11 1,106 2560 2,329 1,592 110 88 38 823 331 192 259 131 5,893 17.63 0 974 2561 1,021 976 56 36 22 1,564 253 295 548 197 4,968 27.19 0 755 2562 841 540 81 109 20 1,218 160 158 224 87 3,438 22.05 10 923 กรมทางหลวงชนบท 2-52 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 (ต่อ) รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถจักรยาน หมายเลข รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร สัดส่วน รถจักรยานยนต์ อัตรา หมายเลข ตอน หลัก กม. พ.ศ. ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง รวม 2 ล้อ และ ควบคุม ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รถขนาดใหญ่ รถสามล้อ การขยายตัว 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ > 3 เพลา > 3 เพลา 3 ล้อ 4156 100 เขาพนม-ทุ่งใหญ่ 5+000 2558 2,672 2,589 108 72 79 739 509 355 203 124 7,450 18.01 22 1,974 -4.69 KHAO PHANOM- 2559 2,620 2,490 58 49 31 949 608 425 201 83 7,514 18.59 9 1,840 THUNG YAI 2560 2,640 2,623 76 44 25 864 584 369 240 148 7,613 18.52 20 1,828 2561 2,159 2041 48 67 15 1,686 208 109 162 51 6,546 9.35 2 1,371 2562 1,863 1,794 111 20 29 1,731 187 121 226 65 6,147 10.54 3 1,449 4156 100 เขาพนม-ทุ่งใหญ่ 36+200 2558 2,390 2,392 222 181 131 1,096 610 404 261 200 7,887 22.66 2 1,864 -15.24 KHAO PHANOM- 2559 2,444 2,243 209 162 112 931 613 522 355 281 7,872 25.98 5 1,735 THUNG YAI 2560 2,476 2,506 129 115 59 981 700 513 274 57 7,810 22.00 2 1,825 2561 834 327 83 23 10 2,141 173 85 199 49 3,924 13.74 12 1,171 2562 895 253 18 48 8 2,295 170 70 225 89 4,071 14.98 3 1,681 4201 100 ช่องพลี-อ่าวพระนาง 2+000 2558 2,859 1,506 299 628 58 1,047 134 24 4 7 6,566 13.02 28 3,156 4.91 CHONG PHLI- 2559 1,202 832 669 289 236 624 227 134 79 53 4,345 23.43 109 1,588 AO PHRA NANG 2560 1,233 985 649 425 307 725 380 94 43 36 4,877 26.35 132 1,715 2561 2,994 1,125 1,552 3 30 2,144 161 35 4 2 8,050 2.92 16 6,288 2562 3,887 1,010 1,360 16 4 1,581 69 16 7 3 7,953 1.45 13 5,449 4202 100 ช่องพลี-หาดนพรัตน์ธารา 4+000 2558 505 720 202 112 163 852 41 16 0 2 2,613 12.78 57 2,075 26.55 CHONG PHLI-HAT 2559 709 906 182 111 114 1,060 60 38 1 10 3,191 10.47 81 2,366 NOPPHARAT THARA 2560 1,403 1,447 336 170 143 1,357 71 53 5 2 4,987 8.90 69 2,250 2561 1,825 541 771 50 50 2,134 99 8 0 0 5,478 3.78 22 4,400 2562 2,408 970 440 38 27 2,580 228 7 1 2 6,701 4.52 17 7,708 4203 100 อ่าวน้ำเมา-หาดนพรัตน์ธารา 4+000 2558 2,145 1,122 344 324 112 2,905 102 20 0 0 7,074 7.89 29 4,845 6.01 AO NAM MAO-HAT 2559 2,146 962 1,399 60 54 2,686 119 34 2 0 7,462 3.60 33 4,701 NOPPHARAT THARA 2560 2,478 2,382 544 150 104 2,736 151 89 5 0 8,639 5.78 59 4,232 2561 4,933 2,943 2,877 164 102 4,784 304 42 5 1 16,155 3.83 19 6,911 2562 3,418 1,432 1,555 8 42 2,268 146 59 2 3 8,933 2.91 22 7,342 4204 100 ไสไทย-สุสานหอย 75 ล้านปี 3+000 2558 1,207 524 50 13 20 2,440 109 110 12 0 4,485 5.89 15 1,862 4.77 SAI THAI-FOSSIL SHELL 2559 1,151 1,861 29 10 22 1,743 189 62 8 1 5,076 5.75 19 2,224 BEACH 2560 1,577 1,526 7 4 7 2,252 152 76 5 0 5,606 4.35 21 2,001 2561 1,430 819 567 4 29 1,433 130 50 14 5 4,481 5.81 17 1,928 2562 2,341 1,291 339 30 6 1,164 136 70 26 1 5,404 4.98 18 3,241 กรมทางหลวงชนบท 2-53 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 (ต่อ) รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถจักรยาน หมายเลข รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร สัดส่วน รถจักรยานยนต์ อัตรา หมายเลข ตอน หลัก กม. พ.ศ. ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง รวม 2 ล้อ และ ควบคุม ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รถขนาดใหญ่ รถสามล้อ การขยายตัว 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ > 3 เพลา > 3 เพลา 3 ล้อ 4206 100 ห้วยน้ำขาว-เกาะกลาง 3+000 2558 675 405 214 174 4 2,082 174 100 52 12 3,892 13.26 3 1,142 6.89 HUAI NAM KHAO- 2559 849 533 210 289 7 2,521 163 175 66 1 4,814 14.56 0 1,068 KO KLANG 2560 982 739 81 234 6 1,584 92 51 13 1 3,783 10.49 26 797 2561 930 658 183 3 1 1,976 119 55 30 13 3,968 0.84 6 707 2562 1,105 921 263 13 0 2,350 197 109 80 43 5,081 8.70 17 952 4225 100 สวนปาล์ม-คลองชี 1+300 2558 830 115 0 4 0 554 54 54 64 2 1,677 10.61 0 680 -9.20 SUAN PAM-KHLONG CHI 2559 674 146 1 1 0 442 58 29 55 1 1,407 10.23 5 685 2560 470 141 1 0 0 437 67 29 41 4 1,190 11.85 2 624 2561 367 125 0 0 0 542 50 28 12 2 1,126 8.11 0 551 2562 437 156 0 0 0 427 54 31 24 11 1,140 10.53 0 591 4225 100 สวนปาล์ม-คลองชี 17+700 2558 294 118 4 0 0 836 48 12 5 0 1,317 4.94 4 942 -5.13 SUAN PAM-KHLONG CHI 2559 211 122 9 0 0 925 45 28 10 4 1,354 6.43 0 935 2560 269 78 2 0 0 685 42 30 15 4 1,125 8.09 0 790 2561 193 59 0 0 0 691 64 39 14 1 1,061 11.12 0 7 2562 132 82 7 0 0 764 54 23 5 0 1,067 7.69 2 701 4225 100 สวนปาล์ม-คลองชี 31+500 2558 381 80 2 0 0 770 50 34 16 2 1,335 7.64 4 862 -2.03 SUAN PAM-KHLONG CHI 2559 284 85 3 1 0 900 39 17 7 1 1,337 4.86 2 8 2560 220 89 0 0 0 1,017 78 47 6 1 1,458 9.05 0 830 2561 155 77 0 0 0 1,074 69 43 5 0 1,423 8.22 0 846 2562 139 62 0 0 0 941 57 27 4 0 1,230 7.15 2 796 4236 100 ถนนแพรก-ลำนาว 1+400 2558 682 292 6 0 0 1,359 114 110 2 0 2,565 8.81 15 1,459 -4.99 THANON PHRAEK- 2559 522 265 1 0 1 1,197 93 56 4 0 2,139 7.10 4 1,363 LAM NAO 2560 360 224 0 0 0 978 91 70 13 48 1,784 12.44 0 1,047 2561 352 228 0 0 0 1,067 86 76 33 29 1,871 11.97 0 971 2562 497 319 0 1 0 969 139 96 46 23 2,090 14.59 2 923 4236 100 ถนนแพรก-ลำนาว 37+380 2558 205 146 66 36 2 1,161 90 46 16 2 1,770 10.85 4 1,080 -8.66 THANON PHRAEK- 2559 216 91 27 7 1 1,097 80 45 16 8 1,588 9.89 4 969 LAM NAO 2560 191 64 0 0 0 980 85 48 7 2 1,377 10.31 0 812 2561 143 69 1 0 0 988 63 38 6 0 1,308 8.18 0 805 2562 113 43 1 0 0 992 48 29 5 1 1,232 6.74 2 803 กรมทางหลวงชนบท 2-54 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 (ต่อ) รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถจักรยาน หมายเลข รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร สัดส่วน รถจักรยานยนต์ อัตรา หมายเลข ตอน หลัก กม. พ.ศ. ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง รวม 2 ล้อ และ ควบคุม ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รถขนาดใหญ่ รถสามล้อ การขยายตัว 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ > 3 เพลา > 3 เพลา 3 ล้อ 4252 100 ทุ่งใหญ่-ควนปริง 1+000 2558 1,842 1,533 23 9 0 723 439 187 17 0 4,773 13.66 7 1,572 -26.76 THUNG YAI-KHUAN PRING 2559 1,934 1,651 20 14 10 562 378 106 12 6 4,693 11.21 8 1,564 2560 1,989 1,927 16 8 4 611 479 133 5 0 5,172 12.16 10 1,486 2561 482 330 77 37 9 115 127 65 24 5 1,271 21.01 19 521 2562 585 347 53 32 9 149 126 65 5 2 1,373 17.41 19 787 4258 200 บ้านซา-ควนชัน 11+000 2558 33 1 8 0 0 307 4 0 0 0 353 1.13 0 675 2.98 BAN SA-KHUAN CHAN 2559 27 1 10 0 0 368 3 0 0 0 409 0.73 0 703 2560 15 0 10 0 0 428 3 0 0 0 456 0.66 0 693 2561 8 0 5 0 0 406 1 0 0 0 420 0.24 0 715 2562 0 0 2 0 0 395 0 0 0 0 397 0 0 769 4276 100 ท่าประดู่-สวนหมาก 2+000 2558 0 0 0 0 0 187 0 0 0 0 187 0 0 188 0.13 THA PRADU-SUAN MAK 2559 0 0 0 0 0 146 0 0 0 0 146 0 0 241 2560 0 0 0 0 0 231 0 0 0 0 231 0 0 249 2561 0 0 0 0 0 193 0 0 0 0 193 0 0 290 2562 0 0 0 0 0 188 0 0 0 0 188 0 0 0 4278 100 ทอนแจ้-อ่าวตง 2+000 2558 3 0 0 0 0 278 0 0 0 0 281 0 0 372 0.00 THON CHAE-AO TONG 2559 0 0 0 0 0 343 0 0 0 0 343 0 0 442 2560 44 36 4 0 0 255 20 153 2 2 516 34.30 4 365 2561 20 7 0 0 0 193 6 3 0 0 229 3.93 0 309 2562 23 0 0 0 0 249 9 0 0 0 281 3.20 0 411 4345 100 ควนกุน-หนองชุมแสง 2+000 2558 244 160 5 6 0 226 40 30 2 2 715 11.19 0 613 18.67 KHUAN KUN- 2559 172 103 4 0 1 325 26 20 2 1 654 7.65 2 485 NONG CHUM SAENG 2560 209 108 0 2 0 388 39 106 2 0 854 17.45 2 545 2561 191 106 0 10 0 533 76 75 0 0 991 16.25 31 742 2562 475 138 14 23 11 596 89 69 3 0 1,418 13.75 22 854 4348 100 ห้วยเจ-ควนอารีย์ 1+500 2558 342 168 0 0 4 932 29 10 2 0 1,487 3.03 14 975 -6.12 HUAI CHE-KHUAN A-RI 2559 247 95 1 0 2 828 28 38 6 3 1,248 6.17 5 925 2560 221 50 0 1 3 846 36 36 7 8 1,208 7.53 7 878 2561 235 102 0 0 8 888 30 20 2 1 1,286 4.74 7 845 2562 139 78 2 0 0 898 19 19 0 0 1,155 3.29 2 866 กรมทางหลวงชนบท 2-55 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-1 แผนที่แสดงปริมาณจราจรบนทางหลวงแผ่นดินในพื้นที่ศึกษา พ.ศ. 2562 กรมทางหลวงชนบท 2-56 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-2 แผนที่แสดงปริมาณรถขนาดใหญ่บนทางหลวงแผ่นดินในพื้นที่ศึกษา พ.ศ. 2562 กรมทางหลวงชนบท 2-57 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ • ทางหลวงหมายเลข 4038 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1 ,009+121 ที่สามแยกคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัด กระบี่ ตัดขึ้นไปทางตะวันออก ผ่านอำเภอลำทับ เข้าสู่เขตจังหวัดนครศรีธรรมราช ผ่านอำเภอทุ่งใหญ่ สิ้นสุดที่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 (ถนนสายเอเชีย) โดยที่บริเวณ กม. 5+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 3,312 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 17.72 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 1.21 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4041 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 994+500 ที่อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ตัดขึ้นไปทาง ทิศเหนือ สิ้นสุดที่ทางหลวงชนบท กบ.1007 โดยที่บริเวณ กม.2+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 1,626 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 9.35 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 8.39 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4046 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1043+000 ที่จุดตัดสามแยกถนนเพชรเกษม ตัดขึ้นไปทางทิศใต้ สิ้นสุดที่จุดตัดถนนบางรัก อ.บางรัก จ.ตรัง โดยที่บริเวณ กม.41+865 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 7,271 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 13.31 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 1.55 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4151 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด ทางแยกจาก ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 4038 ตั ด ไปทางทิ ศ ตะวั น ออก สิ ้ น สุ ด ที ่ ท างหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 408 จ.นครศรีธรรมราช โดยที่บริเวณ กม.100+693 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 3,438 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 22.05 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 7.81 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4156 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด ทางแยกจาก ทางหลวงชนบทหมายเลข กบ.1025 ตัดไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่บ้านท่ายาง จั งหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม.5+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 6,147 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้ อยละ 10.54 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 4.69 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4201 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด ทางแยกจาก ทางหลวงหมายเลข 4201 ไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่จุดตัดทางแยกจากทางหลวงหมายเลข 4203 โดยที่ บริเวณ กม.2+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 7,953 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็น ร้อยละ 1.45 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 4.91 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4202 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบลบ้านช่องพลี ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4203 โดยที่บริเวณ กม.4+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 6,701 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 4.52 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 26.55 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4203 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดสามแยกทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4203 ตัดไปทางทิศตะวันตก สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4203 จ.กระบี่ โดยที่บริเวณ กม.4+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 8,933 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 2.91 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 6.01 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4204 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด ทางแยกจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4034 ตัดไปทางทิศใต้ สิ้นสุดหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ (สุสานหอย) จ.กระบี่ โดยที่บริเวณ กม.3+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 5,404 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็น ร้อยละ 4.98 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 4.77 ต่อปี กรมทางหลวงชนบท 2-58 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ • ทางหลวงหมายเลข 4206 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด สามแยกถนน เพชรเกษม ตัดไปทางทิศตะวันตก สิ้นสุดที่ท่าเทียบแพขนานยนต์หัวหิน จ.กระบี่ โดยที่บริเวณ กม. 3+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 5,081 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 8.70 มีอัตรา การขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 6.89 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4225 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด ทางแยกจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1052+000 ตัดไปทางทิศเหนือ สิ้นสุดที่จุดตัด ทางแยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4225 จ.กระบี่ โดยที่บริเวณ กม.1+300 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 1,140 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 10.53 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 9.20 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4236 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด ทางแยกจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403 ตัดไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่ โรงเรียนหนองบัว จ.กระบี่ โดยที่บริเวณ กม.1+400 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 2,090 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 14.59 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 4.99 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4252 รองรับการเดินทางตั้ งแต่จ ุด เริ ่มต้นบ้านท่ายาง สิ้นสุด ที่ บ้านยางสองขนาน จ.กระบี่ โดยที่บริเวณ กม.1+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 1,373 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 17.41 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 26.76 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4258 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด สามแยกจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403 บริเวณกิโลเมตรที่ 84+000 ตัดไปทางทิศตะวันตก สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4276 บริ เวณกิ โ ลเมตรที่ 21+000 โดยที ่ บริ เวณ กม.11+000 มี ป ริ ม าณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 397 คันต่อวัน มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 2.98 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4276 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด ทางแยกจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4225 บริเวณกิโลเมตรที่ 32+000 ตัดไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดิ น หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1068+000 จ.กระบี่ โดยที่บริเวณ กม.2+000 มีปริมาณจราจร ในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 188 คันต่อวัน มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 0.13 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4278 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1048+000 ตัดไปทางทิศเหนือ สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4225 บริเวณกิโลเมตรที่ 1048+000 โดยที่บริเวณ กม.2+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 281 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 3.2 มีอัตราการขยายตัวคงตัว • ทางหลวงหมายเลข 4345 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด ทางแยกจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1044+000 ตัดไปทางทิศเหนือ สิ้นสุดที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอ่าวตง จ.กระบี่ โดยที่บริเวณ กม.2+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 1,418 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 13.75 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 18.67 ต่อปี • ทางหลวงหมายเลข 4348 รองรั บ การเดิ น ทางตั ้ ง แต่ จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น จุ ด ตั ด ทางแยกจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1057+000 ตัดไปทางทิศเหนือ สิ้นสุ ดที่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4276 บริเวณกิโลเมตรที่ 17+000 จ.กระบี่ โดยที่บริเวณ กม.1+500 มีปริมาณจราจร ในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 1,155 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 3.29 มีอัตราการลดลงคิดเป็น ร้อยละ 6.12 ต่อปี กรมทางหลวงชนบท 2-59 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (2) โครงข่ายและสภาพการคมนาคมขนส่ง เส้นทางเชื่อมเกาะลันตามีแนวเส้นทางเชื่อมในแนว เหนือ-ใต้ โดยมีจุดเริ่มต้นโครงการบริเวณท่าเรือบ้านหัว หิน (ฝั่งตำบลเกาะกลาง) และจุดสิ้นสุดโครงการบริเวณ ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ซึ่งเป็นการเปิดเส้นทางแนวใหม่ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาการเดินทางจากแผ่นดินไปยังเกาะ ลันตา ทั้งยังจะเป็นการช่วยเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่ขึ้นเพื่อรองรับปริมาณนักท่องเที่ยวและการเดินทาง ที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยในปัจจุบันหากพิจารณาโครงข่ายคมนาคมขนส่งในพื้นที่อิทธิพลจะประกอบด้วย แนวเส้นทางหลัก (รูปที่ 2.5-3) ดังนี้ • ทางหลวงหมายเลข 4206 มีเส้นทางเริ่มตั้งแต่สามแยกห้วยน้ำขาว (0+000) ไปทาง ตะวันตก โดยมีจุดเชื่อมต่อกับโครงข่ายถนนสายต่างๆ อาทิ ถนนเพชรเกษม ทางหลวงชนบท กบ.4023 และถนน สายย่อยอื่นๆ โดยทางหลวงหมายเลข 4206 เป็นถนนทางหลักเพื่อใช้ในการเดินทางสู่เกาะลันตาและมีจุดสิ้นสุด อยู่ที่ท่าเรือบ้านหัวหิน (ตำบลเกาะกลาง) (กม.27+094) มีขนาด 4 ช่องจราจรไป-กลับ รวมระยะทาง 27.094 กิโลเมตร • ทางหลวงชนบท กบ.4245 มีเส้นทางเริ่มต้นที่บ้านศาลาด่านไปทางทิศใต้ โดยมีจุดเชื่อมโยง กับสถานที่ท่องเที่ยวบนเกาะลันตามากมาย อาทิ หาดคลองดาว หาดพระแอะ หาดคลองหิน หาดบากันเตียง หาดคลองจาก โดยทางหลวงชนบท กบ.4245 เป็นถนนหลักเพื่อใช้ในการเดินทางภายในเกาะลันตาใหญ่ และมี จุดสิ้นสุดอยู่ที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา ปัจจุบันมีขนาด 4 ช่องจราจรไป-กลับระยะทาง 26 กิโลเมตร • ทางหลวงชนบท กบ.5036 มีเส้นทางเริ่มต้นที่แยกทางหลวงชนบท กบ.6022 (กม.4+500) ไปทางทิศใต้ เป็นเส้นทางที่ใช้เดินทางบนเกาะลันตาน้อย และมีจุดสิ้นสุดอยู่ที่ท่าเทียบแพหลังสอด ปัจจุบันมีขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ประมาณระยะทาง 3 กิโลเมตร • ทางหลวงชนบท กบ.6019 มีเส้นทางเริ่มต้นที่จุดตัดทางแยกทางหลวงชนทบ กบ.6022 โดยทางหลวงชนบท กบ.4245 เป็นถนนที่ใช้ในการเดินทางภายในเกาะลันตาน้อย ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงการเดินทาง ไปถึงท่าเรือบ้านโล๊ะใหญ่ที่เป็นจุดสิ้นสุดเส้นทาง ปัจจุบันมีขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ระยะทาง 9 กิโลเมตร • ทางหลวงชนบท กบ.6022 มีเส้นทางเริ่มต้นที่ท่าเรือบ้านคลองหมากไปทางทิศตะวันตก โดยมีจุดเชื่อมโยงกับทางหลวงชนบท กบ.5036 โดยทางหลวงชนบท กบ.6022 เป็นถนนหลักเพื่อใช้ในการเดินทาง ภายในเกาะลันตาน้อย และมีจุดสิ้นสุดอยู่ที่บ้านหลังสอด ปัจจุบันมีขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ระยะทาง 8 กิโลเมตร กรมทางหลวงชนบท 2-60 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-3 โครงข่ายคมนาคมขนส่งในพื้นที่โครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-61 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (3) การคมนาคมระหว่างบ้านหัวหิน (ฝั่งตำบลเกาะกลาง)-เกาะลันตาน้อย (รูปที่ 2.5-4) ก) การเดินทางไปยัง เกาะลันตาน้อย-ใหญ่ ปัจจุบันการเดินทางไปเกาะลันตาจะต้องเดิน ทางผ่านทางหลวงหมายเลข 4206 สู่บ้านหัวหิน ซึ่งเป็นจุดลงแพขนานยนต์ไปยังเกาะลันตาน้อย-ใหญ่ โดยจะต้อง ลงแพขนานยนต์ คือ บ้านหัวหิน (ฝั่งตำบลเกาะกลาง)-เกาะลันตาน้อย และข้ามสะพานสิริลันตา ซึ่งเปิดให้ ประชาชนใช้ตั้งแต่วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ไปยังเกาะลันตาใหญ่ จึงจะถึงตัวเมือง ย่านชุมชนและการค้า และชายหาดต่างๆ จนไปสุ ด ถนนที ่ท ้า ยเกาะบริเวณที ่ท ำการอุท ยานแห่ง ชาติ หมู ่ เกาะลั นตา ซึ ่ ง การใช้แพ ขนานยนต์ ใ นการข้ า มจากบ้ า นหั ว หิ น ไปเกาะลั น ตาน้ อ ยในปั จ จุ บ ั น นั ้ น มี ร ะยะทางประมาณ 1 กิ โ ลเมตร แต่เนื่องจากแพขนานยนต์สามารถบรรทุกรถได้ประมาณ 60 คันต่อเที่ยว ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการ ใช้เวลา ในการเดินทาง 1-2 ชั่วโมง ทำให้เกิดรถติดสะสมยาวหลายกิโลเมตร โดยเฉพาะช่ว งฤดูการท่องเที่ยวตั้งแต่เดือน ธันวาคมถึงเดือนพฤษภาคม นอกจากนี้ แพขนานยนต์ดังกล่าวให้บริการเฉพาะช่วงเวลา 06.00-22.00 น. เท่านั้น ความถี่ในการให้บริการส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับปริมาณผู้ใช้บริการเมื่อมีผู้ใช้บริการแพขนานยนต์เต็มแพผู้ให้บริการ แพขนานยนต์จะออกจากท่าทั นที หรือถ้านอกเวลาเร่งด่วน ความถี่ในการให้บริการอยู่ที่ 2 ชั่วโมงต่อหนึ่งลำ กรณีผู้ใช้บริการเกิดกรณีฉุกเฉินกลางคืน มีคนป่วยหรือเกิดเหตุเร่งด่วนที่ต้องการเดินทางไปยังแผ่นดินใหญ่ จะต้อง เหมาแพขนานยนต์เที่ยวละ 2,500 บาท อัตราค่าโดยสารแพขนานยนต์ จะแบ่งออกตามประเภทของพาหนะ ที่ใช้บริการ ซึ่งมีค่าบริการที่แตกต่างกันออกไป แสดงดังตารางที่ 2.5-2 ผลจากการรวบรวมประเด็ นที ่ เกี ่ ยวข้ องกั บการให้ บริ การของแพขนานยนต์ เกาะลั นตา จากสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวเกาะลันตา สรุปได้ดังนี้ ❖ มี ความเสี ่ ย งต่ อผู ้ โ ดยสารที ่ จ ะต้ องไปขึ ้ น เครื ่ องบิ น ไม่ ส ามารถกำหนดเวลาว่ า ต้ อ ง เดินทางล่วงหน้ากี่ชั่วโมง โดยหากไม่รวมเวลาข้ามฟากจากเกาะลันตาไปสนามบินกระบี่ใช้เวลา ประมาณ 1-2 ชั่วโมง หรือกว่านั้น ❖ เวลาที่นักท่องเที่ยวสิ้นเปลืองไปกับการข้ามฟากเป็นอุปสรรคมากสำหรับนักท่องเที่ยว ชาวไทย หรือนักท่องเที่ยวที่มีเวลาน้อย ❖ รถโดยสารที่ต้องล่าช้าจากเรือข้ามฟากเมื่อขึ้นฝั่งต้องขับรถให้เร็วกว่าปกติมาก มีความ เสี่ยงกับการเกิดอุบัติเหตุซึ่งย่อมส่งผลกับภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของจังหวัดกระบี่ ❖ เมื่อหลายปีก่อนเคยเกิดปัญหาเรื่องการล่าช้าในการข้ามฟาก ปีนั้นมีนักท่องเที่ยวลงมา เกาะลันตาเป็นจำนวนมากแต่ผลจากไม่สามารถบริหารเวลาช่วงข้ามฟาก (เคยติด นานสุด 6 ชั่วโมง) ส่งผลให้ จำนวนนักท่องเที่ยวในปีถัดมาลดลงเป็นจำนวนมาก กรมทางหลวงชนบท 2-62 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-4 การเดินทางระหว่างบ้านหัวหิน-เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 2-63 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-2 อัตราค่าโดยสารแพขนานยนต์ท่าเรือหัวหิน (ฝั่งตำบลเกาะกลาง)-ท่าเรือคลองหมาก (ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย) ลำดับ ค่าโดยสาร รายการ ที่ ท่าเรือหัวหิน-ท่าเรือคลองหมาก 1 ข้าราชการในเครื่องแบบ พระภิกษุสามเณร โต๊ะอิหม่าม กอเต็บ บิหลั่น - (ไม่รวมพาหนะ) และนักเรียนแต่งเครื่องแบบทุกประเภท ไม่เก็บค่าโดยสาร 2 ประชาชนภูมิลำเนาอำเภอเกาะลันตา 3 นักท่องเที่ยวชาวไทยและประชาชนทั่วไป 10 นักท่องเที่ยวต่างประเทศ 20 3 รถจักรยาน รถจักรยานยนต์ 5 4 รถจักรยานมีรถพ่วงรถเข็น 20 5 รถยนต์ 4 ล้อ (รถเก๋ง รถจิ๊บ รถกระบะ รถตู้) ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 100 6 รถบัส 6 ล้อ ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 400 รถบัสขนาดใหญ่ 8 ล้อขึ้นไป ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 600 7 รถบรรทุก 4 ล้อ ไม่บรรทุกสิ่งของ ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 150 8 รถบรรทุก 4 ล้อ บรรทุกสิ่งของ น้ำหนักรวมรถไม่เกินที่กฎหมายกำหนด 200 ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 9 รถบรรทุก 4 ล้อใหญ่ และรถบรรทุก 6 ล้อเล็ก ไม่บรรทุกสิ่งของ ไม่รวมคนโดยสาร 250 ยกเว้นคนขับ 10 รถบรรทุก 4 ล้อใหญ่ และรถ 6 ล้อเล็ก บรรทุกน้ำหนักรวมไม่เกินน้ำหนัก 300 ที่กฎหมายกำหนด ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 11 รถบรรทุก 6 ล้อใหญ่ ไม่บรรทุกสิ่งของ ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 350 12 รถบรรทุก 6 ล้อใหญ่ บรรทุกน้ำหนักรวมรถไม่เกินน้ำหนักที่กฎหมายกำหนด 400 ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 13 รถบรรทุก 10 ล้อ ไม่บรรทุกสิ่งของ ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 450 14 รถบรรทุก 10 ล้อ บรรทุกสิ่งของน้ำหนักรวมรถ ไม่เกินน้ำหนักที่กฎหมายกำหนด 650 ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 15 รถบรรทุก 10 ล้อ บรรทุกปูนผง รถผสมปูน ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 1,100 16 รถบรรทุก 10 ล้อ บรรทุกสิ่งของ มีความยาวแนวท้ายรถออกไปไม่เกิน 1 เมตร คิดเพิ่มเมตรละ ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 10 บาท 17 รถบรรทุก 10 ล้อพ่วง ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 1,000 18 รถบรรทุก 10 ล้อ บรรทุกน้ำมันเชื้อเพลิง ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 1,100 ที่มา : บริษัท ส่งเสริม ทรานเซอร์วิส จำกัด, พฤษภาคม 2563 กรมทางหลวงชนบท 2-64 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ข) สถิติจำนวนรถที่เดินทางจากตำบลเกาะกลางไปยังเกาะลันตาน้อย อ้างอิงข้อมูล กรมเจ้าท่า ปี พ.ศ. 2561 - 2562 มีแนวโน้มการใช้บริการที่ลดลง ทั้งจำนวนเที่ยวข้ามฟาก โดยปริมาณผู้โดยสารข้ามฟาก อยู่ในช่วง 481,920-555,264 คน/ปี แสดงดังตารางที่ 2.5-3 และจากข้อมูลการสำรวจปริมาณจราจรข้ามฟาก บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการบน ทล.4206 ระหว่างท่าเรือบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลางกับท่าเรือบ้านคลองหมาก ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา ปี พ.ศ. 2563 ผลการสำรวจปริมาณจราจรไป-กลับเกาะลันตาน้อย ในวัน ศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 (วันทำงาน) มีจำนวนเที่ยวแพขนานยนต์ 70 เที่ยว ผลสำรวจปริมาณจราจรไป -กลับ เกาะลันตาน้อยวันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563 (วันหยุดสุดสัปดาห์) จำนวนเที่ยวแพขนานยนต์ 82 เที่ยว บรรทุก รถยนต์ประเภทต่างๆ แสดงดังตารางที่ 2.5-4 ตารางที่ 2.5-3 สถิติการจราจรทางน้ำ ปริมาณจราจรการเดินทางไปยังเกาะลันตาน้อย ระหว่างปี 2561-2562 รายละเอียด พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 เรือเฟอรี่ ท่าเรือบ้านหัวหิน- จำนวน 3 ลำ เป็นเรือเฟอรี่ขนาดเล็ก จำนวน 3 ลำ เป็นเรือเฟอรี่ขนาดเล็ก ท่าเรือบ้านคลองหมาก จำนวนเที่ยวการข้ามฟาก รวม 34,560 เที่ยว/ปี รวม 29,700 เที่ยว/ปี (เฉลี่ย 96 เที่ยวต่อวัน) (เฉลี่ย 82 เที่ยวต่อวัน) จำนวนผู้โดยสารข้ามฟาก รวม 555,264 คน/ปี รวม 481,920 คน/ปี (เฉลี่ย 1,542 คน/วัน) (เฉลี่ย 1,340 คน/วัน) ที่มา : รายงานการสำรวจข้อมูลเรือโดยสาร/ท่องเที่ยวปีงบประมาณ, กรมเจ้าท่า, 2562 และ 2563 หมายเหตุ : ไม่มีการบันทึกข้อมูลสถิติ จำนวน-ประเภท รถยนต์ที่ใช้บริการ กรมทางหลวงชนบท 2-65 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-4 ปริมาณจราจรฝั่งตำบลเกาะกลาง-ฝั่งเกาะลันตาน้อย (วันที่ 31 กรกฎาคม - 1 สิงหาคม 2563) รถจักรยาน รถยนต์ รถยนต์ ยนต์ ปริ มาณ ปริ มาณ นัง ่ ส่วน นัง ่ ส่วน รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก สัดส่วนรถ ทางหลวง วันที่ ทาการสารวจ ทิ ศทาง และ จราจรรวม จราจรรวม บุคคล บุคคล ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่ งพวง ขนาดใหญ่ สามล้อ (คัน/วัน) (PCU/วัน) ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน เครื่ อง กระบี- ่ เกาะลันตา 912 772 185 23 2 0 574 13 12 2 2 2,497 1% 2,076 วั นศุกร์ที่ 31 ก.ค. 2563 เกาะลันตา-กระบี่ 1,214 918 191 32 1 1 586 11 11 4 1 2,970 1% 2,397 MB-01 รวม 2,126 1,690 376 55 3 1 1,160 24 23 6 3 5,467 1% 4,473 ทางหลวงหมายเลข 4206 กระบี- ่ เกาะลันตา 949 819 225 59 0 1 616 48 7 8 2 2,734 2% 2,336 วั นเสาร์ที่ 1 ส.ค. 2563 เกาะลันตา-กระบี่ 1,328 772 180 68 1 1 591 44 7 10 2 3,004 2% 2,417 รวม 2,277 1,591 405 127 1 2 1,207 92 14 18 4 5,738 2% 4,753 ที่มา : ที่ปรึกษา, 2563 กรมทางหลวงชนบท 2-66 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2) งานสำรวจข้อมูลด้านจราจร การสำรวจและจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ด้ า นการจราจร รวมทั ้ ง ศึ ก ษารายละเอี ย ดเกี ่ ย วกั บ การจราจร บนถนนหรือทางหลวงที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนศึกษาสภาพแวดล้อมอื่นๆ อันเนื่องมาจากแผนการพัฒนาด้านต่างๆ ที ่ ม ี ผ ลกระทบต่ อปริม าณจราจรเพื ่อนำไปเป็ นข้ อมู ลในการคาดการณ์ ปริ มาณการจราจรและการวิ เคราะห์ ระดั บ การให้ บริการของโครงการ บริ เวณทางแยก และบริเวณใกล้เคี ยง รวมถึ ง ส่ วนต่อเ นื ่องในปี ที่กำหนด เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบถนนและเส้นทางเชื่อมต่อโครงการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) การสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน (Mid-Block Classified Counts) การสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน โดยแยกประเภทยานพาหนะและทิศทางการเดินทาง เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับแก้แบบจำลองจราจรและขนส่งให้เป็นปัจจุบัน ทั้งนี้ ตำแหน่งที่ดำเนินการสำรวจ ปริมาณจราจรบนช่วงถนนมีทั้งสิ้น 7 จุด บริเวณพื้นที่โดยรอบโครงการ แสดงดังรูปที่ 2.5-5 สำหรับการสำรวจ ข้อมูลปริมาณจราจรบนช่วงถนน ได้ทำการสำรวจในแต่ละจุดเป็นเวลา 2 วัน ซึ่งจัดเก็บ ข้อมูลในวันที่ต่างกันตาม ความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ โดยทำการแจงนับปริมาณจราจรทุกๆ 15 นาที ตลอดระยะเวลา 24 ชั่วโมง จำนวน 1 จุด คือ MB-01 ตั้งแต่เวลา 07.00 น. จนถึง 07.00 น. ของวันถัดไป ตลอดระยะเวลา 12 ชั่วโมง จำนวน 6 จุด ตั้งแต่เวลา 07.00 น. ถึง 19.00 น. (2) การสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (Turning Movement Counts) การสำรวจปริมาณการจราจรบนทางแยก จะทำให้ทราบถึงสัดส่วนการเดินทางในทิศทางต่างๆ ที่เกิดขึ้น ณ ทางแยกนั้นๆ ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการจัดการจราจรบริเวณทางแยก สำหรับ การสำรวจนี้ได้ทำการนับปริมาณจราจรโดยแยกทิศทางของรถที่วิ่งผ่านในแต่ละทิศทาง (Approach) ของทางแยก โดยการแจงนับปริมาณจราจรทุกๆ 15 นาที เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 07. 00 น. ถึง 19.00 น. ซึ่งตำแหน่ง ของการสำรวจมีทั้งสิ้น 2 จุด ที่ตำแหน่ง TMC-01 และ TMC-02 โดยทำการสำรวจในวันเดียวกันกับการสำรวจ ปริมาณจราจรบนช่วงถนน ( Mid-Block Classified Counts) โดยได้ทำการสำรวจในแต่ละจุดเป็นเวลา 2 ครั้ง ซึ่งจัดเก็บข้อมูลในวันที่ต่างกันตามความเหมาะสม (3) การสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทางของการเดินทาง (Origin-Destination Survey) การสำรวจนี้ได้ดำเนินการสัมภาษณ์ผู้เดินทาง โดยวิธีการสัมภาษณ์ริมทางบนถนนทั้ง 2 ทิศทาง ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจจะครอบคลุมการเดินทางโดยยวดยานส่วนบุคคล รถขนส่งสินค้า และการเดินทาง ท่องเที่ยว โดยคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์จะประกอบด้วย ประเด็นต่างๆ ได้แก่ จุดต้นทางและจุดปลายทาง ของการเดินทาง วัตถุประสงค์ของการเดินทาง ประเภทของยวดยานที่ใช้ในการเดินทาง ระดับรายได้ จำนวนที่นั่ง และผู้โดยสาร น้ำหนักบรรทุก (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) และประเภทสินค้า (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้ า ) โดยวัตถุประสงค์ของการสำรวจนี้เพื่อให้ทราบถึงพฤติกรรมของการเดินทางต่างๆ ในพื้นที่ศึกษาโครงการ รวมทั้ง เพื่อให้ทราบถึงปริมาณการจราจรภายในพื้นที่ศึกษา การจราจรผ่านพื้นที่ศึกษา และการจราจรเข้าสู่หรือออกจาก พื้นที่ศึกษา เพื่อใช้ เป็นข้ อมูลพื้นฐานในการพัฒนาแบบจำลองความต้ องการเดินทาง สำหรับ ตำแหน่งที ่ จ ะ ดำเนินการสัมภาษณ์จุดต้นทางและจุดปลายทางการเดินทางมีทั้งสิ้น 5 จุด บริเวณพื้นที่โดยรอบโครงการ โดยจะ ทำการสัมภาษณ์เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 07.00 น. ถึง 19.00 น. ในวันเดียวกันกับการสำรวจปริมาณ จราจรบนช่วงถนน (Mid-Block Classified Counts) ทั้งนี้ ได้กำหนดจำนวนตัวอย่างที่ต้องการสำรวจจุดต้นทาง และปลายทางการเดินทาง โดยวิธีสัมภาษณ์ข้อมูลข้างทางซึ่งพิจารณาจากสมการ ดังต่อไปนี้ กรมทางหลวงชนบท 2-67 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-5 ตำแหน่งสำรวจปริมาณจราจรในบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-68 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ n = NZ 2pq Nd2 + Z2pq เมื่อ d = ค่าคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ Z = ค่า Z จากตารางการแจกแจงแบบปกติที่ระดับความเชื่อมั่นที่กำหนด p = สัดส่วนของสิ่งที่สนใจ (ในที่นี้ให้ p = 0.5 จะทำให้ได้ค่า n ที่ใหญ่ที่สุด) q = 1-p N = ปริมาณจราจร (ที่มา : มัลลิกา บุนนาค “สถิติเพื่อการตัดสินใจ” ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และ การบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2536) (4) การสำรวจเวลาในการเดินทางบนโครงข่าย (Travel Time Survey) มี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เพื ่ อใช้เป็น ข้อมู ลในการปรั บ Speed Flow Curve ในแบบจำลองแจกแจง การเดิ น ทาง ( Traffic Assignment) ให้ ม ี ความเหมาะสมกั บ ลั กษณะพฤติ กรรมของผู ้ ขั บ ขี ่ รถยนต์ ลั กษณะ ทางกายภาพของถนน และลักษณะเฉพาะของสภาพการจราจรในพื้นที่โครงการ รวมทั้งเป็นข้อมูลประกอบในการ ปรับแก้แบบจำลองจราจรและขนส่งให้เป็นปัจจุบัน ทั้งนี้ ได้สำรวจความเร็วในช่วงเวลาชั่วโมงเร่งด่วนเช้า ชั่วโมง เร่งด่วนเย็น และนอกชั่วโมงเร่งด่วน โดยใช้รถทดสอบสำรวจความเร็วแบบ Average Car Technique หรือ การขับรถด้วยความเร็วเฉลี่ย โดยไม่คำนึงถึงจำนวนรถที่แซงและถูกแซง ซึ่งได้ดำเนินการสำรวจในวันเดียวกัน กับการสำรวจบนช่วงถนน ( Mid-Block Classified Counts) โดยได้ทำการสำรวจใน 3 ช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงเวลา เร่งด่วนเช้า 07.00 น. ถึง 09.00 น. ช่วงนอกเวลาเร่งด่วน 11.30 น. ถึง 14.30 น. และช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น 16.00 น. ถึง 19.00 น. ทั้งนี้ อาจพิจารณาประยุกต์ใช้อุปกรณ์ GPS (Global Positioning System) สำหรับติดรถยนต์ ในการบันทึกความเร็วในการเดินทาง (5) การสำรวจโครงข่าย การสำรวจนี้เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโครงข่ายถนนต่างๆ ทั้งโครงข่ายถนน ทางหลวงและถนนสายสำคัญในเขตพื้นที่ศึกษาโครงการ เพื่อเก็บข้อมูลสภาพปัจจุบันและปรับปรุงข้อมูลของ โครงข่ายที่ได้รวบรวมมาจากแหล่งต่างๆ ในเรื่องลักษณะทางกายภาพของโครงข่ายถนน เช่น จำนวนช่องจราจร ความยาว ผิวจราจร ลักษณะทางแยก เป็นต้น 3) ผลการสำรวจด้านจราจร การสำรวจและจัดเก็บข้อมูลปริมาณจราจรในพื้นที่ศึกษาครอบคลุมพื้นที่อำเภอเกาะลันตา จังหวัด กระบี่ (รูปที่ 2.5-6 ถึงรูปที่ 2.5-19) ในระหว่างวันที่ 31 กรกฎาคม 2563 ถึงวันที่ 4 สิงหาคม 2563 โดยผลจาก การสำรวจฯ มีรายละเอียด ดังนี้ (1) ผลการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน (Mid-Block Classified Counts) การสำรวจปริ มาณจราจรบนช่ ว งถนน ( Mid- Block Classified Counts) มี ต ำแหน่ ง สำรวจ จำนวนทั้งสิ้น 7 จุด ที่ตำแหน่ง MB-01, MB-02, MB-03, MB-04, MB-05, MB-06 และ MB-07 ซึ่งได้ดำเนินการ สำรวจ 2 วันที่แตกต่างกัน (วันทำงาน : วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 และวันหยุด : วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563) โดยจุดสำรวจดังกล่าวได้แบ่งระยะเวลาสำรวจออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ 1. การสำรวจระยะเวลา 12 ชั่วโมง (07.00- 19.00 น.) จำนวน 6 จุด ( MB-02, MB-03, MB-04, MB05, MB-06 และ MB-07) และ 2. การสำรวจระยะเวลา 24 ชั่วโมง (07.00-07.00 น. วันถัดไป) จำนวน 1 จุด (MB-01) กรมทางหลวงชนบท 2-69 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-6 ลักษณะกายภาพของถนนบริเวณทางแยก ทล.4 ตัด ทล.4206 ต.ห้วยน้ำขาว อ.คลองท่อม จ.กระบี่ รูปที่ 2.5-7 ลักษณะกายภาพของถนน ทล.4206 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ รูปที่ 2.5-8 ลักษณะกายภาพของถนน ทช.กบ.6019 ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ กรมทางหลวงชนบท 2-70 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-9 ลักษณะกายภาพของถนน ทช.กบ.6022 ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ รูปที่ 2.5-10 ลักษณะกายภาพของถนน ทช.กบ.5035 ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ รูปที่ 2.5-11 ลักษณะกายภาพของถนน ทช.กบ.5036 ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ รูปที่ 2.5-12 ลักษณะกายภาพของถนน ทช.กบ.4245 ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ กรมทางหลวงชนบท 2-71 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-13 ลักษณะกายภาพของถนนสายศาลาด่าน-บ้านสังกาอู้ (อยู่ในระหว่างการปรับปรุงฯ) ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ ทั้งนี้ สำหรับจุดสำรวจ MB-06 ไม่มีการสำรวจข้อมูล เนื่องจากมีปริมาณจราจรที่เบาบางมาก ส่งผลให้ไม่มีการเก็บข้อมูลที่จุดสำรวจดังกล่าว รูปที่ 2.5-14 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทล.4206 (MB-01) และการสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทาง (OD-01) กรมทางหลวงชนบท 2-72 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-15 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.6022 (MB-02) และการสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทาง (OD-02) รูปที่ 2.5-16 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.4245 (MB-03) และการสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทาง (OD-03) กรมทางหลวงชนบท 2-73 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-17 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนนสายศาลาด่าน-บ้านสังกาอู้ (MB-04) และการสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทาง (OD-04) รูปที่ 2.5-18 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.6019 (MB-05) รูปที่ 2.5-19 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.5035 (MB-07) กรมทางหลวงชนบท 2-74 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ผลการสำรวจมีรายละเอียด (ตารางที่ 2.5-5) ดังนี้ - จุ ด สำรวจ MB- 01 บนถนนทางหลวงหมายเลข 4206 มี จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น ที ่ จ ุ ด ตั ด สามแยก ถนนเพชรเกษม ตัดไปทางทิศตะวันตกสิ้นสุดที่ท่าเทียบแพขนานยนต์ มีขนาด 2 ช่องจราจรไปและกลับ (ไม่มี เกาะกลาง) ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 4 ,473 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 1) และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 4,753 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 2) (รูปที่ 2.5-20) - จุดสำรวจ MB-02 บนถนนทางหลวงชนบทหมายเลข กบ.6022 มีเส้นทางเริ่มต้นที่ท่าเรือ บ้านคลองหมากไปทางทิศตะวันตก มีจุดสิ้นสุดอยู่ที่บ้านหลังสอด โดยถนนทางหลวงชนบท กบ.6022 เป็นถนน หลักเพื่อใช้ในการเดินทางภายในเกาะลันตาน้อย ปัจจุบันมีขนาด 2 ช่องจราจรไปและกลับ (ไม่มีเกาะกลาง) ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 3,118 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 3) และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 3,557 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 3) (รูปที่ 2.5-21) - จุดสำรวจ MB-03 บนถนนทางหลวงชนบทหมายเลข กบ.4245 มีเส้นทางเริ่มต้นที่บ้าน ศาลาด่านไปทางทิศใต้ โดยเป็นถนนหลักเพื่อใช้ในการเดินทางภายในเกาะลันตาใหญ่ มีขนาด 4 ช่องจราจรไป และกลับ (ไม่มีเกาะกลาง) ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจร เฉลี่ย 4,962 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 1) และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณ จราจรเฉลี่ย 6,590 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 1) (รูปที่ 2.5-22) - จุดสำรวจ MB-04 บนถนนสายศาลาด่าน-บ้านสังกาอู้ มีเส้นทางเริ่มต้นที่จุดตัดทางแยก ทางหลวงชนบท กบ.4245 ไปทางทิศตะวันออก ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 1 ,978 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 2) และสำหรับปริมาณจราจรในช่วง วันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 2,123 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 3) (รูปที่ 2.5-23) - จุดสำรวจ MB-05 บนถนนทางหลวงชนบทหมายเลข กบ.6019 มีเส้นทางเริ่มต้นที่จุดตัด ทางแยกทางหลวงชนบท กบ.6022 สิ้นสุดที่ท่าเรือโล๊ะใหญ่ โดยเป็นถนนหลักที่ใช้เดินทางภายในเกาะลันตาน้อย มีขนาด 2 ช่องจราจรไปและกลับ (ไม่มีเกาะกลาง) ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 1,227 PCU/วัน และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจร เฉลี่ย 1,331 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 1) (รูปที่ 2.5-24) - จุดสำรวจ MB-07 บนถนนทางหลวงชนบทหมายเลข กบ.5035 มีเส้นทางเริ่มต้นที่จุดตัด ทางแยกทางหลวงชนบท กบ.6019 ไปทางทิศตะวันออก ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 359 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 1) และสำหรับปริมาณจราจร ในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 404 PCU/วัน (รูปที่ 2.5-25) กรมทางหลวงชนบท 2-75 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-20 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทล.4206 (MB-01) รูปที่ 2.5-21 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.6022 (MB-02) กรมทางหลวงชนบท 2-76 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-22 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.4245 (MB-03) รูปที่ 2.5-23 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนนสายศาลาด่าน-บ้านสังกาอู้ (MB-04) กรมทางหลวงชนบท 2-77 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-24 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.6019 (MB-05) รูปที่ 2.5-25 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทช.กบ.5035 (MB-07) กรมทางหลวงชนบท 2-78 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-5 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ณ จุดสำรวจ รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก วันที่ รถจักรยานยนต์ รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร รถบรรทุก รถบรรทุก รวม สัดส่วน รวม ทางหลวง ทิศทาง ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ทำการสำรวจ รถสามล้อ ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง คัน/วัน รถขนาดใหญ่ PCU/วัน 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ กระบี่-เกาะลันตา 912 772 185 23 2 0 574 13 12 2 2 2,497 1% 2,076 วันศุกร์ที่ MB-01 เกาะลันตา-กระบี่ 1,214 918 191 32 1 1 586 11 11 4 1 2,970 1% 2,397 ทางหลวง 31 ก.ค. 2563 รวม 2,126 1,690 376 55 3 1 1160 24 23 6 3 5467 1% 4,473 หมายเลข กระบี่-เกาะลันตา 949 819 225 59 0 1 616 48 7 8 2 2,734 2% 2,336 4206 วันเสาร์ที่ เกาะลันตา-กระบี่ 1,328 772 180 68 1 1 591 44 7 10 2 3,004 2% 2,417 1 ส.ค. 2563 รวม 2,277 1,591 405 127 1 2 1,207 92 14 18 4 5,738 2% 4,753 ท่าเรือคลองหมาก- 792 478 171 2 0 0 366 46 13 0 0 1,868 3% 1,531 บ้านศาลาด่าน วันศุกร์ที่ บ้านศาลาด่าน-ท่าเรือ 791 563 141 3 0 0 402 28 13 0 0 1,941 2% 1,587 31 ก.ค. 2563 MB-02 คลองหมาก ทางหลวง รวม 1,583 1,041 312 5 0 0 768 74 26 0 0 3,809 3% 3,118 ชนบท ท่าเรือคลองหมาก- 908 624 213 3 0 0 462 64 7 0 0 2,281 3% 1,898 กบ.6022 บ้านศาลาด่าน วันเสาร์ที่ บ้านศาลาด่าน-ท่าเรือ 911 481 176 18 0 0 400 55 9 0 0 2,050 6% 1,659 1 ส.ค. 2563 คลองหมาก รวม 1,819 1,105 389 21 0 0 862 119 16 0 0 4,331 3% 3,557 บ้านศาลาด่าน-อุทยาน 791 563 141 3 0 0 402 28 13 0 0 1,941 2% 1,587 หมู่เกาะลันตา วันศุกร์ที่ อุทยานหมู่เกาะลันตา- 2,647 984 297 65 0 0 657 19 5 0 0 4,674 1% 3,375 31 ก.ค. 2563 MB-03 บ้านศาลาด่าน ทางหลวง รวม 3,438 1,547 438 68 0 0 1,059 47 18 0 0 6,615 1% 4,962 ชนบท บ้านศาลาด่าน-อุทยาน 2,407 859 334 52 0 0 713 36 13 0 0 4,414 1% 3,260 กบ.4245 หมู่เกาะลันตา วันเสาร์ที่ อุทยานหมู่เกาะลันตา- 2,422 1,002 272 43 0 0 666 44 24 0 0 4,473 2% 3,330 1 ส.ค. 2563 บ้านศาลาด่าน รวม 4,829 1,861 606 95 0 0 1,379 80 37 0 0 8,887 1% 6,590 กรมทางหลวงชนบท 2-79 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-5 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ณ จุดสำรวจ (ต่อ) รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก สัดส่วน วันที่ รถจักรยานยนต์ รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร รถบรรทุก รถบรรทุก รวม รวม ทางหลวง ทิศทาง ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รถขนาด ทำการสำรวจ รถสามล้อ ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง คัน/วัน PCU/วัน 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ ใหญ่ บ้านศาลาด่าน-บ้านสังกาอู้ 906 197 42 20 4 0 230 13 12 0 0 1,424 2% 1,000 วันศุกร์ที่ MB-04 บ้านสังกาอู้-บ้านศาลาด่าน 826 224 46 23 0 0 230 12 9 0 0 1,370 2% 978 ถนนสาย 31 ก.ค. 2563 รวม 1,732 421 88 43 4 0 460 25 21 0 0 2,794 2% 1,978 ศาลาด่าน- บ้านศาลาด่าน-บ้านสังกาอู้ 912 218 56 13 0 0 250 22 19 0 0 1,490 3% 1,075 บ้านสังกาอู้ วันเสาร์ที่ บ้านสังกาอู้-บ้านศาลาด่าน 862 219 46 21 0 0 255 25 13 0 0 1,441 3% 1,048 1 ส.ค. 2563 รวม 1,774 437 102 34 0 0 505 47 32 0 0 2,931 3% 2,123 บ้านคลองหมาก- 463 206 25 1 0 0 174 2 0 0 0 871 - 642 บ้านโล๊ะใหญ่ วันศุกร์ที่ บ้านโล๊ะใหญ่- 388 129 25 1 0 0 232 2 0 0 0 777 - 585 31 ก.ค. 2563 บ้านคลองหมาก MB-05 รวม 851 335 50 2 0 0 406 4 0 0 0 1,648 - 1,227 ทางหลวงชนบท บ้านคลองหมาก- 560 142 18 0 0 0 181 3 1 0 0 905 - 629 กบ.6019 บ้านโล๊ะใหญ่ วันเสาร์ที่ บ้านโล๊ะใหญ่- 575 130 27 0 0 0 247 5 0 0 0 984 1% 702 1 ส.ค. 2563 บ้านคลองหมาก รวม 1,135 272 45 0 0 0 428 8 1 0 0 1,889 1% 1,331 บ้านคลองหมาก-แหลมงู 184 28 5 0 1 0 49 1 0 0 0 268 1% 178 วันศุกร์ที่ แหลมงู-บ้านคลองหมาก 181 31 4 4 0 0 47 2 0 0 0 269 1% 181 MB-07 31 ก.ค. 2563 รวม 365 59 9 4 1 0 96 3 0 0 0 537 1% 359 ทางหลวงชนบท บ้านคลองหมาก-แหลมงู 230 20 7 0 0 0 47 1 0 0 0 305 - 191 กบ.5035 วันเสาร์ที่ แหลมงู-บ้านคลองหมาก 248 25 11 0 0 0 53 0 0 0 0 337 - 213 1 ส.ค. 2563 รวม 478 45 18 0 0 0 100 1 0 0 0 642 - 404 ที่มา : ประมวลโดยที่ปรึกษา หมายเหตุ : ปริมาณจราจรที่สำรวจ 2 วันแตกต่างกัน (วันธรรมดาและวันหยุด) โดย MB-01 เป็นการสำรวจระยะเวลา 24 ชั่วโมง (07.00-07.00 น.) กรมทางหลวงชนบท 2-80 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (2) การสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (Turning Movement Counts) สำหรับการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก ( Turning Movement Counts) มีตำแหน่ง สำรวจจำนวนทั้งสิ้น 2 จุด ที่ตำแหน่ง TMC-01 และ TMC-02 ซึ่งการสำรวจมี 2 วันที่แตกต่างกัน (วันทำงาน : วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 และวันหยุด : วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563) และระยะเวลาการสำรวจ 12 ชั่วโมง (07.00-19.00 น.) จำนวน 2 วัน เช่นเดียวกันกับการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน (รูปที่ 2.5-26 และรูปที่ 2.5-27) รูปที่ 2.5-26 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก บริเวณสามแยกห้วยน้ำขาว (TMC-01) ถนน ทล.4206 ตัดถนน ทล.4 รูปที่ 2.5-27 บรรยากาศการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก บริเวณถนน ทช.กบ.6022 ตัดถนน ทช.กบ.6019 (TMC-02) กรมทางหลวงชนบท 2-81 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ - จุดสำรวจ TMC-01 บริเวณสามแยกห้ วยน้ำขาว จากผลการสำรวจปริมาณจราจร บนทางแยก (TMC-01) ระยะเวลา 12 ชั่วโมง (07.00-19.00 น.) พบว่า ในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) มีปริมาณ จราจรเฉลี่ย 17,693 PCU/วัน และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 16,832 PCU/วัน (รูปที่ 2.5-28 ถึงรูปที่ 2.5-30) รูปที่ 2.5-28 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 (วันทำงาน) เวลา 07.00-19.00 น. รูปที่ 2.5-29 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563 (วันหยุด) เวลา 07.00-19.00 น. กรมทางหลวงชนบท 2-82 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-30 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) ระหว่างวันทำงานและวันหยุด - จุดสำรวจ TMC-02 บริเวณทางหลวงชนบท กบ.6022 ตัดทางหลวงชนบท กบ.6019 จากผลการสำรวจปริมาณจราจรบนทางแยก ( TMC-02) ระยะเวลา 12 ชั่วโมง (07.00-19.00 น.) พบว่า ในช่วง วันทำงาน (วันศุกร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 3 ,458 PCU/วัน และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 3,979 PCU/วัน (รูปที่ 2.5-31 ถึงรูปที่ 2.5-33) รูปที่ 2.5-31 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 (วันทำงาน) เวลา 07.00-19.00 น. กรมทางหลวงชนบท 2-83 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-32 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563 (วันหยุด) เวลา 07.00-19.00 น. รูปที่ 2.5-33 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) ระหว่างวันทำงานและวันหยุด กรมทางหลวงชนบท 2-84 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (3) ผลการสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทางของการเดินทาง (Origin-Destination Survey) การสำรวจนี้ได้ดำเนินการสัมภาษณ์ผู้เดินทางโดยวิธีการสัมภาษณ์ริมทางบนถนนทั้ง 2 ทิศทาง มี 4 จุดสำรวจ ประกอบด้วย 1) บนถนนทางหลวงหมายเลข 4206 ( OD-01) จำนวน 888 ตัวอย่าง 2) บนถนน ทางหลวงชนบท กบ.5036 ( OD-02) จำนวน 504 ตัวอย่าง 3) บนถนนทางหลวงชนบท กบ.4245 ( OD-03) จำนวน 618 ตัวอย่าง และ 4) บนถนนทางหลวงชนบท กบ.4245 ( OD-04) จำนวน 396 ตัวอย่าง รวม 4 จุด สำรวจ จำนวน 2 ,406 ตัวอย่าง ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจจะครอบคลุมการเดินทางโดยยวดยานส่วนบุคคล รถขนส่งสินค้าและการเดินทางท่องเที่ยว - ประเภทยานพาหนะที่ทำการสำรวจจุดต้นทาง-ปลายทาง สำหรับประเภทของยวดยาน ที่ใช้ในการเดินทางที่สุ่มสำรวจฯ ซึ่งจากผลการสำรวจ พบว่ า ร้อยละ 43 เป็นรถยนต์ส่วนบุคคล รองลงมา คือ ร้อยละ 33 เป็นรถจักรยานยนต์ และร้อยละ 15 เป็นรถบรรทุกขนาดเล็ก 4 ล้อ ส่วนรถโดยสารขนาด 4 ล้อ รถบรรทุกขนาด 6 ล้อ และ 10 ล้อ คิดเป็นร้อยละ 4 ร้อยละ 3 และร้อยละ 2 ตามลำดับ (รูปที่ 2.5-34) - วัตถุประสงค์การเดินทาง สำหรับวัตถุประสงค์ของการเดินทาง พบว่า ผู้เดินทางส่วนใหญ่ (ร้อยละ 46) เดินทางเพื่อไปทำงาน รองลงมา คือ การเดินทางไปทำธุระส่วนตัว (ร้อยละ 43) และการเดินทาง เพื่อการท่องเที่ยว และอื่นๆ ร้อยละ 10 และร้อยละ 1 ตามลำดับ (รูปที่ 2.5-35) - รายได้ผู้เดินทาง สำหรับผลการสำรวจระดับรายได้ของผู้ตอบแบบสำรวจ พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 21 มีระดับรายได้ประมาณ 10 ,000-12,500 บาท/เดือน รองลงมา คือ ร้อยละ 18 มีระดับรายได้ ประมาณ 7,500-10,000 บาท/เดือน และร้อยละ 17 มีระดับรายได้ประมาณ 12 ,500-15,000 บาท/เดือน เป็นต้น (รูปที่ 2.5-36) - จำนวนผู้โดยสาร สำหรับผลการสำรวจข้อมูลจำนวนผู้โดยสารบนรถ พบว่า ส่วนใหญ่ เดินทาง 1 คนต่อคัน คิดเป็นร้อยละ 49 และเดินทาง 2 คนต่อคัน และ 3 คนต่อคัน คิดเป็นร้อยละ 33 และ ร้อยละ 9 ตามลำดับ (รูปที่ 2.5-37) - ประเภทสินค้า สำหรับผลการสำรวจประเภทของสิน ค้าบนรถบรรทุก พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 52 ไม่มีสินค้า รองลงมา คือ ร้อยละ 22 เป็นสินค้าอุปกรณ์วัสดุก่อสร้าง และร้อยละ 11 เป็นสินค้าเกษตร และประมง เป็นต้น (รูปที่ 2.5-38) - น้ำหนักบรรทุก สำหรับผลการสำรวจปริมาณสินค้าที่บรรทุก พบว่า ร้อยละ 53 เป็น รถเปล่า/ไม่มีสินค้ า ร้อยละ 19 บรรทุกเต็มคัน และบรรทุก 1/2 คัน บรรทุก 1/4 คัน และ 3/4 คัน คิดเป็น ร้อยละ 15 ร้อยละ 7 และร้อยละ 6 ตามลำดับ (รูปที่ 2.5-39) - จุดต้นทาง-ปลายทางการเดินทาง สำหรับรายละเอียดผลการสำรวจข้อมูลจุดต้นทาง- ปลายทางการเดิ น ทาง (ระดั บ ตำบล) จำนวน 128 พื ้ น ที ่ ย ่ อย ที่ ไ ด้ ด ำเนิ น การรวมข้ อมู ล เป็น ระดั บ อำเภอ จากจำนวนผู้ตอบแบบสำรวจ จำนวน 2,406 ตัวอย่าง ผลการสำรวจฯ พบว่า ปริมาณการเดินทางของกลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ภายในจังหวัดกระบี่ ประมาณ 2,206 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 92 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด) ปริมาณการเดินทางภายในอำเภอเกาะลันตา ประมาณ 1,823 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 76 ของกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด) ส่วนปริมาณการเดินทางระหว่างจังหวัดกระบี่และพื้นที่อื่นๆ ภายนอกประมาณ 200 ตัวอย่าง (คิดเป็น ร้อยละ 8 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด) รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 2.5-6 (4) ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทางบนโครงข่าย การสำรวจความเร็วในการเดินทาง (Travel Speed) บนโครงข่ายถนนโดยใช้รถทดสอบสำรวจ ความเร็วแบบ Average Car Technique หรือการขับรถด้วยความเร็วเฉลี่ย โดยไม่คำนึงถึงจำนวนรถที่แซง และถูกแซง เพื่อให้ได้ความเร็วเฉลี่ยของกระแสจราจรที่ใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริงที่สุด ในการสำรวจได้ใช้ รถยนต์นั่งส่วนบุคคล วิ่งด้วยความเร็วเฉลี่ยในเส้นทางและทิศทางที่กำหนดไว้ ทำการสำรวจใน 3 ช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า ช่วงนอกเวลาเร่งด่วน และช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น รายละเอียดดังแสดงในรูปที่ 2.5-40 ถึงรูปที่ 2.5-42 กรมทางหลวงชนบท 2-85 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-34 ประเภทของยวดยานที่ใช้ในการเดินทาง รูปที่ 2.5-35 วัตถุประสงค์ของการเดินทาง รูปที่ 2.5-36 ระดับรายได้ของผู้ตอบแบบสำรวจ กรมทางหลวงชนบท 2-86 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-37 จำนวนผู้โดยสารบนรถ รูปที่ 2.5-38 ประเภทสินค้า (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) รูปที่ 2.5-39 ปริมาณสินค้าที่บรรทุก (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) กรมทางหลวงชนบท 2-87 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-6 ข้อมูลตารางจุดต้นทางและปลายทางของการเดินทางในพื้นที่ศึกษา กทม. และปริมณฑล อ.ปลายพระยา ภาคตะวันออก จุดต้นทาง-ปลายทาง อ.เหนือคลอง ภาคตะวันตก อ.เกาะลันตา อ.เมืองกระบี่ อ.คลองท่อม รวม ของการเดินทาง อ.เขาพรม ภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคกลาง อ.อ่าวลึก อ.ลำทับ ภาคใต้ อ.เกาะลันตา 1,283 131 42 7 7 180 8 5 - 1 9 3 - 2 183 1,861 อ.คลองท่อม 166 1 - - - 1 - - - - - - - - 2 170 อ.เหนือคลอง 71 - - - - - - - - - - - - - - 71 อ.ลำทับ 9 - - - - - - - - - - - - - - 9 อ.เขาพนม 8 - - - - - - - - - - - - - - 8 อ.เมืองกระบี่ 144 1 - - - - - - - - - - - - - 145 อ.อ่าวลึก 6 - - - - - - - - - - - - - - 6 อ.ปลายพระยา 2 - - - - - - - - - - - - - - 2 ภาคเหนือ 1 - - - - - - - - - - - - - - 1 ภาคกลาง 1 - - - - - - - - - - - - - - 1 กทม. และปริมณฑล 7 - - - - - - - - - - - - - - 7 ภาคตะวันตก - - - - - - - - - - - - - - - - ภาคอีสาน - - - - - - - - - - - - - - - - ภาคตะวันออก 1 - - - - - - - - - - - - - - 1 ภาคใต้ 124 - - - - - - - - - - - - - - 124 รวม 1,823 133 42 7 7 181 8 5 - 1 9 3 - 2 185 2,406 ที่มา : ประมวลโดยที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 2-88 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-40 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า กรมทางหลวงชนบท 2-89 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-41 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงนอกเวลาเร่งด่วน กรมทางหลวงชนบท 2-90 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-42 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น กรมทางหลวงชนบท 2-91 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 4) การคาดการณ์ปริมาณจราจร การคาดการณ์ ป ริ ม าณจราจรในอนาคตเป็ น การวิ เ คราะห์ ส ภาพการจราจรบนโครงข่ า ยถนน ในอนาคต ซึ่งประกอบด้วย โครงข่ายถนนในปัจจุบันและโครงการจากหน่วยงานต่างๆ ที่ได้รับการอนุมัติแล้ว โดยใช้ แ บบจำลองด้ า นการจราจรและขนส่ ง คาดการณ์ ส ภาพการจราจรในอนาคต ทั ้ ง นี ้ เนื ่ อ งจากในปี ที่ ทำการศึกษาสำรวจข้อมูลด้านจราจร (พ.ศ. 2563) สภาพการเดินทางยังไม่เป็นปกตินักเนื่องจากการระบาดของ โควิด-19 ทำให้ปริมาณการเดินทางทั้งนักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างชาติขาดหายไป ดังนั้น การศึกษาจึงจำเป็น ต้องทำการปรับปรุงข้อมูลที่ทำการสำรวจได้โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิมาประกอบการวิเคราะห์ โดยทำการ สัมภาษณ์ผู้ประกอบการที่ให้บริการที่พัก โรงแรมในเกาะลันตาถึงอัตราการเข้าพัก ลักษณะการเดินทาง รูปแบบ การเดินทาง จำนวนวัน จุดต้นทาง -ปลายทางในสภาวะปกติก่อนมีโควิด -19 แล้วนำข้อมูลที่ได้มาเพิ่มเติมจากที่ ทำการสำรวจได้ ดังแสดงแนวทางการจัดทำตารางการเดินทาง ดังแสดงในรูปที่ 2.5-43 และรูปที่ 2.5-44 ทั้งนี้ ในการคาดการณ์จำนวนนักท่องเที่ยวได้นำผลการศึกษาจาก โครงการสำรวจศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว ประเภทเกาะทั่วประเทศเพื่อส่งเสริมพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพของประเทศ โดยได้ทำการ กำหนดขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่หมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มาประกอบการคาดการณ์เพื่อไม่ให้เกินขีดความสามารถในการรับนักท่องเที่ยวได้ ดังแสดงในตารางที่ 2.5-7 ตารางที่ 2.5-7 ข้อเสนอแนะระดับการให้บริการที่ยอมรับได้ตามมาตรฐาน AASHTO Type of Area and Appropriate Level of Service Highway Type Urban and Rural Level Rural Rolling Rural Moutanous Suburban Freeway B B C C Arterial B B C C Collector C C D D Local D D D D ที่มา : AASHTO 2000 การวิเคราะห์ปริมาณจราจร ได้มีการคาดการณ์ปริมาณจราจรสำหรับปริมาณจราจรและระดับ การให้บริการตั้งแต่ปีที่เริ่มเปิดให้บริการและทุกๆ 5 ปี หลังเปิดให้บริการ ประกอบด้วย ปีหลังเปิดให้บริการ 5, 10, 15, 20, 25 และ 30 ปี โดยมีรายละเอียดสรุปการคาดการณ์ปริมาณจราจรและระดับการให้บริการ (Level of Service : LOS) โดยมีรายละเอียดสอดคล้องกับการอธิบายในบทที่ 4 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านคมนาคม ขนส่ง กรมทางหลวงชนบท 2-92 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-43 ระดับการให้บริการบนโครงข่ายถนน กรณี High Season ออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร กรมทางหลวงชนบท 2-93 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-44 ระดับการให้บริการบนโครงข่ายถนน กรณี Low Season ออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร กรมทางหลวงชนบท 2-94 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ การวิเคราะห์สภาพการจราจรของแนวเส้นทางโครงการ วิเคราะห์ได้จากข้อมูลปริมาณจราจร ข้อมูลทางกายภาพของเส้นทาง ทำให้ทราบถึงระดับการให้บริการ (Level of Service : LOS) ซึ่งสามารถนำไปใช้ ในการออกแบบจำนวนช่องจราจรของถนนโครงการ เพื่อให้ได้ค่าระดับการให้บริการของเส้นทางอยู่ในเกณฑ์ ที่เหมาะสม โดยระดับการให้บริการแบ่งออกเป็น 6 ระดับ คือ LOS A กระแสจราจรมีสภาพอิสระ มีความเร็วสูง ปริมาณการจราจรน้อย ผู้ขับขี่สามารถเลือกใช้ ความเร็วได้อิสระ ไม่มีการติดขัด LOS B กระแสจราจรมีสภาพอยู่ตัว ผู้ขับขี่สามารถเลือกใช้ความเร็วได้ตามสมควร LOS C กระแสจราจรอยู่ในสภาพอยู่ตัว ผู้ขับขี่เลือกใช้ความเร็วได้จำกัด การเปลี่ยนช่องทางจราจร และการแซงถูกจำกัดในระดับพอสมควร LOS D กระแสจราจรใกล้สภาพไม่อยู่ตัว ผู้ขับขี่จำเป็นต้องขับรถตามรถคันหน้าไปด้วย ความเร็วต่ำ LOS E กระแสจราจรมีสภาพไม่อยู่ตัว ผู้ขับขี่ไม่สามารถใช้ความเร็วตามต้องการ เพราะการจราจร เริ่มมีการติดขัด LOS F กระแสจราจรมีสภาพถูกบีบ ผู้ขับขี่ต้องใช้ความเร็วต่ำมาก เพราะการจราจรมีการติดขัด เป็นแถวยาว เคลื่อนตัวได้ช้า สำหรับเกณฑ์ค่าระดับบริการที่เสนอแนะตามมาตรฐานของ AASHTO สำหรับถนน ได้เสนอแนะ ค่าระดับการให้บริการที่ยอมรับได้สำหรับการออกแบบถนนที่ปีสุดท้ายของการวิเคราะห์ไว้ที่ระดับบริการ D กรณีศึกษาที่ 1 (แผนเร่งรัดการดำเนินโครงการ) การศึกษาได้ทำการวิเคราะห์ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ โดยได้แบ่งการวิเคราะห์ ออกเป็นกรณีออกแบบเป็นทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจร และกรณีออกแบบเป็นทางหลวงขนาด 4 ช่องจราจร ผลการวิเคราะห์แสดงใน ตารางที่ 2.5-8 และตารางที่ 2.5-9 ตามลำดับ พบว่า หากทำการออกแบบจำนวน ช่องจราจรเป็นขนาด 2 ช่องจราจร ยังสามารถรองรับปริมาณจราจรในปีอนาคตได้ โดยในปี พ.ศ. 2598 มีระดับ การให้บริการในช่วง D ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ AASHTO แนะนำ สำหรับการออกแบบกรณีที่ออกแบบเป็น 4 ช่องจราจร ระดับการให้บริการอยู่ที่ระดั บ A ดังนั้น จึงแนะนำให้ออกแบบเป็นขนาด 2 ช่องจราจร ก็เพียงพอในการรองรับ ปริมาณจราจรในปีอนาคต กรณีศึกษาที่ 2 (แผนดำเนินโครงการฯ ตามปกติ) การศึกษาได้ทำการวิเคราะห์ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ โดยได้แบ่งการวิเคราะห์ ออกเป็นกรณีออกแบบเป็นทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจร และกรณีออกแบบเป็นทางหลวงขนาด 4 ช่องจราจร ผลการวิเคราะห์แสดงใน ตารางที่ 2.5-10 และตารางที่ 2.5-11 ตามลำดับ พบว่า หากทำการออกแบบจำนวน ช่องจราจรเป็นขนาด 2 ช่องจราจร ยังสามารถรองรับปริมาณจราจรในปีอนาคตได้ โดยในปี พ.ศ. 2600 มีระดับ การให้บริการในช่วง D ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ AASHTO แนะนำสำหรับการออกแบบ (รูปที่ 2.5-45 และรูปที่ 2.5-46) กรณีที่ออกแบบเป็น 4 ช่องจราจร ระดับการให้บริการอยู่ที่ระดับ A ดังนั้น ที่ปรึกษาจึงแนะนำ ให้ออกแบบเป็นขนาด 2 ช่องจราจร ก็เพียงพอในการรองรับปริมาณจราจรในปีอนาคต กรมทางหลวงชนบท 2-95 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-8 ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ กรณีออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 1 แผนเร่งรัดการดำเนินโครงการฯ) ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ พ.ศ. High Season Low Season 2568 C B 2573 C B 2578 C C 2583 D C 2588 D C 2593 D D 2598 D D ที่มา : วิเคราะห์โดยที่ปรึกษา ตารางที่ 2.5-9 ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ กรณีออกแบบเป็น 4 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 1 แผนเร่งรัดการดำเนินโครงการฯ) ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ พ.ศ. High Season Low Season 2568 A A 2573 A A 2578 A A 2583 A A 2588 A A 2593 A A 2598 A A ที่มา : วิเคราะห์โดยที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 2-96 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.5-10 ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ กรณีออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 2 แผนดำเนินโครงการฯ ตามปกติ) ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ พ.ศ. High Season Low Season 2570 C B 2575 C C 2580 D C 2585 D C 2590 D C 2595 D D 2600 D D ที่มา : วิเคราะห์โดยที่ปรึกษา ตารางที่ 2.5-11 ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ กรณีออกแบบเป็น 4 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 2 แผนดำเนินโครงการฯ ตามปกติ) ระดับการให้บริการบนเส้นทางโครงการ พ.ศ. High Season Low Season 2570 A A 2575 A A 2580 A A 2585 A A 2590 A A 2595 A A 2600 A A ที่มา : วิเคราะห์โดยที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 2-97 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-45 ระดับการให้บริการบนโครงข่ายถนน กรณี High Season ออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 2 แผนดำเนินโครงการฯ ตามปกติ) กรมทางหลวงชนบท 2-98 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.5-46 ระดับการให้บริการบนโครงข่ายถนน กรณี Low Season ออกแบบเป็น 2 ช่องจราจร (กรณีศึกษาที่ 2 แผนดำเนินโครงการฯ ตามปกติ) กรมทางหลวงชนบท 2-99 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2 .6 การศึกษาสภาพทางธรณีวิทยา ธรณีวิทยา ประกอบด้วย หินตะกอนทั้งหมด มีอายุตั้งแต่ช่วงมหายุคพาลีโอโซอิก (คาร์บอนิเฟอรัส-เพอร์เมียน) จนถึงมหายุคซีโนโซอิก (ควอเทอร์นารี) หินมหายุคพาลีโอโซอิกแบ่งออกได้ 2 กลุ่มหิน ได้แก่ กลุ่มหินแก่งกระจาน อายุคาร์บอนิเฟอรัส-เพอร์เมียน และกลุ่มหินราชบุรีอายุเพอร์เมียน กลุ่มหินแก่งกระจานสามารถแบ่งได้ 4 หมวดหิน ส่วนล่างสุด ได้แก่ หมวดหินแหลมไม้ไผ่ ( CPlm) เป็นการสลับชั้นอย่างดีของหินโคลน หินทรายและหินทรายแป้ง หมวดหินเกาะเฮ (CPkh) เป็นหินทรายเนื้อปานกลางถึงหยาบที่มีเม็ดกรวดปะปนอยู่ด้วย หมวดหินเขาพระ ( Pkp) ประกอบด้วย หินโคลน หินดินดาน หินเชิร์ต และหินทราย มีซากดึกดำบรรพ์ประเภทไบรโอซัว แบรคิโอพอดและ ไครนอยด์ วางตัวอย่างต่อเนื่องรองรับหมวดหินเขาเจ้า ( Pkc) ซึ่งเป็นหินทรายเนื้อควอตซ์และหินทรายเนื้อทัฟฟ์ ที่เป็นชั้นหนา แสดงชั้นเฉียงระดับถัดขึ้นมาจะเป็นกลุ่มหินราชบุรี หมวดหินอุ้มลูก ( Pul) ลักษณะเป็นหินปูน ชั้นหนาถึงหนามาก บางส่วนมีหินเชิร์ตเป็นเลนส์แทรกอยู่ วางตัวอย่างไม่ต่อเนื่องรองรับหมวดหินคลองมีน ( Jkm) อายุจูแรสซิก หมวดหินลำทับ ( Klt) อายุครีเทเชียส ลักษณะจะเป็นหินทรายอาร์โคสิก สีน้ำตาลอ่อน มีกรวดปน ในบางชั้นสลับกับหินทรายแป้งสีม่วงแดง หินโคลน และหินกรวดมน มีลักษณะของชั้นเฉียงระดับให้เห็นอย่างชัดเจน ตะกอนยุคควอเทอร์นารี ประกอบด้วย ตะกอนใน 4 ลักษณะ ได้แก่ ตะกอนหินผุ ( Qr) ลักษณะจะเป็นดินเหนียว ปนทรายละเอียด ที่แสดงร่องรอยของโครงสร้างของหินเดิม มีเม็ดเหล็กปนมาก ตะกอนตะพัก ลุ่มน้ำ (Qt) ประกอบด้วย ทรายหยาบ และกรวดละเอียด สลับดินเหนียว ทรายแป้ง และทรายละเอียด ตะกอนชายฝั่งทะเล ( Qn) ดินเหนียว ปนทรายละเอียด มีซากพืชปนมาก ปิดทับดินเหนียวเนื้อละเอียด และตะกอนสันทรายชายหาด ( Qb) ทรายร่วน ขนาดละเอียด การคัดขนาดดี มีซากพืชและเปลือกหอยปะปนมาก ลักษณะโครงสร้างทางธรณีว ิทยาที ่สำคัญ มี หลายชนิด ได้แก่ รอยชั้นไม่ต่ อเนื ่ องจะพบอยู ่ ระหว่ า ง หินยุคเพอร์เมียนกับ หินยุคจูแรสซิ ก การวางตัวของชั้นหินทางด้านตะวันตกของเกาะลันตาใหญ่ จะเอี ย งเท ในทิศทางตะวันตกและทางด้านตะวันออกจะเอียงเทไปทางด้านตะวันออก ซึ่งเป็นผลมาจากการที่มีรอยคดโค้ง แบบประทุนในกลุ่มหินแก่งกระจาน มักพบรอยคดโค้งขนาดเล็กในหินที่แสดงลักษณะเป็นชั้นอย่างดี รอยเลื่อน ส่วนใหญ่จะอยู่ในทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือ -ตะวันตกเฉียงใต้ และตะวันตกเฉียงเหนือ -ตะวันออกเฉียงใต้ รอยแตกส่วนใหญ่จะอยู่ในทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือ -ตะวันตกเฉียงใต้ และตะวันตกเฉียงเหนือ -ตะวันออก เฉียงใต้ ไม่พบแหล่งแร่แต่พบวัสดุที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจอยู่หลายบริเวณ เช่น หินทราย หินโคลน หินดินดานและ หินปูน หินปูนที่เป็นชั้นหนามีคุณสมบัติเหมาะสมสำหรับอุตสาหกรรม แต่อาจไม่มีศักยภาพเนื่องจากมีข้อจำกัด ทางด้านการคมนาคมขนส่งและผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม ผลการตรวจสอบลักษณะการกระจายตัวของหินอายุต่างๆ ในพื้นที่ศึกษาโครงการตามแผนที่ทางธรณีวิทยา ของกรมทรัพยากรธรณี (2549) แสดงใน รูปที่ 2.6-1 ผลการสำรวจธรณีวิทยาบริเวณแนวเส้นทางโครงการ พบว่า บริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน - เกาะปลิง - เกาะลันตาน้อย เป็นหินทรายในหมวดหินเขาพระ CPkp พบเป็น บริเวณกว้างทางด้านทิศเหนือและทิศใต้ของพื้นที่รวมถึงเกาะปลิง วางตัวแนวตะวันตกเฉียงเหนือ - ตะวันออกเฉียงใต้ หินทราย หินทรายแป้ง หมวดหินเขาพระ กลุ่มหินแก่งกระจาน สี เทาเขียวไม่แสดงชั้นถึงชั้นหนามาก อายุประมาณ 245 – 360 ล้านปี ในรูปตัด B-B แสดงดังรูปที่ 2.6-2 และรูปที่ 2.6-3 กรมทางหลวงชนบท 2-100 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.6-1 แผนที่ทางธรณีวิทยา (กรมทรัพยากรธรณี 2549) กรมทางหลวงชนบท 2-101 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.6-2 การสำรวจธรณีวิทยาบริเวณแนวเส้นทางโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-102 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.6-3 รูปตัดเส้นทางโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-103 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.7 การเกิดแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดจากความสั่นสะเทือนของพื้นดิน อันเนื่องมาจากการปลดปล่อย พลังงาน เพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลันในการปรับสมดุลของโลกให้คงที่ ซึ่งความรุนแรงของแผ่นไหวเป็นผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อความรู้สึกของคนต่อความเสียหายของอาคาร และสิ่งก่อสร้างและต่อสิ่งต่างๆ ของธรรมชาติ โดยความรุนแรงจะมากน้อยขึ้นอยู่กับระยะทางจากตำแหน่ง ศูนย์กลางแผ่นดินไหว ผลจากการตรวจสอบพบว่า พื้นที่โครงการตั้งอยู่ห่างจากรอยเลื่อนที่มีพลัง รอยเลื่อน คลองมะรุ่ย มีระยะห่างจากที่ตั้งโครงการประมาณ 70.5 กิโลเมตร ผลการรวบรวมสถิติการเกิดแผ่นดินไหวของ ประเทศไทยในรอบ 40 ปี ที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ในประเทศไทยและมีระดับความรุนแรงตั้งแต่ 4.0 แมกนิจูดขึ้นไป ของกรมทรัพยากรธรณี ช่วงปี พ.ศ. 2518-2557 พบว่า พื้นที่โครงการยังไม่เคยเกิดแผ่นดินไหว การประเมินค่า PGA สำหรับพื้นที่โครงการฯ 1) โครงการฯ อยู่ในบังคับของกฎกระทรวงกำหนดการรับน้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทน ของอาคาร และพื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2564 กระทรวงมหาดไทยออก “กฎกระทรวงกำหนดการรับน้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทนของ อาคาร และพื ้ น ดิ น ที ่ รองรั บ อาคารในการต้ า นทานแรงสั ่ น สะเทื อนของแผ่ น ดิ น ไหว พ.ศ. 2564″ ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2564 เพื่อใช้บังคับแทนกฎกระทรวงกำหนดการรับน้ำหนักฯ ฉบับเดิม พ.ศ. 2550 โดยให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 180 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โดยกฎกระทรวง ฉบับใหม่นี้ได้ปรับปรุงบริเวณที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบันที่พบว่ามี พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศมากขึ้น จากเดิมมีบริเวณเฝ้าระวัง บริเวณที่ 1 และบริเวณที่ 2 โดยแบ่งใหม่ เป็น 3 บริเวณ ได้แก่ - บริเวณที่ 1 (เดิมคือ บริเวณเฝ้าระวัง) มี 14 จังหวัด ได้แก่ กระบี่ ชุมพร สงขลา สุราษฎร์ธานี โดยมีหลายจังหวัดที่เพิ่มเติมขึ้นมา ได้แก่ ตรัง นครพนม นครศรีธรรมราช บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ์ พิษณุโลก เพชรบุรี เลย สตูล และหนองคาย และมีบางจังหวัดที่ปรับย้ายไปเป็นบริเวณที่ 2 (พังงา ภูเก็ต ระนอง) - บริเวณที่ 2 (เทียบได้กับ บริเวณที่ 1 เดิม) เป็นบริเวณที่อาจได้รับผลกระทบในระดับปานกลาง มี 17 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร โดยมีจังหวัดที่ปรับย้ายมา จากบริเวณเฝ้าระวังเดิม คือ พังงา ภูเก็ต ระนอง และมีจังหวัดที่เพิ่มเติมขึ้นมา ได้แก่ กำแพงเพชร ชัยนาท นครปฐม นครสวรรค์ พระนครศรีอยุธยา ราชบุรี สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี และอุทัยธานี - บริเวณที่ 3 (เทียบได้กับบริเวณที่ 2 เดิม) เป็นบริเวณที่อาจได้รับผลกระทบในระดับสูงมี 12 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเดิม 10 จังหวัด คือ กาญจนบุรี เชียงราย เชียงใหม่ ตาก น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง และลำพูน และเพิ่มขึ้น 2 จังหวัด คือ สุโขทัย และอุตรดิตถ์ กฎกระทรวงนี้ ให้ใช้บังคับในบริเวณที่ 1 ตามที่ระบุไว้ในข้อ 4 (1 ฐ) สะพานหรือทางยกระดับที่มี ช่วงระหว่างศูนย์กลางตอม่อยาวตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป รวมถึงอาคารที่ใช้ในการควบคุมจราจรของสะพานหรือ ทางยกระดับดังกล่าว ทั้งนี้สรุปว่าพื้นที่โครงการซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่บริเวณที่ 1 และเป็นสะพานหรือทางยกระดับที่มี ช่วงระหว่างศูนย์กลางตอม่อยาวตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป จึงอยู่ในบังคับของกฎกระทรวงนี้ กรมทางหลวงชนบท 2-104 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2) การกำหนดรายละเอียดวิธีการคำนวณโครงสร้างต้านทานแรงแผ่นดินไหว ในกฎกระทรวง สำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการออกแบบและคำนวณโครงสร้างอาคารเพื่อต้านทานแรงสั่นสะเทือน ของแผ่นดินไหว ไม่ได้บรรจุไว้ในกฎกระทรวงฉบับนี้ แต่จะเป็นไปตามที่รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ ควบคุมอาคารประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา หรือหลักเกณฑ์บางสวนอาจเป็นไปตามที่มีการจัดทำขึ้น โดยส่วนราชการที่มีหน้าที่และอำนาจในเรื่องนั้น ซึ่งจะทำให้การปรับปรุงหลักเกณฑ์ต่างๆ ให้มีความทันสมัย เป็นไปได้ง่ายขึ้น (1) การกำหนดรายละเอียดวิธีการคำนวณโครงสร้างต้านทานแรงแผ่นดินไหวของโครงการ กฎกระทรวง ข้อ 6 การออกแบบและคำนวณโครงสร้างอาคารตามข้ อ 4 ให้ผู้ออกแบบและคำนวณ จัดโครงสร้าง ทั้งระบบ กำหนดรายละเอียดปลีกย่อยของชิ้นส่วนโครงสร้างและบริเวณรอยต่อชิ้นส่วนโครงสร้างต่างๆ อย่างน้อย ต้องให้มีความเหนียวเป็นไปตามที่รัฐมนตรี โดยคำแนะนำของคณะกรรมการควบคุมอาคารประกาศกำหนดใน ราชกิจจานุเบกษา หรือหลักเกณฑ์ในเรื่องดังกล่าว ที่จัดทำโดยส่วนราชการอื่นที่มีหน้าที่และอำนาจในเรื่องนั้น รายละเอียดวิธีการคำนวณโครงสร้างต้านทานแรงแผ่นดินไหวของโครงการ (2) แรงเนื่องจากแผ่นดินไหว ( Earthquake Load) ในการออกแบบโครงสร้างจะต้องคำนึงถึง การจัดรูปแบบเรขาคณิต ให้มีเสถียรภาพในการต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว การกำหนดรายละเอียด ปลีกย่อยชิ้นส่วนโครงสร้าง รวมทั้งบริเวณรอยต่อระหว่างปลายชิ้นส่วนโครงสร้างต่างๆ และการจัดให้โครงสร้าง ทั้งระบบให้มีความเหนียวเทียบเท่าความเหนียวจำกัด (Limited Ductility) อย่างน้อยตามมาตรฐานการออกแบบ อาคารเพื่อต้านการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวของกรมโยธาธิการและผังเมือง ซึ่งที่ปรึกษาได้ออกแบบให้เป็นไป ตามมาตรฐาน AASHTO LRFD (3) การประเมินค่า PGA สำหรับพื้นที่โครงการฯ อ้างอิงผลงานวิจัยของ Palasri และ Ruangrassamee (2010) ประเทศไทยตั้งอยู่ใกล้กับแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญมากมาย (ตารางที่ 2.7-1 และรูปที่ 2.7-1) ซึ่งจากฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่ตรวจวัดได้จากเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว บันทึกประวัติศาสตร์ รวมทั้งข้อมูล ธรณีวิทยาแผ่นดินไหว บ่งชี้ว่าเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่หลายครั้ง ซึ่งจากการประมวลผล ความไหวสะเทือนเท่า (isoseismal map) ที่เคยมีการรายงานไว้ในอดีต Palasri และ Ruangrassamee (2010) ประเมินภัยพิบัติแผ่นดินไหว ด้วยวิธีความน่าจะเป็น ( Probabilistic Seismic Hazard Analysis, PSHA) โดยพิจารณาเขตกำเนิดแผ่นดินไหว ซึ่งนำเสนอโดยกรมทรัพยากรธรณี ( 2548) และพิจารณาพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวจากฐานข้อมูลแผ่นดินไหว ที่ตรวจวัดได้จากเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว นอกจากนี้ Palasri และ Ruangrassamee (2010) นำเสนอว่า แบบจำลองการลดทอนแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวของ Sadigh และคณะ (1997) เหมาะสมกับแผ่นดินไหวที่เกิด จากรอยเลื่อนภายในแผ่นเปลือกโลกและแบบจำลองการลดทอนแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวของ Petersen และคณะ (2004) เหมาะสมกับเขตมุดตัวของเปลือกโลกสุมาตราอันดามัน การออกแบบก่อสร้าง การประเมินค่า PGA สำหรับพื้นที่โครงการฯ อ้างอิงผลงานวิจัยของ Palasri และ Ruangrassamee (2010) สรุปผลการประเมินสรุปว่าค่า PGA ที่มีโอกาส 2% POE ในอีก 50 ปี สำหรับพื้นที่ โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา มีค่า PGA ประมาณ 0.02g และการออกแบบรับแรงแผ่นดินไหวของโครงการฯ ได้นำค่า PGA ไม่น้อยกว่า 0.02g มาใช้ในการออกแบบแล้ว กรมทางหลวงชนบท 2-105 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.7-1 ความสัมพันธ์ PGA กับระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวตามมาตรา Mercalli ระดับความเข้ม การเร่ง ความเร็ว แผ่นดินไหว ความเร็ว การรับรู้การสั่น ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น (ซม./วินาที) Mercalli PGA (G.) คนจะไม่รู้สึกถึงการสั่นไหว แต่ I < 0.0017 < 0.1 ไม่มี เครื่องมือสามารถตรวจวัดสัญญาณได้ 0.0017 – II – III 0.1 – 1.1 คนรู้สึกได้ถึงการสั่นสะเทือน ไม่มี 0.014 IV 0.014 – 0.039 1.1 – 3.4 สิ่งของภายในอาคารเริ่มสั่นไหว ไม่มี รู้สึกถึงการสั่นไหวได้เกือบทุกคน คนอาจตกใจ V 0.039 – 0.092 3.4 – 8.1 สั่นไหวปานกลาง ตื่นจากหลับ ต้นไม้สั่นไหวได้ ทุกคนรู้สึกได้ หลายคนวิ่งออกนอกอาคาร VI 0.092 – 0.18 8.1 – 16 สั่นไหวแรง เฟอร์นิเจอร์ภายในบ้านเคลื่อนที่ สิ่งของ ภายในอาคารจะตกลงมาเสียหาย อาคารที่ไม่แข็งแรงต่อการต้านทาน VII 0.18 – 0.34 16 – 31 สั่นไหวแรงมาก แผ่นดินไหว จะได้รับความเสียหาย เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง ทำให้ตึก VIII 0.34 – 0.65 31 – 60 สั่นไหวรุนแรง อาคาร ผนังอาคารเกิดรอยร้าวและพังทลายได้ เกิดความเสียหายอย่างมาก โครงสร้าง X 0.65 – 1.24 60 – 116 สั่นไหวรุนแรงมาก ทุกอย่างถูกทำลาย ดินเกิดรอยร้าว และ เกิดแผ่นดินถล่ม พื้นผิวดินเป็นคลื่น สิ่งปลูกสร้างทุกอย่าง X+ > 1.24 > 116 สั่นไหวรุนแรงมากที่สุด ถูกทำลาย กรมทางหลวงชนบท 2-106 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ อ้างอิง : Palasri และ Ruangrassamee (2010) รูปที่ 2.7-1 แผนที่ประเทศไทยและพื้นที่ข้างเคียงแสดงการกระจายตัวเชิงพื้นที่ของค่า PGA (หน่วย g) ที่มีโอกาส (ก) 2% POE และ (ข) 10% POE ในอีก 50 ปี (Palasri และ Ruangrassamee, 2010) กรมทางหลวงชนบท 2-107 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2) พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย จากการตรวจสอบแผนที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวประเทศไทย ของกรมทรัพยากรธรณี (2559) พบว่า แนวเส้นทางโครงการตั้งอยู่ในเขตพื้นที่สีเขียวเข้ม ซึ่งมีระดับความรุนแรงแผ่นดินไหวอยู่ที่ระดับเบา มีค่าอยู่ ระหว่าง 1 – 3 เมอร์คัลลี่ (คนจะไม่รู้สึก แต่เครื่องวัดสามารถตรวจวัดจับได้) แต่หากพิจารณาในรัศมี 150 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี พังงา และภูเก็ต ซึ่งมีระดับความรุนแรงแผ่นดินไหวตั้งแต่ 3 -22 เมอร์คัลลี่ แสดงดังรูปที่ 2.7-2 รอยเลื่อน เป็นลักษณะของรอยแตกหรือแนวแตกในหิน โดยหินทั้งสองฟากของรอยแตก มีการ เคลื่อนที่สัมพันธ์กัน และทิศทางการเคลื่อนที่ขนานไปกับระนาบของรอยเลื่อนนั้นๆ รอยเลื่อนเกิดจากกระบวนการ ที ่ ท ำให้ หิน แตกและเลื ่ อน/เคลื ่อนไหว เนื ่ องจากความเค้ นในเนื ้อหิ นที่ เปลื อกโลก การเลื ่ อนของร อยเลื่อน อาจเป็นไปได้ทุกทิศทางที่เป็นแนวเปราะบาง ระยะทางของการเลื่อนตัวอาจน้อยเป็นเซนติเมตร ในการที่ประกาศ ว่ารอยเลื่อนใดในประเทศไทยมีพลัง ต้องมีผลการศึกษาทางธรณีวิทยาแล้วทราบถึง 6 องค์ประกอบสำคัญ คือ - ในรอบ 10,000 ปีที่ผ่านมา จะต้องเคยเกิดแผ่นดินไหวอย่างน้อย 1 ครั้ง โดยศึกษาจากตะกอน - ต้องเคยเป็นจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวขนาดเล็ก - ต้องเห็นรูปร่างลักษณะที่ทำให้ภม ู ิประเทศเปลี่ยน - ต้องมีความสัมพันธ์กับรอยเลื่อนอื่นๆ - ดูลักษณะทางน้ำที่อยู่บริเวณรอยเลื่อนดังกล่าว และ - ต้องอยู่ใกล้กับน้ำพุร้อน กลุ่มรอยเลื่อนตามทิศทางการวางตัวและการเคลื่อนที่ที่สำคัญได้ 3 แนว คือ กลุ่มรอยเลื่อนที่วางตัว ในแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ กลุ่มรอยเลื่อนที่วางตัวในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และกลุ่มรอยเลื่อนที่วางตัวอยู่ในทิศเหนือ -ใต้ จำนวนทั้งสิ้น 16 กลุ่มรอยเลื่อน (กรมทรัพยากรธรณี, 2563) โดยรอยเลื่อนที่มีพลังที่อยู่ใกล้กับพื้นที่โครงการมากที่สุด คือ รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย ซึ่งอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ในรัศมี 150 กิโลเมตร มีระยะห่างจากที่ตั้งโครงการประมาณ 70.5 กิโลเมตร แสดงดังรูปที่ 2.7-3 และจากการ ตรวจสอบแผนที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยและศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ของกรมทรัพยากรธรณี (2561) พบว่า ที่ตั้งโครงการไม่ได้อยู่ในศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ในช่วงปี พ.ศ. 2473-2561 แต่อย่างใด แต่หากพิจารณาพื้นที่โดยรอบ ในรัศมี 150 กิโลเมตร พบศูนย์เกิดแผ่นดินไหวในพื้นที่จังหวัดกระบี่ แผ่นดินไหวที่มีขนาดน้อยกว่า 3 ริกเตอร์ ถือ เป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังพบศูนย์เกิดแผ่นดินไหวในพื้นที่ ใกล้เคียง ได้แก่ จังหวัดตรัง ภูเก็ต และสุ ราษฎร์ธานี แสดงดังรูปที่ 2.7-4 มาตรฐานการออกแบบการก่อสร้างที่นำมาใช้ในการออกแบบ โดยเกณฑ์การออกแบบสะพานคานขึง และสะพานคานยื่น ข้ามคลองช่องลาดนี้ ได้กำหนดสาระสำคัญในการออกแบบรายละเอียดที่ต้องเป็นไปตาม มาตรฐานการออกแบบสากลดังนี้ - AASHTO LRFD Bridge Design Specifications, 4th Edition, 2007, SI Unit. (LRFD2007) - AASHTO/AWS D.15M/D1.5:2002 Bridge Welding Code. - Post-Tensioning Institute (PTI): PTI DC45.1-12: Recommendations for Stay Cable Design, Testing and Installation, 2012. กรมทางหลวงชนบท 2-108 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.7-2 แผนที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี, 2559) กรมทางหลวงชนบท 2-109 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.7-3 แผนที่รอยเลื่อนที่มีพลังในประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี, 2563) กรมทางหลวงชนบท 2-110 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.7-4 แผนที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยและศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (กรมทรัพยากรธรณี, 2561) กรมทางหลวงชนบท 2-111 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ นอกจากนั้นแล้ว หลักเกณฑ์และมาตรฐานต่อไปนี้ ได้นำมาใช้ประกอบการอ้างอิงในรายละเอียด ตามความเหมาะสมต่อการออกแบบของโครงการฯ อันประกอบด้วย - Fédération International du béton’s (fib) Bullentine 30 : Acceptance of Stay Cable Systems using Prestressing Steels, 1st edition, 2005. - Commission Interministèrielle de la Précontrainte (CIP): CIP Recommendations on Cable Stays, 1st edition, 2002. - CEB-FIP Model Code for Concrete Structures, 1990. - The AASHTO LRFD Bridge Design Specifications, 6th Edition, 2012. (LRFD2012) แรงแผ่นดินไหว (Seismic Loads (EQ) การวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหวจะดำเนินการให้เป็นไปตามกำหนดไว้ใน LRFD2012 แทนที่จะเป็น ตามกำหนดไว้ใน LRFD2007 ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานแรงแผ่นดินไหว ของประเทศไทย เกณฑ์สมรรถนะ (Performance Criteria) พื้นฐานการประเมินสมรรถนะของสะพานเมื่อได้รับผลกระทบจากแรงแผ่นดินไหว ได้กำหนดไว้เป็น 3 ระดับ ดังนี้ (1) การประเมินความสามารถในการใช้ประโยชน์หลังรับแรงแผ่นดินไหว (Functional Evaluation Earthquake (FEE)) สะพานยังคงสามารถใช้งานได้อย่างเต็มที่ในทันทีภายหลังจากการเกิดแผ่นดินไหว มีโครงสร้าง ที่ได้รับความเสียหายเพียงเล็กน้อย หรืออาจไม่พบความเสียหายเลย ลักษณะความเสียหายที่จะเกิดขึ้นอาจพบได้ ดังนี้ ▪ มีองค์ประกอบเพียงเล็กน้อย ที่ตอบสนองแบบไม่ยืดหยุ่น (Minor inelastic response) ▪ คอนกรีตมีรอยร้าวขนาดเล็ก (Narrow cracking in concrete) ▪ องค์ประกอบที่เป็นเหล็กเพียงเล็ กน้อยที่ อยู่ ในสภาพคลาก ( Minor yielding of steel components) ▪ ไม่ปรากฎสภาพของการเสียรูปร่างแบบถาวร (No apparent permanent deformation) ▪ ไม่ปรากฎพฤติกรรมการเลื่อนตัวและเสียรูปออกอย่างถาวรของจุดยึดโครงสร้าง หรือพฤติกรรม การตอบสนองของฐานรากที่ไม่เป็นไปตามสัดส่วนของแรงกระทำ (Permanent offsets associated with plastic hinge or with non-linear foundation behavior are not apparent) ▪ ปรากฎความเสียหายของรอยต่อสะพานที่สามารถซ่อ มแซมชั่วคราวด้วยการนำแผ่นเหล็ก มาพาดผ่านรอยต่อสะพานดังกล่าวจนกว่าการซ่อมแซมที่สมบูรณ์แบบจะแล้วเสร็จ ( Damage to expansion joint that can be temporarily bridged with steel plates until repairs are completed) (2) การประเมินความปลอดภัยภายหลังรับแรงแผ่นดินไหว (Safety Evaluation Earthquake (SEE)) ภายหลังการประเมินความปลอดภัยหลังเกิดแผ่นดินไหว สะพานสามารถเปิดใช้งานได้เกือบจะทันที โดยไม่พบว่า มีโครงสร้างส่วนที่ไม่สามารถซ่อมแซมได้เกิดความเสียหาย ลักษณะของความเสียหายที่เกิ ดขึ้นแต่ซ่อมได้อาจมี ดังนี้ ▪ ปรากฎความเสียหายเล็กน้อยที่โครงสร้างสะพานส่วนบนและที่เสาตอม่อสะพาน (Minimal damage to superstructure and pier foundations) ▪ ปรากฎรอยแตกร้าวในคอนกรีตเหล็กเสริมมีการคลาก และมีการปริแตกอย่างชัดเจนจำนวน มากของคอนกรีตหุ้มเหล็กเสริม (Concrete cracking, reinforcement yielding and major spalling of concrete cover) กรมทางหลวงชนบท 2-112 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ▪ ปรากฏการณ์โก่งของเหล็กยึดรั้งในแนวทะแยง ทั้งในภาพรวมของโครงสร้างและในบางบริเวณ (Global and local buckling of steel braces) ▪ ปรากฎความเสียหายไม่มากนักที่ฐานราก (Minimal damage to foundations) ▪ ปรากฏการเสียรูปถาวรขององค์ประกอบโครงสร้าง และปรากฏการเลื่อนตัวอย่างถาวรของ ฐานราก แต่ยังคงไม่ถึงขั้นที่กระทบต่อการใช้งานของสะพาน (Permanent deformation of structural elements and permanent foundation movements that do not interfere with the serviceability of the bridge) ▪ ปรากฏความเสียหายของรอยต่อสะพานที่สามารถซ่อมแซมชั่วคราวด้วยการนำแผ่นเหล็ก มาพาดผ่านรอยต่อสะพานดังกล่าวจนกว่าการซ่อมแซมที่สมบูรณ์แบบจะแล้วเสร็จ ( Damage to expansion joints that can be temporarily bridged with steel plates until repairs are completed) ▪ การซ่อมแซมส่วนที่เสียหายจากแรงแผ่นดินไหว สามารถดำเนินการได้โดยไม่จำเป็นต้องปิด การจราจรบนสะพานระหว่างการซ่อมแซม (Any repairs will not require closure of traffic) (3) ไม่เกิดการวิบัติของโครงสร้างสะพาน (No Collapse Earthquake (NCE)) การวิบัติขององค์ประกอบ สะพานบางส่วนอาจเกิดขึ้นในกรณีนี้ แต่จะไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของตัวสะพานเกิดวิบัติภายใต้การรับแรงที่ออกแบบไว้ ตัวสะพานเองอาจจะมีการเลื่อนตัวในแนวดิ่งหรือในแนวราบไปจากตำแหน่งดั้งเดิม แต่ก็ยังไม่เกิดการวิบัติ ในกรณี ดังกล่าวนี้จะทำให้อายุการใช้งานของสะพานลดลง การบูรณะสะพานในบางส่วนจำเป็นต้องดำเนินการดังต่อไปนี้ ▪ ฐานรากสะพานยั งคงมี ความสามารถในการรั บแรงในแนวดิ ่ งได้ อยู่ (Vertical carrying capacity of bridge foundation shall be maintained) ▪ รอยต่อจุดรองรับน้ำหนักสะพาน เกิดการเสียรูปแล้วไม่คืนตัวกลับมา แต่ยังไม่ถึงขั้นที่ทำให้ เกิดการวิบัติ (A plastic hinge in bridge pier is acceptable but no collapse may occur) ▪ ปรากฏความเสียหายถาวรของฐานรากสะพาน แต่ยังคงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ว่ายังไม่ทำให้ เกิดการวิบัติของสะพาน (Permanent deformations of bridge foundations are acceptable if the no collapse criteria is met) แผ่นรองรับน้ำหนักสะพานมีการยกตัวขึ้น แต่ยังคงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ว่ายังไม่ทำให้เกิดการ วิบัติของสะพาน (Bearing uplift is acceptable as long as the no collapse criteria are adhered to) แผนการปฏิบัติงาน Action Plan 1) บทนำ การเกิ ดเหตุ การณ์ แผ่ นดิ นไหวในพื ้ นที ่ จ ั ง หวั ด กระบี ่ ท ี ่ อาจส่ ง ผลต่ อสะพานเชื ่ อมเกาะลั น ตา ซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคมหลักในการเดินทางระหว่างแผ่นดินใหญ่กระบี่กับเกาะลันตา จำเป็นต้องมีแผนปฏิบัติงาน ในการสำรวจตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงเพื่อประเมินความปลอดภัยในการใช้งานสะพานเชื่อมเกาะลันตาต่อไป หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหว แผ่นดินไหวขนาดใหญ่สามารถทำให้เกิดความเสียหายอย่างมากต่อสะพานซึ่งมีที่ตั้งทางยุทธศาสตร์ ในการบริการขนส่ง การที่สะพานได้รับความเสียหายจากแรงแผ่นดินไหวจะเป็นอุปสรรคอย่างมากต่อการใช้ สะพานเพื่อเข้าช่วยเหลือฉุกเฉิน การประเมินความเสียหายจากแผ่นดินไหวของสะพานอย่างรวดเร็วสามารถ ช่วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการตัดสินใจอย่างรวดเร็วหลังเกิดแผ่นดินไหวและประหยัดเวลาในการช่วยเหลือ ช่วยให้กรมทางหลวงชนบทสามารถวางแผนใช้สะพานเชื่อมเกาะลันตาในการกู้ภัยผู้ที่ได้รับความเดือดร้อน จากแผ่นดินไหวบนเกาะลันตาได้อย่างทันเหตุการณ์ และสามารถวางแผนการซ่อมบำรุงสะพานเชื่อมเกาะลันตา ได้อย่างเหมาะสมต่อไป กรมทางหลวงชนบท 2-113 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2) แผนปฏิบัติการสำรวจความเสียหายสะพานเบื้องต้น ภายหลังแผ่นดินไหว ในการสำรวจความเสียหายขั้นต้นของโครงสร้างสะพาน จะเป็นความรับผิดชอบของสำนักงาน หมวดทางหลวงชนบทบนเกาะลันตา โดยจะทำการสำรวจสะพานเชื่อมเกาะลันตาและสะพานสิริลันตา หลังจาก เหตุการณ์แผ่นดินไหว โดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญโครงสร้างสะพานจะตรวจสอบถึงลักษณะของความเสียหาย และประเมินว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสะพานนั้นมีผลกระทบต่อความสามารถของสะพานหรือส่ วนหนึ่ง ส่วนใดของสะพานหรือไม่เมื่อต้องต้านทานแรงกระทำดังต่อไปนี้ในอนาคต ▪ แรงจากน้ำหนักบรรทุกใช้งานปกติ ▪ แรงจากลม ▪ แรงจากแผ่นดินไหวตาม (aftershock) ที่มีขนาดใกล้เคียงหรือน้อยกว่าแผ่นดินไหวที่เพิ่งเกิดขึ้น โดยประเด็นหลักๆ ที่วิศวกรผู้เชี่ยวชาญโครงสร้างจะให้ความสำคัญในระหว่างการประเมินความเสียหาย ขั้นต้น ได้แก่ ▪ โอกาสในการถล่มของสะพานทั้งหมดหรือเฉพาะบางส่วน เนื่องมาจากการสูญเสียกำลัง (strength) เสถียรภาพ (stability) หรือความแข็งแกร่ง (stiffness) ของระบบโครงสร้าง ▪ การร่วงหล่นของวัสดุประกอบสะพานที่ไม่ใช่โครงสร้างหลักของสะพาน เช่น เสาป้าย เสาไฟฟ้า แสงสว่างส่องทาง อุปกรณ์ยึดจับสายไฟฟ้า เป็นต้น การเข้าตรวจสอบความเสียหายขั้นต้นของสะพานที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหวนั้น เป็นหน้าที่ ความรับผิดชอบของสำนักทางหลวงชนบทที่ 11 โดยจะมีกระบวนการในการตรวจสอบสามารถสรุปเป็นขั้นตอนได้ ตามที่แสดงในรูปที่ 2.7-5 ระบุภัยที่อาจ ระบุข้อมูลสะพาน ประเมินความเสียหาย เกิดขึ้น (เขียว เหลือง แดง) (ถ้ามี) ปิดกั้นบริเวณรอบพื้นที่ รวบรวมผลการสำรวจ ติดป้ายประกาศ และ สะพาน (ถ้าจำเป็น) รูปที่ 2.7-5 ขั้นตอนการสำรวจความเสียหายขั้นต้นของสะพานภายหลังการเกิดแผ่นดินไหว กรมทางหลวงชนบท 2-114 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ การแบ่งระดับความเสียหายของสะพานจากผลการสำรวจขัน ้ ต้น การประเมินความเสียหายขั้นต้นของสะพานหลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวนี้ จะแบ่งระดับความเสียหาย ของโครงสร้างสะพานออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1) สะพานไม่มีความเสียหายหรือมีเสียหายเล็กน้อยซึ่งมีความปลอดภัยเพียงพอที่จะใช้งานได้ตามปกติ 2) สะพานที่มีความเสียหายในระดับที่อาจส่งผลต่อความสามารถในการใช้งานต่อไป ซึ่งจำเป็นต้องมี การดำเนินการอย่างอื่นเพิ่มเติมเพื่อยืนยันความปลอดภัยของสะพาน 3) สะพานมีความเสียหายอย่างหนักหรือไม่มีความปลอดภัยหากมีการใช้งานสะพานต่อไป โดยระดับ ความเสียหายของสะพานทั้ง 3 ระดับนี้ จะแสดงด้วยสีของป้ายประกาศระดับความเสียหาย (placard) ซึ่งได้แก่ สีเขียว สีเหลืองและสีแดง ตามลำดับ โดยขนาดความเสียหาย ข้อจำกัดในการใช้งานสะพานและสีของป้ายประกาศฯ ในแต่ละระดับได้สรุปอยู่ในตารางที่ 2.7-2 ตารางที่ 2.7.2 ระดับความเสียหาย ข้อจำกัดในการใช้งานสะพานและป้ายประกาศระดับความเสียหาย แต่ละระดับ ความเสียหาย ข้อจำกัดในการใช้งานสะพาน ป้ายประกาศฯ ไม่เสียหาย/เสียหาย ใช้งานสะพานได้ตามปกติ สีเขียว เล็กน้อย เสียหายปานกลาง ใช้งานสะพานได้ต่อไป (บางส่วนหรือทั้งหมด) สีเหลือง และสะพานควรได้รับการตรวจสอบอย่างละเอียดอีกครั้ง เสียหายหนัก/ ห้ามใช้งานสะพาน สีแดง อาจพังถล่มได้ หลักเกณฑ์การพิจารณาระดับความเสียหาย จากผลการสำรวจสะพานเบื้องต้น การพิจารณาความเสียหายขั้นต้นของสะพานในแต่ละระดับจะมีหลักเกณฑ์ดังนี้ 1) สะพานไม่มีความเสียหายหรือเสียหายเล็กน้อย สะพานที่ไม่มีความเสียหายหรือมีความเสียหายเพียงเล็กน้อยซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่อความสามารถ ในการใช้งานสะพานต่อไปจะถูกระบุด้วยป้ายประกาศระดับความเสียหายสีเขียวหรือป้ายประกาศ “สะพาน สามารถใช้งานได้ตามปกติ ” โดยสะพานที่จะพิจารณาว่าไม่มีความเสียหายหรือมีความเสียหายเล็ กน้อยควรมี คุณสมบัติเหล่านี้ครบทุกหัวข้อ ได้แก่ ▪ ความสามารถในการรับแรงทางดิ่งไม่ลดลง ▪ ความสามารถในการรับแรงทางข้างไม่ลดลง ▪ ไม่มีอันตรายจากการร่วงหล่นของเศษวัสดุ ▪ ไม่พบการสูญเสียเสถียรภาพของพื้นดินบริเวณที่ตั้งสะพาน เช่น การทรุดตัว เป็นต้น ▪ เชิงลาดคอสะพานซึ่งเป็นทางเข้าออกหลักของสะพานสามารถใช้งานได้ ▪ ไม่พบสภาพอื่น ๆ ที่อาจไม่ปลอดภัย นอกจากนี้ยังรวมถึงลักษณะของความเสียหายที่อาจ ตรวจพบได้แต่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสาธารณะ ซึ่งได้แก่ รอยแตกร้าวที่ผิวนอกของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ไม่ก่อ ให้เกิดอันตรายจากการร่วงหล่น กรมทางหลวงชนบท 2-115 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2) สะพานมีความเสียหายในระดับปานกลาง โดยทั่วไปการพิจารณาว่าสะพานมีความเสียหายในระดับปานกลางกระทำได้ยาก เนื่องจากเป็น ระดับความเสียหายที่ไม่ชัดเจนอยู่ระหว่างสะพานที่สามารถใช้งานได้ตามปกติและสะพานที่ไม่สามารถใช้งานได้ โดยถึงแม้ว่าจะสามารถใช้งานสะพานต่อไปได้ กรมทางหลวงชนบทยังจำเป็นต้องจัดให้มีการตรวจสอบอย่างละเอียด อีกครั้งโดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญด้านโครงสร้างสะพาน เพื่อยืน ยันความปลอดภัยของสะพาน หรืออาจจำเป็นต้องมีการ จำกัดการใช้งานสะพานเป็นการชั่วคราว เช่น ▪ เปิดให้ใช้งานสะพานได้ตามปรกติโดยต้องมีการจัดทำรายงานการตรวจสอบโครงสร้าง โดยละเอียด ในภายหลัง ▪ เปิดให้ใช้งานสะพานได้แต่จำกัดความเร็วและห้ามรถบรรทุกหนักใช้งานสะพาน ▪ เปิดให้ใช้งานได้เฉพาะรถฉุกเฉิน และการกู้ภัยเท่านั้น ที่สามารถใช้สะพานได้ ▪ ปิดการใช้งานสะพานจนกว่าการซ่อมแซมชั่วคราวจะแล้วเสร็จหรือจนกว่าจะมีการติดตั้งค้ำยัน เสริมความแข็งแรงสะพานจะแล้วเสร็จ 3) สะพานมีความเสียหายอย่างรุนแรง สะพานที่มีความเสียหายในระดับรุนแรงคือ สะพานที่ได้รับความเสียหายจนส่งผลให้สะพาน อาจเกิดการพังถล่มได้เมื่อเกิดภัยอื่น ๆ ขึ้นในเวลาต่อมา เช่น แผ่นดินไหวตาม (aftershock) เป็นต้น โดยจำเป็น ต้องใช้ป้ายประกาศสีแดงหรือป้ายประกาศ “ห้ามใช้งานสะพาน” โดยลักษณะความเสียหายที่นำมาใช้พิจารณา ว่าสะพาน มีความเสียหายในระดับรุนแรงจะประกอบด้วย (1) ลักษณะของสภาพโดยรอบสะพาน • ปรากฏอันตรายเนื่องจากดินถล่ม • รอยแตกร้าวขนาดใหญ่ของพื้นดินบริเวณที่ติดกับสะพาน (2) ลักษณะของสภาพโครงสร้างสะพาน • สะพานมีการเอียงตัวอย่างเห็นได้ชัด • โครงสร้างเสาตอม่อสะพาน คานขวาง คานสะพาน หรือจุดเชื่อมต่อเสียหายอย่างหนัก โดยมีรอยแตกร้าวขนาดใหญ่จนเห็น เหล็กเสริม • ฐานรากสะพานได้รับความเสียหายอย่างหนัก • Bridge Bearing ชำรุดหรือมีการเลื่อนตัว กรณีที่เกิดความเสียหายรุนแรง กรมทางหลวงชนบทจำเป็นต้องประกาศปิดการใช้งานสะพาน จนกว่าการซ่อมแซมสะพานที่เสียหายจะแล้วเสร็จ กรมทางหลวงชนบท 2-116 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.8 การเกิดสึนามิในพื้นที่โครงการ 1) การเกิดสึนามิ ปี พ.ศ. 2547 เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยคลื่นยักษ์สึนามิ เกิดขึ้นเมื่อเวลา 07.58 น. (เวลาในประเทศไทย) ของวัน อาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ในขณะนั้น เกิดแผ่นดินไหวในทะเลเหนือเกาะสุมาตรา ขนาด 9.2 จุดศูนย์กลาง อยู่ใต้มหาสมุทรอินเดียลึกลงไปประมาณ 30 กิโลเมตร จุดเหนือศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวอยู่บริเวณทิศตะวันตก เฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งแรงสั่นสะเทือนสามารถรับรู้ได้ถึงจังหวัดภูเก็ต และในอีกหลาย จังหวัดชายฝั่งอันดามันของไทย รวมถึงจังหวัดกระบี่ด้วย เวลาประมาณ 10.00 น.ของวันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (เวลาในประเทศไทย) คลื่นยักษ์ สึนามิได้พัดเข้าถล่มบริเวณชายฝั่งของหลายประเทศในมหาสมุทรอินเดีย ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย ศรีลังกา อินเดีย มัลดีฟส์ โซมาเลีย เมียนมาร์ มาเลเซีย แทนซาเนีย แอฟริกาใต้ บังคลาเทศ เยเมน เคนยา มาดากัสการ์ หมู่เกาะเซเชลส์ รวมทั้งประเทศไทย สร้างความเสียหายให้กับพื้นที่ 6 จังหวัดภาคใต้ที่มีพื้นที่อยู่ติดกับชายฝั่งทะเล อันดามัน ประกอบด้วย จังหวัด ภูเก็ต พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากเหตุการณคลื่นยักษสึนามิเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ส่งผลกระทบ ใหพื้นทองทะเลเกิดการเคลื่อนตัวในแนวดิ่งอย่างกะทันหัน และน้ำทะเลปริมาณมหาศาลถูกทำใหเคลื่อนตัว อยางทันทีทันใด เกิดสึนามิตามแนวชายฝงทะเลภาคใตของประเทศไทยดานทะเลอันดามัน สรางความเสียหาย ใหแกชีวิต และทรัพยสินเปนอยางมากในจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน ซึ่งมีพื้นที่เสียหายทั้งหมด 6 จังหวัด ไดแก ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล ซึ่งในพื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ก็เปนพื้นที่สวนหนึ่งที่ไดรับความเสียหาย จากเหตุการณดังกลาว โดยในพื้นที่เกาะลันตามีจํานวนครัวเรือนที่ประสบภัยทั้งหมดประมาณ 1,859 ครัวเรือน (ครัวเรือนทั้งหมดที่ประสบภัยอางตามตัวเลขสูงสุด) ซึ่งไดรับความเสียหายทั้งเสียชีวิต การบาดเจ็บ บ้ านเรือน และที่ดิน ทรัพยสินสวนตัว เรือและอุปกรณประมง การเลี้ยงสัตวน้ำ การประกอบอาชีพตางๆ รวมถึงธุรกิจตางๆ และด้านการเกษตร โดยชุมชนที่ประสบภัยอยางมากในพื้นที่เกาะลันตา ไดแก ชุมชนบานศาลาดาน ตําบลศาลาดาน ชุมชนบานสังกะอูและชุมชนบานศรีรายา ตําบลเกาะลันตาใหญ อําเภอเกาะลันตา ส่วนพื้นที่ในตำบลเกาะลันตาน้อย และตำบลเกาะกลางนั้น คลื่นสึนามิได้เข้าทำลายและสร้างความเสียหายในบริเวณพื้นที่ตามแนวชายฝั่งของคลอง ช่องลาด ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าชายเลนของพื้นที่ห้ามล่าสัตว์ ป่าทุ่งทะเล ดังแสดงขอบเขตพื้นที่น้ำทะเลทวมถึงจาก เหตุการณคลื่นยักษสึนามิ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 แสดงดังรูปที่ 2.8-1 กรมทางหลวงชนบท 2-117 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ที่มา : โครงการศึกษาผลกระทบจากคลื่นยักษ์ที่มีต่อทรัพยากรน้ำในแผ่นดินฯ กรมทรัพยากรน้ำ ่ สึนามิ เมื่อ 26 ธันวาคม 2547 รูปที่ 2.8-1 ขอบเขตพื้นที่น้ำทะเลท่วมถึงจากเหตุการณ์คลืน กรมทางหลวงชนบท 2-118 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ พื้นที่ในตำบลเกาะกลาง และตำบลเกาะลันตาน้อย เป็นหนึ่งในพื้นที่ประสบภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิ พ.ศ. 2547 ซึ่งมีผลการศึกษาวิจัยของกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง สหสัมพันธ์ระหว่างการวัดขึ้นไปในแผ่นดินของ คลื่นสึนามิกับลักษณะชายฝั่ง (ภูเวียง คำประมินทร์ 2548) ความเร็วของคลื่น (Velocity-V) คลื่นทะเลทั่วๆ ไปมีความเร็วประมาณ 90 กม./ชั่วโมง แต่คลื่นสึนามิ อาจจะมีความเร็วได้ถึง 950 กม./ชั่วโมง ซึ่งก็พอๆ กับความเร็วของเครื่องบินเจ็ททีเดียว โดยจะขึ้นอยู่กับความลึก ที่เกิดแผ่นดินถล่มใต้ทะเล ถ้าแผ่นดินไหวยิ่งเกิดที่ก้นทะเลลึกเท่าไหร่ ความเร็วของคลื่นสนามิ ก็จะสูงขึ้นมาก เท่านั้น เพราะปริมาตรน้ำที่ถู กเคลื่อนออกจากที่เดิม จะมีมากขึ้นไปตามความลึก คลื่นสึนามิจึงสามารถเคลื่อนที่ ผ่านท้องทะเลอันกว้างใหญ่ได้ภายในเวลาไม่นาน ลักษณะเฉพาะของคลื่นสึนามิ การเพิ่มสูงขึ้นอย่างกะทันหันของพื้นทะเลเพียงแค่ 2-3 เมตรจากพื้น ระดับทะเลปานกลาง ระหว่างที่เกิดแผ่นดินไหว สามารถเลื่อนปริมาตรมหาศาลของมวลน้ำขึ้นได้อย่างฉับพลัน เช่นกัน ดังนั้น จึงเป็นผลให้เกิดคลื่นสึนามิขึ้น คลื่นสึนามิทำลายล้าง (Destructive Tsunami) ซึ่งทำให้เกิดความ เสียหายไกลออกไปจากต้นกำเนิดมากๆ ได้ บางครั้งจะเรียกว่ า “Tele-tsunami” และส่วนมากจะเกิดจากการ เคลื่อนไหวในแนวดิ่งของพื้นทะเลมากกว่าการเคลื่อนไหวในแนวราบ จากข้อมูลสำนักแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวที่จะก่อให้เกิดคลื่น สึนามิในทะเลอันดามันนั้น อยู่บริเวณ Sunda trend หรือแนวชนกันแบบมุดตัวลงของแผ่นเปลือกโลก โดยเฉพาะ บริเวณหมู่เกาะนิโคบาร์ หมู่เกาะอันดามัน ประเทศอินเดีย ทั้งนี้บริเวณหมู่เกาะอันดามัน และตอนเหนือของ เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย นอกจากจะมีโอกาสเกิดคลื่นสึนามิจากแผ่นดินไหวแล้วยังมีโอกาสเกิดจาก แผ่นดินถล่มใต้ทะเลอีกด้วย เพราะเป็นแนวหุบเหวลึกใต้ทะเล มีหน้าผาชัน เมื่อเกิดแผ่นดินไหว แรงสั่นสะเทือน ก็มีโอกาสทำให้หน้าผาพังทลายลงพร้อมก่อเกิดคลื่นสึนามิได้ มาตรการแผนหนีภัยสึนามิในพื้นที่โครงการฯ ข้อปฏิบัติตัวขณะเกิดสึนามิ กรณีท่านอยู่บนบก • หากทานอยู บริเวณชายทะเลคลองช่องลาด เช่น บริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันคาน้อย หรือบริเวณชายหาดป่าชายเลนของเกาะลันตาน้อย แลวรูสึกถึงความสั่นสะเทือนหรือได้ยิน สัญญาณเตือนภัย ใหออกจากพื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหิน หรือชายหาดเกาะลันตาน้อย ทันที และวิ่งไปยังพื้นที่ปลอดภัย ที่สามารถไปไดงาย • อย่าอยู่รอเพื่อบอกคนอื่น หรือรอดูคลื่น • ไมควรหลบอยูในรถยนต์ เนื่องจากคลื่นสึนามิสามารถพัดพาเอารถยนต์ไปกับคลื่นได้ • อยู่ในที่ปลอดภัยจนกวาจะได้รับแจงจากทางการและพึงระลึกไว้เสมอว่าคลื่นสึนามิสามารถเกิดขึ้น ไดมากกวา 1 ลูก • หากทานอยูภายในบ้านและไดยินประกาศเตือนภัยสึนามิ ท่านจะต้องรีบแจงขาวสารแกเพื่อน ญาติมิตร และสมาชิกในครอบครัวของทานทราบโดยทันที ข้อปฏิบัติตัวขณะเกิดสึนามิ กรณีท่านอยู่ในเรือ • ถาทานอยู บนเรือที่จอดอยู ที่ท าเทียบเรือ ถามีเวลาใหนำเรือออกไปบริเวณน้ำลึก ที่มีความ ปลอดภัย หากไมมีเวลาพอ ใหทิ้งเรือไวที่ทาเรือและรีบอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัยโดยเร็ว • ติดตอสอบถามขอมูลจากทาเรือถึงความปลอดภัยกอนที่จะเดินทางกลับทาเรือ เนื่องจากคลื่น สึนามิอาจสามารถสงผลกระทบเปนระยะเวลานาน กรมทางหลวงชนบท 2-119 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ เส้นทางการอพยพหนีภัยสึนามิ ฝั่งท่าเรือบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พื้นที่ประสบภัยสึนามิ ฝั่งท่าเรือบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง คือ พื้นที่บริเวณท่าเรือแพขนานยนต์ และท่าเรือพิมาลัย ดังแสดงใน รูปที่ 2.8-2 โดยท่าเรือทั้ง 2 แห่ง อยู่ที่ระดับความสูงประมาณ 2.00 ม.รทก. ในขณะที่ความสูงของคลื่นสึนามิที่เคยเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2547 สำหรับพื้นที่นี้ มีความสูงของยอดคลื่นที่โถมเข้าหา ชายฝั่งที่ระดับความสูงประมาณ 4.00 ม.รทก. รูปที่ 2.8-2 พื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิ ฝั่งตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา คือ ท่าเรือบ้านหัวหิน (ซ้ายมือของภาพ) และท่าเรือพิมาลัย ซึ่งเป็นท่าเรือเอกชน (ขวามือของภาพ) เนื่องจากพื้นที่ชายฝั่งทะเลคลองช่องลาด บริเวณใกล้ท่าเรือทั้ง 2 แห่ง เป็นพื้นที่ป่าชายเลนขนาบ ทั้ง 2 ด้านของพื้นที่ท่าเรือ และมีลักษณะเป็นที่ลาดเชิงเขาที่มีความลาดชันสูง ดังแสดงในรูปที่ 2.8-3 ซึ่งมีพื้นดิน ที่ อยู่ ในระดับสู งกว่ ายอดคลื่นสึนามิ มาก โดยห่ างจากพื้ นที่ท่าเรื อเพีย งประมาณ 200 เมตร ดั ง นั้ น เส้นทาง การอพยพหนีภัยสึนามิฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย จึงเป็นการอพยพออกจากพื้นที่บริเวณท่าเรือ ไปยังพื้นที่สูงที่ใช้ ระยะทางในการอพยพเพียง 200 เมตร กรมทางหลวงชนบท 2-120 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.8-3 สภาพพื้นที่ปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ ฝั่งตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา คือ พื้นที่เชิงเขาที่อยู่ห่างจากท่าเรือบ้านหัวหิน ไปตาม ทล.4206 ซึ่งมีระยะทางในการอพยพเพียง 200 เมตร เส้นทางการอพยพหนีภัยสึนามิ ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย สภาพพื้นที่โครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย บริเวณที่แนวเส้นทางโครงการบรรจบเข้ากับทางหลวง ชนบทสาย กบ.5035 เป็นพื้นที่ป่าชายเลน และพื้นที่เกษตรกรรมที่อยู่บนเนินเขา เช่น สวนยาง และสวนปาล์ม น้ำมัน ไม่มีชุมชนอยู่ในบริเวณดังกล่าว มีกุโบร์ (สุสานชาวมุสลิม) ทุ่งโต๊ะหยุม หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ในบริเวณเนินเขาริมทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 สำหรับพื้นที่ประสบเหตุ คลื่นสึนามิในปี พ.ศ. 2547 ของฝั่งเกาะลันตาน้อย อยู่ในบริเวณพื้นที่ป่าชายเลนริมเกาะลันตาน้อย ซึ่งไ ม่มีชุมชน อยู่ในพื้นที่ดังกล่าว ดังแสดงในรูปที่ 2.8-4 สำหรั บ ผลกระทบต่ อ ประชาชน จึ ง มี ค วามเสี ่ ย งน้ อ ยต่ อภั ย คลื ่ น สึ น ามิ ใ นพื ้ น ที ่ โ ครงการ ฝั่งเกาะลันตาน้อย อย่างไรก็ตาม การที่มีคลื่นสึนามิเกิดขึ้น เพื่อความปลอดภัยสูงสุด ประชาชนที่สัญจรผ่าน ทางหลวงชนบท สาย กบ.5035 เช่น ผู้มาประกอบศาสนกิจที่กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม เป็นต้น สามารถอพยพหนีภัยสึนามิ ไปยังพื้นที่สูงริมทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 ซึ่งใช้ระยะทางในการเดินเพียง 20 เมตร ก็ถึงพื้นที่ปลอดภัย ( รูปที่ 2.8-5) กรมทางหลวงชนบท 2-121 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.8-4 พื้นที่โครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย ซึ่งไม่มีชุมชนในพื้นที่ และมีพื้นที่เสี่ยงสึนามิ อยู่บริเวณป่าชายเลนริมเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 2-122 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ่ พยพหนีภัยสึนามิ กรณีมีโครงการ รูปที่ 2.8-5 พื้นทีอ มาตรการป้องกันและแผนจัดการอพยพหนีภัยสึนามิ กรณีมีโครงการฯ การพัฒนาโครงการ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อแผนการป้องกันภัย และให้ความช่วยเหลือต่อ ผู้ประสบภัยสึนามิ ในพื้นที่อำเภอเกาะลันตา ดังนี้ - ลักษณะของโครงการ ไม่เป็นอุปสรรคต่อเส้นทางการอพยพหนีภัยคลื่นสึนามิ ทั้งในพื้นที่ ฝั่งตำบลเกาะกลาง และฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย - ช่วยลดปริมาณยานพาหนะและประชาชนเข้าสู่พื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหิน - โครงการฯ สามารถใช้เป็นเส้นทางหลักในการกู้ภัยสึนามิให้แก่เกาะลันตา และพื้นที่เกาะอื่นๆ ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวในเขตจังหวัดกระบี่และจังหวัดตรังได้ด้วย 2.9 หน่วยงานที่รับผิดชอบเมื่อเกิดพิบัติภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ 1) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรณีเกิดพิบัติภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ (1) กลไกการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ในการดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่หมายรวมถึงองค์การบริหาร ส่วนตำบล (อบต.) เทศบาลและองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิจะมีองค์กรที่เกี่ยวข้อง ในการอำนวยการ ควบคุ ม สั่ ง การ และประสานการปฏิบั ติตั้ งแต่ ระดั บประเทศ ซึ่ ง กองอำนวยการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภัย อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ ต้องมีการเชื่อมโยงและรับนโยบายแผนงานแนวทาง มาดำเนินการ รวมทั้งการประสานกับหน่วยงานบริหารจัดการสาธารณภัยในระดับอำเภอและระดับจังหวัด (รูปที่ 2.9-1) กรมทางหลวงชนบท 2-123 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.9-1 กลไกการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ก) ระดับนโยบาย ▪ คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช.) มีหน้าที่กำหนด นโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ บูรณาการพัฒนาระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระหว่างหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานภาคเอกชนให้มีประสิทธิภาพ โดยมีองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ ตามที่ระบุในมาตรา 6 และมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ▪ คณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ (กปอ.) มีหน้าที่เสนอนโยบายเกี่ยวกับการ ป้องกันอุบัติภัยของประเทศและเสนอแนะแนวทางปฏิบัติและประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐ โดยมี องค์ประกอบ และอำนาจหน้าที่ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 ▪ คณะกรรมการบริ ห ารระบบการเตื อนภั ยพิ บั ต ิ แห่ งชาติ (กภช.) มี หน้ าที่ เสนอ และจัดทำมาตรการ แนวทาง นโยบาย แผนการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ แผนงาน และโครงการ ในการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ เพื่อเป็นกรอบในการดำเนินงานของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้ อง โดยมีองค์ประกอบ และอำนาจหน้าที่ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติ แห่งชาติ พ.ศ. 2552 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 กรมทางหลวงชนบท 2-124 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ข) ระดับปฏิบัติ กลไกการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยระดับปฏิบัติเป็นศูนย์กลางในการ อำนวยการและการประสานการปฏิบัติของหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความเสี่ยง จากสาธารณภัยภายใต้แนวคิด “ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน (Emergency Operation Center : EOC) )” โดยเรียกชื่อว่า กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ/กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับ มีหน้าที่ในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยด้วยการบังคับบัญชา อำนวยการ ควบคุม กำกับ และประสาน การปฏิบัติ ระหว่างภาคส่วนตั้งแต่ภาวะปกติจนถึงเมื่อคาดว่าจะเกิดหรื อเกิดสาธารณภัย โดยจะต้องมีการกำหนด โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และมอบหมายเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในภารกิจหน้าที่ต่าง ๆ และต้องมีการจัดทำแนวปฏิบัติ หรือคู่มือการปฏิบัติงานตามขั้นตอนในแต่ละระดับการปฏิบัติการ (Level of Activation) รวมทั้ง ต้องจัดให้มี สถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก (Facilities) สำหรับการปฏิบัติงาน โดยเมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้น กลไกดังกล่าวจะปรับเข้าสู่กระบวนการปฏิบัติในภาวะฉุกเฉินโดยการจัดตั้ง “ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์” ขึ้น ▪ กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภั ยแห่งชาติ (บกปภ.ช.) ทำหน้าที่ บั ง คั บ บัญ ชา อำนวยการ ควบคุ ม กำกั บ ดู แลและประสานการปฏิ บั ติ การป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ของกองอำนวยการป้ องกั น และบรรเทาสาธารณภั ย แต่ ละระดั บ โดยมี รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้บัญชาการป้องกั นและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นรองผู้บัญชาการ ป้ องกั น และบรรเทาสาธารณภั ย แห่ ง ชาติ ในกรณี การจั ด การสาธารณภั ย ขนาดใหญ่ (ระดั บ 3) มี รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทย และกรณี การจั ด การสาธารณภั ย ร้ า ยแรงอย่ า งยิ ่ ง (ระดั บ 4) มี น ายกรั ฐ มนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้ควบคุมสั่งการ และบัญชาการ ▪ กองอำนวยการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย กลาง (กอปภ.ก.) ทำหน้ า ที่ ประสานงาน บูรณาการข้อมูล และการปฏิบัติการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนของสรรพกำลัง เครื่องมือ อุปกรณ์ แผนปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อ มในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภัยทั้งระบบในภาวะปกติ และในภาวะใกล้เกิดภัย ทำหน้าที่เตรียมการเผชิญเหตุ ติดตาม และเฝ้าระวังสถานการณ์ รวมถึงวิเคราะห์ข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง ประเมินสถานการณ์ และแจ้งเตือนภัยพร้อมทั้งรายงานและเสนอความเห็นต่อผู้บัญชาการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติหรือนายกรัฐมนตรีตามแต่ระดับการจัดการสาธารณภัยเพื่อตัดสินใจในการรับมือ โดยมีอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นผู้อำนวยการกลาง ▪ กองอำนวยการป้ องกั นและบรรเทาสาธารณภั ยจัง หวั ด (กอปภ.จ.) ทำหน้าที่ อำนวยการ ควบคุม สนับสนุน และประสานการปฏิบั ติการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภั ยในพื้น ที่ จั ง หวั ด ที่รับผิดชอบ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด/ผู้อำนวยการจังหวัด เป็นผู้อำนวยการ รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ผู้ว่าราชการ จังหวัดมอบหมาย และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นรองผู้อำนวยการ ทั้งนี้ ให้มีการจัดประชุมกองอำนวยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ▪ กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกระบี่ (กอปภ.กบ.) ทำหน้าที่ อำนวยการ ควบคุม สนับสนุน ประสานการปฏิบัติในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตจังหวัด กระบี่ และจัดทำแผนปฏิบัติการหรือแผนเผชิญเหตุตามประเภทความเสี่ยงภัยให้สอดคล้องกับแผนการป้องกัน และ บรรเทาสาธารณภัย จังหวัดกระบี่ รวมทั้งดำเนินการสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเป็ น หน่ ว ยเผชิ ญ เหตุ เมื ่ อ เกิ ด สาธารณภั ย ในพื ้ น ที ่ รั บ ผิ ด ชอบ โดยมี ผ ู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด กระบี ่ ในฐานะ ผู้อำนวยการเป็นผู้รับผิดชอบ มีอำนาจหน้าที่และแนวทางปฏิบัติตามหมวด 3 แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ทั้งนี้ องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ให้เป็นไปตามที่ผู้ ว่าราชการจังหวัดกระบี่ กำหนด กรมทางหลวงชนบท 2-125 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ▪ กองอำนวยการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ยอำเภอ (กอปภ.อ.) ทำหน้ า ที่ อำนวยการ ควบคุม สนับสนุน และประสานการปฏิบัติกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่รับผิดชอบในการ ป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย และปฏิบัติงานตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือกองอำนวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัดมอบหมาย โดยมีนายอำเภอ/ผู้อำนวยการอำเภอ เป็นผู้อำนวยการ ทั้งนี้ ให้มีการจัดประชุม กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ▪ กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล (กอปภ.ทน ./ทม./ทต.) ทำหน้าที่อำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เผชิญเหตุและแจ้งเตือนภัย เมื่ อเกิด สาธารณภัยขึ้น พร้อมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของเทศบาลให้สอดคล้องกับ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ รวมถึง มีหน้าที่ช่วยเหลือผู้อำนวยการจังหวัดและผู้อำนวยการอำเภอตามที่ได้รั บมอบหมาย พร้อมทั้ง สนับสนุนการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีพื้นที่ติดต่อหรือใกล้เคียง หรือเขตพื้นที่อื่น เมื่อได้รับการร้องขอ โดยมีนายกเทศมนตรี/ผู้อำนวยการเทศบาล เป็นผู้อำนวยการ ทั้งนี้ ให้มีการจัดประชุม กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ▪ กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์การบริหารส่วนตำบล (กอปภ. อบต.) ทำหน้าที่อำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เผชิญเหตุและแจ้งเตือนภัย เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น พร้อมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการในการป้อ งกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์การบริหาร ส่วนตำบลให้สอดคล้องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยอำเภอ รวมถึงมีหน้าที่ช่วยเหลือผู้อำนวยการจังหวัดและผู้อำนวยการอำเภอตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้งสนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีพื้นที่ติดต่อหรือใกล้เคียง หรือเขตพื้นที่อื่นเมื่อได้รับการร้องขอ โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตำบล/ผู้อำนวยการองค์การบริหารส่วนตำบล เป็นผู้อำนวยการ ทั้งนี้ ให้มีการจัดประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์การบริหารส่วนตำบล อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และมีองค์ประกอบ ดังนี้ กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อปท. เกาะลันตาน้อย ตำแหน่ง 1. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย ผู้อำนวยการ 2. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย รองผู้อำนวยการ 3. รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ 4. ผู้กำกับการสถานีตำรวจอำเภอเกาะลันตา กรรมการ 5. กำนันตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ 6. ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้านในตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ 7. ผู้นำชุมชนในตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ 8. ผู้แทนหน่วยงานของรัฐที่นายอำเภอเห็นสมควรแต่งตั้ง กรรมการ 9. ผู้แทนสถานศึกษาในพื้นที่ที่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ เห็นสมควรแต่งตั้งกรรมการ 10. ผู้แทนองค์การสาธารณกุศลในพื้นที่ที่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ เห็นสมควรแต่งตั้ง 11. หัวหน้าฝ่ายทุกฝ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการและเลขานุการ หมายเหตุ : อาจปรับเปลี่ยนและเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ตามที่นายอำเภอเห็นสมควร กรมทางหลวงชนบท 2-126 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (2) อำนาจหน้าที่ - จัดทำแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนที่เกี่ยวข้องเพื่ออำนวยการ ประสานงาน และสนับสนุนการปฏิบัติในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - กำหนดแนวทางปฏิบัต ิ เพื ่ อลดความเสี่ ยงจากสาธารณภัย การเตรียมพร้ อมรับ มื อ กับ สาธารณภัย เช่น จัดให้มีการฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นต้น - จัดตั้งทีมเฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์สาธารณภัย และแจ้งเตือนภัย เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพื้นที่ และให้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น เพื่อควบคุม และ บัญชาการการเผชิญเหตุสาธารณภัยในพื้นที่ - รวบรวม จัดทำคลังข้อมูลทรัพยากรในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และฐานข้อมูล ความเสี่ยงภัยในพื้นที่ อปท. - ช่วยเหลือผู้อำนวยการจังหวัดและผู้อำนวยการอำเภอตามที่ได้รับมอบหมาย - สนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ หรือพื้นที่ใกล้เคียงเมื่อได้รับการร้องขอ (3) บทบาท หน้าที่ และแนวทางปฏิบัติร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องระดับ อปท. ก) การปฏิบัติร่วมกับอำเภอและจังหวัด - จัดเจ้าหน้าที่ประสานอำเภอและจังหวัด ในช่วงระยะขณะเกิดภัย พร้อมทั้งรายงาน สถานการณ์สาธารณภัยที่เกิดขึ้นตามข้อเท็จจริงเป็นระยะๆ - กรณี ส ถานการณ์ ส าธารณภั ย มี ค วามรุ น แรงให้ ป ระสานขอกำลั ง สนั บ สนุ น จาก กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ/จังหวัด ตามลำดับ ข) การปฏิบัติร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นข้างเคียง - เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพื้นที่ของ อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิและสาธารณภัย มีความรุนแรงขยายเป็นวงกว้าง ให้ผู้อำนวยการท้องถิ่น อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิรายงานผู้อำนวยการอำเภอ พร้อมทั้งประสานกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (อปท. ซึ่งมีพื้นที่ติดต่อหรือใกล้เคียง) ให้สนับสนุน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้น - เมื่อเกิดสาธารณภัย ขึ ้นในเขตพื้นที่ของ อปท. ซึ่งมีพื้นที่ติดต่ อหรื อใกล้เคีย ง ให้ ผู้อำนวยการท้องถิ่น อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิให้การสนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นการบูรณาการและการประสานการปฏิบัติงานร่วมกัน ค) การปฏิบัติร่วมกับหน่วยทหารในพื้นที่ ในการปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ร่วมระหว่างพลเรือนกับทหารนั้น จะต้องมีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด เพื่อเป็นการสนับสนุนการจัดการ สาธารณภัยของกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิและศูนย์ปฏิบต ั ิการ ฉุกเฉินท้องถิ่น อปท. ในพื้ นที่ประสบภัยสึนามิกับหน่วยงานทหารในพื้นที่ ทั้งนี้ ฝ่ายทหารอาจพิจารณาจัดตั้ง ศูนย์ประสานงานหรือศูนย์ปฏิบัติงานร่วมระหว่างพลเรือนกับทหาร ขึ้นอยู่กับระดับของหน่วยและสถานการณ์ สาธารณภัยนั้นๆ โดยมีแนวทางปฏิบัติสอดคล้องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2564 และข้อตกลงว่าด้วยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ระหว่างผู้อำนวยการจังหวัดกับหน่วยงานทหารในพื้นที่ ทั้งนี้รายละเอียดการแบ่งมอบพื้นที่ในการ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติของหน่วยทหาร กรมทางหลวงชนบท 2-127 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ง) การปฏิบัติร่วมกับภาคประชาสังคม เอกชน และองค์การสาธารณกุศล กองอำนวยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิเป็นศูนย์กลางในการประสานการปฏิบัติในเขต รับผิดชอบตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้สามารถติดต่อประสานงาน สั่งการ รายงาน การปฏิบัติและสถานการณ์ ระหว่างทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างต่อเนื่อง รวดเร็ว และเชื่อถือได้ โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ - จัดเจ้าหน้าที่ประสานงานกับศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ เพื่อร่วมปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และการช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบภัยให้เป็นไปอย่ างมี เอกภาพ - จั ด ทำแผนประสานงานกั บ องค์ ก ารสาธารณกุ ศ ล และให้ อ งค์ ก ารสาธารณกุ ศ ล ในจังหวัดจัดเจ้าหน้าที่ประสานงานกับ อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิตลอด 24 ชั่วโมง พร้อมอุปกรณ์และบุคลากร ที่สามารถปฏิบัติภารกิจได้ - อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ร่วมกับ องค์การสาธารณกุศลจัดทำแนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนทรัพยากร เจ้าหน้าที่ อุปกรณ์ และเครื่องมือ เพื่อการ ปฏิบัติงานขององค์กรปฏิบัติในการจัดการสาธารณภัยแต่ละระดับ - กรณีที่เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น ถ้าองค์การสาธารณกุศลไปถึงพื้ นที่ประสบภัยก่อน เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ให้กั้นเขตพื้นที่อันตรายและกันไม่ให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปยังพื้นที่อันตราย พร้อมทั้ง แจ้งหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโดยทันที เพื่อดำเนินการควบคุมสถานการณ์สาธารณภัย - กรณีที่ได้รับการประสานจาก อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ เช่น ตำรวจ เทศบาล เป็นต้น ให้องค์การสาธารณกุศลจัดชุดเคลื่อนที่เร็วออกไปยังที่เกิดเหตุ และให้รายงานตัว ที่ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน หรือผู้อำนวยการท้องถิ่น เพื่อรับมอบหมายภารกิจในการปฏิบัติการ - กรณีหลังเกิดสาธารณภัย ให้องค์การสาธารณกุศล องค์กรเอกชน ช่วยเหลือ เจ้าหน้าที่ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการรักษาความปลอดภัยในสถานที่เกิดเหตุ และพื้นที่รองรับการอพยพ ประสาน หน่ ว ยแพทย์ และพยาบาล อี กทั ้ ง ให้ การรั กษาพยาบาลเบื ้ องต้ นแก่ ผ ู ้ ประสบสาธารณภั ย พร้ อมทั ้ ง ลำเลียง ผู้ได้รับบาดเจ็บส่งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล โรงพยาบาลประจำอำเภอ รวมทั้งอพยพ ช่วยเหลือ ผู้ประสบสาธารณภัยไปยังที่ปลอดภัยหรือพื้นที่รองรับการอพยพ 2) ระดับการจัดการสาธารณภัย ระดับการจัดการสาธารณภัยแบ่งเป็น 4 ระดับ ทั้งนี้ ขึ้นกับพื้นที่ ประชากร ความซับซ้อน หรือ ความสามารถในการจัดการสาธารณภัย ตลอดจนศักยภาพด้านทรัพยากร ที่ผู้มีอำนาจตามกฎหมายใช้ดุลยพินิจ ในการตัดสินใจเกี่ยวกับความสามารถในการเข้าควบคุมสถานการณ์เป็นหลัก (รูปที่ 2.9-2) ดังนี้ ระดับ การจัดการ ผู้มีอำนาจตามกฎหมาย 1 สาธารณภัยขนาดเล็ก ผู้อำนวยการอำเภอ ผู้อำนวยการท้องถิ่น ควบคุม และสั่งการ 2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผู้อำนวยการจังหวัด ควบคุม สั่งการ และบัญชาการ 3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ควบคุม สั่งการ และบัญชาการ 4 สาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ควบคุม สั่งการ และบัญชาการ กรมทางหลวงชนบท 2-128 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดภัยสึนามิขึ้นในพื้นที่ อปท.ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ, นายกเทศมนตรี, นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ในฐานะผู้อำนวยการท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 20 จะเข้าดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื้นที่โ ดยเร็ วเป็นลำดั บ แรก มี อำนาจสั ่ง การ ควบคุ ม และกำกั บดูแลการปฏิ บั ต ิหน้ าที่ ของเจ้ าพนักงานและอาสาสมั คร รวมทั ้ ง ติดตาม สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ประเมินโอกาสการขยายความรุนแรงของภัยสึนามิ เพื่อรายงานนายอำเภอ ให้เสนอต่อ ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ พิจารณาประกาศหรือยกระดับของภัยจากสาธารณภัยขนาดเล็กเป็นสาธารณภัย ขนาดกลางต่อไป ผู้อำนวยการท้องถิ่น ศูนย์ประสานการปฏิบัติ ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วม ส่วนปฏิบัติการ ส่วนอำนวยการ ส่วนสนับสนุน พื้นที่ หน่วยสถานการณ์ แผนกสนับสนุน แผนกบริการ แผนกการเงิน กลุ่มภารกิจ หน่วยทรัพยากร หน่วยจัดหา หน่วยสื่อสาร หน่วยการเงิน บัญชี สิ่งอุปกรณ์ หน่วยเอกสาร หน่วยแพทย์ หน่วยจัดซื้อ จัดจ้าง หน่วยสถานที่ หน่วยเสบียง หน่วยพัสดุ หน่วยสนับสนุน ภาคพื้น รูปที่ 2.9-2 โครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น อปท. เกาะกลาง, เกาะลันตาน้อย, เกาะลันตาใหญ่ 3) คู่มือฉบับประชาชน เรื่อง แนวทางการปฏิบัติภาคประชาชนเมื่อเกิดพิบัติภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ พร้อมทั้งแจกจ่ายประชาชนให้รับทราบ กรมป้ องกั นและบรรเทาสาธารณภั ย ได้ จ ั ด ทำเอกสารประชาสั ม พั นธ์ เผยแพร่ ความรู ้ เกี่ยวกับ ภัยสึนามิ เพื่อภาคประชาชนได้ตื่นตัว เฝ้าระวัง เตรียมพร้อมเผชิญภัยสึนามิ ซึ่งเอกสารฯ มีเนื้อหาและรูปภาพ ประกอบที่ชัดเจน ทำให้เข้าใจง่ายต่อการนำไปสู่การปฏิบัติ แสดงดังรูปที่ 2.9-3 อปท. เกาะลันตา ต้องสร้างความรู้ความเข้าใจและประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้กับประชาชนในพื้นที่ ถึง แนวทางการปฏิบัติภาคประชาชนเมื่อเกิดพิบัติภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ พร้อมทั้งนำเอกสารประชาสัมพันธ์ ของกองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธาณภัย แจกจ่ายให้ประชาชนได้รับทราบ รวมทั้ง กรมทางหลวงชนบท 2-129 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.9-3 เอกสารประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับภัยสึนามิ (ที่มา : กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) กรมทางหลวงชนบท 2-130 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.9-3 เอกสารประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับภัยสึนามิ (ที่มา : กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-131 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ▪ สร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ประชาชนและทุกภาคส่วนได้รับทราบความเสี่ยงของพื้นที่ตนเอง เพื่อให้มี ความตระหนัก เข้าใจความเสี่ยงในพื้นที่ รู้ เท่าทัน ภัย และเตรียมความพร้อมรับมือกับสาธารณภั ย ในการวางแผนและการลงทุนในการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย โดยการสนับสนุนให้สื่อประชาสัมพันธ์ทุกแขนง มี บ ทบาทในการรณรงค์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ เ พื ่ อ ปลู ก ฝั ง จิ ต สำนึ ก ด้ า นความปลอดภั ย ในชี ว ิ ต ประจำวั น เช่ น การเตรียมการในการรับมือสาธารณภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่อประชาสัมพันธ์ที่สามารถเข้าถึงประชาชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือ อินเตอร์เน็ต ▪ จัดทำ ปรับปรุง และพัฒนาคู่มือการประเมินความเสี่ยงจากภัยสึนามิ โดยให้หน่วยงานภาคใน ระดับท้องถิ่น ประเมินความเสี่ยงจากภัยสึนามิร่วมกับผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในภาคส่วนต่างๆ ได้รับรู้ความเสี่ยง ของพื้นที่เกาะลันตา ▪ ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรเครือข่ายในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และอาสาสมัครต่างๆ มีส่วนร่วมในการรณรงค์ในเรื่องความ ปลอดภัยจากสึนามิอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เนื่องจากสะพานเชื่อมเกาะลันตาเป็นเส้นทางอพยพสำคัญในการหนี ภัยสึนามิจากเกาะลันตา มายังพื้นที่ปลอดภัยในตำบลเกาะกลาง ทั้งยังเป็นเส้นทางสำคัญในการเข้าช่วยเหลือกู้ภัยเกาะลันตาและหมู่เกาะ ต่าง ๆ ที่อาจมีนักท่องเที่ยวตกค้างได้อีกด้วย โดยการช่วยเหลือสามารภใช้สะพานเชื่อมเกาะลันตา ไปยังท่าเรือ ศาลาด่าน และท่าเรือเกาะลันตาใหญ่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้การกู้ภัยและการฟื้นฟูพื้นที่ ประสบภัยสึนามิ ดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว ทันท่วงที 4) ป้ายเตือนภัยเพื่อแสดงทิศทางการอพยพไปยังที่ที่ปลอดภัย ป้ายเตือนภัยเพื่อแสดงทิศทางการอพยพไปยังที่ที่ปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวหรือสึนามิขึ้น และตำแหน่งการติดตั้งป้ายเตือนภัยพร้อมทั้งพื้นที่ปลอดภัยให้ชัดเจนเรียบร้อยแล้ว ดังนี้ (1) ป้ายเตือนในเขตพื้นที่เสี่ยงภัยคลื่นยักษ์ “สึนามิ” ติดตั้งไว้ที่ริมท่าเรือบ้านหัวหิน ฝั่งตำบล เกาะกลาง จำนวน 1 ป้าย และริมชายฝั่งในเขตตำบลเกาะลันตาน้อย จำนวน 1 ป้าย (รูปที่ 2.9-4) รูปที่ 2.9-4 ตัวอย่างป้ายเตือนในเขตพื้นที่เสี่ยงภัยคลื่นยักษ์สึนามิ กรมทางหลวงชนบท 2-132 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (2) ป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์ Tsunami Evacuation Route พร้อมบอกทิศทาง เคลื่อนที่อพยพและระยะทางในการอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัย (รูปที่ 2.9-5) รูปที่ 2.9-5 ตัวอย่างป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์สึนามิ (3) ทำการติดตัง ้ ป้ายบอกเส้นทางอพยพ ดังนี้ • พื้นที่ฝั่งตำบลเกาะกลาง ติดตั้งป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์สึนามิ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ติดตั้งบนสะพานที่ กม.0+400 ด้านขวาทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุระยะทางถึงจุดปลอดภัย 400 เมตร (กรณี อยู่บนสะพาน ควรขับรถลงจากสะพานมายังพื้นที่ถนนพื้นราบฝั่งตำบลเกาะกลาง กม.0+000) และติดตั้งบนถนน พื้นราบใต้สะพานฝั่งเกาะกลางที่ กม.0+400 ด้านขวาทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุระยะทางถึงจุดปลอดภัย 200 เมตร (รูปที่ 2.9-6) (ถนนพื้นราบ กม. 0+200 มีภูมิประเทศเป็นเนินสูงที่มีความปลอดภัยจากคลื่นสึนามิแล้ว) • พื้นที่ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ติดตั้งป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์สึนามิ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ติดตั้งบนสะพาน ที่ กม.1+900 ด้านซ้ายทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุระยะทางถึงจุดปลอดภัย 300 เมตร (กรณีอยู่บนสะพาน ควรขับรถลงจากสะพานมายังพื้นที่ถนนพื้นราบฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย กม.2+200) และติดตั้ง บนทางหลวงชนบท สาย กบ.5035 ฝั่งเกาะลันตาน้อย ที่ กม.1+900 ด้านขวาทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุระยะทาง ถึงจุดปลอดภัย 50 เมตร โดยให้อพยพขึ้นพื้นที่เนินสูงด้าน ซ้ายทางของทางหลวงชนบท สาย กบ.5035 รูปที่ 2.9-6 ป้ายแสดงตำแหน่งพื้นที่ปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท 2-133 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (4) ทำการติดตัง้ ป้ายบอกจุดปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ ดังนี้ • ฝั่ ง ตำบลเกาะกลาง ติ ด ตั้งป้ายบอกจุ ดปลอดภั ยจากคลื่นสึนามิ จำนวน 2 แห่ ง ได้แก่ ที่ กม.0+000 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้รถที่ระบายลงมาจากสะพานเชื่อมเกาะลันตา ทราบว่ามาถึงจุดปลอดภัย คลื่นสึนามิฝั่งตำบลเกาะกลางแล้ว และที่ กม.0+200 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้ประชาชนที่อพยพจากพื้นที่ริมท่าเรือ บ้านหัวหิน ทราบว่ามาถึงจุดปลอดภัยคลื่นสึนามิที่เป็นพื้นที่เนินสูงของ ทล.4206 • ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ติดตั้งป้ายบอกจุดปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ จำนวน 2 แห่ง ได้ แก่ ที่ กม. 2+200 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้รถที่ระบายลงมาจากสะพานเชื่อมเกาะลันตา ทราบว่ามาถึงจุดปลอดภัย คลื่นสึนามิฝั่งเกาะลันตาน้อยแล้ว และที่ กม.1+900 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้ประชาชนที่อพยพจากพื้นที่ริมชายฝั่ง เกาะลันตาน้อย บริเวณทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 ทราบว่ามาถึ งจุดปลอดภัยคลื่นสึนามิที่เป็นพื้นที่เนินสูง ด้านขวาทางของทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 2.10 ระบบสาธารณูปโภค ระบบสาธารณูปโภคที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ คือ ระบบสาธารณูปโภคที่อยู่ บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 (ฝั่งเกาะกลาง) และระบบสาธารณูปโภคที่อยู่บนทางหลวงชนบท กบ.6022 (ฝั่งเกาะลันตาน้อย) สรุปได้ดังนี้ 1) บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 ประกอบด้วย เสาไฟฟ้าขนาด 69kV และแรงต่ำของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งอยู่ริมถนนและเสาไฟฟ้า แสงสว่างแบบกิ่งเดี่ยวทั้งสองฝั่ง (รูปที่ 2.10-1) รูปที่ 2.10-1 เสาไฟฟ้าขนาด 69kV และแรงต่ำ บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 กรมทางหลวงชนบท 2-134 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2) บนทางหลวงชนบท กบ.6020 ประกอบด้วย เสาไฟฟ้าขนาด 22 kV และแรงต่ำของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งอยู่ริมถนนทั้งสองฝั่ง และเสาไฟฟ้าแสงสว่างแบบกิ่งเดี่ยว (รูปที่ 2.10-2) รูปที่ 2.10-2 เสาไฟฟ้าขนาด 22kV และแรงต่ำ บนทางหลวงชนบท กบ.6020 3) บนทางหลวงชนบท กบ.6019 และ กบ.5035 ประกอบด้วย เสาไฟฟ้าขนาด 22kV และแรงต่ำของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งอยู่ริมถนนทั้งสองฝั่ง และเสาไฟฟ้าแสงสว่างแบบกิ่งเดี่ยว (รูปที่ 2.10-3) รูปที่ 2.10-3 เสาไฟฟ้าขนาด 22kV และแรงต่ำ บนทางหลวงชนบท กบ.6019 และ กบ.5035 กรมทางหลวงชนบท 2-135 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 4) ระบบสาธารณูปโภคในทะเลบริเวณคลองช่องลาด ประกอบด้วย ระบบสายเคเบิ้ลใต้ทะเล ขนาด 33 KV. ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จำนวน 2 วงจร คื อ เป็ นระบบสายไฟฟ้ าอากาศ 1 วงจร และเป็ นระบบสายไฟฟ้ าใต้ ทะเล จำนวน 1 วงจร ที ่ วางอยู ่ ทางด้ าน ทิศตะวันออกของเกาะปลิง (รูปที่ 2.10-4) รูปที่ 2.10-4 (1) ระบบสายไฟฟ้าอากาศ ขนาด 33 KV. ในทะเลบริเวณคลองช่องลาด รูปที่ 2.10-4 (2) ระบบสายเคเบิ้ลใต้ทะเล ขนาด 33 KV. ในทะเลบริเวณคลองช่องลาด กรมทางหลวงชนบท 2-136 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ผลการสำรวจตำแหน่งระบบสาธารณูปโภคฝั่งตำบลเกาะกลาง พื้นที่ในตำบลเกาะกลางบริเวณใกล้ท่าเทียบเรือบ้านหัวหิน พบว่า มีแนวของสายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่เป็นเสาโครงเหล็กสูงพาดผ่านข้ามไปยังเกาะปลิงที่อยู่ในคลองช่องลาดเข้าสู่ เกาะลันตาน้อยบริเวณถนนสาย กบ.5035 ช่วง กม.3+400 ถึง กม.3+500 ดังรูปที่ 2.10-5 และรูปที่ 2.10-6 รูปที่ 2.10-5 บริเวณท่าเทียบเรือบ้านหัวหิน รูปที่ 2.10-6 แนวสายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ตำบลเกาะกลาง ผ่านแนวเกาะปลิง ในคลองช่องลาด กรมทางหลวงชนบท 2-137 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ผลการสำรวจระบบสาธารณูปโภคฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย พื ้ น ที ่ ใ นตำบลเกาะลั น ตาน้ อ ย พบแนวของสายระบบจำหน่ า ยไฟฟ้ า 33 kV ของการไฟฟ้ า ส่วนภูมิภาค ที่พาดผ่านมาจากเกาะปลิง เพื่อขึ้นสู่เกาะลันตาน้อยบริเวณถนนสาย กบ.5035 ช่วง กม .3+400 ถึง กม.3+500 ที่อยู่ในแนวศึกษาโครงการฯ และยังพบตำแหน่งของแนวท่อร้อยสายไฟใต้น้ำของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค ข้ามมาจากตำบลเกาะกลางมาขึ้นฝั่งที่บริเวณเดียวกัน และยังมีแนวของสายสื่อสาร CAT TOT TUC และ กฟภ. ที่บริเวณหน้ากูโบร์ทุ่งหยุม หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะลันตาน้อย ดังรูปที่ 2.10-7 และรูปที่ 2.10-8 สรุประบบสาธารณูปโภคที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ รูปแบบการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จำเป็นต้อรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคที่กีดขวางอยู่ในพื้นที่ดำเนินการ (รูปที่ 2.10-9) สรุปได้ดังนี้ ฝั่งตำบลเกาะกลาง - เสาไฟฟ้าของ กฟภ. ริม ทล.4206 จำนวน 24 ต้น - เสาไฟฟ้าแสงสว่างของกรมทางหลวง ริม ทล.4206 จำนวน 8 ต้น - ป้ายจราจรของกรมทางหลวง ริม ทล.4206 จำนวน 4 ป้าย - สายสื่อสารที่ติดตั้งบนเสาไฟฟ้า ริม ทล.4206 จำนวน 600 เมตร ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย - เสาไฟฟ้าของ กฟภ. ริมถนน กบ.5035 จำนวน 8 ต้น - สายสื่อสารที่ติดตั้งบนเสาไฟฟ้า ริมถนน กบ.5035 จำนวน 340 เมตร - ท่อระบายน้ำ Cross Drain ผ่านถนน กบ.5035 - ขนาดท่อ RCP 0.80 เมตร (DAI.) ของ ทช. จำนวน 15 เมตร - ขนาดท่อ RCP 1.00 เมตร (DAI.) ของ ทช. จำนวน 30 เมตร กรมทางหลวงชนบท 2-138 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.10-7 แนวท่อใต้น้ำสายไฟฟ้า 33kV การไฟฟ้าส่วนภูมิผ่านเกาะปลิงในคลองช่องลาด รูปที่ 2.10-8 แนวท่อสายสื่อสารในบริเวณเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 2-139 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.10-9 ผังตำแหน่งรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคในพื้นที่ดำเนินโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-140 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.10-9 ผังตำแหน่งรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคในพื้นที่ดำเนินโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-141 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.11 การออกแบบป้ายจราจรและสิ่งอำนวยความปลอดภัย ติดตั้งป้ายบังคับ ป้ายเตือน ป้ายแนะนำ และป้ายชุดตลอดแนวเส้นทางโครงการ เพื่อให้การจราจรสามารถ เคลื่อนตัวไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย รวมถึงผู้ใช้ทางสามารถไปถึงจุดหมายปลายทางได้โดยไม่เกิด ความสับสนในการเลือกใช้เส้นทาง โดยตัวอย่างป้ายแนะนำแหล่งท่องเที่ยว แสดงดังรูปที่ 2.11-1 และป้ายจราจร บนแนวเส้นทางโครงการ แสดงดังรูปที่ 2.11-2 รูปที่ 2.11-1 ตัวอย่างป้ายแนะนำแหล่งท่องเที่ยว กรมทางหลวงชนบท 2-142 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.11-2 ้ ป้ายจราจรบนแนวเส้นทางโครงการ ตำแหน่งการติดตัง กรมทางหลวงชนบท 2-143 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.11-2 ตำแหน่งการติดตั้งป้ายจราจรบนแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-144 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.11-2 ตำแหน่งการติดตั้งป้ายจราจรบนแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-145 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.11-2 ตำแหน่งการติดตั้งป้ายจราจรบนแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-146 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.12 แหล่งวัสดุและเส้นทางลำเลียงขนส่ง 1) การคมนาคมขนส่งทางบก การลำเลียงวัสดุที่มีขนาดใหญ่มากและมีน้ำหนักมากในการก่อสร้างโครงการฯ คือ เสาเข็มหล่อสำเร็จ และเหล็กเสริม ซึ่งสามารถขนส่งทางบกมายังท่าเรือกระบี่ แล้วจึงใช้เรือท้องแบน ขนส่งมายังพื้นที่คลองบริเวณ พื้นที่ก่อสร้าง และส่วนวัสดุการก่อสร้างต่างๆ ที่จะขนส่งผ่านทางหลวงหมายเลข 4206 จะใช้รถบรรทุกที่บรรทุก น้ำหนักตามกฎหมาย ซึ่งในปัจจุบันมีการขนวัสดุก่อสร้างมายังงานก่อสร้างในเกาะลันตาเป็นประจำอยู่แล้ว และ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาแก่สะพานข้ามคลองยางแต่อย่างใด ทั้งนี้ รถขนวัสดุก่อสร้างทุกคันต้องมีการชั่งน้ำหนักที่สถานี ซื้อตั๋วแพขนานยนต์ ท่าเรือบ้านหัวหิน และทางบริษัทที่ปรึกษาได้ตรวจสอบสภาพของสะพานข้ามคลองยาง พบว่า โครงสร้างสะพานส่วนล่าง โครงสร้างสะพานส่วนบน การป้องกันการกัดเซาะคอสะพานอยู่ในสภาพที่มั่นคง แข็งแรง ไม่มีลักษณะของรอยร้าวที่เป็นสัญญาณการสูญเสียความมั่นคงแข็งแรงแต่อย่างใด โดยแหล่งวัสดุก่อสร้าง และเส้นทางขนส่ง สรุปได้ดังตารางที่ 2.12-1 และรูปที่ 2.12-1 ตารางที่ 2.12-1 แหล่งวัสดุก่อสร้างและเส้นทางขนส่ง ระยะทาง แหล่งวัสดุก่อสร้าง เส้นทางขนส่ง (กิโลเมตร) หินทราย-ผสมคอนกรีต ▪ จากท่าทรายนายหัวมวล เลขที่ 395 หมู่ 9 ตำบลปกาสัย อ.เหนือคลอง 53 ติดถนนเพชรเกษม กม.663.65 เทศบาลเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81130 เส้นทางการขนส่ง ทล.4 ผ่านทางแยกห้วยน้ำขาว เข้า ทล.4206 โรงหล่อเสาเข็มคอนกรีต ▪ บริษัท เหนือคลองซีแพค จำกัด ต.เหนือคลอง อ.เหนือคลอง ติดถนน 20 อัดแรงสำเร็จรูป เพชรเกษม เทศบาลเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81130 เส้นทางการขนส่ง ทล.4 ไปยังท่าเรือกระบี่ ระยะทางประมาณ 20 กม. แล้วใช้เรือท้องแบน ขนส่งทางเรือไปยังคลองช่องลาดเกาะลันตา แหล่งน้ำสะอาด ▪ สำหรับใช้ผสมคอนกรีต จากโรงกรองน้ำการประปาส่วนภูมิภาค สาขา 72 กระบี่ ติดถนนเพชรเกษม เทศบาลเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81130 เส้นทาง การขนส่ง ทล.4 ไปยัง ทล.4206 แหล่งปูนซีเมนต์ผง ▪ จากบริ ษ ั ท ปู น ซี เ มนต์ น ครหลวง จำกั ด (มหาชน) ติ ด ถนนเพชรเกษม 62 ต.เหนือคลอง อ.เหนือคลอง จังหวัดกระบี่ 81130 เส้นทางการขนส่ง ทล.4 ไปยัง ทล.4206 แหล่งวัสดุเหล็กเส้นและ ▪ จากบริ ษ ั ท กระบี ่ ค ้ า เหล็ ก ติ ด ถนนเพชรเกษม เทศบาลเมื อ งกระบี่ 85 ลวดอัดแรง จังหวัดกระบี่ 81130 เส้นทางการขนส่ง ทล.4 ไปยัง ทล.4206 การขนส่งวัสดุก่อสร้างที่สำคัญของสะพานคานขึงที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ คือ สายเคเบิ้ลและ อุปกรณ์ประกอบในการยึดรั้งสายเคเบิ้ล นำเข้ามายังท่าเรือแหลมฉบัง โดยบรรจุตู้คอนเทนเนอร์มา แล้วใช้การ ขนส่งทางบกด้วยรถกึ่งพ่วง จากชลบุรี (ทล.3 + ทล.34 + ทางด่วนขั้นที่ 1) ผ่าน กทม. ลงสู่ภาคใต้ (ทล.35 + ทล.4) จนถึงกระบี่ คลองท่อม แยกห้วยน้ำขาว เข้าสู่พื้นที่โครงการ ด้วย ทล.4206 โดยมีจำนวนตู้สินค้าที่ใช้ขนส่งประมาณ 10 ตู้ กรมทางหลวงชนบท 2-147 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.12-1 แหล่งวัสดุก่อสร้างและเส้นทางขนส่ง กรมทางหลวงชนบท 2-148 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2) การคมนาคมขนส่งทางทะเล การขนส่งวัสดุก่อสร้างบนบก ผ่าน ทล .4206 ซึ่งปริมาณการขนส่งทางทะเล มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การขนส่งที่โรงงานผสมคอนกรีต ในประเด็นเรื่องการขนส่งคอนกรีตผสมเสร็จสำหรับงานก่อสร้างในพื้นที่ทะเล (คลองช่องลาด) (ตารางที่ 2.12-2) โดยประกอบด้วย • ปริมาณงานคอนกรีตผสมเสร็จที่นำมาใช้ก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเล 5,180 ลบ.ม. ที่รถบรรทุก คอนกรีตผสมเสร็จจะต้องขึ้นไปบนโป๊ะก่อสร้างเพื่อก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเล • ปริมาณงานคอนกรีตผสมเสร็จที่นำมาใช้ก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่าง และโครงสร้าง สะพานส่วนบน ในพื้นที่ทะเล จำนวน 40,740 ลบ.ม. ที่ รถบรรทุกคอนกรีตผสมเสร็จจะต้องขึ้นไปบนโป๊ะก่อสร้าง เพื่อก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างและสะพานส่วนบนที่อยู่ในพื้นที่คลองช่องลาด (พื้นที่ทะเล) ตารางที่ 2.12-2 รายละเอียดการขนส่งทางทะเลและทางบก ปริมำณกำรขนส่ ง ปริมำณเที่ยวกำร ปริมำณเที่ยวเปล่ ำ กิจกรรม จำนวน ปริมำณต่อหน่วย ปริมำณรวม ต่อวัน ขนส่ งที่มีวัสดุ ไปรับวัสดุ 1. ปริมำณกำรขนส่ งวัสดุกอ ่ สร้ำงในทะเล 1.1 กำรขนส่ งวัสดุกอ ่ สร้ำงในทะเลจำกท่ำเรือกระบีม ่ ำยังพื้นที่กอ ่ สร้ำง - การขนส่งเหล็กปลอกถาวร (สาหรับเสาเข็มเจาะ) ความ 131 ท่อน 655 ตัน ยาวท่อนละ 10 เมตร - การขนส่งเหล็กเสริม 90 เที่ยวบรรทุก - 16,860 ตัน 200 ตัน 10 PCU/ชม. 10 PCU/ชม. - การขนส่งStay Cable และ Anchorage for Stay ของเรือท้องแบน - 300 ตัน Cable รวม 17,815 ตัน - 1.2 กำรขนส่ งวัสดุกอ ่ สร้ำงในทะเลภำยในพื้นที่กอ ่ สร้ำง งำนก่อสร้ำงสะพำนแบบคำนยื่น (Balanced Cantilever Bridge) และ Box Girder Bridge - การขนส่งเหล็กปลอกถาวร (สาหรับเสาเข็มเจาะ) ที่มา - - 315 เมตร. 20 PCU 5 PCU/ชม. 5 PCU/ชม. จากท่าเรือกระบี่ ความยาวรวม 315 เมตร - การขนส่งคอนกรีตสาหรับหล่อเสาเข็มเจาะ 600 เที่ยวบรรทุก 5 ลบ.ม./คัน 3,000 ลบ.ม. 30 PCU 5 PCU/ชม. 5 PCU/ชม. - การขนส่งคอนกรีต 4,474 เที่ยวบรรทุก 5 ลบ.ม./คัน 22,370 ลบ.ม. 30 PCU 10 PCU/ชม. 10 PCU/ชม. - การขนส่งเหล็กเสริม 146 เที่ยวบรรทุก 25 ตัน/เที่ยว 3,645 10 PCU 5 PCU/ชม. 5 PCU/ชม. - การขนส่ง Box Girder 322 เที่ยวบรรทุก คาน 322 คาน 5 PCU 5 PCU/ชม. 5 PCU/ชม. งำนก่อสร้ำงสะพำนคำนขึง (Extradosed Bridge) - การขนส่งเหล็กปลอกถาวร (สาหรับเสาเข็มเจาะ) ที่มา - - 340 เมตร 20 PCU 5 PCU/ชม. 5 PCU/ชม. จากท่าเรือกระบี่ ความยาวรวมทั้งสิ้น 340 เมตร - การขนส่งคอนกรีตสาหรับหล่อเสาเข็มเจาะ 436 เที่ยวบรรทุก 5 ลบ.ม./คัน 2,180 ลบ.ม. 20 PCU 5 PCU/ชม. 5 PCU/ชม. - การขนส่งคอนกรีต 3,674 เที่ยวบรรทุก 5 ลบ.ม./คัน 18,370 ลบ.ม. 20 PCU 10 PCU/ชม. 10 PCU/ชม. - การขนส่งเหล็กเสริม และ Stay Cable 1,966 เที่ยวบรรทุก 25 ตัน/เที่ยว 49,155 ตัน 25 PCU 5 PCU/ชม. 5 PCU/ชม. รวม 145 PCU 55 PCU/ชม. 55 PCU/ชม. ที่มา : ที่ปรึกษา 2564 กรมทางหลวงชนบท 2-149 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (1) ปริมาณการขนส่งวัสดุก่อสร้างในทะเล ก) การขนส่ ง วั ส ดุ ก ่ อ สร้ า งในทะเลจากท่ า เรื อ กระบี ่ ม ายั ง พื ้ น ที ่ ก ่ อ สร้ า ง งานขนส่ ง เครื่องจักรกลขนาดใหญ่และการขนส่งวัสดุก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่ จากท่าเรือกระบี่ ไปใช้ก่อสร้างในพื้นที่ทะเล บริเวณคลองช่องลาด แสดงดังรูปที่ 2.12-2 และรูปที่ 2.12-3 - การขนส่งเหล็กปลอกถาวร (สำหรับเสาเข็มเจาะ) ความยาวรวม 1,310 เมตร ความยาว ท่อนละ 10 เมตร รวมจำนวน 131 ท่อน น้ำหนักรวมประมาณ 655 ตัน - การขนส่งเหล็กเสริม จำนวนรวม 16,860 ตัน - การขนส่ง Stay Cable และ Anchorage for Stay Cable จำนวน 300 ตัน - รวมจำนวนวัสดุที่ต้องขนส่งทางทะเล 17,815 ตัน - ปริมาณการขนส่งต่อเที่ยว 200 ตัน/เที่ยว - ปริมาณเที่ยวการขนส่งที่มีวัสดุ 90 เที่ยว - ปริมาณเที่ยวเปล่าไปรับวัสดุ 90 เที่ยว ข) การขนส่งวัสดุก่อสร้างในทะเลภายในพื้นที่ก่อสร้าง การขนส่งเพื่อก่อสร้างภายในพื้นที่ ก่อสร้างสะพานในทะเลของคลองช่องลาด - งานก่อสร้างสะพานแบบคานยื่น (Balanced Cantilever Bridge) - การขนส่งเหล็กปลอกถาวร (สำหรับเสาเข็มเจาะ) ความยาวรวม 315 เมตร - การขนส่งคอนกรีตสำหรับหล่อเสาเข็มเจาะ 3,000 ลูกบาศก์เมตร - การขนส่งคอนกรีต จำนวน 22,370 ลูกบาศก์เมตร - การขนส่งเหล็กเสริม จำนวน 3,645 ตัน งานก่อสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) - การขนส่งเหล็กปลอกถาวร (สำหรับเสาเข็มเจาะ) ความยาวรวม 340 เมตร - การขนส่งคอนกรีตสำหรับหล่อเสาเข็มเจาะ 2,180 ลูกบาศก์เมตร - การขนส่งคอนกรีต จำนวน 18,370 ลูกบาศก์เมตร - การขนส่งเหล็กเสริม จำนวน 4,770 ตัน - การขนส่ง Stay Cable และ Anchorage for Stay Cable จำนวน 300 ตัน ค) สรุปปริมาณการขนส่งสำหรับกิจกรรมการก่อสร้างในทะเล - การขนส่งเหล็กปลอกถาวร (สำหรับเสาเข็มเจาะ) ความยาวรวมทั้งสิ้น 655 เมตร - การขนส่งคอนกรีตสำหรับหล่อเสาเข็มเจาะ 5,180 ลูกบาศก์เมตร - การขนส่งคอนกรีต จำนวน 40,740 ลูกบาศก์เมตร - การขนส่งเหล็กเสริม จำนวน 8,415 ตัน - การขนส่ง Stay Cable และ Anchorage for Stay Cable จำนวน 300 ตัน (2) ปริมาณการขนส่งวัสดุก่อสร้างบนบก ผ่าน ทล.4206 ตำแหน่งที่ตั้ง Concrete Plant อยู่ด้านซ้ายทางของ ทล.4206 (กม.25+600) ส่วนที่ตั้งที่พัก คนงาน สำนักงานชั่วคราวและโรงซ่อมบำรุง (Work Shop) อยู่ด้านซ้ายทางของ ทล.4206 (กม.26+000) ดังแสดง ในรูปที่ 2.12-4 และรูปที่ 2.12-5 โดยตั้งอยู่ห่างไม่มากนักจากจุดเริ่มต้นก่อสร้างโครงการที่ กม .26+620 ของ ทล.4206 ซึ่งในพื้นที่บริเวณโครงการ มีการตั้งโรงหล่อชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูป (Casting Yard) อยู่ด้านซ้ายทางของ ทล.4206 (กม.25+800) ทั้งนี้การจัดวางผัง (Lay Out) พื้นที่กองเก็บวัสดุก่อสร้างของโครงการ บริเวณพื้นที่กองเก็บ ซึ่งอยู่ภายในเขตพื้นที่สำนักงานก่อสร้างโครงการและบ้านพักคนงาน แสดงดังรูปที่ 2.12-6 กรมทางหลวงชนบท 2-150 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.12-2 การขนส่งเครื่องจักรกลในการติดตั้งปลอกเหล็กถาวรสำหรับเสาเข็มเจาะในทะเล รูปที่ 2.12-3 การขนส่งเครื่องจักรกลในการขุดเจาะดิน-หิน สำหรับการก่อสร้างเสาเข็มเจาะของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-151 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.12-4 ตำแหน่งที่ตั้ง Concrete Plant ที่ตั้งที่พักคนงาน สำนักงานชั่วคราวและโรงซ่อมบำรุง (Work Shop) กรมทางหลวงชนบท 2-152 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.12-5 ที่ตั้ง Concrete Plant, Casting Yard, Camo Site, Site Office, Work Shop ด้านซ้ายทางของ ทล.4206 ระหว่าง กม.25+600 ถึง กม.26+000 รูปที่ 2.12-6 พื้นที่กองเก็บวัสดุก่อสร้างของโครงการ อยู่ภายในเขตพื้นที่สำนักงานก่อสร้างโครงการ และบ้านพักคนงาน กรมทางหลวงชนบท 2-153 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (3) ข้อมูลการลำเลียงวัสดุก่อสร้างเข้า -ออกโรงงานผสมคอนกรีต การขนส่งวัสดุคอนกรีตจาก โรงงานผสมคอนกรีต ประกอบด้วย ก) รวมปริมาณการขนส่งคอนกรีตในการก่อสร้างโครงการ ดังแสดงแผนภูมิการขนส่งคอนกรีต แสดงไว้ในรูปที่ 2.12-7 - การขนส่งคอนกรีตสำหรับหล่อเสาเข็มเจาะ จำนวน 5,710 ลูกบาศก์เมตร - การขนส่งคอนกรีตโครงสร้างสะพาน จำนวน 43,700 ลูกบาศก์เมตร - รวมคอนกรีตในการผลิตจากโรงผสมคอนกรีต 49,410 ลูกบาศก์เมตร - ขนาดบรรทุก (ลูกบาศก์เมตร/คัน) รถบรรทุกคอนกรีตผสมเสร็จ 5 ลูกบาศก์เมตร/คัน - จำนวนเที่ยวรถบรรทุกผสมคอนกรีต (เฉพาะเที่ยวบรรทุก) 9,882 เที่ยวบรรทุก - จำนวนวันที่ผสมคอนกรีต 500 วัน - จำนวนเที่ยวรถบรรทุกผสมคอนกรีต 19.7 เที่ยวบรรทุก/วัน - ปัดเป็นเลขกลม 20 เที่ยวบรรทุก/วัน - จำนวนเที่ยวรถบรรทุกคอนกรีต ทั้งขาไป-กลับ 40 เที่ยว/วัน - จำนวนเที่ยวรถบรรทุกคอนกรีต ทั้งขาไปและขากลับ 100 PCU/วัน รูปที่ 2.12-7 แผนภูมิการขนส่งด้วยรถบรรทุกคอนกรีตผสมเสร็จ บน ทล.4206 ระหว่าง Concrete Plant กม.25+600 ของ ทล.4206 กับท่าเรือบ้านหัวหิน ข) รวมปริมาณการขนส่งวัตถุดิบในการผลิตคอนกรีตที่โรงงานผสมคอนกรีต ดังแสดงแผนภูมิ การขนส่งวัตถุดิบสำหรับผสมคอนกรีต แสดงไว้ในรูปที่ 2.12-8 - ปริมาณการผลิตคอนกรีต เฉลี่ยต่อวัน 100 ลูกบาศก์เมตร/วัน - ปริมาณปูนซิเมนต์ผงที่ใช้ เฉลี่ย/วัน 12.8 ลูกบาศก์เมตร/วัน - ปริมาณทรายผสมคอนกรีตที่ใช้ เฉลี่ย/วัน 31.6 ลูกบาศก์เมตร/วัน กรมทางหลวงชนบท 2-154 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ - ปริมาณหินผสมคอนกรีตที่ใช้ เฉลี่ย/วัน 44.0 ลูกบาศก์เมตร/วัน - ปริมาณน้ำสะอาดที่ใช้ เฉลี่ยต่อวัน 11.6 ลูกบาศก์เมตร/วัน - รวมปริมาณวัตถุดิบในการผสมคอนกรีต 100 ลูกบาศก์เมตร/วัน - ความจุเที่ยวรถบรรทุกวัตถุดิบผสมคอนกรีต 5 ลูกบาศก์เมตร/เที่ยว - จำนวนเที่ยวบรรทุกวัตถุดิบ 20 เที่ยว/วัน - จำนวนเที่ยวบรรทุกวัตถุดิบ 50 PCU/วัน - จำนวนเที่ยวบรรทุกวัตถุดิบทั้งขาเข้า-ขาออก 100 PCU/วัน สรุปจำนวนเที่ยวรถบรรทุกเข้า-ออกโรงงานผสมคอนกรีต เท่ากับ 200 PCU/วัน แผนภูมิการขนส่ง วัตถุดิบสำหรับผสมคอนกรีตแสดงไว้ในรูปที่ 2.12-9 รูปที่ 2.12-8 แผนภูมิการขนส่งวัตถุดิบสำหรับการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ บน ทล.4206 ระหว่าง กม.0+000 ถึง Concrete Plant กม. 25+600 ของ ทล.4206 (4) การจราจรบน ทล. 4206 บริเวณทางเข้า-ออกโรงงานผสมคอนกรีต จุ ดสำรวจ MB-01 บนถนนทางหลวงหมายเลข 4206 บริ เวณจุ ดต้ นทางโครงการ ซึ ่ งอยู ่ ที่ กม.26+620 ใกล้ กั บ ตำแหน่ ง ที ่ต ั ้ งของโรงงานผสมคอนกรี ต เป็ น ทางหลวงขนาด 2 ช่ องจราจรไปและกลับ (ไม่มีเกาะกลาง) ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 4,473 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 1) และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 4,753 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 2) ลักษณะการกระจายตัวของปริมาณจราจรจำแนกเป็นรายชั่วโมง แสดงไว้ในรูปที่ 2.12-10 กรมทางหลวงชนบท 2-155 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.12-9 การกระจายปริมาณจราจรบนช่วงถนน ทล.4206 (MB-01) บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการ ใกล้กับที่ตั้งโรงงานผสมคอนกรีต รูปที่ 2.12-10 แผนภูมิการขนส่งวัตถุดิบและคอนกรีตผสมเสร็จ บน ทล.4206 ทำให้มีปริมาณจราจรเฉลี่ยเข้า-ออกโรงผสมคอนกรีต 200 pcu/วัน กรมทางหลวงชนบท 2-156 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ก) การประเมินสภาพการจราจรบน ทล.4206 - ปริมาณจราจรบน ทล.4206 มีปริมาณจราจรสูงสุด 425 pcu/ชั่วโมง LOS A - ปริมาณการจราจร เพิ่มเติมเนื่องจากมีกิจกรรมการก่อสร้างโครงการฯ ข้างต้น มีปริมาณ การจราจรเพิ่มขึ้น รวม 55 pcu/ชั่วโมง/ทิศทาง - ปริมาณจราจรบน ทล.4206 เมื่อมีการขนส่งคอนกรีตของโครงการด้วย สูงสุดเท่ากับ 425+55 = 480 pcu/ชั่วโมง LOS A ข) การประเมินสภาพการจราจรบน ทล.4206 บริเวณจากทางออกโรงผสมคอนกรีต -ท่าเรือ บ้านหัวหิน พื้นที่ในการก่อสร้างโครงการ - ปริมาณจราจรบน ทล.4206 มีปริมาณจราจรสูงสุด 425 pcu/ชั่วโมง LOS A - ปริมาณการจราจร เข้า-ออกโรงงานผสมคอนกรีต 200 PCU/วัน หรือ 25 pcu/ชั่วโมง - เผื่อปริมาณการขนส่งวัสดุก่อสร้างอื่นๆ อีก 25 pcu/ชั่วโมง - ปริมาณจราจรบน ทล.4206 เมื่อมีการขนส่งคอนกรีตของโครงการด้วย สูงสุดเท่ากับ 425+25+25 = 475 pcu/ชั่วโมง LOS A (5) มาตรการควบคุมน้ำหนักบรรทุกในการขนส่งวัสดุก่อสร้าง ผ่าน ทล.4206 ก) การบรรทุกวัสดุก่อสร้างของโครงการฯ สำหรับการขนส่งทางบกจะใช้ ทล.4026 เป็นเส้นทาง ขนส่งหลัก โดยจะใช้พิกัดน้ำหนักบรรทุกตามกฎหมายกำหนดของรถบรรทุก กรมทางหลวง 2562 ซึ่งอนุญาต ให้แล่นบนทางหลวงแผ่นดินได้ อันเป็นการป้องกันไม่ให้ถนนทางหลวงเสียหายจากน้ำหนักที่มากเกินขีดจำกัด ของถนน กรมทางหลวงจึงต้องออกกฎหมายห้ามใช้ยานพาหนะที่มีน้ำหนัก น้ำหนักบรรทุก หรือน้ำหนักลงเพลา เกินกว่าที่ได้กำหนด เพราะอาจทำให้ทางหลวงเสียหาย โดยมีรายละเอียดดังนี้ น้ำหนักบรรทุก ยานพาหนะชนิดรถเดี่ยว (Single Unit) (ก) รถบรรทุก 4 ล้อ น้ำหนักบรรทุก รวม GVW 9.5 ตัน • เพลาหน้า : ยางเดี่ยว 2 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 2.5 ตัน • เพลาหลัง : ยางเดี่ยว 2 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 7 ตัน กรมทางหลวงชนบท 2-157 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (ข) รถบรรทุก 6 ล้อ น้ำหนักบรรทุกรวม GVW 15 ตัน • เพลาหน้า : ยางเดี่ยว 2 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 4 ตัน • เพลาหลัง : ยางคู่ 4 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 11 ตัน (ค) รถบรรทุก 10 ล้อ น้ำหนักบรรทุก รวม GVW 25 ตัน • เพลาหน้า : ยางเดี่ยว 2 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 5 ตัน • เพลาหลัง : เพลาหลังคู่ ยางคู่ 8 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 20 ตัน (ง) รถบรรทุก 12 ล้อ น้ำหนักบรรทุกรวม GVW 30 ตัน • เพลาหน้า : เพลาหน้าคู่ ยางเดีย่ ว 4 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 10 ตัน • เพลาหลัง : เพลาหลังคู่ ยางคู่ 8 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 20 ตัน กรมทางหลวงชนบท 2-158 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ น้ำหนักบรรทุก ยานพาหนะชนิดพ่วง รถบรรทุก + รถพ่วง (Full Trailer) (จ) รถพ่วงบรรทุก 18 ล้อ น้ำหนักบรรทุกรวม GCW 47 ตัน รถบรรทุก 10 ล้อ 25 ตัน • เพลาหน้า : ยางเดี่ยว 2 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 5 ตัน • เพลาหลัง : เพลาหลังคู่ ยางคู่ 8 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 20 ตัน รถพ่วง 8 ล้อ 22 ตัน • เพลาหน้า : ยางคู่ 4 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 11 ตัน • เพลาหลัง : ยางคู่ 4 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 11 ตัน (ฉ) รถพ่วงบรรทุก 20 ล้อ น้ำหนักบรรทุกรวม GCW 50.5 ตัน (รวม 52 ตัน แต่กฎหมายให้แค่ 50.5 ตัน) รถบรรทุก 12 ล้อ 30 ตัน • เพลาหน้า : เพลาหน้าคู่ ยางเดีย่ ว 4 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 10 ตัน • เพลาหลัง : เพลาหลังคู่ ยางคู่ 8 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 20 ตัน รถพ่วง 8 ล้อ 22 ตัน • เพลาหน้า : ยางคู่ 4 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 11 ตัน • เพลาหลัง : ยางคู่ 4 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 11 ตัน กรมทางหลวงชนบท 2-159 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (ช) รถพ่วงบรรทุก 22 ล้อ น้ำหนักบรรทุกรวม GCW 50.5 ตัน (รวม 53 ตัน แต่กฎหมายให้แค่ 50.5 ตัน) รถบรรทุก 10 ล้อ 25 ตัน • เพลาหน้า : ยางเดี่ยว 2 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 5 ตัน • เพลาหลัง : เพลาหลังคู่ ยางคู่ 8 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 20 ตัน รถพ่วง 12 ล้อ 28 ตัน • เพลาหน้า : ยางคู่ 4 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 10 ตัน • เพลาหลัง : เพลาคู่ ยางคู่ 8 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 18 ตัน (ซ) รถพ่วงบรรทุก 24 ล้อ น้ำหนักบรรทุก รวม GCW 50.5 ตัน (รวม 58 ตัน แต่กฎหมายให้แค่ 50.5 ตัน) รถบรรทุก 12 ล้อ 30 ตัน • เพลาหน้า : เพลาหน้าคู่ ยางเดีย่ ว 4 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 10 ตัน • เพลาหลัง : เพลาหลังคู่ ยางคู่ 8 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 20 ตัน รถพ่วง 12 ล้อ 28 ตัน • เพลาหน้า : ยางคู่ 4 เส้น น้ำหนักลงเพลาหน้า 10 ตัน • เพลาหลัง : เพลาคู่ ยางคู่ 8 เส้น น้ำหนักลงเพลาหลัง 18 ตัน กรมทางหลวงชนบท 2-160 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ น้ำหนักบรรทุก ยานพาหนะชนิดกึ่งพ่วง รถหัวลาก + หางพ่วง (Semi Trailer) (ฌ) รถกึ่งพ่วงบรรทุก 10 ล้อ น้ำหนักบรรทุก รวม GCW 26 ตัน หัวลาก 6 ล้อ 15 ตัน หางพ่วง 1 เพลา • ยางเดี่ยว 4 เส้น 11 ตัน (ญ) รถกึ่งพ่วงบรรทุก 14 ล้อ น้ำหนักบรรทุก รวม GCW 35 ตัน หัวลาก 6 ล้อ 15 ตัน หางพ่วง 2 เพลา • ยางคู่ 8 เส้น 20 ตัน กรมทางหลวงชนบท 2-161 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (ฎ) รถกึ่งพ่วงบรรทุก 18 ล้อ น้ำหนักบรรทุก รวม GCW 45 ตัน หัวลาก 10 ล้อ 25 ตัน หางพ่วง 2 เพลา • ยางคู่ 8 เส้น 20 ตัน (ฏ) รถกึ่งพ่วงบรรทุก 22 ล้อ น้ำหนักบรรทุก รวม GCW 50.5 ตัน หัวลาก 10 ล้อ 25 ตัน หางพ่วง 3 เพลา • ยางคู่ 12 เส้น 25.5 ตัน ข) การขออนุ ญ าตขนย้ า ยเครื่ อ งจั กรผ่ า นทางหลวง กรณี การขนย้ า ยเครื่ องจั กร โดยใช้ เส้นทางขนส่งทางบก จะดำเนินการขออนุญาตการขนส่งตามที่ สำนักงานควบคุมน้ำหนักยานพาหนะ กรมทางหลวง อนุ ญ าตขนย้ า ยเครื่ อ งจั ก รผ่ า นทางหลวง ดั ง กล่ า ว จะเป็ น มาตรการป้ อ งกั น ความเสี ย หายของ ทล.4206 และทางหลวงทุกเส้นทางที่ใช้ในการขนส่งเครื่องจักร กรมทางหลวงชนบท 2-162 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.13 วิธีการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ปริ ม าณงานก่ อสร้าง เสาเข็ ม เจาะของโครงการสะพานเชื ่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบล เกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประกอบด้วย สะพาน 3 รูปแบบ แสดงดังตารางที่ 2.13-1 ตารางที่ 2.13-1 รายละเอียดเสาเข็มเจาะของโครงการ Balanced Cantilever Bridge Extradosed Bridge Approach Bridge ก่อสร้าง รายละเอียด สะพานคานยื่น ก่อสร้างใน สะพานคานขึง ก่อสร้างใน บนบกและพื้นที่ใกล้ชายฝั่ง พื้นที่ทะเลในคลองช่องลาด พื้นที่ทะเลในคลองช่องลาด เสาเข็มเจาะหน้าตัดกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.50 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.50 จำนวน 21 ตอม่อ จำนวน 13 ตอม่อ เมตร จำนวน 2 ตอม่อ เสาเข็มเจาะ 4 ต้น/ตอม่อ รวม 84 ต้น 8 ต้น/ตอม่อ รวม 104 ต้น 28 ต้น/ตอม่อ รวม 56 ต้น ความยาวเฉลี่ย 8 เมตร 16 เมตร 22 เมตร ความยาวเสาเข็มเจาะรวม 672 เมตร 1,664 เมตร 1,232 เมตร ปริมาณคอนกรีตเสาเข็ม 530 ลบ.ม. 3,000 ลบ.ม. 2,220 ลบ.ม. เจาะรวม 1) วิธีการก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) หลักการสำคัญในการก่อสร้างโครงสร้างในทะเล คือ พยายามทำทุกอย่างให้สามารถใช้เครื่องจักรกล ขนาดใหญ่ที่เหมาะสมกับลักษณะงานก่อสร้างให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ในการออกแบบโครงสร้างในทะเล จึงมี ความจำเป็นที่จะต้องคิดให้รอบด้านและครบถ้วน พยายามทำโครงสร้างแต่ละชิ้นส่วนให้มีความคล้ายคลึง กัน มากที่สุด ลดจำนวนจุดต่อและรอยเชื่อม รวมไปถึงชนิดของวัสดุ (Material Grade) และขนาด เพื่อลดความสับสน และผิดพลาดจากการก่อสร้าง ทั้งนี้ในการก่อสร้างสะพานคานยื่น Balanced Cantilever Bridge ของโครงการฯ มีลักษณะของการก่อสร้างในพื้นที่ซึ่งเป็นทะเลตื้น วิธีการจัดให้มี ระบบขนส่ง (Transportation Logistic) ที่มี ประสิทธิภาพในการก่อสร้าง คือ การก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) ซึ่งสามารถดำเนินการ ก่อสร้างที่หลีกเลี่ยงการนำเครื่องจักรขนาดใหญ่ลงไปทำงานในพื้นที่ทะเลตื้นได้ โดยทั่วไปจะมีวิธีการก่อสร้างดังนี้ ▪ วิธีการก่อสร้าง ทางเลือกที่ 1 วิธีการก่อสร้างโดยใช้เรือท้องแบนชนิดมีขาหยั่ง ( Jack Up Barge) ที่มีเครื่องจักรในการก่อสร้างอยู่บนเรือท้องแบนที่มีขาหยั่ง 4 ขา สามารถยกปรับระดับเรือท้องแบนให้มี ระดับที่สูงเหนือระดับน้ำทะเลได้ด้วยระบบไฮโดรลิกส์ ซึ่งจะเข้าสู่พื้นที่ชายฝั่งในตอนน้ำขึ้นสูงสุด แล้วใช้ขาหยั่ง ยกระดับของเรือท้องแบนขึ้นในระดับที่เหมาะสมต่อการติดตั้งเสาเข็มเหล็กและติดตั้งพื้นสะพานท่าเทียบเรือชั่วคราว แสดงดังรูปที่ 2.13-1 ▪ วิธีการก่อสร้าง ทางเลือกที่ 2 วิธีก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวแบบยื่นออกจากพื้นที่ชายฝั่ง โดยใช้เทคนิคการก่อสร้างแบบใช้น้ำหนักถ่วงท้ายสะพาน ในขณะที่เครื่องจักรติดตั้งเสาเข็มเหล็กยืนอยู่ที่ปลาย สะพานส่วนยื่น ทั้งนี้ ท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) จะมีความกว้าง 13.50 เมตร มีระยะห่างของเสาเหล็ก ที่ติดตั้งในทะเลตื้นทุกๆ ระยะ 15.0 เมตร แสดงดังรูปที่ 2.13-2 กรมทางหลวงชนบท 2-163 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-1 การใช้เรือท้องแบนชนิดมีขาหยั่ง (Jack Up Barge) ในการก่อสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) รูปที่ 2.13-2 วิธีการก่อสร้างแบบคานยื่น โดยใช้การถ่วงน้ำหนักด้านท้ายโครงสร้างสะพานต่อเนื่อง ในการก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) กรมทางหลวงชนบท 2-164 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (1) การก่อสร้างตอม่อสะพานโครงการ ระหว่าง Pier P15-P17 และ Pier P27-P35 กำหนดให้ มี ก ารก่ อ สร้ า งท่ า เที ย บเรื อ ชั ่ ว คราว ( Temporary Jetty) เฉพาะพื ้ น ที ่ น ้ ำ ตื้ น ระดับน้ำทะเลลึก 1-2 เมตร ที่ไม่สามารถใช้เรือโป๊ะเข้าไปดำเนินการก่อสร้างได้ บริเวณพื้นที่ก่อสร้างริมชายฝั่ง ต.เกาะกลาง (ท่าเรือบ้านหัวหิน) มีความยาวประมาณ 50 เมตร และบริเวณพื้นที่ก่อสร้างริมฝั่ง ต.เกาะลันตาน้อย มีความยาวประมาณ 200 เมตร (ความยาวท่าเทียบเรือชั่วคราวรวม 2 ชายฝั่ง 250 เมตร) เพื่อดำเนินการก่อสร้าง ตอม่อสะพานโครงการ ระหว่าง Pier P15-P17 บริเวณฝั่งท่าเรือบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง และตอม่อสะพาน ระหว่ า ง Pier P27- P35 บริ เวณพื้ น ที่ ฝั่ ง ตำบลเกาะลั นตาน้ อย ดั ง แสดงใน รู ป ที่ 2.13-3 และ รู ป ที่ 2.13-4 การก่อสร้างฐานรากสะพานโครงการ โดยวิธี การตอกเสาเข็มเหล็กในน้ ำ โดยใช้เครื่องปั้นจั่นในการตอก Steel Casing อยู่บนโครงสร้าง Temporary Jetty ทั้งนี้ เสาเข็มและฐานรากที่ใชในโครงสรางท่าเทียบเรือชั่วคราวนั้น การคิดคาน้ำหนักหรือแรง กระทําตอโครงสรางทาเทียบเรือนั้นคํานวณจากน้ ำหนักของตัวทาเทียบเรือชั่วคราวและน้ำหนักจร (Live load) เช่น น้ำหนักรถบรรทุก เปนตน รวมถึงแรงกระทําดานขางจากการกระแทกของเรือ ( Impact load) ซึ่งเสาเข็มที่ ออกแบบนั้น สามารถรองรับแรงกระทําตามแนวแกน (Axial load) และแรงจากโมเมนตดัด (Bending moment) หรือแรงที่กระทําจากดานขาง (Lateral loading) ที่เกิดขึ้นได นอกจากนี้ตัวเสาเข็มไดออกแบบใหสามารถทนต่อ การกัดกรอนจากน้ำทะเล (Erosion) ได โดยผูออกแบบไดออกแบบใหเสาเข็มเปนเสาเข็มเหล็ก (Steel pipe pile) แบบตอก (Driven pile) ขนาดเสนผานศูนยกลาง 700 มิลลิเมตร หยั่งลึกลงไปถึงระดับประมาณ -20.00 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง (MSL.) โดยมีขีดความสามารถในการรับน้ำหนักในแนวดิ่ง 130 ตัน ออกแบบโดยวิธี Allowable stress design มีคาอัตราสวนความปลอดภัย (Factor of safety) เทากับ 2.5 ซึ่งในการตอกเสาเข็ม เหล็ก (Steel Casing) เพื่อใชรองรับท่าเทียบเรือชั่วคราว จะดำเนินการในช่วงเวลาน้ำลง โดยใช้เสาเข็มกลวง ขอดี ของการตอกเข็มกลวงคือ เกิดการฟุ้งกระจายของตะกอนนอยมาก ชั้นดินบริเวณพื้นที่ก อสรางโครงการไมมีซาก ปะการังและไมมีลักษณะเปนหินแกรนิตแข็ง การตอกเสาเข็มจึงสามารถทําไดงาย ประกอบกับพื้นทะเลบริเวณก่อ สรางนั้นเปนดินเหนียวปนทราย แตอยางไรก็ตาม เพื่อเพิ่มความมั่นใจวาตะกอนที่ฟุงกระจายจะไมสงผลกระทบต่อ สิ่งแวดลอม ในระหว่างการตอกเสาเข็มเหล็ก จึงไดกําหนดให้มีมาตรการป้องกันผลกระทบรอบพื้นที่กอสราง คือ การติดตั้งมานดักตะกอน (Silt Curtain) เพื่อใหสภาพของน้ำเกิดการเปลี่ยนแปลงไมเกิน 50% ของสภาพตาม ธรรมชาติเดิม (2) การก่อสร้างสะพานช่วงกลางทะเลระหว่าง Pier P18-P26 กิจกรรมการก่อสร้างสะพานช่วงกลางทะเลระหว่าง Pier P18-P26 ในบริเวณพื้นที่น้ ำ ลึ ก ระดับน้ำทะเล 4.0-7.5 เมตร โดยจะใช้เรือท้องแบนในการบรรทุกเครื่องตอกเสาเข็ม (ปั้นจั่น) วัสดุก่อสร้าง พร้อมทั้งมี Tower Cane ร่วมกันในการก่อสร้างเสาตอม่อกลางทะเล จำนวน 9 เสาตอม่อ แสดงดังรูปที่ 2.13-5 การเทคอนกรีต (Wet Process) การใช้สารละลายโพลิเมอร์ คอนกรีตที่ปนเปื้อนมีกระบะรองรับและมีการใช้ Pump ดูดออก เพื่อนำไปยังที่ทิ้งดินและวัสดุจากการก่อสร้างที่ได้กำหนดไว้ ทั้งในพื้นที่ฝั่งตำบลเกาะกลางและ ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย (3) การรื้อถอนท่าเทียบเรือชั่วคราวของโครงการ • ทำการรื้อถอนพื้นสะพานของท่าเรือชั่วคราวที่ละช่วงสะพาน แล้วทำการลำเลียงชิ้นส่วน พื้นสะพานที่รื้อออกด้วยเรือท้องแบนมายังฝั่งตำบลเกาะกลาง เพื่อลำเลียงไปยังสถานที่ที่ผู้รับเหมาก่อสร้าง ของโครงการฯ จะนำชิ้นส่วนสะพานนำกลับไปใช้ประโยชน์ต่อไปในอนาคตต่อไป การรื้อถอนท่ าเรือชั่วคราว จะรื้อท่าเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อยก่อน ส่วนท่าเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง จะใช้ในการขนส่ง ชิ้นส่วนพื้นสะพานจากฝั่งเกาะลันตาน้อยจนหมด หลังจากนั้นจึงทยอยทำการรื้อถอนท่าเรือชั่วคราวฝั่งตำบล เกาะกลางเป็นลำดับสุดท้าย กรมทางหลวงชนบท 2-165 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ • ป้องกันวัสดุตกหล่นในระหว่างการรื้อถอนท่าเรือชั่วคราว โดยทำการขึงผ้าใบใต้พื้นสะพาน ชั่วคราวตลอดระยะเวลาก่อสร้างเพื่อป้องกันวัสดุตกหล่นในทะเล • การรื ้ อถอนเสาเข็ม ชั่ วคราว Steel Pipe Pile ให้ ท ำการถอนเสาเข็ มในช่ วงเวลาน้ำลง เท่านั้น ซึ่งจะทำให้สามารถหลีกเลี่ยงการก่อให้เกิดการฟุ้งกระจายของตะกอนขนาดเล็กในทะเลได้ รูปที่ 2.13-3 ผังและรูปตัดตามยาวแสดงตำแหน่งท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) กรมทางหลวงชนบท 2-166 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-3 ผังและรูปตัดตามยาวแสดงตำแหน่งท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-167 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-3 ผังและรูปตัดตามยาวแสดงตำแหน่งท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-168 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-3 ผังและรูปตัดตามยาวแสดงตำแหน่งท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-169 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-4 กิจกรรมการก่อสร้างโครงการ โดยเครื่องจักรกลทำงานอยู่บนท่าเทียบเรือชั่วคราว กรมทางหลวงชนบท 2-170 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-5 (1) กิจกรรมการก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเลด้วยเครื่องจักรที่ทำงานบนเรือท้องแบน กรมทางหลวงชนบท 2-171 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ้ ยเรือท้องแบนและการใช้ รูปที่ 2.13-5 (2) กิจกรรมการก่อสร้างสะพานในทะเล ด้วยการขนส่งวัสดุดว Tower Crane ในการก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 2-172 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2) ขั้นตอนการก่อสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) (รูปที่ 2.13-6) โครงสร้างสะพานหลักที่ได้รับการคัดเลือก คือ สะพานคานขึง (Extradosed Bridge) ซึ่งมีวิธีและ ขั้นตอนการก่อสร้าง ฐานรากของตอม่อช่วงในทะเล เป็นเสาเข็มเจาะขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.50 เมตร ทำการ ่ เทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) อันเป็นการ ก่อสร้างโดยใช้โป๊ะปั่นจั่นในการขุดเจาะเสาเข็มในกรณีที่ไม่มีทา ก่อสร้างบนพื้นที่ทะเลลึก และเป็นร่องน้ำเดินเรือในคลองช่องลาด ส่วนวิธีการก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเล บนพื้นที่ซึ่งมีท่าเทียบเรือชั่วคราว ( Temporary Jetty) จะใช้วิธีให้เครืองเจาะเสาเข็มยืนอยู่บนสะพานท่าเรือ ชั่วคราวดังกล่าว เพื่อทำการก่อสร้างเสาเข็มเจาะ ทั้งนี้ใช้ระบบการเจาะแบบ Wet Process เพราะเสาเข็มจะต้อง ผ่านทะลุชั้นทรายชั้นแรกไปให้ปลายเสาเข็มวางอยู่บนชั้นหินที่มีความมั่นคงแข็งแรง ในการเจาะ Wet Process ต้องทำการตอกเหล็กปลอกก่อนทำการเจาะดิน ซึ่งจะเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการฟุ้งกระจายของดินตะกอนใน ระหว่างการขุดเจาะดินออกจากหลุมเจาะ เมื่อขุดเจาะดินแล้วจึงมีการใช้สารละลายโพลิเมอร์ เพื่อช่วยในการหล่อ เลี้ยงไว้ไม่ให้หลุมเจาะส่วนที่ลึกกว่าเหล็กปลอกเกิดการพังขณะเจาะ เมื่อทำการเจาะหลุมและนำดินออกจนถึง ระดับความลึกที่ต้องการแล้ว จึงทำการเทคอนกรีต โดยขณะเทคอนกรีตจำเป็นต้องเฝ้าดูให้การเทคอนกรีตเป็นไป อย่างต่อเนื่องไม่ให้เกิดรอยต่อของคอนกรีตขณะเท ซึ่งคอนกรีตที่ใช้เทหล่อเสาเข็มเจาะนี้ ต้องเป็นคอนกรีตที่มีการ ออกแบบให้เหมาะสมกับงานเสาเข็มเจาะที่ต้องใช้เทคอนกรีตใต้น้ำ หลังจากนั้น จึงทำการหล่อคอนกรีตเสริมเหล็ก สำหรับฐานรากและเสาตอม่อของโครงสร้างสะพานในคลองช่องลาดต่อไป คานสะพานเป็ น โครงสร้ า งคอนกรี ต อั ด แรงที ่ ม ี ก ารดึ ง ลวดอั ด แรงค่ อ นข้ า งมาก การก่ อ สร้ า ง คานสะพานจะต้องใช้เทคนิคการก่อสร้างที่เรียกว่า Balanced Cantilever Construction โดยการใช้แบบหล่อ เคลื่อนที่ ได้ Form Traveler เนื่องจากลักษณะของเคเบิลที่ติดตั ้งมีลั กษณะเป็นเส้นคู่ อาจทำให้เกิดการสั่ น เนื่องจากแรงลมในบางขณะได้ ในการนี้เคเบิลจึงถูกกำหนดให้มีการติดตั้งอุปกรณ์ เพื่อลดการสั่นของเคเบิล ที่เรียกว่า Damper เพื่อลดการสั่นดังกล่าว ซึ่งในขั้นตอนการก่อสร้าง ผู้รับจ้างก่อสร้างจะต้องมีการวิเคราะห์ โครงสร้างและผลจากการก่อสร้างในแต่ละช่วงเวลา เนื่องจากการก่อสร้างจะทำการหล่อชิ้นส่วนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งในแต่ละชิ้นส่วนก็จะทำการอัดแรง ทำให้หน่วยแรงที่วิเคราะห์จะต้องพิจารณาผลการอัดแรงที่มีอยู่ในโครงสร้าง เดิมบวกกับการอัดแรงครั้งใหม่ จึงจะได้หน่วยแรงลัพธ์สุดท้ายที่หน้าตัดนั้นๆ ซึ่งเมื่อทำการก่อสร้างเพิ่มส่วนยื่นไป เรื่อยๆ จนถึงส่วนของการหล่อชิ้นส่วนหล่อปิด ( Closure pour) และทำการดึงลวดอัดแรงของลวดช่วงกลาง (Span Tendons) ทำให้โครงสร้างเปลี่ยนสภาพจากช่วงยื่นเป็นช่วงต่อเนื่องใช้รับน้ำหนักที่สภาวะใช้งาน ดังนั้น การวิเคราะห์โครงสร้างจะต้องคำนึงถึงผลดังกล่าวในการคำนวณ เพราะค่าหน่วยแรงที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการ ก่อสร้าง อาจมีค่าวิกฤติกว่าในสภาวะการใช้งานก็เป็นได้ มาตรการป้องกันการกัดเซาะริมฝั่งโดยการก่อสร้างกำแพงกันดิน ดังแสดงใน รูปที่ 2.13-7 บริเวณ เสาตอม่อของโครงการก่อสร้างอยู่ในระดับสูงกว่าระดับน้ำลงต่ำสุดเฉลี่ย ดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้องมีการป้องกันการกัด เซาะตรงเสาตอม่อ 3) ขั้นตอนการก่อสร้างสะพานแบบคานยื่น (Balanced cantilever bridge) (รูปที่ 2.13-8) สะพานรูปแบบคานยื่น ใช้โครงสร้างแนวนอนในการยึดเสาค้ำหรือคานต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อรองรับ น้ำหนักของสะพาน สะพานยื่นอาจเป็นรูปแบบที่เรียบง่าย วิธีการก่อสร้างด้วยแบบคานยื่น Balanced Cantilever ใช้วิธีการยื่นของโครงสร้างแบบสมมาตร (Symmetrical Method) วิธีนี้จะง่ายในขั้นตอนการออกแบบ โดยใน ขั้นตอนการทำงานจะต้องการกำลังคนและอุปกรณ์ในการทำงานในเวลาเดียวกัน และต้องการพื้นที่บริเวณหัวเสา มากพอที่จะติดตั้ง Formwork Traveller กรมทางหลวงชนบท 2-173 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-6 ขั้นตอนการก่อสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) กรมทางหลวงชนบท 2-174 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-6 ขั้นตอนการก่อสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-175 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-7 กำแพงกันดินป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่ง กรมทางหลวงชนบท 2-176 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-8 ขั้นตอนการก่อสร้างสะพานแบบคานยื่น (Balanced cantilever bridge) กรมทางหลวงชนบท 2-177 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-8 ขั้นตอนการก่อสร้างสะพานแบบคานยื่น (Balanced cantilever bridge) (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-178 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-8 ขั้นตอนการก่อสร้างสะพานแบบคานยื่น (Balanced cantilever bridge) (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-179 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 4) การขุดเจาะฐานรากสะพาน การก่อสร้างตอม่อสะพานของโครงการ โดยใช้เสาเข็มเจาะระบบเปียก ( Wet Process) เป็นเสาเข็ม ระบบหนึ่งที่นิยมใช้ในการก่อสร้างฐานรากโครงการขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ซึ่งเสาเข็มระบบนี้มีความสามารถ ในการรับน้ำหนักได้สูงและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย ซึ่งในขั้นตอนการก่อสร้างเสาเข็มเจาะจะทำการติดตั้ง ปลอกเหล็ก โดยกรณีการก่อสร้างในทะเลของคลองช่องลาด จะเป็นการติดตั้งปอกเหล็กแบบถาวร (Permanent Steel Casing) ส่วนการก่อสร้างเสาเข็มเจาะบนบกจะทำการติดตั้งปลอกเหล็กชั่วคราว (Temporary Steel Casing) โดยการติดตั้งปลอกเหล็กทั้ง 2 กรณีของพื้นที่ก่อสร้าง ใช้วิธีการกดปลอกเหล็กลงในตำแหน่งการเจาะเสาเข็มลงไป ในชั้นดินที่มีชั้นดินที่มีความแน่นปานกลาง โดยพิจารณาจากผลเจาะสำรวจชั้นดิน ความยาวของปลอกเหล็ก ดังกล่าวต้องมีความยาวตลอดช่วงความลึกของชั้นดินตะกอนในทะเลที่เป็นชั้นดินอ่อน ขณะทำการติดตั้งปลอก เหล็กจะต้องควบคุมปลอกเหล็กให้ถูกติดตั้งในแนวดิ่ง ไม่เกิดการเบี่ยงเบนคลาดเคลื่อนจากศูนย์กลางตำแหน่ง เสาเข็มเจาะที่ได้ออกแบบไว้ การเจาะเสาเข็ ม ด้ ว ยระบบเปี ย ก ( Wet Process) เจาะดิ น ด้ ว ยหั ว เจาะแบบถั ง หมุ น หรื อบุ ้ ง กี๋ ( Bucket) จนทำการเจาะถึ งระดั บความลึ กที่ กำหนด โดยจะเติ มสารช่ว ยพยุ งดิ นในหลุ ม เจาะอยู่ ตลอดเวลา โดยที่ระดับของสารละลายพยุงดินหลุมเจาะที่อยู่ต่ำกว่าระดับปลายปลอกเหล็ก โดยสารละลายพยุง จะใช้ สารละลายโพลีเมอร์ (Polymer Slurry) โดยโพลีเมอร์เป็นสารสังเคราะห์ชนิดโมเลกุล ใหญ่หรือแบบลูกโซ่ชนิดยาว (Long Chain) จะซึมผ่านเข้าไปในทราย โครงสร้างของโพลี เมอร์จะจับตัวยึด เหนี ่ยวกับ เม็ ดทรายทำให้ เกิด เสถียรภาพของหลุมเจาะ จากนั้นทำการติดตั้งเหล็กเสริมของเสาเข็ม ( Reinforcement) และการติดตั้งท่อเท คอนกรีต (Tremie Pipe) ด้านบนสุดจะมีกรวยรับคอนกรีต ส่วนปลายด้านล่างจะอยู่สูงจากก้นหลุมเจาะประมาณ 50 เซนติเมตร เพื่อให้คอนกรีตสามารถไหลออกมาได้อย่างสะดวก แล้วจึงทำการเทคอนกรีตลงภายในหลุมเจาะ เสาเข็มต่อไป เทคอนกรีตผ่านท่อ Tremie โดยก่อนการเทคอนกรีตให้เทโฟม ( Plug) ลงไปในท่อ Tremie ก่อน เพื่อกั้นระหว่างสารละลายโพลิเมอร (Polymers) กับคอนกรีต เมื่อเทคอนกรีต สารละลายโพลิเมอรจะถูกคอนกรีต ดันให้ล้นออกจากปากหลุม และคอนกรีตจะเข้าไปแทนที่ ในขณะที่ทำการเท ท่อ Tremie จะต้องอยู่ในคอนกรีต ตลอด และต้องเทอย่างต่อเนื่อง เมื่อปริมาณคอนกรีตเพิ่มขึ้นจะต้องตัดท่อ Tremie เป็นระยะๆ เพื่อให้ท่ออยู่ใน คอนกรีตประมาณ 2 เมตร หรือ 3-5 เมตร ขึ้นอยู่กับสถานการณ์บริเวณหน้างาน จนกว่าสารละลายโพลิเมอร (Polymers) จะถูกแทนที่ด้วยคอนกรีตจนหมด หลังจากนั้นหลุมต้นถัดไปจะต้องอยู่ห่างจากต้นที่เสร็จแล้วเป็นระยะ 6 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางเสาเข็มและเป็นเวลา 24 ชั่วโมง ซึง ่ ในระหว่างการขุดเจาะฐานราก การเติมสารละลาย โพลิเมอร์ที่ใช้พยุงหลุมเจาะและการเทคอนกรีต อาจเกิดการหกเลอะออกจากปากหลุมเจาะและตกลงสู่ทะเลได้ ก่อให้เกิดการปนเปื้อนและส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำทะเลในบริเวณพื้นที่ดังกล่าวและอาจมี ผลกระทบต่อเนื่องไปยังนิเวศวิทยาทางน้ำได้ โดยเฉพาะสัตว์น้ำกลุ่มหอยและสัตว์หน้าดิน ซึ่งปกติคอนกรีตจะมี สภาพเป็นด่าง หรือค่า pH ประมาณ 12.5 (CPAC Concrete Academy) และจากการศึกษาของวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (2548) ซึ่งได้ทำการทดสอบของเหลวพยุงเสถียรภาพของหลุมเจาะ (ทดสอบ คุณสมบัติที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซีย ส) ของสารละลายโพลิเมอร (Polymers) มีค่าความเป็นกรด/ด่าง ( pH) ระหว่างการขุดเมื่อเติมลงในหลุมเจาะมีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 8.0 – 10.0 และเมื่อเก็บตัวอย่าง จากกนหลุมเจาะก่อนเทคอนกรีตมีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 8.0 – 11.0 แสดงดังตารางที่ 2.13-2 กรมทางหลวงชนบท 2-180 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ จะเห็นได้ว่าน้ำปูนจากการเทคอนกรีตและสารละลายโพลิเมอรมีคุณสมบัติเป็นด่างค่อนข้างสูง หากตกลงสู่ในแหล่งน้ำปริมาณมาก อาจมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำได้ (คุณภาพน้ำทะเลที่ เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสัตว์น้ำมี ค่าความเป็นกรด-ด่าง ( pH) 7.0 - 8.5 ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 27 (พ.ศ.2549) เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่มที่ 124 ตอนที่ 11 ง วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2550) ตารางที่ 2.13-2 การทดสอบคุณสมบัติของเหลวพยุงเสถียรภาพหลุมเจาะ ทดสอบคุณสมบัติที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียล คุณสมบัติที่ตองทดสอบ เมื่อเติมลงในหลุมเจาะ ตัวอย่างจากกนหลุมเจาะก่อนเทคอนกรีต 1. ค่าความหนาแน่น (Density) 1.1 Bentonite Maximum 1.10 g/ml Maximum 1.15 g/ml 1.2 Polymer Maximum 1.02 g/ml Maximum 1.02 g/ml 2. คาการไหลสูญเสียของน้ำในของเหลว (Fluid loss) ทดสอบเป็นเวลา 30 นาที 2.1 Bentonite Maximum 30 ml Maximum 40 ml 2.2 Polymer Maximum 30 ml Maximum 40 ml 3. ค่าความหนืด (Viscosity) 3.1 Bentonite 30 - 45 second 30 - 55 second 3.2 Polymer 40 - 90 second 40 - 90 second 4. กำลังรับแรงเฉือน (Shear strength) 4.1 Bentonite 4 - 40 N/m2 4 - 40 N/m2 4.2 Polymer N /A N/A 5. คาปริมาณทรายที่ปนเปื้อนในของเหลว (Sand content) 5.1 Bentonite Maximum 3% Maximum 3% 5.2 Polymer Maximum 1% Maximum 1% 6. ค่าความเป็นกรด/ด่าง (pH) ระหว่างการขุด 6.1 Bentonite 9.5 - 10.8 9.5 - 11.7 6.2 Polymer 8.0 – 10.0 8.0 – 11.0 ที่มา : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์, 2548 5) การใช้ปลอกเหล็กในการทำเข็มเจาะ (1) การก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเลใช้ปลอกเหล็กถาวร ( Permanent Steel Casing) ทำหน้าที่ เป็นแบบหล่อของเสาเข็มเจาะในทะเล โดยไม่มีการถอนออก (2) ปลอกเหล็กถาวรดังกล่าว ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อรับแรงช่วยเสาเข็มแต่อย่างใด จึงไม่ใช่โครงสร้าง หลักของฐานราก อย่างไรก็ตามการที่มีปลอกเหล็กถาวรหุ้มคอนกรีตเสาเข็มเจาะเอาไว้ตลอดเวลา ทำให้ป้องกัน มิให้ น้ำทะเลที่มีอิออนของคลอไรด์ อยู่ในน้ำทะเลไม่สามารถสัมผัสกับผิวคอนกรีตของเสาเข็มเจาะได้ ซึ่งจะเป็นส่วน ช่วยเสริมการปกป้องการถูกกัดกร่อนจากน้ำทะเลได้เป็นอย่างดี (คอนกรีตที่ใช้หล่อเสาเข็มเจาะได้กำหนดให้เป็น คอนกรีตต้านทานความเค็มของน้ำทะเลอยู่แล้ว) (3) ปลอกเหล็กถาวรส่วนจมอยู่ในน้ำทะเลและชั้นตะกอนจนถึงชั้นทราย จะทาสีกันสนิมไว้ ซึ่งการที่ เหล็กปลอกถาวร จมอยู่ใต้ระดับน้ำทะเลตลอดเวลาตามธรรมชาติ มีการทาสีกันสนิมป้องกันการกัดกร่อนของ ปลอกเหล็กถาวรช่วยให้มีอัตราการถูกกัดกร่อนน้อยลง กรมทางหลวงชนบท 2-181 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 6) การป้องกันการฟุ้งกระจายของตะกอนดินในน้ำทะเล เนื่องจากการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างฐานรากสะพานของโครงการ จำเป็นต้องก่อสร้างตอม่อสะพาน ขนาดใหญ่ลงในทะล ซึ่งลักษณะแนวเส้นทางสะพานเชื่อมเกาะลันตาข้ามทะเลบริเวณคลองช่องลาด มีแนวเส้นทาง ที่ตัดผ่านร่องน้ำเดินเรือในช่วงระหว่างเสาตอม่อ P17-P18 ซึ่งเป็นเสาสูงของสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) โดยเสาตอม่อของ Main Pier of Extradosed Bridge มีขนาด 12.00x 21.75x3.50 เมตร มีความยาวช่วงสะพาน 200 เมตร มีระยะห่างกันของฐานรากเสาตอม่อเท่ากับ 180 เมตร ส่วนเสาตอม่อสะพานคานยื่น ( Balanced Cantilever Bridge) ที่ P19-P32 ช่วง กม.1+016–กม.2+019 ระยะทางประมาณ 1,003 เมตร ออกแบบเป็น สะพานคานยื่น มีความสูงช่องลอดประมาณ 8.0 เมตร โดยฐานรากสะพานใช้ Driven Pile ขนาด 0.6 เมตร ลึก 15 เมตร โดยบริเวณชายฝั่งทะเลที่มีระดับน้ำอยู่ในช่วง 0-1.5 เมตร ทำการก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) เฉพาะพื้นที่ก่อสร้างริมชายฝั่ง โดยพื้นที่ริมท่าเรือบ้านหัวหิน ต.เกาะกลาง มีการก่อสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราว มีความยาวประมาณ 50 เมตร และพื้นที่ก่อสร้างริมฝั่งเกาะลันตาน้อย ต.เกาะลันตาน้อย ซึ่งลักษณะเป็นพื้นที่น้ำตื้นมาก จะทำการก่อสร้างท่าเที ยบเรือชั่วคราว ความยาวประมาณ 200 เมตร (ความยาว ท่าเทียบเรือชั่วคราวรวม 2 ชายฝั่ง 250 เมตร) ทั้งนี้การก่อสร้างฐานรากและเสาตอม่อของสะพาน อาจก่อ ให้เกิด การแพร่กระจายของตะกอนและเศษวัสดุก่อสร้างในขณะที่ดำเนินการ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง คุณภาพน้ำในทะเลทางด้านกายภาพที่มีความขุ่นเพิ่มสูงขึ้น มีผลกระทบต่อเนื่องไปยังนิเวศวิทยาทางน้ำและ การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในทะเล ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและลดผลกระทบดังกล่าวให้เกิดขึ้นน้อยที่สุ ด จึ ง จำเป็ น ที่ จ ะต้ อ งมี ม าตรการป้ อ งกั น ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น โดยกำหนดให้ ท ำการติ ด ตั้ ง ม่ า นดั ก ตะกอน (Silt Curtain) ในน้ำทะเล ในขณะทำการขุดเจาะฐานราก ดังนี้ - งานติดตั้งม่านดักตะกอน ( Silt Curtain) การก่อสร้างฐานรากในน้ำทะเลจะกำหนดให้ทำการ ล้อมม่านดักตะกอน (Silt Curtain) โดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง และต้องทำการติดตั้งหลักยึดกับท้องน้ำ เพื่อให้มา ่ นดัก ตะกอนคลุ ม ถึ ง พื ้ น ท้ องน้ ำ ซึ ่ ง เป็ น การลดผลกระทบสิ ่ ง แวดล้ อมจากการฟุ ้ ง กระจายของตะกอนเนื ่ อ งจาก กระบวนการก่อสร้างตอม่อสะพานเพื่อไม่ให้ตะกอนดินถูกน้ำทะเลพัดพาเกิดการฟุ้งกระจายไปยังบริเวณข้างเคียง ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศได้ โดยผู้รับจ้างจะต้องเตรียมม่านกันตะกอนสำหรับใช้งาน 2 บริเวณ คือ (1) บริเวณท่าเรือขนส่งวัสดุชั่วคราว และ (2) บริเวณจุดก่อสร้างตอม่อสะพาน - ม่านดักตะกอน (Silt Curtain) จะต้องประกอบขึ้นจากวัสดุที่มีความยืดหยุ่น ผลิตจากเส้นใย โพลีเอสเตอร์ 100 % (PET) ที่มีความเหนียวสูงแบบถักทอ (Woven) ความต้านทานแรงดึงสูงสุดของม่านกัน ตะกอนต้องมีค่าไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 200/200 กิโลนิวตันต่อเมตร (MD/CD) มีการยืดตัวไม่มากกว่าหรือเท่ากับ 10 เปอร์เซ็นต์ ตามมาตรฐานการทดสอบ ASTM 4595 หรือเทียบเท่า น้ำหนักของวัสดุที่นำมาผลิตม่านกันตะกอน จะต้องไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 650 กรัม/ตารางเมตร ตามมาตรฐานการทดสอบ ASTM D 5261 หรือเทียบเท่า ความสามารถในการซึมผ่านได้ของน้ำจะต้องไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10-3 เซนติเมตรต่อวินาที ตามมาตรฐาน การทดสอบ ASTM D 4491 หรือเทียบเท่า อัตราการหดตัวของวัสดุที่นำมาผลิต ของม่านกันตะกอนจะต้ อง ไม่มากกว่า +0.2 เปอร์เซ็นต์ ตามมาตรฐานการทดสอบ ISO 7771 หรือเทียบเท่า ช่องเปิดของวัสดุที่นำมาผลิต ม่านกันตะกอนจะต้องไม่มากกว่าหรือเท่ากับ 0.10 มิลลิเมตร ตามมาตรฐานการทดสอบ BS 6906/2 หรือ EN ISO 12956 หรือเทียบเท่า ทุ่นลอยจะต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 400 มิลลิเมตร ที่ผลิต จากโพลีสไตรลีน (Polystyrene) และมีวัสดุห่อหุ้มทุ่นลอยน้ำ ที่ผลิตจากโพลีเอสเตอร์ (Polyester) หรือโพลีไวนิล คลอไรด์ (PVC) ที่มีสีส้มหรือสีเหลืองหรือสีอื่นๆ ที่สามารถมองเห็นทุ่นลอยได้อย่างชัดเจน ม่านกันตะกอนที่จะ นำมาใช้จะต้องผลิตให้ได้มาตรฐานมาจากโรงงานของผู้ผลิต เพื่อให้มั่นใจในคุณภาพของวัสดุและการประกอบม่าน กรมทางหลวงชนบท 2-182 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ - ระบบม่ า นดั กตะกอน ( Silt Curtain) ชนิ ด ป้ องกั น การฟุ ้ ง กระจายของตะกอนถึ ง ก้ น ทะเล (Bottom – Sealed Filter Barrier) เป็นเทคนิคที่มีความเหมะสมสำหรับการป้องกันตะกอนในทะเลที่มีระดับน้ำ ขึ้น -ลง (Tidal Environment) โดยมีทุ่นลอย ( Flotation) ทำหน้าที่ปรับระดับการลอยตัวของม่านดักตะกอน ทำให้ม่านดักตะกอนสามารถปรับตัวเข้ากับระดับน้ำและทิศทางการไหลของน้ำ โดยยังคงมีประสิทธิภาพในการดัก ตะกอนได้เป็นอย่างดีตลอดเวลา มีการติดตั้งสมอคู่ (Anchor) ชนิดถ่วงน้ำหนักวางอยู่บนพื้นทะเลทั้งด้านหน้าและ ด้านหลังของม่านดักตะกอน ทำให้ม่านดักตะกอนคลี่ออกเต็มพื้นที่ความลึก (Full Depth) และสามารถดักตะกอน ได้ไม่ว่ากระแสน้ำจะมีการเปลี่ยนทิศทางการไหล อันเนื่องมาจากทิศทางการไหลที่แปรปรวนขณะเกิดน้ำขึ้น-น้ำลง ในทะเล หรือเกิดจากกระลมมรสุมที่พัดผ่าน มีการเปลี่ยนแปลงทิศทางลม รูปแบบการติดตั้งม่านดักตะกอนชนิด ป้องกันการฟุ้งกระจายของตะกอนถึงก้นทะเล ( Bottom – Sealed Filter Barrier) แสดงดังรูปที่ 2.13-9 และ แบบรายละเอียดม่านดักตะกอนแสดงดังรูปที่ 2.13-10 รูปที่ 2.13-9 ตัวอย่างม่านดักตะกอนชนิดป้องกันการฟุ้งกระจายของตะกอนถึงก้นทะเล (Bottom – Sealed Filter Barrier) กรมทางหลวงชนบท 2-183 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-10 ตัวอย่างแบบรายละเอียดม่านดักตะกอนในน้ำ กรมทางหลวงชนบท 2-184 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ พื้นที่ก่อสร้างท่าเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง รูปแบบเทียบท่าเรือชั่วคราวจะต่อจากท่าเรือขนส่งเดิมแล้ว ต่ อยื่ น ออกไปประมาณ 50 เมตร การก่ อสร้ า งฐานรากในน้ ำ ทะเลจะกำหนดให้ ท ำการล้ อมม่ า นดั กตะกอน (Silt Curtain) โดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง และต้องทำการติดตั้งหลักยึดกับท้องน้ำ เพื่อให้ม่านดักตะกอนคลุมถึง พื้นท้องน้ำ ดังแสดงรูปที่ 2.13-11 จากนั้นจึงกำหนดให้เริ่มทำการก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง ยื่นออกไปประมาณ 200 เมตร และก่อสร้างตอม่อสะพาน F2 type 2 ตัว ริมตลิ่ง เมื่อก่อสร้างกดเสาเข็มและหล่อ เสาตอม่อสะพาน F2 type 2 ตัวที่ 1 แล้วเสร็จ จึงจะกำหนดให้รื้อม่านดักตะกอนออกแล้วใช้งานท่า เทียบเรือ ชั่วคราวเพื่อก่อสร้างตอม่อสะพาน F1 type 1 ต่อไปได้ ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตา รูปแบบท่าเทียบเรือจะต่อยื่นออกมาจากตลิ่งตามแนวที่จะ ก่อสร้างสะพาน และยื่นออกไปในทะเลประมาณ 200 เมตร การก่อสร้างท่า เทียบเรือชั่วคราวนี้จะกำหนดให้ ก่ อสร้ า งที่ละชุด จำนวน 3 ชุด ดังแสดง รูปที่ 2.13-12 การล้อมม่านดักตะกอน (Silt Curtain) โดยรอบพื้นที่ ก่อสร้าง และต้องทำการติดตั้งหลักยึดกับท้องน้ำ เพื่อให้ม่านดักตะกอนคลุมถึงพื้นท้องน้ำ ชุดแรกสำหรับกั้นเขต ก่อสร้างแท่นก่อสร้าง Platform และการกดเสาเข็มตอม่อสะพานแบบ F3 type 3 ทั้ง 2 ตัว เมื่อทำการกดเสาเข็ม และหล่อเสาตอม่อสะพานเสร็จแล้วก็จะให้รื้อย้ายม่านดักตะกอนชุดที่ 1 แล้วไปยังชุดก่อสร้างชุดที่ 2 สำหรับกั้นเขต ก่อสร้างแท่นก่อสร้าง และการกดเสาเข็มตอม่อสะพานตัวที่ 3 เมื่อเมื่อทำการกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพาน ตัวที่ 3 เสร็จแล้ว ก็จะให้รื้อย้ายม่านดักตะกอนชุดที่ 2 แล้วไปยังชุดก่อสร้างชุดที่ 3 เมื่อเมื่อทำการกดเสาเข็มและ หล่อเสาตอม่อสะพานตัวที่ 4 เสร็จแล้ว ก็จะให้รื้อย้ายม่านดักตะกอนออกไป แล้วใช้แท่นก่อสร้างเป็นท่า เทียบเรือ ชั่วคราวเพื่อใช้ขนส่งวัสดุก่อสร้างเพื่อก่อสร้างตอม่อสะพานแบบ F3 type 3 ตัวที่ 5-13 ต่อไป พื้นที่ก่อสร้างตอม่อสะพานโครงการ สำหรับการก่อสร้างตอม่อสะพานแบบ F1 type 1 (P16, P17), F2 type 2 (P18) และ F3 type 3 ตัวที่ (P19-P32) การก่อสร้างจะใช้ปั้นจั่นกดเสาเข็มทำงานบนเรือตลอดเวลาไม่มีการก่อสร้างแท่นก่อสร้ า ง Platform ดังนั้นก่อนจะก่อสร้างตอม่อสะพานเหล่านี้ จะกำหนดให้ทำการล้อมม่านดักตะกอน (Silt Curtain) โดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง และต้องทำการติดตั้งหลักยึดกับท้องน้ำ เพื่อให้ม่านดักตะกอนคลุมถึงพื้นท้องน้ำ ก่อนจะ เริ่มก่อสร้าง โดยรูปแบบการล้อมม่านดักตะกอนตอม่อสะพานทั้ง 3 แบบ แสดงดังรูปที่ 2.13-13 การติดตั้งม่านดักตะกอน จะกำหนดให้ล้อมม่านโดยรอบห่างจากแนวเสาเข็มที่ระยะ 5.0 เมตร หลังจากติดตั้งม่านดักตะกอนแล้วผลกระทบของกระจายของการฟุ้งกระจายของตะกอนอยู่ในระดับต่ำ เพราะ ประสิทธิภาพของม่านดักตะกอนนี้จะย่อมให้ตะกอนออกไปได้ 0.2% ของความเข้มข้นตะกอนสูงสุด โดยความ เข้มข้นของตะกอนที่ เกินขึ้นสูงสุดประมาณ 6.3 ppm (ช่วงการก่อสร้างตอม่อสะพานแบบ F1 type 1) ดังนั้น ตะกอนดินที่สามารถออกไปได้จะเหลือเพียง 0.012 ppm และผลกระทบที่เกิดขึ้นอยู่ในระดับต่ำ โดยคุณสมบัติ และการติดตั้งม่านดักตะกอนที่นำมาใช้ในโครงการ แสดงดังรูปที่ 2.13-14 กรมทางหลวงชนบท 2-185 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-11 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง รูปที่ 2.13-12 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตา กรมทางหลวงชนบท 2-186 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-13 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณตอม่อสะพานในแต่ละแบบ กรมทางหลวงชนบท 2-187 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-14 ่ ช้ในโครงการ คุณสมบัติของม่านดักตะกอนทีใ กรมทางหลวงชนบท 2-188 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 7) การติดตั้งทุ่นไฟกระพริบในระหว่างก่อสร้าง ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง กิจกรรมการก่อสร้างในทะเลบริเวณใกล้ชายฝั่งท่าเรือ บ้านหัวหิน เป็นพื้นที่ก่อสร้างที่จะมีผลกระทบต่อที่จอดเรือประมงพื้นบ้าน (เรือหัวโทง) และมีผลกระทบต่อการ เดินเรือของท่าเรือพิมาลัย (ท่าเรือเอกชน) ที่มีเรือ Speed Boat ให้บริการนักท่องเที่ยว ส่วนการเดินเรือเฟอร์รี่ แพขนานยนต์ ระหว่างท่าเรือบ้านหัวหินกับท่าเรือบ้านคลองหมาก ไม่ มีผลกระทบจากกิจกรรมการก่อสร้าง แต่ ทั้ งนี้ ในการก่อสร้างเสาตอม่อสะพานของโครงการในบริเวณพื้นที่คอขวดที่ปากทางเข้าท่าแพขนานยนต์ บ้านหัวหิน จำเป็นต้องมีม าตรการป้องกันผลกระทบด้านจราจรในการเดินทางที่ท่าเรือบ้านหัวหิน และในระหว่าง การปฏิบัติงานก่อสร้างฐานรากสะพานในทะเล ดังนี้ (1) มาตรการลดผลกระทบในระยะก่อสร้าง ▪ ติ ด ตั้ ง ทุ่ น ไฟกระพริ บ บริ เวณพื้ น ที่ ก่ อสร้ างตอม่ อสะพานและสะพานชั่ วคราว ( Jetty) เพื่ อแสดงขอบเขตพื้น ที่ ก่ อสร้ างและสามารถมองเห็ นได้ ในระยะไกล 500 เมตร เพื่ อป้ องกั น ผลกระทบจาก การสัญจรน้ำ แสดงดังรูปที่ 2.13-15 ▪ จัดให้มีหลักผูกเรือชั่วคราวสำหรับเรือประมงพื้นบ้าน (เรือหัวโทง) ซึ่งอยู่ในพื้นที่ริมชายฝั่ง ระหว่ า งพื้ น ที่ จ อดเรื อปั จ จุ บั น กั บ ท่ า เรื อพิ ม าลั ย นอกจากนั้ น แล้ ว ในการหารื อกั บ กลุ่ ม ชาวประมงพื้ น บ้ า น ของชุมชนหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน ทราบว่ากรณีที่ใช้งานท่าเรือบริเวณท่าเรือหัวหินไม่ได้ เช่น มีลมมรสุมรุนแรงพัดผ่าน เข้ามาในคลองช่องลาด ชาวประมงพื้นบ้านสามารถไปใช้บริเวณท่าเรือทางเลือก (ซึ่งชาวประมงใช้ท่าเรือบริเวณนี้ อยู่แล้ว โดยเฉพาะในช่วงมรสุม) ได้แก่ ท่าเรือบ้านควน และท่าเรือหินโต ▪ กำหนดแผนการก่ อ สร้ า งในพื ้ น ที ่ ค อขวด ปากทางเข้ า ท่ า แพขนานยนต์ บ ้ า นหั ว หิ น ซึ่งมีระยะทางประมาณ 200 เมตร นั้น มีแผนดำเนินการดังนี้ - ดำเนิ น การก่ อสร้ า งในช่ ว งนอกฤดู กาลท่ องเที ่ ยวของเกาะลั น ตา ซึ ่ ง มี ระยะเวลา 8 เดือน ระหว่างเดือนพฤษภาคม - ธันวาคม - ดำเนินการในช่วงระหว่างเวลา 22.00-06.00 น. อันเป็นช่วงเวลาที่ การให้บริการของ แพขนานยนต์หยุดให้บริการแล้ว - เมื่อก่อสร้างฐานรากและเสาตอม่อแล้วเสร็จ ให้ผู้รับจ้างก่อสร้างคืนพื้นที่ผิวจราจรให้ ทันที เพื่อใช้ประโยชน์ในการสัญจรของประชาชนและนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการแพขนานยนต์ต่อไป (2) ระยะดำเนินการ สะพานเชื่อมเกาะลันตา เป็นโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ก่อสร้างล่วงล้ำลำน้ำคลองช่องลาด ซึ่งมีร่อง น้ำเดินเรือ จึงต้องคำนึงถึงมาตรการด้านความปลอดภัยของชาวเรือ ▪ ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างใต้ท้องสะพานในบริเวณร่องน้ำเดินเรือ และติดตั้งทุ่นสัญญาณไฟตาม มาตรฐานความปลอดภัยของกรมเจ้าท่า รวมทั้งติดตั้งบรรทัดน้ำที่เสาตอม่อสะพานที่ขนาบข้างร่องน้ำเดินเรือ เพื่อให้ชาวเรือสามารถสังเกตเห็นได้ชัดเจนทั้งในเวลากลางวันและในเวลากลางคืน แสดงดังรูปที่ 2.13-16 กรมทางหลวงชนบท 2-189 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-15 ติดตั้งทุ่นไฟกระพริบบริเวณพื้นที่ก่อสร้างตอม่อสะพานและท่าเทียบเรือชั่วคราว รูปที่ 2.13-16 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างใต้ท้องสะพานในบริเวณร่องน้ำเดินเรือ และบรรทัดน้ำที่เสาตอม่อสะพาน กรมทางหลวงชนบท 2-190 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 8) การหล่อชิ้นส่วนขนาดใหญ่ในพื้นที่ ตำแหน่งที่ตั้ง Concrete Plant อยู่ด้านซ้ายทางของ ทล.4206 กม.25+600 ส่วนที่ตั้งที่พักคนงาน สำนักงานชั่วคราวและโรงซ่อมบำรุง ( Work Shop) อยู่ด้านซ้ายทางของ ทล. 4206 กม.26+000 โดยตั้งอยู่ห่าง ไม่มากนักจากจุดเริ่มต้นก่อสร้างโครงการที่ กม. 26+620 ของ ทล.4206 ส่วนพื้นที่บริเวณโครงการมีการตั้ง โรงหล่อชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูป (Casting Yard) อยู่ด้านซ้ายทางของ ทล.4206 กม.25+800 ระบบพื้นสะพานแบบคอนกรีตอัดแรงรูปกล่อง (Box Girder) เป็นระบบพื้นสะพาน ที่ใช้ในโครงการ สำหรับสะพานช่วงสั้นที่มีความยาวช่วง 20 เมตร โดยการก่อสร้างสะพานระบบนี้จะเริ่มจากการหล่อ โครงสร้าง คานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่อง (Box Girder) จากโรงงาน และอาศัยการอัดแรงโดยวิธีการดึงลวดก่อน (Pre-Tension) จากนั้นจึงนำเข้าไปติดตั้งบริเวณหน้างาน โดยทั่วไปการ ก่อสร้างพื้นสะพานระบบนี้ไม่จำเป็นต้องติดตั้งไม้แบบ ทั้งนี้ การติดตั้งคานอัดแรงรูปกล่องจะเริ่มจากการจัดเรียงคาน สำเร็จรูปให้ติดกันแล้วเชื่อมด้วยเหล็กรับแรงเฉือน ระหว่างคาน จากนั้นจึงเทคอนกรีตทับหน้าหนาประมาณ 10 เซนติเมตร สะพานแบบคอนกรีตอัดแรงรูปกล่อง (Box Girder) งานหล่อชิ้นส่วนสำเร็จรูปของคานสะพานคอนกรีตอัดแรง ( Pre Stressing Concrete Box Girder) จะทำการหล่อที่ Casting Yard งานหล่อชิ้นส่วนคานสะพานคอนกรีตอัดแรง ใช้กรรมวิธีการผลิตโครงสร้างคาน สะพานคอนกรีตด้วยการอัดแรงเขาไปในโครงสรางคอนกรีต (Prestressing Force) เพื่อใหเกิดหน่วยแรง (Stress) ขึ้นในตัวโครงสร้างคอนกรีต และหน่วยแรงที่เกิดขึ้นในตัวโครงสรางคอนกรีตนี้จะเป็นตัวไปต้านทานหน่วยแรง ที่เกิดขึ้นจากน้ำหนักของโครงสรางคอนกรีตเอง และการบรรทุกน้ำหนักจรของโครงสร้างคอนกรีตอีกทีหนึ่ง ขั้นตอนการหล่อชิ้นส่วนคานสะพานสำเร็จรูปที่โรงหล่อ (Casting Yard) (1) ตรวจสอบการรอยลวดอัด แรง พรอมใสทอหุ มลวดอัด แรง ( Debond) ตามแบบมาตรฐาน ของกรมทางหลวงชนบท (2) ตรวจสอบการประกอบเหล็ กเสริ ม และติ ด ตั้ ง ลู กปู น ให ไดระยะ Covering มาตรฐานของ กรมทางหลวงชนบท (3) ควบคุ ม การดึ ง ลวดอั ด แรงทุ ก เสนใหตึ ง ( Pre-Load) ตรวจสอบรอยแตก ตํ า แหนงทอหุ ม ของลวดอัดแรงตลอดแนว ทําเครื่องหมายไวจากนั้นดึงลวดอัดแรงตามคาแรงดึงที่แบบหล่อ กําหนดวัดระยะ การยืดตัว ตามที่กําหนดไวจดบันทึกการดึงลวดอัดแรงทุกเสน (4) ประกอบแบบหลอที่ทาน้ำมันทาแบบ และยึดค้ำยันใหแข็งแรง กรณีคานไมวางอยู ในระดับ ใหทําการปรับคานและจุดรองรับใหเหมาะสม (5) การเทคอนกรีตตองไดรับอนุญาตจากวิศวกรควบคุมงานกอนทุกครั้ง (6) ขณะเทคอนกรีตตองตรวจสอบแบบหลอไมใหเกิดการเคลื่อนตัว (7) ตรวจสอบความขนเหลวของคอนกรีต ( Slump Test) ตามขอกําหนด และเก็บแทงคอนกรีต ตัวอยาง เพื่อการทดสอบความสามารถรับแรงอัด (8) ควบคุมการใชเครื่องมืออุปกรณที่ทําใหคอนกรีตแนนตัว (Vibrator) อยางถูกวิธี (9) บันทึกวัน เดือน ป หมายเลขลําดับการหลอ ตําเหนงติดตั้งของคานคอนกรีตอัดแรง เพื่อความ สะดวกถูกตองในการกองเก็บและขนสงไปใชงานขั้นตอนตอไป (10) กอนการตัดลวดอัดแรง ตองตรวจสอบผลการทดสอบความสามารถการรับแรงอัดของแท ง คอนกรีตตัวอยาง ใหไดคาตามแบบกําหนด (11) ลดแรงดึงอยางชาๆ โดยคลายแมแรงสําหรับลดแรงดึง จนกระทั่งแรงดึงลวดอัดแรงหมดไป จากนั้นจึงทําการตัดลวดอัดแรง กรมทางหลวงชนบท 2-191 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ (12) กรณีหลอคานคอนกรีตอัดแรงในฐานหลอมากกวาหนึ่งคาน การตัดลวดอัดแรง ใหตัดลวด ระหว่างคานคอนกรีตแตละคาน ใหตัดสลับเสนเพื่อปองกันความเสียหายที่เกิดจากการเคลื่อนตัวของคานคอนกรีต อัดแรง (13) การตัดลวดอัดแรงที่บริเวณปลายคาน ใหใชเครื่องตัดชนิดแผนไฟเบอรหามใชความรอนในการ ตัดลวดอัดแรง การหล่อชิ้นส่วนคานสะพานคอนกรีตอัดแรงสำเร็จรูป ชิ้นส่วนคานสะพานคอนกรีตอัดแรงสำเร็จรูปแต่ละชิ้น มีขนาดความกว้าง 1.00 เมตร ความสูง 0.70 เมตร และความยาว 20.00 เมตร โดยติ ดตั้ งจำนวน 14 Box Girder/Span โดยมี การก่อสร้างสะพาน ช่วงสั้น ความยาวช่วงสะพาน 20.00 เมตร รวมทั้งสิ้น 23 ช่วงสะพาน ระยะทางรวม 460 เมตร จำนวนรวมของ คานสะพานคอนกรีตอัดแรงสำเร็จรูปที่ทำการหล่อเท่ากับ 322 คานสะพาน และมีรายละเอียดการก่อสร้าง ทั้งฝั่งตำบลเกาะกลางและฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ดังนี้ - งานก่อสร้างสะพาน Box Girder ที่ฝั่งตำบลเกาะกลาง ระหว่าง กม. 0+252 ถึง กม. 0+572 ระยะทางรวม 320 เมตร จำนวน 16 ช่วงสะพาน ใช้ Box Girder ขนาดความกว้าง 1.00 เมตร ความสูง 0.70 เมตร และความยาว 20.00 เมตร จำนวนรวม 224 คานสะพาน - งานก่อสร้างสะพาน Box Girder ที่ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ระหว่าง กม. 1+957 ถึง กม. 2+097 ระยะทางรวม 140 เมตร จำนวน 7 ช่วงสะพาน ใช้ Box Girder ขนาดความกว้าง 1.00 เมตร ความสูง 0.70 เมตร และความยาว 20.00 เมตร จำนวนรวม 98 คานสะพาน การก่อสร้างสะพานด้วยคานสะพานคอนกรีตอัดแรง (Pre-stressing Concrete Box Girder) (1) การขนส่งคานสะพานคอนกรีตอัดแรง ( Pre Stressing Concrete Box Girder) แต่ละชิ้นส่วน จะใช้รถบรรทุกกึ่งพ่วง (Semitrailer) ในการขนส่ง โดยคานสะพาน Box Girder แต่ละตัวมีน้ำหนักประมาณ 33.6 ตัน/ Girder ดังนั้นในการขนส่งจะทำการขนส่ง 1 Gider/เที่ยว (2) การยกคานขึ้นติดตั้งใช้ Mobile Crane ขนาดความสามารถในการยกน้ำหนัก ไม่น้อยกว่า 100 ตัน ในการยกชิ้นส่วนคานสะพานคอนกรีตอัดแรง (Pre Stressing Concrete Box Girder) (รูปที่ 2.13-17) (3) วิธีการควบคุมการวางคานสะพานคอนกรีตอัดแรง (Pre Stressing Concrete Box Girder) • ตรวจสอบระยะ ระดับของ Bearing Support ใหถูกตอง • ตรวจสอบระยะระหวางตอมอ (Span) ใหถูกตอง • ตรวจสอบวิธีวางคานและประสิทธิภาพของเครื่องจักรวาเหมาะสมหรือไม • ตรวจสอบความแข็งแรงของพื้นที่ ที่จะใชในการวางคาน • กอนที่จะนําคานไปวางยังตําแหนงใหตรวจสอบหมายเลขและทิศทางการวางคานที่หนางาน อีกครั้งใหถูกต้อง • ควบคุมระยะของปลายคานทั้งสองที่วางอยู บน คานขวางรับคานสะพาน Box Girder นั้น ใหมีระยะหางพอดีตามขอกําหนด กรมทางหลวงชนบท 2-192 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-17 กิจกรรมการก่อสร้างสะพานด้วยคานสะพานคอนกรีตอัดแรง 9) วิธีการก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเลด้วยเครื่องจักรบนเรือท้องแบน - เครื่องจักรก่อสร้างสำหรับติดตั้งปลอกเหล็กถาวรอยู่บนเรือท้องแบน ทำการติดตั้งปลอกเหล็ก ถาวรป้องกันหลุมเจาะพัง โดยใช้วิธีการก่อสร้างเสาเข็มเจาะระบบเปียก การเจาะวิธีนี้ อุปกรณ์เจาะจะติดตั้งอยู่กับ แกนเจาะที่สามารถยืด – หดได้ การเจาะจะทำทีละขั้นตอนจนถึงความลึกที่กำหนด จนถึงความลึกปลายเสาเข็มที่ ต้องการ แสดงดังรูปที่ 2.13-18 - ก้านเจาะจะทำการขุดเจาะดินจากพื้นที่ทะเล แล้วนำมาใส่ไว้ในกระบะพักดินที่อยู่บนเรือ ท้องแบน แสดงดังรูปที่ 2.13-19 - จัดเตรียมเรือท้องแบนสำหรับให้รถบรรทุกดินขุดเจาะเสาเข็มเจาะในทะเล ไปรับดินจากกระบะ พักดินบนเรือท้องแบน เพื่อนำเรือท้องแบนขนดินไปยังท่าเรือ บ้านคลองหมาก ฝั่งเกาะลันตาน้อย แสดงดังรูปที่ 2.13-20 และรูปที่ 2.13-21 การขนส่ ง เศษมวลดิ น และหิ น จากกิ จ กรรมขุ ด เจาะฐานรากในทะเลไปไว้ ใ นพื ้ น ที ่ ก องดิ น ฝั่ ง เกาะลันตาน้อย โดยใช้เรือท้องแบนและรถบรรทุกวัสดุ ทำการขนส่งมายังพื้นที่กองเก็บบนฝั่ง ซึ่งโครงการฯ ได้จัดเตรียมรถเครนขนาดใหญ่ตั้งอยู่บนฝั่งท่าเรือบ้านหัวหิน เพื่อทำการยกวัสดุขึ้นรถบรรทุกลำเลียงมาตาม ถนน ทล.4206 แล้วนำวัสดุขนาดใหญ่มากองเก็บไว้ที่ลานกองวัสดุ ส่วนวัสดุขนาดเล็กนั้นจะมากองเก็บไว้ในอาคาร กองเก็บวัสดุ กรมทางหลวงชนบท 2-193 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-18 ติดตั้งปลอกเหล็กถาวรเสาเข็มเจาะ รูปที่ 2.13-19 กิจกรรมการขุดเจาะดิน-หินภายในปลอกเหล็กถาวรในทะเล กรมทางหลวงชนบท 2-194 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ที่จอดรถบรรทุกรอรับวัสดุ จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล ทางลาดปรับระดับได้ตามสภาพ ระดับน้าทะเลขึ้น ลง ตัวอย่างเรือท้องแบนสําหรับให้รถบรรทุกดินและวัสดุที่ได้จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล มาใส่กระบะรถบรรทุกที่ อยู่บนเรือท้องแบน เมื่อมีปริมาณวัสดุเหมาะสมแก่การบรรทุกแล้ว เรือท้องแบนจะส่งรถบรรทุกไปยังฝัง ่ ต่อไป ที่จอดรถบรรทุกรอรับวัสดุ จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล ทางลาดปรับระดับได้ตามสภาพ ระดับน้าทะเลขึ้น ลง ตัวอย่างเรือท้องแบนสําหรับให้รถบรรทุกดินและวัสดุที่ได้จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล มาใส่กระบะรถบรรทุกที่ ่ ต่อไป อยู่บนเรือท้องแบน เมื่อมีปริมาณวัสดุเหมาะสมแก่การบรรทุกแล้ว เรือท้องแบนจะส่งรถบรรทุกไปยังฝัง รูปที่ 2.13-20 เรือท้องแบนสำหรับบรรทุกดินและวัสดุจากการเจาะเสาเข็มในทะเล กรมทางหลวงชนบท 2-195 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ่ เกาะกลาง และฝัง รูปที่ 2.13-21 ท่าเรือขนดินจากการเจาะเสาเข็มในทะเลฝัง ่ เกาะลันตาน้อย 10) มาตรการในระยะก่อสร้างเกี่ยวกับการป้องกันไม่ให้มีสิ่งของร่วงหล่นลงทะเล สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มี มาตรการในการป้องกันไม่ให้มีสิ่งของร่วงหล่นลงทะเลดังนี้ (1) การป้องกันไม่ให้น้ำปูนรั่วออกจากแบบหล่อคอนกรีต การเกิ ดน้ ำปู นรั ่ วออกจากแบบหล่ อคอนกรี ตจะก่ อให้ เกิ ดผิ วคอนกรี ตเป็ นโพรงแบบรั งผึ้ ง (Honeycombing) การเป็นโพรงของคอนกรีตที่มีลักษณะคล้ายรังผึ้งโดยมากมักจะเกิดบนผิวหน้าของคอนกรีต ที่เทโดยมีแบบปิด เช่น ด้านข้างของ Box Girder ในการติดตั้งแบบหล่อคอนกรีต จึงมีมาตรการป้องกันมิให้เกิด ปัญหาน้ำปูนรั่วออกจากแบบหล่อคอนกรีต มาตรการป้องกันน้ำปูนรั่วออกจากแบบหล่อคอนกรีต - เลือกใช้ส่วนผสมคอนกรีตที่มีส่วนละเอียดเพียงพอที่จะไปอุดตามช่องว่างระหว่างเม็ดหิน - เลือกใช้คอนกรีตที่มีค่ายุบตัวในขณะเทให้เหมาะสมกับงาน - ตรวจสอบระยะและการหนุนเหล็ กเสริ มให้ เป็นไปตามแบบที่ กำหนดไว้รวมทั้งควรมี การ ตรวจสอบระยะต่างๆ ในแบบหล่อเพื่อให้คอนกรีตสามารถไหลผ่านเข้าเต็มแบบได้โดยไม่เกิดการแยกตัว - ทำการตรวจสอบความแข็งแรงของแบบและค้ำยันก่อนเทคอนกรีต รวมทั้งอุดรูรั่วทั้งหมด รวมถึงรูในแบบที่ต้องมีเหล็กเสริมเสียบทะลุออกมา เพื่อป้องกันน้ำปูนไหลออกจากแบบขณะเทคอนกรีต - ใช้แบบหล่อเหล็ก ที่กันน้ำ และตรวจสอบแบบหล่อก่อนเทคอนกรีตพร้อมทั้งอุดรูรั่วทั้งหมด ตัวอย่างลักษณะแบบหล่อคอนกรีตสำหรับสะพานรูป Box Girder ดังแสดงในรูปที่ 2.13-22 กรมทางหลวงชนบท 2-196 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-22 แบบหล่อคอนกรีตชนิดกันน้ำและป้องกันการรั่วของน้ำปูน ออกจากแบบหล่อลงทะเล (2) การป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากที่สูง ก) การป้องกันที่ตัวผู้ปฏิบัติงาน - ฝึกอบรมให้กับผู้ที่ต้องขึ้นไปปฏิบัติงานบนที่สูง - มีการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน - สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ข) การป้องกันในสถานที่ทำงาน - จัดระบบงาน เพื่อจำกัดการทำงานบนที่สูง - ติดตั้งรั้วตาข่ายและอุปกรณ์ป้องกันการตกเพื่อลดความเสี่ยง (รูปที่ 2.13-23) - พื้นที่ทำงานปราศจากปัจจัยที่ทำให้สะดุด ลื่น - กั้น หรือปิดช่องเปิดบนพื้นให้แข็งแรง พร้อมป้ายเตือนอันตราย ค) การป้องกันอันตรายจากการร่วงหล่นของวัสดุในพื้นที่ปฏิบัติงาน - อุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก ควรใส่ในภาชนะที่แข็งแรง - วัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดต้องไม่วางกีดขวางทางเดิน - จัดเก็บเศษวัสดุที่เหลือใช้ในภาชนะที่แข็งแรง - จัดเก็บทำความสะอาดอย่างต่อเนื่อง - ใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน - ใช้เชือกผูกรัดเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงาน - ขนย้ายวัสดุอุปกรณ์อย่างถูกวิธี ง) การป้องกันอันตรายจากการสะดุด ลื่นล้ม บนพื้นที่ทำงาน - วัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดจะต้องไม่วางกีดขวางทางเดิน - สายไฟ สายยาง ห้ามลากผ่านพื้นทางเดิน - บริเวณช่องทางขึ้น-ลงบันได ต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง กรมทางหลวงชนบท 2-197 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ - พื้นที่ทำงานต้องมีราวกันตก และแผ่นกันของตก - พื้นที่ทำงานต้องไม่เปียกแฉะ - พื้นที่ทำงานจะต้องไม่มีคราบน้ำมัน จารบี - พื้นทางเดินต้องเรียบเสมอกัน รูปที่ 2.13-23 ตัวอย่างการติดตั้งรั้วตาข่ายป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากที่สูง กรมทางหลวงชนบท 2-198 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ จ) การป้องกันอันตรายจากการตกในการเดิน เคลื่อนย้าย หรือเปลี่ยนพื้นที่ปฏิบัติงาน - มีราวกันตก หรือเชือกนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างโดยรอบ - มีทางเดินชั่วคราวพร้อมราวกันตก - ติดตั้งตาข่ายนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างที่มั่นคงแข็งแรง - ปิดกั้นบริเวณด้านล่างพื้นที่ปฏิบัติงาน - จัดเตรียมนั่งร้าน หรือเครื่องจักรกลที่กำหนดไว้ในแผนงาน - สวมใส่ และใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกตลอดเวลา - ห้ามเคลื่อนย้ายร่างกายบนที่สูง โดยปราศจากการเกาะเกี่ยวเข็มขัดนิรภัย 11) ขั้นตอนการจัดการดินที่ได้จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล ที่ทิ้งดินจากกิจกรรมการขุดเจาะเสาเข็มเจาะของโครงการ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ • พื้นที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะกลาง มีขนาดพื้นที่ประมาณ 4.6 ไร่ ระยะห่างจากพื้นที่ โครงการ 4.2 กิโลเมตร ดังแสดงในรูปที่ 2.13-24 และรูปที่ 2.13-25 • พื้นที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะลันตาน้อย มีขนาดพื้นที่ประมาณ 2.0 ไร่ ระยะห่างจาก พื้นที่โครงการ 9.1 กิโลเมตร ดังแสดงในรูปที่ 2.13-26 และรูปที่ 2.13-27 ซึ่ ง ได้ มี ก ารประสานงานเรื่ องการอนุ ญ าตให้ น ำดิ น ทิ้ ง จากโครงการ โดยกิ จ กรรมการก่ อสร้ า ง เสาเข็มเจาะเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดดินขุดเจาะ และจำเป็นต้องนำไปทิ้งยังพื้นที่ทิ้งดินดังกล่าวข้างต้น โดยการ ก่อสร้างเสาเข็มเจาะบนบกฝั่งตำบลเกาะกลางทั้งหมด จะนำไปทิ้งที่พื้นที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะกลาง มีขนาดพื้นที่ประมาณ 4.6 ไร่ ระยะห่างจากพื้นที่โครงการ 4.2 กิโลเมตร โดยดินขุดเจาะในกรณีนี้ จะไม่มีปัญหา ที่เกี่ยวกับดินเค็มแต่อย่างใด ส่วนการขุดเจาะในทะเล จะนำไปทิ้งข้าง อบต.เกาะลันตาน้อย มีความประสงค์ ในการถมที่เพื่อปรับระดับให้เหมาะสมต่อการพัฒนาพื้นที่เพื่อสาธารณประโยชน์ในอนาคตต่อไป โดยมิได้มีการใช้ พื้นที่เพื่อการเพาะปลู กพืชแต่อย่างใด แต่ จ ะมี การกำหนดมาตรการทั้ง ป้องก้นและปรับปรุ งดินเค็มที่ได้จาก การเจาะเสาเข็มในทะเล สำหรับกิจกรรมการก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเล วิธีการก่อสร้างจะใช้การติดตั้งเหล็กปลอกถาวร ที่ทำให้การขุดเจาะไม่เกิดการฟุ้งกระจายของตะกอนดิน ปริมาณดินที่ได้จากการขุดเจาะในทะเลนั้น เป็นดินทราย ที่มีลักษณะเป็นดินเค็มเพียงร้อยละ 15.00 ส่วนอีกร้อยละ 85.00 เป็นหินดินดานและหินทราย การก่อสร้าง เสาเข็ ม เจาะในทะเล รวมทั ้ ง การก่ อสร้ า งเสาเข็ ม เจาะบนบกฝั ่ ง ตำบลเกาะลั น ตาน้ อย จะนำไปทิ ้ ง ที ่ พ ื ้ น ที่ สาธารณประโยชน์ของ อบต. เกาะลันตาน้อย มีขนาดพื้นที่ประมาณ 2.0 ไร่ ระยะห่างจากพื้นที่โครงการ 9.1 กิโลเมตร พื้นที่ทิ้งดินดังกล่าว จัดเป็ นที่ดินประเภทสถาบันราชการ ตามผังเมืองรวมเกาะลันตา (รูปที่ 2.13-28) ซึ่งสภาพ ปัจจุบันของพื้นที่ทิ้งดินฝั่งเกาะลันตาน้อยเป็นพื้นที่ลุ่มระหว่างชายทะเลเกาะลันตาน้อยและคลอง (น้ำทะเล) หลังที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา สภาพพื้นดินเป็นดินทรายที่มีการระบายน้ำได้ดี โดยระบายน้ำลงสู่คลอง (น้ำทะเล) หลังที่ว่าการอำเภอเกาะลันตาได้สะดวก พื้นที่ถูกปกคลุ มด้วยหญ้าและวัชพืช ไม่มีการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ไม่มีต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่ทิ้งดิน (มีเพียงต้นสนริม ทล.6022 เท่านั้น) ดังแสดงในรูปที่ 2.13-29 มาตรการจัดการดินทิ้งจากการเจาะเสาเข็ม - การป้องกันการแพร่กระจายของดินเค็ม โดยการสร้างคันดินสูง 0.5 เมตร พร้อมขุดร่ องน้ำ เพื่อกันไม่ให้น้ำเค็มไหลออกสู่สาธารณะ - ให้ใช้ยิปซัมจากธรรมชาติหรือยิปซัมจากโรงงานอุตสาหกรรม ผสมกับปูนขาวในอัตราหนึ่ง ต่อหนึ่งส่วน เพื่อรองพื้นที่ทิ้งดิน โดยใช้ตามอัตราแนะนำของกรมพัฒนาที่ดิน กรมทางหลวงชนบท 2-199 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-24 ตำแหน่งที่ทิ้งดินของโครงการ พื้นที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะกลาง กรมทางหลวงชนบท 2-200 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-25 สภาพพื้นที่บริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต.เกาะกลาง กรมทางหลวงชนบท 2-201 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-26 ตำแหน่งที่ทิ้งดินของโครงการ พื้นที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 2-202 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.13-27 สภาพพื้นที่บริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต.เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 2-203 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ่ ริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต.เกาะลันตาน้อย รูปที่ 2.13-28 ผังเมืองรวมเกาะลันตากับพื้นทีบ รูปที่ 2.13-29 สภาพปัจจุบันของพื้นที่บริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต.เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 2-204 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.14 การจัดจราจรในช่วงก่อสร้าง 1) การติดตั้งป้ายจราจร เมื่อมีการก่อสร้างต้องมีการวางแผนและใช้เครื่องหมายจราจรให้เหมาะสมกับบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง โดยแสดงด้วยป้ายจราจร เครื่องหมายจราจรบนพื้นทาง และอุปกรณ์แบ่งช่องจราจรอื่นๆ แตกต่างกันไปในแต่ละ ส่วนของพื้นที่ก่อสร้าง ซึ่งแบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่ - พื้นที่การเตือนล่วงหน้า คือ ช่วงของถนนที่ทำให้ผู้ใช้รถใช้ถนนได้รับการเตือนล่วงหน้า ก่อนถึง พื้นที่ก่อสร้าง อาจเป็นป้ายจราจร หรือไฟเตือน โดยมีระยะการติดตั้งแตกต่างกันตามชนิดของถนน - พื้นที่ช่วงการเปลี่ยนแปลง คือ ช่วงของถนนที่นำผู้ใช้รถใช้ถนนเปลี่ยนจากช่วงของถนนปกติ ไปสู่การจราจรในเขตพื้นที่ก่อสร้าง อาจใช้เส้นจราจรหรืออุปกรณ์อื่นๆ เช่น กรวยยาง แผงกั้น โดยทั่วไประยะทาง ของช่วงการเปลี่ยนแปลงมักจะเกี่ยวข้องกับระยะการเบี่ยงการจราจร (Taper) - พื้นที่ปฏิบัติงาน คือ ช่วงของถนนที่มีพื้นที่ทำงานก่อสร้าง ทางเดินสำหรับผู้ปฏิบั ติงาน พื้นที่ใช้ งานจราจร พื้นที่กันชน โดยมีการกันพื้นที่ถนนจากผู้ใช้รถใช้ถนนมาให้คนงานทำงาน วางเครื่องมือและวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ - พื้นที่ช่วงสิ้นสุดการก่อสร้าง คือ ช่วงของการคืนพื้นที่ถนนปกติให้กับผู้ใช้รถใช้ถนน โดยมีระยะ ตั้งแต่จุดสิ้นสุดการก่อสร้างจัดให้มีระยะการเบี่ยงการจราจร ( Taper) ไปจนถึงป้ายสิ้นสุดการก่อสร้าง โดยทั่วไป จะมีระยะทางประมาณ 30 เมตร ต่อการเบี่ยง 1 ช่องจราจร พื้นที่การเตือนล่วงหน้า และพื้นที่ช่วงการเปลี่ยนแปลงจะเป็นส่วนที่สำคัญในการบอกให้ผู้ใช้รถ รับทราบเหตุการณ์ที่ผิดปกติข้างหน้า ช่วยให้ผู้ขับรถระวังและสามารถตัดสินใจในการเปลี่ยนช่องจราจรได้ ส่วนระยะป้ายต่างๆ ความยาวช่วงการเปลี่ยนแปลง จะขึ้นกับความเร็วในการขับ ขี่ของยวดยานพาหนะในสายทาง นั้นๆ ความกว้างของพื้นที่ก่อสร้าง กำหนดให้ขึ้นกับปริมาณจราจรต่อความจุของช่วงถนนนั้นๆ สามารถแบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ คือ พื้นที่ถนนในเมืองและพื้นที่ถนนนอกเมือง ซึ่งความกว้างจะมีขนาดต่างกัน ต้องมีการติดตั้งป้าย สัญญาณจราจรไฟกระพริบและแสงสว่าง ให้ได้ตามมาตรฐาน รวมถึงต้องมีป้ายประชาสัมพันธ์ที่ใช้เตือนล่วงหน้า ่ ต้องติดตั้งที่ทางแยกและริมถนนเป็นช่วงๆ อย่างน้อย 500 เมตร ก่อนถึงพื้นที่ก่อสร้าง ก่อนเข้าถึงพื้นที่ก่อสร้าง ซึง โดยมีรายละเอียดของป้ายสัญญาณและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ติดตั้งแสดงในตารางที่ 2.14-1 และรูปที่ 2.14-1 2) ตำแหน่งการติดตัง ้ ป้ายสัญลักษณ์และสัญญาณจราจร - ที่ระยะ 1 กิโลเมตร ก่อนถึงเขตพื้นที่ก่อสร้าง กำหนดให้ติดตั้งป้ายเตือนงานก่อสร้าง เพื่อใช้ เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะ ทราบว่ามีงานก่อสร้างอยู่ข้างหน้า ซึ่งจะทำให้ผู้ขับขี่ มีความระมัดระวังมากยิ่งขึ้น - ที่ระยะ 500 เมตร ก่อนถึงเขตพื้นที่ก่อสร้าง (กรณีมีการก่อสร้างเข้ามาในเขตถนน และต้องมี การลดช่องจราจร) กำหนดให้ติดตั้งป้ายเตือนงานก่อสร้าง และป้ายเตือนลดช่องจราจร เพื่อใช้เตือนผู้ขับขี่ ยานพาหนะ ทราบว่าข้างหน้ามีการลดช่องจราจร - ที่ระยะ 150 เมตร ก่อนถึงเขตพื้นที่ก่อสร้าง (กรณีมีการก่อสร้างเข้ามาในเขตถนน และต้องมี การลดช่องจราจร) กำหนดติดตั้งป้ายเตือนงานก่อสร้าง ป้ายเตือนลดช่องจราจร และป้ายเตือนลดความเร็ว เพื่อใช้ เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะ ทราบว่าข้างหน้ามีพื้นที่ก่อสร้าง มีการลดช่องจราจร และขับขี่ด้วยความเร็วที่กำหนด - ที่ระยะ 100 และ 50 เมตร ก่อนถึงเขตพื้นที่ก่อสร้าง กำหนดให้ติดตั้งป้ายเตือนลดความเร็ว ป้ายนำทาง และป้ายระวังคนงาน เพื่อใช้เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะ ทราบว่าควรขับขี่ด้วยความเร็วที่กำหนด และ ระวังคนงานที่กำลังปฏิบัติงาน กรมทางหลวงชนบท 2-205 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.14-1 ป้ายสัญญาณและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในพื้นที่ก่อสร้าง สัญลักษณ์ ชื่อ ลักษณะของสัญลักษณ์ การใช้งานและการติดตั้ง ป้ายเตือนงานก่อสร้าง ขนาดป้าย 6060 ซม. พื้นสีเหลือง ใช้เตือนให้ผู้ขับขี่ยานพาหนะทราบว่า สัญลักษณ์สีดำ เส้นขอบสีดำ มีการก่อสร้างล่วงหน้า ในระยะ 1 กม. 500 และ 150 เมตร ก่อนถึงพื้นที่ ก่อสร้าง ป้ายเตือนลดช่อง ขนาดป้าย 6060 ซม. พื้นสีเหลือง ใช้เตือนให้ผู้ขับขี่ยานพาหนะทราบว่า จราจรด้านขวา สัญลักษณ์สีดำ เส้นขอบสีดำ ข้างหน้ามีการลดช่องจราจรจาก 3 ช่องเหลือ 2 ช่อง ป้ายเตือนลดความเร็ว ขนาดป้าย 80120 ซม. พื้นสี ใช้เตือนให้ผู้ขับขี่ยานพาหนะขับขี่ด้วย เหลือง สัญลักษณ์สีดำ เส้นขอบสีดำ ความเร็วที่กำหนด ป้ายระวังคนงาน ขนาดป้าย 60 60 ซม. พื้นสีส้ม ใช้เตือนให้ผู้ขับขี่ยานพาหนะระวัง สัญลักษณ์สีดำ เส้นขอบสีดำ คนงานที่กำลังปฏิบัติงาน ป้ายระวังเครื่องจักร ขนาดป้าย 6060 ซม. พื้นสีส้ม ใช้เตือนให้ผู้ขับขี่ยานพาหนะระวัง กำลังทำงาน สัญลักษณ์สีดำ เส้นขอบสีดำ เครื่องจักร ที่กำลังทำงาน ป้ายนำทาง ขนาดป้าย  60 ซม. พื้นสีน้ำเงิน ใช้นำทางให้ผู้ขับขี่ยานพาหนะชิดซ้าย สัญลักษณ์ลูกศร สีขาว เส้นขอบสีขาว ป้ายนำทางจราจร ขนาดป้ายสูง 4 เมตร มองได้ ใช้ร่วมกับป้ายให้ผ่านทางด้านนี้ ระยะไกลกว่า 1,000 เมตร ด้วย ลูกศรเตือนโคมไฟชนิดฮาโลเจน RS 2000 จำนวน 24 ดวง และไฟ กระพริบที่ขนานกัน ป้ายสิ้นสุดเขต ขนาดป้าย 80120 ซม. พื้นสีแสด ใช้แจ้งให้ผู้ขับขี่ยานพาหนะทราบว่าถึง ก่อสร้าง สัญลักษณ์สีดำ เส้นขอบสีดำ จุดสิ้นสุดเขตก่อสร้าง กำแพงคอนกรีต กำแพงคอนกรีต ใช้กันพื้นที่ก่อสร้าง ระหว่างกระแส จราจรและพื้นที่ก่อสร้าง หลอดไฟฟ้า หลอดไฟฟ้า ใช้เป็นแนวในการนำทางและเตือน คน เดินเท้าและผู้ขับขี่ยานพาหนะ โดย ติดตั้งตลอดแนวพื้นที่ก่อสร้าง ไฟกระพริบ มีแสงตรง และกระจกสะท้อนแสงติด ติดตั้งไฟให้พุ่งตรงไปยังการจราจรที่วิ่ง กับหลอดไฟ มองได้ระยะไกล เข้ามาวางห่างกันช่วงละ 3 เมตร กรวย กรวย สีส้ม ใช้วางห่างกัน 1-2 เมตร ตลอดช่วงลด ช่องจราจร ที่มีการปฏิบัติงานชั่วคราว กรมทางหลวงชนบท 2-206 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.14-1 ป้ายจราจรในช่วงดำเนินงานก่อสร้างโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-207 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.14-1 ป้ายจราจรในช่วงดำเนินงานก่อสร้างโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-208 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.14-1 ป้ายจราจรในช่วงดำเนินงานก่อสร้างโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-209 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ - ที่ระยะ 20 เมตร ก่อนถึงเขตพื้นที่ก่อสร้าง (กรณีมีการก่อสร้างเข้ามาในเขตถนน และต้อง มีตลอดเขตแนวพื้นที่ก่อสร้างและกรวยวางไว้ห่างกัน 1 ถึง 2 เมตร ตลอดแนวลดช่องจราจร - แนวเขตพื้นที่ก่อสร้าง ติดตั้งป้ายเตือนลดความเร็ ว กำแพงคอนกรีต และหลอดไฟฟ้า ซึ่งติดตั้งยาวตลอดแนวพื้นที่ก่อสร้างโครงการ - ที่ระยะ 20 เมตร ก่อนออกจากเขตพื้นที่ก่อสร้าง ติดตั้งป้ายสิ้นสุดเขตก่อสร้าง และกรวย เพื่อให้ผู้ขับขี่ทราบว่าสิ้นสุดเขตพื้นที่ก่อสร้าง 3) แนวทางการจัดการจราจรระหว่างการก่อสร้าง - กำหนดให้มีคำแนะนำและติดตั้งเครื่องหมายจราจร ไฟเตือน ป้ายเตือน อุปกรณ์อื่นๆ เช่น กรวยยาง แผงกั้น อุปกรณ์แสงสว่าง เป็นต้น ตั้งแต่ก่อนถึงบริเวณก่อสร้างจนกระทั่งถึงบริเวณก่อสร้าง เพื่อให้ผู้ใช้ รถใช้ถนนได้รับความปลอดภั ยและสะดวกในการเดินทางในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง โดยให้เกิดความแตกต่างจาก สภาพการจราจรปกติน้อยที่สุด - ประสานงานกับ ตำรวจจราจรในพื้นที่ กองบังคับการตำรวจจราจร (บก.จร.) และหน่วยงาน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประชุมหารือวางแผนการจัดการจราจรในพื้นที่รวมถึงการแบ่งเขตการก่อสร้างให้สัมพันธ์ กับแผนการจัดการจราจร การจัดการจราจรระหว่างการก่อสร้าง แบ่งได้เป็น 2 ช่วง ได้แก่ ถนนที่เข้าสู่ท่าแพขนานยนต์หัวหิน ที่ตำบลเกาะกลาง ได้แก่ ทางหลวงหมายเลข 4206 และต่อด้วยถนนของ อบจ.กระบี่ ที่จะเข้าสู่ท่าแพขนานยนต์ ถนนในเขตทางของทางหลวงหมายเลข 4206 มีเขตทางที่เพียงพอประมาณ 28.50 เมตร มีเพียงเสาไฟฟ้าส่วนหนึ่ง ที่กีดขวางการขยายถนน เมื่อการไฟฟ้าส่วนภูมิภาครื้อย้ายเสาไฟฟ้าแล้ว จะสามารถก่อสร้างได้ทันที และไม่ กีดขวางการจราจรด้วย ส่วนที่เป็นปัญหา ได้แก่ ถนนช่วงที่มีเขตทางน้อยลงไปมากที่บริเวณหน้าบริษัท ส่งเสริม ทรานเซอร์วิส จำกัด ซึ่งจำเป็นต้ องขยับถนนให้อยู่ใต้สะพาน และโครงสร้างสะพานเป็นเสาเดี่ยว ซึ่งจำเป็น ที่จะต้องมีการจัดการจราจรระหว่างการก่อสร้าง อีกจุดหนึ่งที่จำเป็นที่จะต้องมีการจัดการจราจรได้แก่ ทางหลวง หมายเลข กบ.5035 ซึ่งอยู่ที่เกาะลันตาน้อย เป็นทางหลวงสายรองที่มีการจราจรที่ไม่หนาแน่น แต่สะพาน และถนนในโครงการทับกับแนวถนนเดิม จึงจำเป็นที่จะต้องจัดการจราจรเพื่อให้การจราจรสามารถผ่านไป-มาได้ (รูปที่ 2.14-2) การจัดการจราจรบนถนนของ อบจ.กระบี่ ที่ท่าเรือหัวหิน (1) รื้อย้ายเสาไฟฟ้าที่กีดขวางการจราจร ขยายถนนจนเต็มเขตทางทั้งสองด้าน (2) กั้นแนวการจราจรตรงกลางประมาณ 6 เมตร เป็นรั้วชั่วคราว รถจะสามารถวิ่งได้เหมือนเดิม ช่องการจราจร ประมาณ 4 เมตร/ทิศทาง (3) เจาะเสาเข็ม ก่อสร้างฐานราก เสาสะพาน บริเวณแนวกั้น หลังจากนั้นยกคานขวางในเวลา กลางคืนเพื่อติดตั้งบนเสาที่หล่อไว้แล้ว ช่วงที่ยกคานอาจให้เหลือช่องจราจรเพียงช่องเดียว ผลัดกันไป-มาโดยมีคนโบก ซึ่งจะเป็นช่วงที่ปิดการจราจรทางน้ำแล้ว (4) วางคานสำเร็จที่หล่อไว้แล้วบนคานขวางในเวลากลางคืน ช่วงที่ยกคานอาจให้เหลือช่องจราจร เพียงช่องเดียว ผลัดกันไป-มาโดยมีคนโบกซึ่งจะเป็นช่วงที่ปิดการจราจรทางน้ำแล้ว หลังจากยกคานได้แล้ ว การก่อสร้างส่วนใหญ่จะอยู่ด้านบนทำให้รบกวนการจราจรน้อยลง ทำให้สามารถเปิดการจราจรได้เกือบเหมือนปกติ การเก็บงานอาจทำได้ในตอนกลางคืน (5) เปิดการจราจรให้ประชาชนสามารถใช้สะพานและถนนไปท่าแพขนานยนต์ กรมทางหลวงชนบท 2-210 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.14-2 ตัวอย่างการจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ กรมทางหลวงชนบท 2-211 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.14-2 ตัวอย่างการจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-212 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.14-2 ตัวอย่างการจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-213 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.14-2 ตัวอย่างการจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 2-214 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ การจัดการจราจรบนทางหลวงหมายเลข กบ.5035 บนเกาะลันตาน้อย (1) รื้อย้ายเสาไฟฟ้าที่กีดขวางการก่อสร้าง (2) ก่อสร้างถนนทดแทนถนนเดิมที่จะต้องก่อสร้างเป็นสะพานและถนนใหม่ (3) กั้นรั้วเพื่อทำการก่อสร้างสะพาน เชิงลาด และถนนที่เกี่ยวเนื่อง (4) เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จเปิดการจราจรสะพานและใช้ถนนที่ก่อสร้างใหม่เป็นการถาวร 4) การขนส่งวัสดุก่อสร้าง - กำหนดให้รถขนส่งวัสดุก่อสร้าง มีการติดป้ายชื่อโครงการ บริษัทผู้รับจ้างก่อสร้าง เบอร์โทรศัพท์ไว้ อย่างชัดเจน เพื่อให้ประชาชนสามารถแจ้งเรื่องราวร้องเรียนได้ กรณีที่มีการใช้ความเร็ว และมีวัสดุอุปกรณ์หล่น ตามถนน - กำหนดความเร็วของรถบรรทุกขนส่งวัสดุอุปกรณ์ไม่เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในบริเวณพื้นที่ ก่อสร้าง และความเร็วไม่เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในบริเวณพื้นที่ชุมชน เพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง ความสั่นสะเทือน และอุบัติเหตุต่างๆ - จัดให้มีพื้นที่ล้างล้อรถยนต์ หรือรถบรรทุกที่วิ่งเข้า-ออก พื้นที่ก่อสร้างโครงการเพื่อควบคุมไม่ให้ มีเศษดินและทรายที่ติดล้อรถยนต์หรือรถบรรทุกเลอะถนนที่อยู่ใกล้เคียงพื้นที่โครงการ โดยเฉพาะบริเวณศูนย์ซ่อม บำรุงและอาคารจอดแล้วจร - กำหนดให้มีการล้างพื้นผิวถนนที่อยู่ใกล้เคียงเขตก่อสร้างโครงการอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง ในช่วง เวลาที่มีปริมาณการจราจรน้อย หรือในช่วงเวลากลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการจราจรติดขัด - รถบรรทุกที่ขนวัสดุก่อสร้างต่างๆ เข้ามาในพื้นที่ก่อสร้าง จะต้องจัดให้มีวัสดุปิดคลุม เพื่อป้องกัน ฝุ่นละอองฟุ้งกระจาย และเศษวัสดุตกหล่น - กำหนดเส้นทางการขนส่งวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้างให้ชัดเจน และบำรุงรักษาถนนให้อยู่ ในสภาพดีตลอดระยะเวลาที่ทำการก่อสร้าง - กำหนดให้รถขนวัสดุก่อสร้างมีน้ำหนักบรรทุกเป็นไปตามประกาศผู้อำนวยการทางหลวงพิเศษ ผู้อำนวยการทางหลวงแผ่นดิน และผู้อำนวยการทางหลวงสัมปทาน เรื่องห้ามใช้ยานพาหนะที่มี น้ำหนักบรรทุ ก หรือน้ำหนักลงเพลาเกินกว่าที่ได้กำหนด หรือโดยที่ยานพาหนะนั้นอาจทำให้ทางหลวงเสียหาย เดินบนทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2558 - กำหนดให้มีเจ้าหน้าที่กวาดเก็บวัสดุที่ตกหล่นจากรถบรรทุกลงบนผิวจราจรและไหล่ทางในทันที ตลอดพื้นที่การขนส่งวัสดุก่อสร้าง - กำหนดให้ผู้รับจ้างก่อสร้างทำการซ่อมแซมถนนท้องถิ่น หรือถนนชุมชนที่ชำรุด เนื่องจากการ ขนส่งวัสดุก่อสร้างของโครงการ ให้กลับสู่สภาพเดิมโดยเร็ว 5) กิจกรรมการก่อสร้าง - ประชาสัมพันธ์แผนการก่อสร้างโครงการ และแนวเส้นทางลัด ก่อนการก่อสร้างอย่างน้อย 6 เดือน - ติดตั้งราวกันชน ตาข่ายป้องกันเศษวัสดุ ผนังกั้นฝุ่นและเสียง รวมทั้งการจัดเก็บเศษวัสดุต่างๆ ให้พ้นจากผิวจราจร - กิจกรรมการก่อสร้างต่างๆ ที่จะรบกวนการสัญจรบนทางเท้า บริเวณบาทวิถีจะต้องจัดให้มี ทางเดินเท้าชั่วคราว กรมทางหลวงชนบท 2-215 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.15 การดำเนินโครงการ 2.15.1 แผนการก่อสร้างโครงการ การก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัด กระบี่ มีกิจกรรมการดำเนินงานก่อสร้างและระยะเวลาก่อสร้างประมาณ 3 ปี (ตารางที่ 2.15.1-1) 2.15.2 สำนักงานควบคุมโครงการ/บ้านพักคนงาน และสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ สำนักงานควบคุมโครงการ/บ้านพักคนงาน พิจารณาถึงความสะดวกต่อการเดินทางไปปฏิบัติงาน มีทาง คมนาคมเข้าถึง อยู่ห่างจากแหล่งน้ำธรรมชาติ และเป็นพื้นที่โล่งมีขนาดพื้นที่เพียงพอ ซึ่งกำหนดให้ตั้งอยู่ริมทางหลวง หมายเลข 4026 (ฝั่ ง ซ้ า ยทาง) ( รู ป ที่ 2.15.2-1 และ รู ป ที่ 2.15.2-2) การประมาณจำนวนคนงานสำหรับ การก่อสร้างโครงการและที่ตั้งที่พักคนงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารงานก่อสร้างและเพื่อประโยชน์ ในการกำหนดมาตรการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยจำนวนคนงานทั้งหมดที่จำเป็นต่อการก่อสร้าง โครงการมีประมาณ 170 คน และเครื่องจักรก่อสร้าง เช่น แบคโฮ, รถบดอัด, รถเกรด และรถบรรทุก เป็นต้น ่ ต้องการพื้นที่สำนักงานภาคสนามและที่พักคนงานก่อสร้างของแต่ละส่วน ดังนี้ ซึง - จำนวนคนงานและเจ้าหน้าที่ที่ใช้ทั้งหมดประมาณ 170 คน ห้องพักประมาณ 85 ห้อง (กำหนดให้ พักได้ไม่เกิน 2 คนต่ อ 1 ห้อง) ใช้พื้นที่ต่อห้องประมาณ 12 ตารางเมตร (3.0 x4.0 เมตร) คิดเป็นพื้นที่ทั้งหมด 1,020 ตารางเมตร - ห้องน้ำ/ห้องส้วม 14 ห้อง จำนวน 5 จุด ขนาดพื้นที่ต่อห้องประมาณ 2.25 ตารางเมตร ใช้พื้นที่ ประมาณ 157.50 ตารางเมตร - พื้นที่วางระบบบำบัดน้ำเสียรวม ขนาด 9 x 36 เมตร ใช้พื้นที่ประมาณ 324 ตารางเมตร - ลานซักล้างและประกอบอาหาร ขนาด 30 x 20 เมตร ใช้พื้นที่ 600 ตารางเมตร - พื้นที่สำนักงานชั่วคราว รวมห้องประชุม ห้องวิศวกร นายช่างควบคุมงาน และห้องปฐมพยาบาล จำนวน 6 ห้อง ขนาด 2.4 x 6.0 เมตร ใช้พื้นที่ 86.4 ตารางเมตร - พื้นที่จอดรถบรรทุก เครื่องจักรและรถอื่นๆ ประมาณ 20 คัน ใช้พื้นที่ 1,000 ตารางเมตร - โกดังเก็บวัสดุ ขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 50 เมตร ใช้พื้นที่ 1,000 ตารางเมตร - อาคารซ่อมบำรุง ขนาดกว้าง 16 เมตร ยาว 50 เมตร ใช้พื้นที่ 800 ตารางเมตร - จุดเติมน้ำมัน ขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 7 เมตร ใช้พื้นที่ 14 ตารางเมตร - บ่อหน่วงน้ำ ขนาด 12 x 12 ใช้พื้นที่ 144 ตารางเมตร - ถังน้ำสำรองสำหรับอุปโภค-บริโภค ขนาด 5,000 ลิตร จำนวน 12 ถัง และถังที่กักเก็บน้ำ 2,000 ลิตร จำนวน 6 ถัง กรมทางหลวงชนบท 2-216 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.15.1-1 แผนการดำเนินงานก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 2-217 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.15.2-1 ตำแหน่งที่ตั้งสำนักงานควบคุมโครงการ/บ้านพักคนงาน กรมทางหลวงชนบท 2-218 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ รูปที่ 2.15.2-2 ตัวอย่างผังสำนักงานควบคุมโครงการ/บ้านพักคนงาน กรมทางหลวงชนบท 2-219 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.16 งบประมาณราคาค่าก่อสร้าง การพัฒนาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีงบประมาณค่าก่อสร้างโครงการประมาณ 1,806.3 ล้านบาท มีรายละเอียดประมาณการ แสดงดัง ตารางที่ 2.16-1 และค่าบำรุงรักษาประจำปีประมาณ 692,924 รายละเอียดดังตารางที่ 2.16-2 ตารางที่ 2.16-1 ประมาณการเบื้องต้น ค่าก่อสร้าง (ฐานราคา 2563) องค์ประกอบหลักงานก่อสร้าง ประมาณราคาก่อสร้าง ปริมาณงานก่อสร้าง สำหรับสะพาน 2 ช่องจราจร (ล้านบาท) 1. สะพานหลักแบบคานขึง 460 ม. 667.0 2. สะพานรองแบบคานยื่น 945 ม. 753.6 3. เชิงลาดและถนนพื้นราบ 510 ม. 35.7 4. ค่าเผื่อเหลือเผื่อขาด 350 รวม 1,806.3 หมายเหตุ : ประมาณการค่าควบคุมงานก่อสร้าง 48.0 ล้านบาท ตารางที่ 2.16-2 ประมาณการค่าบำรุงรักษาประจำปี (ฐานราคา 2563) งานบารุงรักษา Qty Unit Rate Amount 1 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตร็จ 1.00 LS 150,000.00 150,000.00 2 ค่าซ่อมสี Termoplastic Paint 240.00 sq.m. 370.00 88,800.00 3 ค่าซ่อม Rumble Strip 480.00 sq.m. 517.50 248,400.00 4 ค่าซ่อมหลักนาโค้ง 20.00 Ea. 690.00 13,800.00 5 ค่าซ่อมหลัก กม. แบบติดแผ่นสะท้อนแสง 4.00 Ea. 4,117.00 16,468.00 6 ค่าซ่อม Guard Rail คอสะพาน 20.00 m. 2,242.50 44,850.00 7 ค่าซ่อมไฟกระพริบ+ป้าย 2.00 set 23,805.00 47,610.00 8 ค่าซ่อมบารุงตามรอบเวลาไฟฟ้า-เครือ ่ งกล 1.00 LS 50,000.00 50,000.00 รวม 659,928.00 9 ค่าเผือ ่ ร้อยละ 5 32,996.40 รวมทุกรายการ 692,924.40 กรมทางหลวงชนบท 2-220 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 2.17 การศึกษาวิเคราะห์โครงการด้านเศรษฐกิจ การศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม ตามตามเกณฑ์ที่สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศไทย (TDRI) กำหนด ผลการจำแนกผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญเพื่อนำไปประเมินมูลค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม โดยพิจารณาจากการทบทวนปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญที่นำมารายงานการประเมินผลกระทบ สิ่ ง แวดล้อม 22 ปั จ จั ย ได้ แก่ ทรั พ ยากรดิ น ธรณี วิ ท ยาและแผ่นดินไหว น้ ำ ผิ วดิน น้ ำ ทะเล คุ ณ ภาพอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน ระบบนิเวศ สัตว์ในระบบนิเวศ พืชในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตหายาก การคมนาคมขนส่ง สาธารณูปโภค การควบคุมน้ำท่วมและการระบายน้ำ การใช้ที่ดิน เศรษฐกิจ -สังคม การสาธารณสุข สุขาภิบาล อาชีวอนามัย อุบัติเหตุและความปลอดภัย โบราณคดีและประวัติศาสตร์ และทัศนียภาพ เมื่อพิจารณาปัจจัยสิ่งแวดล้อมดังกล่าวโดยใช้เกณฑ์ในการพิจารณากลั่นกรองผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่มีความสำคัญเพื่อนำไปประเมินมูลค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม การพิจารณากลั่นกรองเพื่อประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์จากผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามเกณฑ์ ที่สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศไทย (TDRI) กำหนดผลการพิจารณาตามเกณฑ์ดังกล่าว ปรากฏว่าปัจจัย สิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญ และอาจมีผลกระทบ เช่น ด้านคุณภาพน้ำทะเล พบว่า ในระยะก่อสร้างของความขุ่น เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมก่อสร้างเล็กน้อย โดยโครงการมีม่านดักตะกอนรองรับทุกตอม่อ ส่วนทรัพยากรป่าไม้/สัตว์ป่า แนวเส้นทางไม่ตัดผ่านหรือส่งผลกระทบต่อพื้นที่ปะการัง หญ้าทะเล หรือป่าชายเลนโดยตรง ซึ่งโครงการได้ กำหนดมาตรการในการป้องกันและแก้ไขผลกระทบรองรับไว้แล้ว ส่วนผลกระทบด้านอื่นๆ ก็มีมาตรการรองรับจน เหลือความรุนแรงของผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ หรือไม่มีผลกระทบแล้ว และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นได้รวมอยู่ใน งบประมาณการก่อสร้างและงบประมาณประจำปีแล้ว ดังนั้น จึงไม่มีปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญที่จะนำไป ประเมินมูลค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม โดยรายละเอียดวิธีการศึกษาและกลั่นกรองปัจจัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม แสดงไว้ใน ภาคผนวก ฒ แต่อย่างไรก็ตาม โครงการได้กำหนด ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่ งแวดล้อม และมาตรการ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่ปรึกษาจึงเพิ่มเติมต้นทุนส่วนนี้เข้าไปเพื่อประเมินความเหมาะสมของ โครงการที่มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อเพิ่มต้นทุนด้านสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ผลตอบแทนโครงการด้านเศรษฐกิจจะทำให้สามารถประเมินว่าโครงการหนึ่งๆ มีความ เป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจหรือไม่ โดยถ้าโครงการดังกล่าวให้ผลประโยชน์ตอบแทนต่อสังคมส่วนรวมมากกว่า ทรัพยากรหรือต้นทุนที่สังคมต้องเสียสละไปก็จะถือว่าโครงการดังกล่าวมีความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจผลการ วิเคราะห์โครงการด้านเศรษฐกิจจะเป็นหลักเกณฑ์สำคัญที่ใช้ในการตัดสิ นใจว่าควรจะดำเนินการโครงการต่อไป หรือไม่ รวมทั้งเป็นประโยชน์ต่อรัฐในการพิจารณาให้การส่งเสริมหรือสนับสนุนโครงการใดโครงการหนึ่ง หรือ เพื่อเปรียบเทียบระหว่างโครงการต่างๆ ว่าควรจะให้การสนับสนุนโครงการใด เมื่อทรัพยากรและงบประมาณ ของรัฐมีจำกัด ทั้งนี้ หากโครงการใดไม่มีความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจแล้วส่วนใหญ่มักจะไม่ได้รับการสนับสนุน ให้ดำเนินโครงการต่อ หรืออาจจะต้องชะลอโครงการไว้ระยะเวลาหนึ่งจนกว่าจะมีความเหมาะสม แต่หากว่า โครงการใดมีความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจแล้วก็จะมีการพิจารณาความเป็นไปได้ทางการเงิน รูปแบบการลงทุน และประเด็นด้านอื่นๆ ต่อไป กรมทางหลวงชนบท 2-221 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 1) แนวทางในการวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจ แนวความคิด (Conceptual Idea) ในการวิเคราะห์ด้าน เศรษฐกิจสำหรับโครงการนี้ คือ การเปลี่ยนรูปแบบในการเดินทางและขนส่ง (Mode Shift) จากการขนส่งทางเรือ (แพขนานยนต์) ไปเป็นการขนส่งทางถนน โดยปัจจุบันประชาชนใช้การเดินทางโดยแพขนานยนต์ซึ่งมีค่าใช้จ่าย ในการข้ามฟาก และมีระยะเวลารอคอยและระยะเวลาในการเดินทางนานมาก รวมทั้งยังมีระยะเวลาในการ ให้ บ ริ การที ่ จ ำกั ด แต่ ในอนาคตจะมี การก่ อสร้ า งโครงสร้ า งพื ้ น ฐานด้ า นการคมนาคมและขนส่ ง ข้ า มลำน้ ำ ซึ่งไม่มีการเก็บค่าผ่านทาง ทำให้ประชาชนสามารถเดินทางข้ามไป-มาได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และไม่มีข้อจำกัด ด้านระยะเวลาในการให้บริการใดๆ 2) การประเมินผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจของโครงการ การประเมินผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ ของโครงการนี้จะมาจาก - การประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (Saving of Traveling Cost) ปัจจุบันประชาชนในพื้นที่ และนักท่องเที่ยวต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางข้ามฟากที่สูงมาก เช่น คนท้องถิ่น คนละ 10 บาท นักท่องเที่ยวไทย ที่ไม่ใช่คนท้องถิ่น คนละ 20 บาท นักท่องเที่ยวต่างชาติ คนละ 50 บาท และรถยนต์พร้อมคนขับ คันละ 100 บาท เป็นต้น และแท้ที่จริงแล้วค่าใช้จ่ายในการเดินทางและขนส่งที่สูงดังกล่าวได้ถูกผลักภาระ (Shift) ไปยังผู้บริโภค (End Users) ในรูปของสินค้าและบริการที่มีราคาแพงมากกว่าปกติน้ันเอง ดังนั้น ในกรณีที่มีโครงการนอกจาก จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางของประชาชนและนักท่องเที่ยวแล้ว ยังมีผลโดยอ้อมในการลดราคาของสินค้า และบริการบนเกาะลันตาอีกด้วย - การประหยัดเวลาในการเดินทาง ปัจจุบันการเดินทางโดยแพขนานยนต์มีระยะเวลารอคอย (Waiting Time) และระยะเวลาเดินทางนานมาก โดยเฉลี่ยประมาณ 1-3 ชั่วโมง ดังนั้น ในกรณีที่มีโครงการ จะช่วยลดเวลาในการเดินทางของประชาชนและนักท่องเที่ยวอย่างมีนัยสำคัญ - ความเชื่อถือได้ในการให้บริการ ระยะเวลาในการให้บริการของแพขนานยนต์มีระยะเวลาที่จำกัด ประมาณ 06.00-22.00 น. และในบางครั้งก็จำเป็นต้องหยุดให้บริการ เนื่องจากระดับน้ำทะเลลดลงต่ำกว่าระดับ กินน้ำลึกของแพขนานยนต์ ทำให้ไม่สะดวกแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะในกรณีเจ็บป่วยหรือฉุกเฉิน รวมทั้งมีความเสี่ยงต่อนักท่องเที่ยวที่จะต้องไปสนามบิน เนื่องจากไม่สามารถรู้ได้ว่าต้องเผื่อเวลาเดินทางกี่ชั่วโมง ทั้งนี้ การเปรียบเทียบระหว่างกรณีที่มีโครงการ (With-Project Situation) และกรณีที่ไม่มีโครงการ (Without-Project Situation) ถือว่าเป็นหัวใจของการประเมินผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ เพราะกรณีที่ไม่มี โครงการ คือ สภาพการณ์ที่จะเกิดขึ้น หากไม่มีโครงการ โดยการประเมินผลตอบแทนด้านเศรษฐกิจจะเป็ น การประเมินความแตกต่างระหว่างภาพสมมติสถานการณ์ ( Scenarios) ทั้งสองดังกล่าว โดยการศึกษาความ เหมาะสมนี้ จะมีภาพสมมติสถานการณ์ ( Scenarios) ในการเปรียบเทียบกับ “กรณีที่ไม่มีโครงการ ( Without- Project Situation)” ดังนี้ (1) กรณีที่ 1 Fast Track เป็นกรณีที่พิจารณาแผนงานดำเนินโครงการอย่างรวดเร็ว โดยเริ่มต้น ก่ อสร้ า งในปี ง บประมาณ 2565 และแล้ ว เสร็ จ ในสิ ้ น ปี งบประมาณ 2568 โดยจะสามารถเปิ ด ให้ บ ริ การใน ปีงบประมาณ 2569 เป็นต้นไป (2) กรณี ท ี ่ 2 Normal Track เป็ นกรณี ท ี ่ แผนงานดำเนิ นโครงการตามปกติ โดยเริ ่ มต้ นก่ อสร้ าง ในปีงบประมาณ 2567 และแล้วเสร็จในสิ้นปีงบประมาณ 2570 โดยจะเปิดให้บริการในปีงบประมาณ 2571 เป็นต้นไป กรมทางหลวงชนบท 2-222 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 3) ผลการประเมิ นต้ นทุ นด้ า นเศรษฐกิ จ ของโครงการ ต้ น ทุ น ด้ า นเศรษฐกิ จ ประกอบด้ วย ค่าใช้จ่ายในการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน (หากมี) ค่าสำรวจและออกแบบรายละเอีย ด ค่าก่อสร้างและควบคุม งาน ค่าดำเนินการและบำรุงรักษา และค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบติดตามและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดอายุ การวิเคราะห์โครงการ โดยต้นทุนทางการเงินบางประเภทไม่สามารถนำมาพิจารณาในการวิเคราะห์ได้ เนื่องจาก ไม่ได้ทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นหรือลดลงในการมีอยู่ของทรัพยากรที่แท้จริงของประเทศ และแท้จริงแล้วต้นทุนดังกล่าว มีผลกระทบต่อการกระจายของต้นทุนและผลประโยชน์ทางด้านการเงินระหว่างผู้มีผลประโยชน์ ได้เสียต่างๆ ของโครงการเท่ านั ้ น ต้ น ทุ น ทางการเงิ นเหล่ า นี ้ จ ึ งถู กถื อว่ า เป็ น รายจ่ ายเปลี ่ ย นโอน ( Transfer Payments) เพราะเป็นการเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์การเป็นเจ้าของทรัพยากรจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง โดยไม่มี ผลกระทบต่อทรัพยากรสุทธิของประเทศแต่อย่างใด การประมาณการจะใช้ราคาปัจจุบัน ณ ปีที่ทำการศึกษา พ.ศ. 2564 โดยการประมาณการ ต้นทุนและค่าใช้จ่ายของโครงการจะคำนวณเป็นมูล ค่าทางการเงิน ( Financial Prices) ดังสรุปมูลค่าต้นทุ น โครงการทางการเงินในตารางที่ 2.17-1 และตารางที่ 2.17-2 สำหรับกรณีทางเลือกการลงทุนแบบ Fast Track และกรณี รู ป แบบการลงทุ น แบบ Normal Track ตามลำดั บ สำหรั บ การประมาณมู ล ค่ า การลงทุ น ทางด้าน เศรษฐกิจ ได้ใช้มูลค่าทางการเงิน มาคูณด้วยตัวแปรราคาทางเศรษฐศาสตร์ ( Economic Conversion Factor) ทำให้ ไ ด้ เ ป็ น ราคาทางด้ า นเศรษฐกิ จ ( Economic Prices) ดั ง สรุ ปมู ลค่ าต้ น ทุ นโครงการทางด้ านเศรษฐกิจ ในตารางที่ 2.17-3 และตารางที่ 2.17-4 สำหรับกรณีทางเลือกการลงทุนแบบ Fast Track และกรณีรูปแบบ การลงทุนแบบ Normal Track ตามลำดับ กรมทางหลวงชนบท 2-223 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.17-1 มูลค่าทางการเงินในการลงทุนโครงการ กรณี Fast Track (หน่วยล้ ำนบำท : ฐำนรำคำ 2564) ศึกษำ ค่ำก่อสร้ำง บำรุงรักษำ บำรุงรักษำ สิ่ งแวดล้ อม สิ่ งแวดล้ อม รวม ปี พ.ศ. ปีที่ ค่ำควบคุมงำน ควำมเหมำะสม ไม่รวมค่ำควบคุมงำน ปรกติ ตำมกำหนดเวลำ ระยะก่อสร้ำง ระยะดำเนินกำร กำรลงทุน 2564 -3 29.80 - - - - - 29.80 2565 -2 - 320.00 9.60 - - 6.46 - 336.06 2566 -1 - 640.00 19.20 - - 1.93 - 661.13 2567 0 - 640.00 19.20 - - 3.06 - 662.26 2568 1 - - 0.69 - - 1.23 1.92 2569 2 - - 0.69 - - 1.23 1.92 2570 3 - - 0.69 - - 1.23 1.92 2571 4 - - 0.69 - - 0.62 1.31 2572 5 - - 0.69 - - 0.59 1.28 2573 6 - - 0.69 - - 0.69 2574 7 - - 0.69 15.03 - - 15.72 2575 8 - - 0.69 - - 0.69 2576 9 - - 0.69 - - - 0.69 2577 10 - - 0.69 - - 0.57 1.26 2578 11 - - 0.69 - - 0.69 2579 12 - - 0.69 - - - 0.69 2580 13 - - 0.69 - - - 0.69 2581 14 - - 0.69 15.03 - - 15.72 2582 15 - - 0.69 - 0.57 1.26 2583 16 - - 0.69 - - - 0.69 2584 17 - - 0.69 - - - 0.69 2585 18 - - 0.69 - - - 0.69 2586 19 - - 0.69 - - - 0.69 2587 20 - - 0.69 - - 0.57 1.26 2588 21 - - 0.69 15.03 - - 15.72 2589 22 - - 0.69 - - 0.69 2590 23 - - 0.69 - - - 0.69 2591 24 - - 0.69 - - - 0.69 2592 25 - - 0.69 - - - 0.69 2593 26 - - 0.69 - - 0.69 2594 27 - - 0.69 - - - 0.69 2595 28 - - 0.69 15.03 - - 15.72 2596 29 - - 0.69 - - 0.69 2597 30 - - 0.69 - - - 0.69 รวม 29.80 1,600.00 48.00 20.79 60.12 11.45 6.61 1,776.77 ่ รึกษา, 2564 ที่มา : ทีป กรมทางหลวงชนบท 2-224 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.17-2 มูลค่าทางการเงินในการลงทุนโครงการ กรณี Normal Track (หน่วยล้ ำนบำท : ฐำนรำคำ 2564) ศึกษำ ค่ำก่อสร้ำง บำรุงรักษำ บำรุงรักษำ สิ่ งแวดล้ อม สิ่ งแวดล้ อม รวม ปี พ.ศ. ปีที่ ค่ำควบคุมงำน ควำมเหมำะสม ไม่รวมค่ำควบคุมงำน ปรกติ ตำมกำหนดเวลำ ระยะก่อสร้ำง ระยะดำเนินกำร กำรลงทุน 2564 -5 29.80 - - - - - 29.80 2565 -4 - - - - - - - 2566 -3 - - - - - - - 2567 -2 - 320.00 9.60 - - 6.46 - 336.06 2568 -1 - 640.00 19.20 - - 1.93 - 661.13 2569 0 - 640.00 19.20 - - 3.06 - 662.26 2570 1 - 0.69 - - 1.23 1.92 2571 2 - - 0.69 - - 1.23 1.92 2572 3 - - 0.69 - - 1.23 1.92 2573 4 - - 0.69 - - 0.62 1.31 2574 5 - - 0.69 - - 0.59 1.28 2575 6 - - 0.69 - - - 0.69 2576 7 - - 0.69 15.03 - - 15.72 2577 8 - - 0.69 - - - 0.69 2578 9 - - 0.69 - - - 0.69 2579 10 - - 0.69 - - 0.58 1.27 2580 11 - - 0.69 - - - 0.69 2581 12 - - 0.69 - - - 0.69 2582 13 - - 0.69 - - - 0.69 2583 14 - - 0.69 15.03 - - 15.72 2584 15 - - 0.69 - - 0.58 1.27 2585 16 - - 0.69 - - - 0.69 2586 17 - - 0.69 - - - 0.69 2587 18 - - 0.69 - - - 0.69 2588 19 - - 0.69 - - - 0.69 2589 20 - - 0.69 - - 0.58 1.27 2590 21 - - 0.69 15.03 - - 15.72 2591 22 - - 0.69 - - - 0.69 2592 23 - - 0.69 - - - 0.69 2593 24 - - 0.69 - - - 0.69 2594 25 - - 0.69 - - - 0.69 2595 26 - - 0.69 - - - 0.69 2596 27 - - 0.69 - - - 0.69 2597 28 - - 0.69 15.03 - - 15.72 2598 29 - - 0.69 - - - 0.69 2599 30 - - 0.69 - - - 0.69 รวม 29.80 1,600.00 20.79 60.12 11.45 6.64 1,776.80 ่ รึกษา, 2564 ที่มา : ทีป กรมทางหลวงชนบท 2-225 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.17-3 มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการลงทุนโครงการ กรณี Fast Track (หน่วยล้ำนบำท : ฐำนรำคำ 2564) ศึกษำ บำรุงรักษำ บำรุงรักษำ สิ่ งแวดล้อม สิ่ งแวดล้อม รวม ปี พ.ศ. ปีที่ ค่ำก่อสร้ำง ค่ำควบคุมงำน ควำมเหมำะสม ปรกติ ตำมกำหนดเวลำ ระยะก่อสร้ำง ระยะดำเนินกำร กำรลงทุน 2564 -3 27.42 - - - - - - 27.42 2565 -2 - 281.60 8.83 - - 5.94 - 296.38 2566 -1 - 563.20 17.66 - - 1.78 - 582.64 2567 0 - 563.20 17.66 - - 2.82 - 583.68 2568 1 - - - 0.64 - - 1.13 1.77 2569 2 - - - 0.64 - - 1.13 1.77 2570 3 - - - 0.64 - - 1.13 1.77 2571 4 - - - 0.64 - - 0.57 1.21 2572 5 - - - 0.64 - - 0.54 1.18 2573 6 - - - 0.64 - - - 0.64 2574 7 - - - 0.64 13.83 - - 14.47 2575 8 - - - 0.64 - - - 0.64 2576 9 - - - 0.64 - - - 0.64 2577 10 - - - 0.64 - - 0.52 1.16 2578 11 - - - 0.64 - - - 0.64 2579 12 - - - 0.64 - - - 0.64 2580 13 - - - 0.64 - - - 0.64 2581 14 - - - 0.64 13.83 - - 14.47 2582 15 - - - 0.64 - - 0.52 1.16 2583 16 - - - 0.64 - - - 0.64 2584 17 - - - 0.64 - - - 0.64 2585 18 - - - 0.64 - - - 0.64 2586 19 - - - 0.64 - - - 0.64 2587 20 - - - 0.64 - - 0.52 1.16 2588 21 - - - 0.64 13.83 - - 14.47 2589 22 - - - 0.64 - - - 0.64 2590 23 - - - 0.64 - - - 0.64 2591 24 - - - 0.64 - - - 0.64 2592 25 - - - 0.64 - - - 0.64 2593 26 - - - 0.64 - - - 0.64 2594 27 - - - 0.64 - - - 0.64 2595 28 - - - 0.64 13.83 - - 14.47 2596 29 - - - 0.64 - - - 0.64 2597 30 - - - 0.64 - - - 0.64 รวม 27.42 1,408.00 44.16 19.13 55.31 10.53 6.08 1,570.63 ่ รึกษา, 2564 ที่มา : ทีป กรมทางหลวงชนบท 2-226 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.17-4 มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการลงทุนโครงการ กรณี Normal Track (หน่วยล้ำนบำท : ฐำนรำคำ 2564) ศึกษำ บำรุงรักษำ บำรุงรักษำ สิ่ งแวดล้อม สิ่ งแวดล้อม รวม ปี พ.ศ. ปีที่ ค่ำก่อสร้ำง ค่ำควบคุมงำน ควำมเหมำะสม ปรกติ ตำมกำหนดเวลำ ระยะก่อสร้ำง ระยะ กำรลงทุน 2564 -5 27.42 - - - - - - 27.42 2565 -4 - - - - - - - - 2566 -3 - - - - - - - - 2567 -2 - 281.60 8.83 - - 5.94 - 296.38 2568 -1 - 563.20 17.66 - - 1.78 - 582.64 2569 0 - 563.20 17.66 - - 2.82 - 583.68 2570 1 - - - 0.64 - - 1.13 1.77 2571 2 - - - 0.64 - - 1.13 1.77 2572 3 - - - 0.64 - - 1.13 1.77 2573 4 - - - 0.64 - - 0.57 1.21 2574 5 - - - 0.64 - - 0.54 1.18 2575 6 - - - 0.64 - - - 0.64 2576 7 - - - 0.64 13.83 - - 14.47 2577 8 - - - 0.64 - - - 0.64 2578 9 - - - 0.64 - - - 0.64 2579 10 - - - 0.64 - - 0.53 1.17 2580 11 - - - 0.64 - - - 0.64 2581 12 - - - 0.64 - - - 0.64 2582 13 - - - 0.64 - - - 0.64 2583 14 - - - 0.64 13.83 - - 14.47 2584 15 - - - 0.64 - - 0.53 1.17 2585 16 - - - 0.64 - - - 0.64 2586 17 - - - 0.64 - - - 0.64 2587 18 - - - 0.64 - - - 0.64 2588 19 - - - 0.64 - - - 0.64 2589 20 - - - 0.64 - - 0.53 1.17 2590 21 - - - 0.64 13.83 - - 14.47 2591 22 - - - 0.64 - - - 0.64 2592 23 - - - 0.64 - - - 0.64 2593 24 - - - 0.64 - - - 0.64 2594 25 - - - 0.64 - - - 0.64 2595 26 - - - 0.64 - - - 0.64 2596 27 - - - 0.64 - - - 0.64 2597 28 - - - 0.64 13.83 - - 14.47 2598 29 - - - 0.64 - - - 0.64 2599 30 - - - 0.64 - - - 0.64 รวม 27.42 1,408.00 44.16 19.13 55.31 10.53 6.11 1,570.66 ่ รึกษา, 2564 ที่มา : ทีป กรมทางหลวงชนบท 2-227 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ 4) การวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านเศรษฐกิจของโครงการ การเปรียบเทียบระหว่างกรณีที่มีโครงการ ( With-Project Situation) และกรณีที่ไม่มีโครงการ (Without-Project Situation) เป็นหัวใจของการประเมินผลประโยชน์ดา้ นเศรษฐกิจ การวิเคราะห์ความเหมาะสม ทางด้านเศรษฐกิจของโครงการจะเป็น การนำต้นทุนโครงการและค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งหมดกับผลประโยชน์ตอบ แทนที่ได้รับจากโครงการตลอดช่วงอายุการใช้งานหรือวิเคราะห์โครงการมาเปรียบเทียบกัน โดยผลการวิเคราะห์ จะแสดงด้วยค่าดัชนีชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ - มูลค่าเงินปัจจุบนั สุทธิ (NPV) - อัตราผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจ (EIRR) - อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุน (Benefit/Cost Ratio: B/C) ผลการวิเคราะห์โครงการด้านเศรษฐกิจ ดังสรุปในตารางที่ 2.17-5 ถึงตารางที่ 2.17-7 แสดง รายละเอียดในการวิเคราะห์ สำหรับกรณี Fast Track และ Normal Track ตามลำดับ 5) การวิเคราะห์ความอ่อนไหว (Sensitivity Test) การวิเคราะห์ความอ่อนไหวเป็นวิธีการอย่างง่ายๆ ในการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในทาง ลบของโครงการ โดยประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรหนึ่งๆ หรือหลายตัวพร้อมกัน และคำนวณหา มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราผลตอบแทนด้านเศรษฐกิจ (EIRR) อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุน (B/C) สำหรับ โครงการนี้ จะมีการทดสอบความอ่อนไหวในกรณี ดังต่อไปนี้ (1) กรณีต้นทุนของโครงการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงร้อยละ 10 และ 20 (2) กรณีผลประโยชน์ของโครงการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงร้อยละ 10 และ 20 แสดงดังตารางที่ 2.17-8 และตารางที่ 2.17-9 แสดงผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหว สำหรับกรณี Fast Track และ Normal Track ตามลำดับ ตารางที่ 2.17-5 สรุปผลการวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจของโครงการ กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 ตัวชี้วัด หน่วย (Fast Track) (Normal Track) มูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการ (Project NPV) 945.62 828.36 ล้านบาท อัตราผลตอบแทนด้านเศรษฐกิจ (EIRR) 20.46% 21.12% ร้อยละ อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุน (B/C) 1.91 1.99 เท่า ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 2-228 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.17-6 การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจ กรณีการลงทุนอย่างรวดเร็ว (Fast Track) Direct Economic Benefits สรุปกำรประเมินผลด้ำนเศรษฐกิจ (ระยะเวลำวิเครำะห์ = 30 ปี หลังจำกเปิดให้บริกำร) NPV (Million Baht) = 945.62 EIRR = 20.46% B/C = 1.91 Unit: Million Baht @ Constant 2021 Prices Economic Costs Economic Benefits NPV @ No. พ.ศ. ศึกษำและ ค่ำชดเชย บำรุงรักษำ บำรุงรักษำตำม สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมระยะเวลำ กำรประหยัดค่ำใช้จ่ำย กำรประหยัดเวลำใน NPV Discount Rate ค่ำก่อสร้ำง ค่ำควบคุมงำน มูลค่ำซำก Total Total ออกแบบ อสังหำริมทรัพย์ ตำมปกติ ระยะเวลำ ระยะเวลำก่อสร้ำง ดำเนินกำร ในกำรเดินทำง กำรเดินทำง 12% 1 2564 (27.42) - - - - - - - - (27.42) - - - (27.42) (24.48) 2 2565 - - (281.60) (8.83) - - (5.94) - - (296.38) - - - (296.38) (236.27) 3 2566 - - (563.20) (17.66) - - (1.78) - - (582.64) - - - (582.64) (414.71) 4 2567 - - (563.20) (17.66) - - (2.82) - - (583.68) - - - (583.68) (370.94) 5 2568 - - - - (0.64) - - (1.13) - (1.77) 194.50 123.61 318.12 316.35 179.51 6 2569 - - - - (0.64) - - (1.13) - (1.77) 200.09 127.20 327.29 325.52 164.92 7 2570 - - - - (0.64) - - (1.13) - (1.77) 205.84 130.89 336.73 334.96 151.52 8 2571 - - - - (0.64) - - (0.57) - (1.21) 211.76 134.68 346.44 345.23 139.43 9 2572 - - - - (0.64) - - (0.54) - (1.18) 217.84 138.59 356.43 355.25 128.11 10 2573 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 224.10 142.61 366.71 366.07 117.86 11 2574 - - - - (0.64) (13.83) - - - (14.47) 229.73 146.21 375.95 361.48 103.92 12 2575 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 235.51 149.91 385.42 384.78 98.76 13 2576 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 241.43 153.70 395.13 394.49 90.41 14 2577 - - - - (0.64) - - (0.52) - (1.16) 247.50 157.59 405.09 403.93 82.65 15 2578 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 253.72 161.58 415.30 414.66 75.76 16 2579 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 259.30 165.16 424.47 423.83 69.14 17 2580 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 265.01 168.83 433.84 433.20 63.09 18 2581 - - - - (0.64) (13.83) - - - (14.47) 270.84 172.58 443.42 428.95 55.78 19 2582 - - - - (0.64) - - (0.52) - (1.16) 276.80 176.41 453.21 452.05 52.49 20 2583 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 282.89 180.33 463.22 462.58 47.95 21 2584 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 288.38 183.85 472.23 471.59 43.65 22 2585 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 293.97 187.44 481.41 480.77 39.73 23 2586 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 299.67 191.10 490.77 490.13 36.17 24 2587 - - - - (0.64) - - (0.52) - (1.16) 305.48 194.84 500.32 499.15 32.89 25 2588 - - - - (0.64) (13.83) - - - (14.47) 311.40 198.64 510.04 495.58 29.15 26 2589 - - - (0.64) - - - - (0.64) 316.70 202.06 518.76 518.12 27.21 27 2590 - - - (0.64) - - - - (0.64) 322.09 205.53 527.62 526.98 24.71 28 2591 - - - (0.64) - - - - (0.64) 327.57 209.06 536.63 536.00 22.44 29 2592 - - - (0.64) - - - - (0.64) 333.15 212.66 545.80 545.17 20.38 30 2593 - - - (0.64) - - - - (0.64) 338.82 216.31 555.13 554.49 18.51 31 2594 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 344.13 219.73 563.86 563.22 16.78 32 2595 - - - - (0.64) (13.83) - - - (14.47) 349.52 223.21 572.72 558.26 14.85 33 2596 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 355.00 226.73 581.73 581.09 13.81 34 2597 - - - - (0.64) - - - 844.80 844.16 360.56 230.32 590.88 1,435.04 30.44 NPV @ 0% (27.42) - (1,408.00) (44.16) (19.13) (55.31) (10.53) (6.08) 844.80 (725.83) 8,363.31 5,331.34 13,694.66 12,968.83 945.62 NPV @ 12% (24.48) - (983.29) (30.84) (3.26) (6.95) (7.79) (2.36) 17.92 (1,041.05) 1,213.88 772.79 1,986.68 945.62 ่ รึกษา, 2564 ที่มา : ทีป กรมทางหลวงชนบท 2-229 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.17-7 การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจ กรณีการลงทุนตามปกติ (Normal Track) Direct Economic Benefits สรุปกำรประเมิ นผลด้ำนเศรษฐกิจ (ระยะเวลำวิเครำะห์ = 25 ปี หลังจำกเปิดให้บริกำร) NPV (Million Baht) = 828.36 EIRR = 21.12% B/C = 1.99 Unit: Million Baht @ Constant 2021 Prices Economic Costs Economic Benefits NPV @ No. พ.ศ. ศึกษำและ ค่ำชดเชย บำรุงรักษำ บำรุงรักษำ สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม กำรประหยัดค่ำใช้ จ่ำย กำรประหยัดเวลำ NPV Discount Rate ค่ำก่อสร้ำง ควบคุมงำน มู ลค่ำซำก Total Total ออกแบบ อสังหำริมทรัพย์ ตำมปกติ ตำมระยะเวลำ ระยะเวลำก่อสร้ำง ระยะเวลำดำเนินกำร ในกำรเดินทำง ในกำรเดินทำง 12% 1 2564 (27.42) - - - - - - - - (27.42) - - - (27.42) (24.48) 2 2565 - - - - - - - - - - - - - - - 3 2566 - - - - - - - - - - - - - - - 4 2567 - - (281.60) (8.83) - - (5.94) - - (296.38) - - - (296.38) (188.35) 5 2568 - - (563.20) (17.66) - - (1.78) - - (582.64) - - - (582.64) (330.61) 6 2569 - - (563.20) (17.66) - - (2.82) - - (583.68) - - - (583.68) (295.71) 7 2570 - - - - (0.64) - - (1.13) - (1.77) 205.84 131.31 337.15 335.38 151.71 8 2571 - - - - (0.64) - - (1.13) - (1.77) 212.24 134.91 347.15 345.38 139.49 9 2572 - - - - (0.64) - - (1.13) - (1.77) 217.99 138.61 356.60 354.83 127.95 10 2573 - - - - (0.64) - - (0.57) - (1.21) 223.89 142.41 366.30 365.09 117.55 11 2574 - - - - (0.64) - - (0.54) - (1.18) 229.96 146.31 376.27 375.09 107.83 12 2575 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 236.19 150.33 386.51 385.88 99.04 13 2576 - - - - (0.64) (13.83) - - - (14.47) 241.78 153.93 395.71 381.25 87.37 14 2577 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 247.51 157.63 405.13 404.50 82.77 15 2578 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 253.37 161.41 414.78 414.14 75.66 16 2579 - - - - (0.64) - - (0.53) - (1.17) 259.37 165.28 424.65 423.48 69.08 17 2580 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 265.52 169.24 434.76 434.12 63.23 18 2581 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 271.08 172.81 443.90 443.26 57.64 19 2582 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 276.77 176.46 453.22 452.59 52.55 20 2583 - - - - (0.64) (13.83) - - - (14.47) 282.57 180.18 462.75 448.28 46.47 21 2584 - - - - (0.64) - - (0.53) - (1.17) 288.49 183.98 472.47 471.30 43.62 22 2585 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 294.54 187.86 482.40 481.76 39.81 23 2586 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 299.98 191.35 491.32 490.69 36.21 24 2587 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 305.51 194.90 500.41 499.77 32.93 25 2588 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 311.15 198.51 509.67 509.03 29.94 26 2589 - - - - (0.64) - - (0.53) - (1.17) 316.90 202.20 519.09 517.92 27.20 27 2590 - - - - (0.64) (13.83) - - - (14.47) 322.74 205.95 528.70 514.23 24.11 28 2591 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 327.96 209.31 537.27 536.63 22.47 29 2592 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 333.26 212.73 545.99 545.35 20.39 30 2593 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 338.64 216.20 554.84 554.21 18.50 31 2594 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 344.12 219.73 563.84 563.21 16.78 32 2595 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 349.68 223.31 572.99 572.35 15.23 33 2596 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 355.06 226.77 581.83 581.19 13.81 34 2597 - - - - (0.64) (13.83) - - - (14.47) 360.52 230.29 590.80 576.34 12.23 35 2598 - - - - (0.64) - - - - (0.64) 366.06 233.85 599.91 599.28 11.35 36 2599 - - - - (0.64) - - - 844.80 844.16 371.69 237.48 609.17 1,453.33 24.58 NPV @ 0% (27.42) - (1,408.00) (44.16) (19.13) (55.31) (10.53) (6.11) 844.80 (725.86) 8,710.37 5,555.24 14,265.61 13,539.75 828.36 NPV @ 12% (24.48) - (783.87) (24.59) (2.60) (5.54) (6.21) (1.88) 14.29 (834.89) 1,016.00 647.25 1,663.25 828.36 ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 2-230 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 2 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายละเอียดโครงการ ตารางที่ 2.17-8 ผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหวโครงการ กรณี Fast Track ค่ำใช้จ่ำยของโครงกำร ตัวชี้วด ั เพิม ่ ขึ้น20% เพิม ่ ขึ้น 10% กรณีฐำน ลดลง 10% ลดลง 20% EIRR (%) 20.46% 21.92% 23.62% 25.63% 28.06% เพิม่ ขึ้น 20% NPV (ล้านบาท) 1,134.75 1,238.85 1,342.96 1,447.06 1,551.17 B/C Ratio 1.91 2.08 2.29 2.54 2.86 EIRR (%) 19.09% 20.46% 22.06% 23.96% 26.25% เพิม ่ ขึ้น 10% NPV (ล้านบาท) 936.08 1,040.19 1,144.29 1,248.40 1,352.50 ผลประโยชน์ของโครงกำร B/C Ratio 1.749 1.91 2.10 2.33 2.62 EIRR (%) 17.68% 18.97% 20.46% 22.24% 24.38% กรณีฐำน NPV (ล้านบาท) 737.41 841.52 945.62 1,049.73 1,153.83 B/C Ratio 1.59 1.73 1.91 2.12 2.39 EIRR (%) 16.23% 17.42% 18.81% 20.46% 22.46% ลดลง 10% NPV (ล้านบาท) 538.75 642.85 746.96 851.06 955.17 B/C Ratio 1.43 1.56 1.72 1.91 2.15 EIRR (%) 14.72% 15.82% 17.11% 18.63% 20.46% ลดลง 20% NPV (ล้านบาท) 340.08 444.18 548.29 652.39 756.50 B/C Ratio 1.27 1.39 1.53 1.70 1.91 ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 ตารางที่ 2.17-9 ผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหวโครงการ กรณี Normal Track ค่ำใช้จ่ำยของโครงกำร ตัวชี้วด ั เพิม ่ ขึ้น20% เพิม ่ ขึ้น 10% กรณีฐำน ลดลง 10% ลดลง 20% EIRR (%) 21.12% 22.60% 24.33% 26.36% 28.80% เพิม ่ ขึ้น 20% NPV (ล้านบาท) 994.04 1,077.52 1,161.01 1,244.50 1,327.99 B/C Ratio 1.99 2.17 2.39 2.66 2.99 EIRR (%) 19.72% 21.12% 22.75% 24.67% 26.98% เพิม ่ ขึ้น 10% NPV (ล้านบาท) 827.71 911.20 994.69 1,078.18 1,161.67 ผลประโยชน์ของโครงกำร B/C Ratio 1.826 1.99 2.19 2.43 2.68 EIRR (%) 18.28% 19.59% 21.12% 22.92% 25.10% กรณีฐำน NPV (ล้านบาท) 661.39 744.87 828.36 911.85 995.34 B/C Ratio 1.66 1.81 1.99 2.21 2.49 EIRR (%) 16.79% 18.02% 19.44% 21.12% 23.15% ลดลง 10% NPV (ล้านบาท) 495.06 578.55 662.04 745.53 829.02 B/C Ratio 1.49 1.63 1.79 1.99 2.24 EIRR (%) 15.25% 16.38% 17.69% 19.25% 21.12% ลดลง 20% NPV (ล้านบาท) 328.74 412.22 495.71 579.20 662.69 B/C Ratio 1.33 1.45 1.59 1.77 1.95 กรมทางหลวงชนบท 2-231 บทที่ 3 สภาพแวดลอมปจจุบัน รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน บทที่ 3 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3 .1 บทนำ การศึกษาสภาพแวดล้อมปัจจุบันโดยทั่วไปและคุณค่าต่างๆ ที่มีต่อมนุษย์ และบริเวณที่อาจได้รับผล กระทบกระเทือนจากโครงการ สิ่งแวดล้อมของโครงการ จะพิจารณาโดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ สิ่งแวดล้อม ตามธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางสังคมมนุษย์ โดยทั้ง 2 กลุ่ม จะแบ่งเป็น 4 องค์ประกอบหลัก คือ สิ่งแวดล้อม ทางด้านกายภาพ (Physical Environment) สิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ (Biological Environment) คุณค่าการใช้ ประโยชน์ของมนุษย์ (Human Use Values) และคุณค่าต่อคุณภาพชีวิต ( Quality of Life Values) ภายใต้แต่ละ องค์ประกอบจะมีปัจจัยหลักทางด้านสิ่งแวดล้อมอยู่หลายปัจจัย ซึ่งในการศึกษาดำเนินการตามแนวทางของ เอกสาร “ระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย” ของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร- ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2563) เป็นกรอบในการศึกษา ครอบคลุมพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียงอย่างน้อย จากศูนย์กลางถนนข้างละ 500 เมตร หรือมากกว่าในกรณีที่พิจารณาแล้วเห็นว่าโครงการมี แนวโน้มที่จะก่อให้เกิด ผลกระทบขึ้นเป็นวงกว้าง ตามความเหมาะสมของแต่ละหัวข้อหรือพื้นที่อิทธิพลที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นจากโครงการ ผลจากการประเมิ น ผลกระทบสิ ่ ง แวดล้ อมเบื ้ องต้ น ( IEE) มี ป ั จ จั ย สิ ่ ง แวดล้ อมที ่ ม ี ผ ลกระทบอย่าง มีนัยสำคัญที่นำมาศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขั้นรายละเอียด ( EIA) จำนวน 22 ปัจจัย ได้แก่ ทรัพยากรดิน ธรณีวิทยาและแผ่นดินไหว น้ำผิวดิน น้ำทะเล คุณภาพอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน ระบบนิเวศ สัตว์ในระบบนิเวศ พืชในระบบนิเวศ สิ่ง มีชีวิตหายาก การคมนาคมขนส่ง สาธารณูปโภค การควบคุมน้ำท่วมและการระบายน้ำ การใช้ที่ดิน เศรษฐกิจ-สังคม การสาธารณสุข สุขาภิบาล อาชีวอนามัย อุบัติเหตุและความปลอดภัย โบราณคดี และประวัติศาสตร์ และทัศนียภาพ ผลการศึกษาที่จะกล่าวถึงในบทนี้ เป็นการเสนอข้อมูลและการประมวลผล ทั้งจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ และข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการสำรวจในภาคสนาม เช่น การเก็บตัวอย่างคุณภาพอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน คุณภาพน้ำทะเล พืชในระบบนิเวศ สัตว์ในระบบนิเวศ นิเวศวิทยาทางน้ำ เศรษฐกิ จ-สังคม เป็นต้น เพื่อนำมาเป็น ข้อมูลพื้นฐานประกอบในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากกิจกรรมต่างๆ ในการพัฒนาโครงการ ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ เพื่อนำไปสู่การกำหนดมาตรการป้องกัน และ แก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้มีความเพียงพอและ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบันต่อไป กรมทางหลวงชนบท 3-1 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.2 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 3.2.1 ทรัพยากรดิน 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาชนิด ประเภท คุณสมบัติทางชีวเคมี คุณสมบัติทางกายภาพ ประสิทธิภาพและการใช้ ประโยชน์ กษัยการของดิน ( Erosion) และเสถียรภาพต่อการทรุดตัวและการพังทลายของทรัพยากรดินในพื้นที่ ศึกษาโครงการ (2) เพื่อนำข้อมูลไปประเมินผลกระทบต่อทรัพยากรดินที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการ 2) วิธีการศึกษา (1) จัดทำแผนที่กลุ่มชุดดินบริเวณพื้นที่โครงการ พร้อมคำนวณเนื้อที่ของแต่ละกลุ่มชุดดินตามแนว เส้นทาง จากกึ่งกลางถนนออกไปข้างละ 500 เมตร โดยใช้ข้อมูลกลุ่มชุดดินจากกรมพัฒนาที่ดิน (2) จัดทำตารางสรุปกลุ่มชุดดินคุณสมบัติดินโดยใช้ข้อมูลกลุ่มชุดดินจากกรมพัฒนาที่ดินและจัดทำ แผนที่ระดับการชะล้างพังทลายของดินตามสมการสูญเสียดินสากล ( Universal Soil Loss Equation : USLE) ตามแนวเส้นทาง จากกึ่งกลางถนนออกไปข้างละ 500 เมตร ร่วมกับการสำรวจพื้นที่ 3) ผลการศึกษา โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตาตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มี จ ุ ดเริ ่ มต้นโครงการที ่ กม.0+000 เชื ่ อมต่ อกลั บทางหลวงหมายเลข 4026 (กม.26+620) บริ เวณบ้ านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และจุดสิ้นสุดโครงการที่ กม.2+527 เชื่อมต่อกับทางหลวงชนบท กบ.5035 บริเวณบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งผลการตรวจสอบ ข้อมูลทรัพยากรดินในพื้นที่ศึกษาโครงการจากข้อมูลของกรมพัฒนาที่ดิน (2538) สรุปได้ดังนี้ (1) กลุ่มชุดดิน กลุ่มชุดดินในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ประกอบด้วย 5 กลุ่มชุดดิน (ไม่นับรวมพื้นที่ทะเล) พบว่า ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชุดดินที่ 13 เป็นกลุ่มดินเลนเค็มชายทะเล มีขนาด พื้นที่ 289 ไร่ (ร้อยละ 15.30) รองลงมาคือกลุ่มชุดดินที่ 51 มีขนาดพื้นที่ 275 ไร่ (ร้อยละ 14.56) กลุ่มชุดดิน SC มีขนาดพื้นที่ 111 ไร่ (ร้อยละ 5.88) และกลุ่มชุดดินที่ 53 มีขนาดพื้นที่ 109 ไร่ (ร้อยละ 5.77) ตามลำดับ แสดงดังตารางที่ 3.2.1-1 และรูปที่ 3.2.1-1 • กลุ่มชุดดิน 13 ได้แก่ ชุดดินบางปะกง (Bpg) และชุดดินตะกั่วทุ่ง ( Tkt) ลักษณะเด่นเป็น กลุ่มดินเลนเค็มชายทะเลที่มีศักยภาพก่อให้เกิดเป็นดินกรดกำมะถัน ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงเป็นด่าง การระบายน้ำ เลวมาก ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง มีปัญหาดินเลนเค็มที่มีน้ำทะเลท่วมถึงเป็นประจำวัน มีศักยภาพ ก่อให้เกิดดินกรดกำมะถัน เกิดก๊าซพิษไข่เน่า และก๊าซมีเทน ซึ่ งเป็นอันตรายต่อพืช มีความสามารถในการทรงตัว ของต้นพืชต่ำมาก ทำให้พืชล้มง่าย เมื่อดินแห้งจะแปรสภาพเป็นดินกรดกำมะถันและเค็ม และมีน้ำทะเลท่วม เป็นประจำทุกวัน กรมทางหลวงชนบท 3-2 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.1-1 กลุ่มชุดดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-3 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.1-1 กลุ่มชุดดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ ลำดับ กลุ่มชุดดิน พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ 1 กลุ่มชุดดิน 13 289 15.30 2 กลุ่มชุดดิน 51 275 14.56 3 กลุ่มชุดดิน 53 109 5.77 4 กลุ่มชุดดิน SC 111 5.88 5 พื้นที่น้ำ (W) 3 0.16 รวม 787 41.66 นอกเขต 1,102 58.34 รวมทั้งหมด 1,889 100.00 ที่มา : ดัดแปลงจากกรมพัฒนาที่ดิน, 2538 • กลุ่มชุดดิน 51 ได้แก่ ชุดดินห้วยยอด ( Ho) ชุดดินคลองเต็ง ( Klt) ชุดดินระนอง ( Rg) และชุ ด ดิ น ยี ่ ง อ ( Yg) ลั ก ษณะเด่ น เป็ น กลุ ่ ม ดิ น ตื ้ น ถึ ง ชั ้ น หิ น พื ้ น ปฏิ ก ิ ร ิ ย าดิ น เป็ น กรดจั ด การระบายน้ ำ ดี ถึงค่อนข้างมาก ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ มีปัญหาดินตื้นถึงชั้นหินพื้นภายในความลึก 50 เซนติเมตร บางพื้นที่ มีเศษหินและหินพื้นโผล่กระจัดกระจายอยู่บริเวณหน้าดิน ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ขาดแคลนน้ำ และในพื้นที่ ที่มีความลาดชันสูงมากจะเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดิน • กลุ่มชุดดิน 53 ได้แก่ ชุดดินนาทอน (Ntn) ชุดดินโอลำเจียก (Oc) ชุดดินปะดังเบซาร์ (Pad) ชุดดินตราด (Td) และชุดดินตรัง ( Tng) ลักษณะเด่นเป็น กลุ่มดินเหนียวลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้น ลูกรังหรือ เศษหิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด การระบายน้ำดี ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ มีปัญหาดินลึกปานกลางถึงชั้นลูกรัง ก้ อนกรวด เศษหิ น หรื อชั้ น หิ น พื้ นในช่ วงความลึ ก 50-100 เซนติ เมตร ความอุ ด มสมบู รณ์ต่ ำ ขาดแคลนน้ำ และในพื้ นที่ ที่มี ความลาดชัน สู งจะเกิ ด การชะล้ างพั งทลายสู ญ เสี ยหน้ าดิน ค่อนข้ างสู ง ทำให้ เกิ ด เป็ นดิ นตื้น และยากต่อการปรับปรุงแก้ไข • กลุ่มชุดดิน SC พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC : slope complex) อยู่ในพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน ที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการศึกษา สำรวจและจำแนกดิน เนื่องจากสภาพ พื้นที่มีความลาดชันสูง ซึ่งถือว่ายากต่อการจัดการดูแลรักษาสำหรับการเกษตร มีความลาดชันสูงมาก ในพื้นที่ ทำการเกษตรจะเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินอย่างรุนแรง ขาดแคลนน้ำและบางพื้นที่อาจพบชั้นหินพื้น หรือเศษหินกระจัดกระจายอยู่บริเวณหน้าดิน (2) ชุดดิน ผลการตรวจสอบชุดดินในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ชุดดินตะกั่วทุ่ง (Tkt) มีขนาดพื้นที่ 289 ไร่ (ร้อยละ 15.30) รองลงมาคือชุดดินคลองเต็ง (Klt) ที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC) และคลองซาก (Kc) มีขนาดพื้นที่ 275, 111 และ 109 ไร่ ตามลำดับ แสดงดังตารางที่ 3.2.1-2 และผลการตรวจสอบความอุด มสมบู รณ์และการใช้ป ระโยชน์ที ่ดิน ในพื ้นที่ ศึ กษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ พบว่า มีความอุดมสมบูรณ์อยู่ในระดับสูงถึงระดับต่ำ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548) เนื่องจาก สภาพพื้นที่โครงการตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเล ที่ดินบางแห่ง ไมเหมาะสมทางการเกษตร ควรปลอยไว้ให้เปน ปาชายเลน เปนที่อยู่อาศัยและเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ แสดงดังตารางที่ 3.2.1-3 กรมทางหลวงชนบท 3-4 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.1-2 ชุดดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ ลำดับ soilseries ชุดดิน พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ 1 Kc ชุดดินคลองซาก 109 5.77 2 Klt ชุดดินคลองเต็ง 275 14.56 3 SC ชุดดินที่ลาดชันเชิงซ้อน 111 5.88 4 Tkt ชุดดินตะกั่วทุ่ง 289 15.30 5 W พื้นที่น้ำ 3 0.16 รวม 787 41.66 นอกเขต 1102 58.34 รวมทั้งหมด 1,889 100.00 ตารางที่ 3.2.1-3 ความอุดมสมบูรณ์และการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ ความอุมสมบูรณ์ ลำดับ ชุดดิน ความลึก (ซม.) การใชประโยชนที่ดิน ของดิน 1 คลองซาก (Kc) 0 - 25 ปานกลาง - เหมาะสมปานกลาง สําหรับการปลูกยางพาราและปาล์ ม 25 - 50 ต่ำ น้ำมัน ไมคอยเหมาะสมสําหรับการปลูกไมผล มีขอจํากัดที่ 50-100 ต่ำ เปนดินตื้น ความอุดมสมบูรณต่ำและขาดแคลนน้ำ 2 คลองเต็ง (Klt) 0 - 25 ปานกลาง - เหมาะสมปานกลาง สําหรับทําทุ งหญา ไมคอยเหมาะสม 25 - 50 ต่ำ สําหรับปลูกพืชไร่ และไมเหมาะสมสําหรับปลูกไมผลและ 50-100 ต่ำ ั้ หินพืน ไมยืนตน มีข้อจํากัดที่มีชน ้ ตื้น 3 ตะกั่วทุ่ง (Tkt) 0 - 25 สูง - ไมเหมาะสมทางการเกษตร ควรปลอยไว้ให้เปนปาชาย 25 - 50 สูง เลน เปนที่อยู่อาศัยและเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ 50-100 สูง ที่มา : ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต กรมพัฒนาที่ดิน, 2548 (3) การชะล้ างพั งทลายของดิ น การชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ศึ กษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่มีระดับการสูญเสียดินน้อยมาก (0-2 ตัน /ไร่/ปี) มีขนาดพื้นที่ 620 ไร่ (ร้อยละ 32.82) รองลงมาคือการสูญเสียดินรุนแรงมากในพื้นที่สูงชัน (มากกว่า 20 ตัน/ไร่/ปี) มีขนาดพื้นที่ 158 ไร่ (ร้อยละ 8.36) และการสูญเสียดินน้อย (2-5 ตัน/ไร่/ปี) มีขนาดพื้นที่ 148 ไร่ (ร้อยละ 7.83) แสดงดัง ตารางที่ 3.2.1-4 และรูปที่ 3.2.1-2 ตารางที่ 3.2.1-4 การชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ ลำดับ ระดับการชะล้างพังทลายของดิน พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ 1 1 = การสูญเสียดินน้อยมาก 0-2 ตัน/ไร่/ปี 620 32.82 2 2 = การสูญเสียดินน้อย 2-5 ตัน/ไร่/ปี 148 7.83 3 5H = การสูญเสียดินรุนแรงมากในพื้นที่สูงชัน มากกว่า 20 ตัน/ไร่/ปี 158 8.36 รวม 926 49.02 นอกเขต 963 50.98 รวมทั้งหมด 1,889 100.00 กรมทางหลวงชนบท 3-5 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.1-2 การชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-6 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (4) ผลการเจาะสำรวจสภาพชั้นดิน การเจาะดิน ( Boring Log) ตามแนวก่อสร้างสะพานของ โครงการ จำนวน 8 หลุม สรุปผลการเจาะสำรวจสภาพชั้นดิน ดังนี้ ก) การเจาะสำรวจในสนาม ( Field Investigation) การเจาะสำรวจสภาพชั้นดินตามแนว ถนนและบริ เ วณที ่ จ ะก่ อ สร้ า งสะพานภายในโครงการ โดยมี ต ำแหน่ ง ของหลุ ม เจาะสำรวจชั ้ น ดิ น /ชั ้ น หิ น ประกอบด้วย หลุมเจาะ จำนวน 8 หลุมเจาะ (BH-1 ถึง BH-8) ดังแสดงในตารางที่ 3.2.1-5 ถึงตารางที่ 3.2.1-12 หลังจากการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วได้นำผลมาสรุปและนำเสนอในรูปของตาราง และสามารถสรุปผลการ เจาะสำรวจได้ในรูปของ Soil Boring Logs แสดงดังรูปที่ 3.2.1-3 และรูปที่ 3.2.1-4 ข) สรุปผลการทดสอบในห้องปฏิบัติการ ตัวอย่างดินที่เก็บได้จากการเจาะสำรวจในสนาม จะนำส่งห้องปฏิบัติการด้วยความระมัดระวังพร้อมกับ ใบรายงานในสนาม สำหรับใช้กำกับตัวอย่างดินแต่ละหลุม (Field Note) จากนั้นวิศวกรในห้องทดลองจะทำการคัดเลือก และกำหนดตัวอย่างดินสำหรับใช้ในการทดสอบ เพื่อที่จะให้ได้ผลที่ละเอียดถูกต้องเพียงพอในการวิเคราะห์ลักษณะชั้นดิน -ชั้นหิน ผลการทดสอบในห้องปฏิบัติการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ คือ ตารางที่ 3.2.1-5 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-1 ความลึก (เมตร) ค่ากำลังต้านทานของดิน ชั้นที่ ลักษณะชั้นดิน/หิน Su (SPT-N) เริ่มต้น สิ้นสุด ตันต่อ ตร.ม. ครั้งต่อ 30 cm. 1 0.00 1.50 Fill Material - - 2 1.50 2.50 ชั้นทรายปนทรายแป้งร่วน (SM) - 5 3 2.50 7.00 ชั้นดินเหนียวปนทรายแข็งมาก (CL) - 16 to 21 4 7.00 8.00 ชั้นทรายปนดินเหนียวแน่นมาก (SC) - >50 5 8.00 11.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังเล็กน้อยและพบหินสด - - 6 11.00 13.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังเล็กน้อยถึงปานกลาง - - ตารางที่ 3.2.1-6 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-2 ความลึก (เมตร) ค่ากำลังต้านทานของดิน ชั้น ลักษณะชั้นดิน/หิน Su (SPT-N) ที่ เริ่มต้น สิ้นสุด ตันต่อ ตร.ม. ครั้งต่อ 30 cm. 1 0.00 1.50 Fill Material - - 2 1.50 5.50 ชั้นทรายปนดินเหนียวร่วนถึงแน่นปานกลาง (SC) - 4 to 26 3 5.50 8.00 ชั้นทรายปนดินเหนียวแน่นมาก (SC) - >50 4 8.00 10.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพัง เล็กน้อยถึงปานกลาง - - 5 10.00 11.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะเป็นหินสด - - 6 11.00 12.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังปานกลาง - - 7 12.00 13.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะเป็นหินสด - - กรมทางหลวงชนบท 3-7 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.1-7 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-3 (ในพื้นที่ทะเล) ความลึก ค่ากำลังต้านทาน ชั้น (เมตร) ของดิน ที่ ลักษณะชั้นดิน/หิน Su (SPT-N) เริ่มต้น สิ้นสุด ตันต่อ ตร.ม. ครั้งต่อ 30 cm. 1 0.00 7.00 Casing - - 2 7.00 8.00 ชั้นทรายปนทรายแป้งแน่นมาก (SM) - >50 3 8.00 12.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังเล็กน้อยถึงปานกลาง - - 4 12.00 23.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพัง - - เล็กน้อยและพบหินสด ตารางที่ 3.2.1-8 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-4 (ในพื้นที่ทะเล) ความลึก ค่ากำลังต้านทาน ชั้น (เมตร) ของดิน ลักษณะชั้นดิน/หิน ที่ Su (SPT-N) เริ่มต้น สิ้นสุด ตันต่อ ตร.ม. ครั้งต่อ 30 cm. 1 0.00 7.50 Casing - - 2 7.50 8.00 ชั้นทรายปนทรายแป้งแน่นมาก (SM) - >50 3 8.00 23.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังเล็กน้อยและพบหินสด - - ตารางที่ 3.2.1-9 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-5 (ในพื้นที่ทะเล) ความลึก ค่ากำลังต้านทาน ชั้น (เมตร) ของดิน ลักษณะชั้นดิน/หิน ที่ Su (SPT-N) เริ่มต้น สิ้นสุด ตันต่อ ตร.ม. ครั้งต่อ 30 cm. 1 0.00 2.80 Seawater - - 2 2.80 9.00 Casing - - 3 9.00 10.50 ชั้นทรายปนดินเหนียวแน่นปานกลาง (SC) - >50 4 10.50 11.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังปานกลาง - - 5 11.00 21.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังเล็กน้อยและพบหินสด - - 6 21.00 25.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังเล็กน้อยถึงปานกลาง - - 7 25.00 25.50 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะเป็นหินสด - - กรมทางหลวงชนบท 3-8 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.1-10 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-6 (ในพื้นที่ทะเล) ความลึก ค่ากำลังต้านทาน ชั้น (เมตร) ของดิน ลักษณะชั้นดิน/หิน ที่ Su (SPT-N) เริ่มต้น สิ้นสุด ตันต่อ ตร.ม. ครั้งต่อ 30 cm. 1 0.00 2.45 Seawater - - 2 2.45 7.50 Casing - - 3 7.50 8.50 ชั้นทรายปนทรายแป้งร่วน (SM) - 4 4 8.50 10.00 ชั้นทรายปนทรายแป้งแน่นมาก (SM) - >50 5 10.00 12.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพัง - - เล็กน้อยและพบหินสด 6 12.00 15.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังปานกลาง - - 7 15.00 19.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพัง - - เล็กน้อยและพบหินสด 8 19.00 20.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังปานกลาง - - ตารางที่ 3.2.1-11 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-7 (บนบก ฝั่ง ต.เกาะลันตาน้อย) ความลึก ค่ากำลังต้านทาน ชั้น (เมตร) ของดิน ลักษณะชั้นดิน/หิน ที่ Su (SPT-N) เริ่มต้น สิ้นสุด ตันต่อ ตร.ม. ครั้งต่อ 30 cm. 1 0.00 1.50 Fill Material - - 2 1.50 3.00 ชั้นทรายปนดินเหนียวแน่นปานกลาง (SC) - 28 3 3.00 5.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังปานกลางถึงมาก - - 4 5.00 8.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังเล็กน้อยและพบหินสด - - ตารางที่ 3.2.1-12 ผลการเจาะสำรวจหลุมเจาะหมายเลข BH-8 (บนบก ฝั่ง ต.เกาะลันตาน้อย) ความลึก ค่ากำลังต้านทาน ชั้น (เมตร) ของดิน ลักษณะชั้นดิน/หิน ที่ Su (SPT-N) เริ่มต้น สิ้นสุด ตันต่อ ตร.ม. ครั้งต่อ 30 cm. 1 0.00 1.50 Fill Material - - 2 1.50 4.00 ชั้นทรายปนดินเหนียวแน่นมาก (SC) - >50 3 4.00 7.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังปานกลางถึงมาก - - 4 7.00 9.00 ชั้นหินดินดาน สีเทาเข้ม มีลักษณะการผุพังเล็กน้อยถึงปานกลาง - - กรมทางหลวงชนบท 3-9 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน BH-1 BH-2 BH-3 BH-4 BH-5 BH-6 BH-7 BH-8 รูปที่ 3.2.1-3 การเจาะสำรวจชั้นดินในสนาม กรมทางหลวงชนบท 3-10 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Borehole No. : BH-1 Driller : Depth : 8.00-13.00 Date : 13/2/2564 Borehole No. : BH-2 Driller : Depth : 8.00-13.00 Date : 14/2/2564 Borehole No. : BH-3 Driller : Depth : 8.00-13.00 Date : 31/1/2564 รูปที่ 3.2.1-3 การเจาะสำรวจชั้นดินในสนาม (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-11 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Borehole No. : BH-3 Driller : Depth : 13.00-18.00 Date : 31/1/2564 Borehole No. : BH-3 Driller : Depth : 18.00-23.00 Date : 31/1/2564 Borehole No. : BH-4 Driller : Depth : 8.00-13.00 Date : 2/2/2564 รูปที่ 3.2.1-3 การเจาะสำรวจชั้นดินในสนาม (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-12 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Borehole No. : BH-4 Driller : Depth : 13.00-18.00 Date : 2/2/2564 Borehole No. : BH-4 Driller : Depth : 18.00-23.00 Date : 2/2/2564 Borehole No. : BH-5 Driller : Depth : 10.50-15.00 Date : 4/2/2564 รูปที่ 3.2.1-3 การเจาะสำรวจชั้นดินในสนาม (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-13 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Borehole No. : BH-5 Driller : Depth : 15.00-20.00 Date : 4/2/2564 Borehole No. : BH-5 Driller : Depth : 20.00-25.00 Date : 4/2/2564 Borehole No. : BH-5 Driller : Depth : 25.00-25.50 Date : 4/2/2564 Borehole No. : BH-6 Driller : Depth : 10.00-15.00 Date : 8/2/2564 รูปที่ 3.2.1-3 การเจาะสำรวจชั้นดินในสนาม (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-14 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Borehole No. : BH-6 Driller : Depth : 15.00-20.00 Date : 8/2/2564 Borehole No. : BH-7 Driller : Depth : 3.00-8.00 Date : 11/2/2564 Borehole No. : BH-8 Driller : Depth : 4.00-9.00 Date : 12/2/2564 รูปที่ 3.2.1-3 การเจาะสำรวจชั้นดินในสนาม (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-15 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.1-4 ตำแหน่งหลุมเจาะสำรวจชั้นดิน สภาพชั้นดินตามแนวยาว (Soil Profile) กรมทางหลวงชนบท 3-16 กรมทางหลวงชนบท สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) SUMMARY OF TEST RESULTS ้ รายละเอียด (EIA) ่ แวดล้อมในขัน Project : โครงการศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิง DATE. : 2/13/2564 ่ มเกาะลันตา ตาบลเกาะกลาง-ตาบลเกาะลันตาน้อย อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ Location : เส้นทางเชือ Borehole no.: BH-1 (ก) ผลการทดสอบสำหรับหลุมเจาะ BH-1 Depth Atterberg Limit (%) Sieve Analysis Suc Unit Weight Water Content USCS SPT-N Sample No. (undis) (m.) (%) LL PL PI #4 #10 #40 #100 #200 Group (Blows / 30 cm.) (T/m3) (T/m2) SS-1 1.50 - 1.95 8.80 NP NP NP 100.00 99.10 69.20 41.90 16.80 SM - 5 - SS-2 3.00 - 3.45 16.60 39.80 22.80 17.00 100.00 98.90 88.10 83.50 79.20 CL - 16 - SS-3 4.50 - 4.95 17.20 - - - - - - - - CL - 21 2.13 3-17 SS-4 6.00 - 6.45 17.00 39.80 22.80 17.00 100.00 98.50 87.80 83.10 78.80 CL - 19 2.14 SS-5 7.50 - 7.95 16.70 32.90 20.50 12.40 97.80 86.90 65.60 52.20 45.90 SC - 50 /8 - CR-1 8.00 - 9.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-2 9.00 - 10.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-3 10.00 - 11.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-4 11.00 - 12.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-5 12.00 - 13.00 - - - - - - - - - Rock - - - Note : 1. LL = Liquid Limit ; PL = Plastic Limit ; PI = Plasticity Index สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 2. SPT-N = Standard penetration resistance (blows/30 cm.) calculated according to ASTM D 1586-84 3. NP = Non-Plastic 4. อ้างอิงค่าระดับจากหมุด KBI-209 (+3.137) บทที่ 3 กรมทางหลวงชนบท สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) SUMMARY OF TEST RESULTS ้ รายละเอียด (EIA) ่ แวดล้อมในขัน Project : โครงการศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิง DATE. : 2/14/2564 ่ มเกาะลันตา ตาบลเกาะกลาง-ตาบลเกาะลันตาน้อย อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ Location : เส้นทางเชือ Borehole no.: BH-2 (ข) ผลการทดสอบสำหรับหลุมเจาะ BH-2 Depth Atterberg Limit (%) Sieve Analysis Suc Unit Weight Water Content USCS SPT-N Sample No. (undis) (m.) (%) LL PL PI #4 #10 #40 #100 #200 Group (Blows / 30 cm.) (T/m3) (T/m2) SS-1 1.50 - 1.95 16.50 32.90 20.50 12.40 98.00 87.30 66.10 53.10 45.90 SC - 4 - SS-2 3.00 - 3.45 17.10 - - - - - - - - SC - 11 - SS-3 4.50 - 4.95 16.80 30.30 20.10 10.20 97.60 86.70 65.80 52.20 40.30 SC - 26 2.13 3-18 SS-4 6.00 - 6.45 15.90 - - - - - - - - SC - 50 /4 2.14 SS-5 7.50 - 7.95 15.70 30.00 20.00 10.00 97.50 86.50 65.50 52.10 40.00 SC - 50 - CR-1 8.00 - 9.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-2 9.00 - 10.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-3 10.00 - 11.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-4 11.00 - 12.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-5 12.00 - 13.00 - - - - - - - - - Rock - - - สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Note : 1. LL = Liquid Limit ; PL = Plastic Limit ; PI = Plasticity Index 2. SPT-N = Standard penetration resistance (blows/30 cm.) calculated according to ASTM D 1586-84 3. NP = Non-Plastic บทที่ 3 กรมทางหลวงชนบท สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) SUMMARY OF TEST RESULTS ้ รายละเอียด (EIA) ่ แวดล้อมในขัน Project : โครงการศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิง DATE. : 31/1/2564-1/2/2564 ่ มเกาะลันตา ตาบลเกาะกลาง-ตาบลเกาะลันตาน้อย อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ Location : เส้นทางเชือ Borehole no.: BH-3 (ค) ผลการทดสอบสำหรับหลุมเจาะ BH-3 Depth Atterberg Limit (%) Sieve Analysis Suc Unit Weight Water Content USCS SPT-N Sample No. (undis) (m.) (%) LL PL PI #4 #10 #40 #100 #200 Group (Blows / 30 cm.) (T/m3) (T/m2) SS-1 7.00 - 7.45 7.70 NP NP NP 94.50 84.30 48.10 29.10 13.00 SM - 50 /13 - CR-1 8.00 - 9.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-2 9.00 - 10.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-3 10.00 - 11.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-4 11.00 - 12.00 - - - - - - - - - Rock - - - 12.00 - 13.00 - - - - - - - - - Rock - - - 3-19 CR-5 CR-6 13.00 - 14.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-7 14.00 - 15.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-8 15.00 - 16.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-9 16.00 - 17.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-10 17.00 - 18.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-11 18.00 - 19.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-12 19.00 - 20.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-13 20.00 - 21.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-14 21.00 - 22.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-15 22.00 - 23.00 - - - - - - - - - Rock - - - สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Note : 1. LL = Liquid Limit ; PL = Plastic Limit ; PI = Plasticity Index 2. SPT-N = Standard penetration resistance (blows/30 cm.) calculated according to ASTM D 1586-84 บทที่ 3 3. NP = Non-Plastic กรมทางหลวงชนบท สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) SUMMARY OF TEST RESULTS ้ รายละเอียด (EIA) ่ แวดล้อมในขัน Project : โครงการศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิง DATE. : 2/2/2564-3/2/2564 ่ มเกาะลันตา ตาบลเกาะกลาง-ตาบลเกาะลันตาน้อย อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ Location : เส้นทางเชือ Borehole no.: BH-4 (ง) ผลการทดสอบสำหรับหลุมเจาะ BH-4 Depth Atterberg Limit (%) Sieve Analysis Suc Unit Weight Water Content USCS SPT-N Sample No. (undis) (m.) (%) LL PL PI #4 #10 #40 #100 #200 Group (Blows / 30 cm.) (T/m3) (T/m2) SS-1 7.50 - 7.95 17.70 30.00 20.00 10.00 96.50 86.10 65.30 52.10 40.00 SC - 50 /7 - CR-1 8.00 - 9.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-2 9.00 - 10.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-3 10.00 - 11.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-4 11.00 - 12.00 - - - - - - - - - Rock - - - 3-20 CR-5 12.00 - 13.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-6 13.00 - 14.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-7 14.00 - 15.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-8 15.00 - 16.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-9 16.00 - 17.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-10 17.00 - 18.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-11 18.00 - 19.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-12 19.00 - 20.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-13 20.00 - 21.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-14 21.00 - 22.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-15 22.00 - 23.00 - - - - - - - - - Rock - - - สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Note : 1. LL = Liquid Limit ; PL = Plastic Limit ; PI = Plasticity Index 2. SPT-N = Standard penetration resistance (blows/30 cm.) calculated according to ASTM D 1586-84 3. NP = Non-Plastic บทที่ 3 กรมทางหลวงชนบท สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) SUMMARY OF TEST RESULTS Project : ้ รายละเอียด (EIA) ่ แวดล้อมในขัน โครงการศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิง DATE. : 4/2/2564-6/2/2564 ่ มเกาะลันตา ตาบลเกาะกลาง-ตาบลเกาะลันตาน้อย อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ Location : เส้นทางเชือ Borehole no.: BH-5 (จ) ผลการทดสอบสำหรับหลุมเจาะ BH-5 Depth Atterberg Limit (%) Sieve Analysis Suc Unit Weight Water Content USCS SPT-N Sample No. (undis) (m.) (%) LL PL PI #4 #10 #40 #100 #200 Group (Blows / 30 cm.) (T/m3) (T/m2) SS-1 9.00 - 9.45 15.80 32.90 20.50 12.40 97.80 86.80 65.90 52.90 45.80 SC - 24 - CR-1 10.50 - 11.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-2 11.00 - 12.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-3 12.00 - 13.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-4 13.00 - 14.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-5 14.00 - 15.00 - - - - - - - - - Rock - - - 3-21 CR-6 15.00 - 16.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-7 16.00 - 17.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-8 17.00 - 18.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-9 18.00 - 19.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-10 19.00 - 20.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-11 20.00 - 21.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-12 21.00 - 22.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-13 22.00 - 23.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-14 23.00 - 24.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-15 24.00 - 25.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-16 25.00 - 25.50 - - - - - - - - - Rock - - - สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Note : 1. LL = Liquid Limit ; PL = Plastic Limit ; PI = Plasticity Index 2. SPT-N = Standard penetration resistance (blows/30 cm.) calculated according to ASTM D 1586-84 3. NP = Non-Plastic บทที่ 3 กรมทางหลวงชนบท สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) SUMMARY OF TEST RESULTS ้ รายละเอียด (EIA) ่ แวดล้อมในขัน Project : โครงการศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิง DATE. : 8/2/2564-9/2/2564 ่ มเกาะลันตา ตาบลเกาะกลาง-ตาบลเกาะลันตาน้อย อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ Location : เส้นทางเชือ Borehole no.: BH-6 (ฉ) ผลการทดสอบสำหรับหลุมเจาะ BH-6 Depth Atterberg Limit (%) Sieve Analysis Suc Unit Weight Water Content USCS SPT-N Sample No. (undis) (m.) (%) LL PL PI #4 #10 #40 #100 #200 Group (Blows / 30 cm.) (T/m3) (T/m2) SS-1 7.50 - 7.95 7.80 NP NP NP 95.10 84.80 49.10 29.90 13.80 SM - 4 - SS-2 9.00 - 9.45 7.50 NP NP NP 94.90 84.60 48.80 29.60 13.60 SM - 50 /10 - CR-1 10.00 - 11.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-2 11.00 - 12.00 - - - - - - - - - Rock - - - 3-22 CR-3 12.00 - 13.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-4 13.00 - 14.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-5 14.00 - 15.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-6 15.00 - 16.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-7 16.00 - 17.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-8 17.00 - 18.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-9 18.00 - 19.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-10 19.00 - 20.00 - - - - - - - - - Rock - - - 1. LL = Liquid Limit ; PL = Plastic Limit ; PI = Plasticity Index สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Note : 2. SPT-N = Standard penetration resistance (blows/30 cm.) calculated according to ASTM D 1586-84 3. NP = Non-Plastic 4. อ้างอิงค่าระดับจากหมุด KBI-0003 (±0.000) บทที่ 3 กรมทางหลวงชนบท สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) SUMMARY OF TEST RESULTS ้ รายละเอียด (EIA) ่ แวดล้อมในขัน Project : โครงการศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิง DATE. : 11/2/2564-12/2/2564 ่ มเกาะลันตา ตาบลเกาะกลาง-ตาบลเกาะลันตาน้อย อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ Location : เส้นทางเชือ Borehole no.: BH-7 (ช) ผลการทดสอบสำหรับหลุมเจาะ BH-7 Depth Atterberg Limit (%) Sieve Analysis Suc Unit Weight Water Content USCS SPT-N Sample No. (undis) (m.) (%) LL PL PI #4 #10 #40 #100 #200 Group (Blows / 30 cm.) (T/m3) (T/m2) SS-1 1.50 - 1.95 15.90 32.90 20.50 12.40 96.60 85.30 66.30 53.10 45.90 SC - 28 - 3-23 CR-1 3.00 - 4.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-2 4.00 - 5.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-3 5.00 - 6.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-4 6.00 - 7.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-5 7.00 - 8.00 - - - - - - - - - Rock - - - Note : 1. LL = Liquid Limit ; PL = Plastic Limit ; PI = Plasticity Index 2. SPT-N = Standard penetration resistance (blows/30 cm.) calculated according to ASTM D 1586-84 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3. NP = Non-Plastic 4. อ้างอิงค่าระดับจากหมุด KBI-0003 (±0.000) บทที่ 3 กรมทางหลวงชนบท สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) SUMMARY OF TEST RESULTS ้ รายละเอียด (EIA) ่ แวดล้อมในขัน Project : โครงการศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิง DATE. : 2/12/2564 (ซ) ผลการทดสอบสำหรับหลุมเจาะ BH-8 ่ มเกาะลันตา ตาบลเกาะกลาง-ตาบลเกาะลันตาน้อย อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ Location : เส้นทางเชือ Borehole no.: BH-8 Depth Atterberg Limit (%) Sieve Analysis Suc Unit Weight Water Content USCS SPT-N Sample No. (undis) (m.) (%) LL PL PI #4 #10 #40 #100 #200 Group (Blows / 30 cm.) (T/m3) 2 (T/m ) SS-1 1.50 - 1.95 15.80 31.90 20.30 11.60 98.90 87.80 66.80 54.10 41.90 SC - 65 /30 - SS-2 3.00 - 3.45 15.20 31.10 20.20 10.90 98.50 87.40 66.00 53.70 41.20 SC - 50 /4 - 3-24 CR-1 4.00 - 5.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-2 5.00 - 6.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-3 6.00 - 7.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-4 7.00 - 8.00 - - - - - - - - - Rock - - - CR-5 8.00 - 9.00 - - - - - - - - - Rock - - - Note : 1. LL = Liquid Limit ; PL = Plastic Limit ; PI = Plasticity Index 2. SPT-N = Standard penetration resistance (blows/30 cm.) calculated according to ASTM D 1586-84 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3. NP = Non-Plastic 4. อ้างอิงค่าระดับจากหมุด KBI-0003 (±0.000) บทที่ 3 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ฌ) ผลการทดสอบตัวอย่างหินด้วยวิธี Point Load Test ASTM D 5731 & ISRM 1985 PROJECT ศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิง ่ แวดล้อมในขัน ้ รายละเอียด (EIA) BORING NO. BH-8 เส้นทางเชือ ่ มเกาะลันตา ตาบลเกาะกลาง - ตาบลเกาะลันตาน้อย N - LOCATION อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ E - TEST BY ELEVATION − CHECKD BY DATE OF TEST 12/02/2564 SAMPLE PROPERTIES Boring No. ตัวอย่างหินเป็ นก ้อน Depth,m 7.00-8.00 m. No. Sample Test De (mm.) P (KN) Is (MPa) F Is (50) (MPa) 1 I + 5.20 0.48 17.75 0.36 6.41 2 I + 5.20 0.59 21.82 0.36 7.88 3 I + 5.20 1.24 45.86 0.36 16.56 4 I + 5.20 0.72 26.63 0.36 9.62 5 I + 5.20 0.74 27.37 0.36 9.88 6 I + 5.20 2.13 78.77 0.36 28.45 7 I + 5.20 3.32 122.78 0.36 44.34 8 I + 5.20 1.13 41.79 0.36 15.09 9 I + 5.20 1.19 44.01 0.36 15.89 10 I + 5.20 1.51 55.84 0.36 20.17 11 I + 5.20 0.96 35.50 0.36 12.82 12 I + 5.20 0.29 10.72 0.36 3.87 13 I + 5.20 0.22 8.14 0.36 2.94 14 I + 5.20 0.24 8.88 0.36 3.21 I Irregular Sample Mean Is (50) + 14.08 (MPa) B Blocky Sample Mean Is (50) // - (MPa) C Coring Sample Mean Is (50) o - (MPa) + Perpendicular of planes weakness // Parallel of planes weakness IS (50) Average 14.08 (MPa) o Diametral UCS (MPa) 323.85 (MPa) กรมทางหลวงชนบท 3-25 กรมทางหลวงชนบท สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) UNIAXIAL COMPRESSION TEST ASTM D7012 (ด) ผลการทดสอบ Uniaxial Compression Test Project โครงการศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขัน ้ รายละเอียด (EIA) Date of Test 14/03/2564 เส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตาบลเกาะกลาง-ตาบลเกาะลันตาน้อย Location อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ Tested by - Borehole No. BH-1 Depth m. 9.00-10.00, 12.00-13.00 Diameter,cm Weight of Unit Weight Height (cm.) Area Axial Load Axial Stress Specimen Number Upper Middle Lower Average Sample of Sample Measured along Generators Speced at 90º Average 1 1 1 dav cm2 gm gm/cm3 1 2 3 4 hav kN MPa 3-26 Depth: 9.00-10.00 m. 5.18 5.17 5.18 5.18 21.04 580.00 2.52 10.93 11.02 10.95 10.96 10.97 20.00 9.51 Depth: 12.00-13.00 m. 5.15 5.13 5.14 5.14 20.74 588.00 2.61 10.86 10.91 10.91 10.88 10.89 24.00 11.57 Before After Before After สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Depth: 9.00-10.00 m. Depth: 12.00-13.00 m. บทที่ 3 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ญ) Boring Log BH-1 กรมทางหลวงชนบท 3-27 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ฎ) Boring Log BH-2 กรมทางหลวงชนบท 3-28 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ฏ) Boring Log BH-3 กรมทางหลวงชนบท 3-29 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ฐ) Boring Log BH-4 กรมทางหลวงชนบท 3-30 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ฑ) Boring Log BH-5 กรมทางหลวงชนบท 3-31 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ฒ) Boring Log BH-6 กรมทางหลวงชนบท 3-32 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ณ) Boring Log BH-7 กรมทางหลวงชนบท 3-33 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ด) Boring Log BH-8 กรมทางหลวงชนบท 3-34 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.2.2 ธรณีวิทยาและแผ่นดินไหว 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาสภาพและลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของพื้นที่ศึกษา (2) เพื่อศึกษาลักษณะธรณีวิทยาอื่นๆ ประวัติการเกิดแผ่นดินไหวในอดีต ซึ่งเป็นข้อมูลประกอบ ในการออกแบบโครงสร้างต่างๆ ของแนวเส้นทางโครงการได้อย่างเหมาะสมกับสภาพธรณีวิทยานั้น (3) เพื่อนำผลการศึกษาไปประเมินถึงผลกระทบจากการพัฒนาโครงการที่อาจมีผลกระทบต่อ ลักษณะทางธรณีวิทยาและการเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้น ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และ ระยะดำเนินการ 2) วิธีการศึกษา (1) รวบรวมและทบทวนข้อมูลทุติยภูมิตามแนวเส้นทางโครงการ ประกอบด้วย ข้อมูลด้านธรณีวท ิ ยา แผนที่แสดงจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว แผนที่แสดงรอยเลื่อนมีพลัง แผนที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวและแผนที่ธรณีวิทยา ประเทศไทยของกรมทรัพยากรธรณี และข้อมูลสถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลต่อประเทศไทยของกรมอุตุนิยมวิทยา (2) ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัจจุบันทางด้านลักษณะธรณีวิทยาในบริเวณพื้นที่โครงการ 3) ผลการศึกษา ธรณีวิทยา (1) ลักษณะธรณีวิทยาจังหวัดกระบี่ จากข้อมูลของสำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2555 พบว่า สภาพทางภูมิศาสตร์ จังหวัดกระบี่มีเนื้อที่ประมาณ 4,708 ตารางกิโลเมตร ถือว่าเป็นจังหวัดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 46 ของประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ที่ดอน ที่ราบ และหมู่เกาะน้อยใหญ่กว่า 130 เกาะ ริมปากอ่าวและรอบหมู่เกาะหลายเกาะ คือ ป่าชายเลนอันอุดมสมบูรณ์มีภูเขาพนมเบญจาเป็นภูเขาสูงที่สุดของกระบี่ (1,397 เมตรจากระดับน้ำทะเล ปานกลาง) และเป็นต้นกําเนิดของคลองปกาสัย คลองกระบี่ใหญ่ และคลองกระบี่น้อยสายน้ำสําคัญของจังหวัด ลักณะภูมิประเทศและสัณฐานธรณีวิทยาจังหวัดกระบี่ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป ประกอบด้วย ที่ราบ ที่ราบชายฝั่งทะเล เขาโดด หรือเนินเตี้ยๆ และทิวเขาสูง โดยลักษณะธรณีวิทยาทั่วไปจังหวัดกระบี่ ส่วนใหญ่ ปกคลุมด้วยตะกอนยุคควอเทอร์นารี ซึ่งเป็นยุคที่ 2 ของมหายุคซีโนโซอิค มีช่วงอายุประมาณ 1.8 ล้านปีถึง ปัจจุบัน ส่วนหินแข็งส่วนมากพบตามพื้นที่ภูเขา พื้นที่เนินเขา หินที่สะสมตัวมีอายุแก่ที่สุดในยุคคาร์บอนิเฟอรัส ลักษณะทางธรณีวิทยาที่โดดเด่น และสวยงามในรูปภูมิประเทศแบบคาส์ต มีอายุในยุคเพอร์เมียน ลักษณะของหิน ในจังหวัดกระบี่สามารถอธิบายตามลักษณะหินได้ (รูปที่ 3.2.2-1) ดังนี้ หินยุคคาร์บอนิเฟอรัส-เพอร์เมียน หรือ “กลุ่มหินแก่งกระจาน” ธรณีวิทยาจังหวัดกระบี่ มีหินอายุคาร์บอนิเฟอรัส -เพอร์เมียน แบ่งได้เป็นกลุ่มหินแก่งกระจาน ตอนล่าง (CPk) ประกอบด้วย หินโคลนปนกรวด หินดินดาน หินทรายแป้ง หินเชิร์ต หินทรายเนื้อภูเขาไฟ หินทราย เนื้ อซิ ลิ กาสี เทา เทาเขี ย ว และน้ ำ ตาล มี ซ ากหอยแบรคคิ โ อพอด ไบรโอซั ว ปะการั ง และไนอยด์ ส่วนกลุ่ม หินแก่งกระจานตอนบน ประกอบด้วย CP หินทราย หินปูนเนื้อดิน หินดินดาน และหินเชิร์ต ซึ่งวางตัวอย่าง ต่อเนื่องกับหินยุคเพอร์เมียน กรมทางหลวงชนบท 3-35 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : ดัดแปลงจาก กรมทรัพยากรธรณี 2549 รูปที่ 3.2.2-1 ลักษณะธรณีวิทยาจังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-36 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน หินยุคเพอร์เมียน กลุ่มหินราชบุรี ( Pr) ประกอบด้วย หินปูน หินปูนเนื้อโดโลไมต์ มีหินเชิร์ตแทรกเป็นก้อนและ เป็นชั้นหินโดโลไมต์มีซากฟูซูลินิด หอยแบรคคิโอพอด ปะการัง และไบโอซัว หินกลุ่มราชบุรี เป็นชื่อที่ใช้เรียกหิน ยุคเพอร์เมียน (อายุประมาณ 286-245 ล้านปี) ที่แพร่กระจายอยู่ตั้งแต่อําเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีลงมา จนถึงจังหวัดยะลา ส่วนมากมีลักษณะเป็นเขาโดด กลุ่มหินราชบุรีโดยส่วนใหญ่แล้วเป็นหินปูน แสดงลักษณะ ภูมิประเทศแบบคาส์ต ลักษณะของหินปูนและคุณสมบัติของหินปูน ประกอบด้วย หินปูน หินปูนเนื้อโดโลไมต์ และหินโดโลไมต์ แทรกสลับด้วยหินทรายและหินดินดาน หินปูน หินปูนเนื้อโดโลไมต์ และหินโดโลไมต์ มีสีเทา ถึงสีเทาเข้ม ไม่แสดงลักษณะเป็นชั้น มีหินเชิร์ต เป็นกะเปาะ พบซากดึกดําบรรพ์จําพวกฟิวซูลินิด แบรคิโอพอด ปะการัง แอมโมนอยด์และไครนอยด์ หินยุคไทรแอสซิค (Tr1) หมวดหินไสบอน ( Tr) หินกรวดมนฐานสีแดงเนื้อปูนผสม หินดินดานสีเทาแทรกสลับด้วยหิน ทรายแป้งและหินทราย หินยุคจูแรสซิก-ครีเทเชียส (JK) Jk หินโคลน หินปูนเนื้อดินแทรกสลับด้วยหินดินดานบ้าง และหินทรายแป้งมีซากดึกดําบรรพ์ พวกน้ำกร่อยมาก JKI หิ น ทรายอาร์ โ คส หิ น โคลน หิ น ทรายแป้ งสี น้ำตาลแดง การวางชั้ นเฉี ย งกั บแนวระดับ หินกรวดมนและหินทรายในตอนบนของลําดับชั้นหิน มีซากหอยสองฝาของน้ำจืดและน้ำกร่อยบริเวณตอนล่าง ของการเรียงลําดับชั้นหิน หินยุคเทอร์เชียรี กลุ่มหินกระบี่ ( Tkb) หินดินดาน หินดินดานเนื้อปู นผสม หินทรายและหินทรายแป้งสีน้ำตาล น้ำตาลเหลืองและขาว หินปูน ลิกไนต์ หินน้ำมัน และบางแห่งแทรกสลับด้วยยิปซั่มบ้างพบซากหอยกาบเดียว และร่องรอยใบไม้ในบางชั้นหิน หินกึ่งแข็งตัว หินโคลน หินทรายแป้ง หินทราย หินมาร์ล พบซากหอยสกุลวิวิพารัส (Viviparous) และยิปซั่มแพร่กระจายทั่วไป อายุเทอร์เชียรี แอ่งกระบี่ ( Krabi Basin) มีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขต อําเภอเมือง และอําเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ มีรูปร่างคล้ายสี่เหลี่ยมด้านขนาน มีลักษณะราบอยู่บริเวณ ริมฝั่งทะเล มีความยาวประมาณ 28 กิโลเมตร กว้างประมาณ 13 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 364 ตารางกิโลเมตร (Markirt et al., 1984) หินยุคเทอร์เชียรีในแอ่งกระบี่ จัดอยู่ในกลุ่มหินกระบี่ ( Krabi Group) โดย Javanaphet (1969) โผล่ ให้ เห็ น เป็ น บริ เวณแคบๆ หลายบริ เวณ เช่ น ที่ สุ ส านหอยกระบี่ บริ เวณแหลมโพธิ์ บ้ า นหินราว บ้ า นเกาะยาวคลองท่าปลิ ง และเคยปรากฏให้ เห็นมากที่สุด ในบริเวณเหมื องลิกไนต์ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทยจาก 3 บ่อเหมือง ได้แก่ บ่อเหมืองบ้านบางปูดํา บ่อเหมืองบางหมาก และบ่อเหมืองหวายเล็ก ขณะนี ้ บ ่ อ เหมื อ งทั ้ ง หมดปิ ด ดำเนิ น การไปแล้ ว และมี ร ะดั บ น้ ำ สู ง เกื อ บเต็ ม บ่ อ ไม่ ส ามารถเห็ น ชั ้ น หิ น ใดๆ อีก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บ่อเหมืองบ้านบางปูดํา และบ่อเหมืองหวายเล็ก ชั้นหินที่สะสมตัวในแอ่งกระบี่มีความหนาตั้งแต่ 280-710 เมตร Leow (1985) และ Bristow (1991) ได้ศึกษาชั้นหินในแอ่งกระบี่ พบว่าประกอบด้วยชั้น หินโคลน สีน้ำตาลแดง สีเทา หินทรายแป้ง หินทราย สีเทาและหินโคลนที่มีอินทรีย์สารปน หนาประมาณ 70-200 เมตร ชั้นต่อเนื่องขึ้นมาเป็นหินโคลนสีเทา-เทาเขียว หิ น ดิ น โคลนที่ มี ชั้ นของอิ นทรี ย์ สารแทรกสลับ มี ความหนาประมาณ 70-180 เมตร และพบชั้ นถ่ านหินด้วย โดยชั้นถ่านหินหนาประมาณ 20 เมตร พบซากดึกดําบรรพ์หลายชนิดในชั้นถ่านหินโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ซากสัตว์ มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 27 ชนิด สัตว์เลื้อยคลานจําพวก งู จระเข้ และเต่า 6 ชนิด สัตว์ชนิด ใหม่ๆ ที่ค้นพบ ได้แ ก่ บ่าง ไพรเมต สัตว์กินเนื้อ สัตว์เท้ากีบ ( Chaimanee et al., 1997; Ducrocq, 1994, 1999; Ducrocq et al., 1992a, 1992b, 1993, 1995, 1997, 1998; Rage et al., 1992 และ Suteethorn กรมทางหลวงชนบท 3-37 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน et al., 1988) ถัดขึ้นมาเป็นชั้นหินโคลนเนื้อสารปูนที่มีซากหอยขมอยู่หนาแน่น วางตัวอยู่บนชั้นถ่านหินนี้ และ มีชั้นหินโคลนสีเทา เทาเขียว หินทราย หินทรายแป้ง ซึ่งมีซากดึกดําบรรพ์จําพวกหอยกาบ หอยเจดีย์ ปลา และ ใบไม้วางปิดทับ นอกจากนี้ที่บริเวณเหมืองถ่านหินลิกไนต์ยังพบชั้นถ่านหินบาง ๆ อีก 2-3 ชั้นแทรกอยู่ในชั้นหินนี้ ซึ่งมีความหนาประมาณ 100-400 เมตร และพบซากสัตว์มีกระดูกสันหลังบ้าง ทางตอนเหนือของแอ่งกระบี่ มีหินทรายสีขาว หินโคลนสีเทา หินทรายแป้งสีเทา มีซากดึกดําบรรพ์น้อยมาก หนาประมาณ 40-160 เมตร วางทับ แบบรอยชั้นไม่ต่อเนื่อง ส่วนทางตอนใต้ของแอ่งกระบี่ เป็นหินโคลนสีเทาและน้ำตาลแดง หินทรายเนื้อละเอียด สีเทา หรือขาว หินโคลนปนถ่านหินวางทับแบบรอยชั้นไม่ต่อเนื่องเช่นกัน หิ น อั ค นี ( Igneous Rocks) เป็ น หิ น ที ่ เ กิ ด จากการเย็ น ตั ว แข็ ง ของหิ น หนื ด ( magma and lava) ที่กําเนิดจากการหลอมเหลวของหินชนิ ดต่างๆ ที่อยู่ลึกลงไปใต้เปลือกโลก หินหนืดที่แทรกดันตัวขึ้นมา อย่างช้าๆ ได้ระดับหนึ่งแล้วเย็นตัว แข็งเป็นหินก่อนถึงผิวโลก เรียกว่า หินอัคนีแทรกซอน ( intrusive igneous rocks) ในกรณีนี้ แร่ประกอบหินต่างๆ ได้มีการตกผลึกและเย็นตัวลงอย่างช้าๆ ผลึกของแร่จึงมีขนาดหยาบและ ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเหลี่ยมแสดงหน้าผลึกเกาะประสานตัวกันแน่นสนิท ( interlocking texture ) แต่ถ้าหิน หนืดพุออกมานอกผิวโลก หรือที่เรียกว่าลาวา ( lava) จะเย็นลงและแข็งตัวเป็น หินอัคนีพุ ( extrusive igneous rocks) หรือ หินภูเขาไฟ ( volcanic rocks) การที่ลาวาพุออกมาภายนอกหรืออยู่ใกล้ผิวโลกมาก และมีการเย็น ตั ว ลงอย่างรวดเร็ ว ผลึ กของแร่ประกอบหิ นจึ งมั กมี ขนาดเล็กมากจนมองด้ว ยตาเปล่าไม่เห็ น อย่ า งไรก็ตาม บ่อยครั้งลาวาอาจพาผลึกแร่ประกอบหินที่ตกผลึกอยู่ก่อนแล้วในแมกม่าหรือเศษหินข้างเคียงขึ้นมาด้วย และ ถ้ า ลาวาเย็ น ตั ว เร็ ว อย่ า งฉั บ พลั น ลั กษณะเนื้ อหิ น ที่ ไ ด้ จ ะเป็ น เนื้ อแก้ ว ( obsidian) โดยอาจไม่ มี การตกผลึก ของแร่เลย ลาวาที่พุขึ้นมาสู่ผิวโลกมักมีก๊าซและสารระเหิดอยู่ด้วย เมื่อเย็นตัวแข็งจึงมีรูพรุนอยู่ทั่วไป จังหวัด กระบี่มีหินอัคนี ดังนี้ Granite (Kgr) หินไบโอไทต์ฮอร์นเบลนด์แกรนิต มัสโคไวต์แกรนิต ผลึกขนาดเท่าๆ กัน และ ผลึกเนื้อดอก หินแกรโนไดโอไรต์อายุครีเทเชียส พบกระจายตัวบริเวณเขาพนม Rhyolite (Krh) หินไรโอไลต์ หินไซยีไนต์ ขนาดผลึกละเอียด-ปานกลาง เป็นผลึกเนื้อดอก อายุครีเทเชียส พบกระจายตัวบริเวณตะวันออกของอําเภอเหนือคลอง Gyserite (Qgy) หินกีเซอร์ไรต์ เป็นหินที่เกิดจากการสะสมตัวใหม่จากแร่ซิลิกา มีสีขาวน้ำนม ครีมเทาอมน้ำตาล เนื้อแน่น ประกอบด้วย ผลึกซิลิกาเนื้อละเอียดมาก เฟลสปาร์ เมื่อผุกลายเป็นเคลย์สีขาว ยุควอเทอร์นารี พบกระจายตัวบริเวณตะวันออกของเขาพนม ตะกอนร่วนที่ยังไม่แข็งตัวยุคควอเทอร์นารี ตะกอนร่วนเป็นตะกอนที่ยังไม่แข็งตัวเป็นหิน เกิดจากขบวนการผุพัง แล้วมาสะสมตัวโดย ตัวกลางที่แตกต่างกัน เช่น ทางน้ำ คลื่น กระแสน้ำขึ้น-ลง เป็นต้น ตะกอนร่วนแบ่งได้ดังนี้ Qt ตะกอนตะพักลําน้ำ กรวด ทราย ทรายแป้ง ดินเหนียวและศิลาแลง Qc ตะกอนเศษหินเชิงเขาและตะกอนผุพังอยู่กับที่ กรวด ทราย ทรายแป้ง ดินเหนียวและศิลาแลง และเศษหิน Qmc ตะกอนชายฝั่งทะเลโดยอิทธิพลของน้ำขึ้น-น้ำลง ดินเหนียว ทรายแป้ง และทรายละเอียด ของที่ราบลุ่มราบน้ำขึ้นถึงที่ลุ่มชื้นแฉะ ที่ลุ่มน้ำขังป่าชายเลน และชะวากทะเล Qa ตะกอนธารน้ำพา กรวด ทราย ทรายแป้ง และดินเหนียวสะสมตัวตามร่องน้ำ คันดินแม่น้ำ และแอ่งน้ำท่วมถึง กรมทางหลวงชนบท 3-38 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน จังหวัดกระบี่มีธรณีโครงสร้างที่ยาวนาน ตั้งแต่มหายุคพาลีโอโซอิคตอนบน จน ถึงยุค เทอร์เชียรี ดังนั้น แรงที่มากระทําต่อเปลือกโลกแห่งนี้จึงมีอยู่มากมาย เช่น รอยเลื่อนคลองมารุ่ ย หรือการชนกัน ของแผ่นเปลือกโลกอินเดียกับยูเรเชีย ทําให้เกิดแอ่งสะสมตะกอนขึ้นมากมายในประเทศไทย รวมทั้งแอ่งกระบี่ด้วย แอ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นแหล่งที่มีทรัพยากรธรณีด้านพลังงานเป็นส่วนใหญ่ แนวรอยแยก รอยแตก รอยเลื่อน จะอยู่ ในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ -ตะวันตกเฉียงใต้ ( NE-SW) แนวตะวันตกเฉียงเหนือ -ตะวันออกเฉียงใต้ ( NW-SE) นอกจากนั้นยังมีแนวเหนือ-ใต้อีกด้วย (2) ลักษณะธรณีวิทยาในพื้นที่โครงการ ผลการตรวจสอบลักษณะธรณีวิทยาในพื้นที่โครงการในพื้นที่ศึกษารัศมี 500 เมตร จากกึ่งกลาง แนวเส้นทางโครงการ (กรมทรัพยากรธรณี, 2549) พบว่า ในพื้นที่ศึกษาทั้งหมด (ไม่นับรวมพื้นที่ทะเล) ตั้งอยู่พื้นที่ ที่มีสภาพธรณีวิทยาในหินยุคคาร์บอนิเฟอรัส -เพอร์เมียน เป็นกลุ่มหินแก่งกระจานตอนล่าง ( CPk) ประกอบด้วย หินโคลนปนกรวด หินดินดาน หินทรายแป้ง หินเชิร์ต หินทรายเนื้อภูเขาไฟ หินทรายเนื้อซิลิกาสีเทา เทาเขียว และน้ำตาล มีซากหอยแบรคคิโอพอด ไบรโอซัว ปะการังและไคนอยด์ โดยอุ ท กธรณี วิท ยาในพื้ นที่โ ครงการ ศึกษารัศมี 500 เมตร พบว่า ชั้นน้ำบาดาลหรือชั้นหินอุ้มน้ำ ในพื้นที่ศึกษา ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นชั้นหินอุ้มน้ำ ตะกอนน้ำพา (Qfd) คิดเป็นร้อยละ 32.72 ของพื้นที่ทั้งหมด รองลงมาเป็นดินเหนียวชายทะเล (Qfd (m)) คิดเป็น ร้อยละ 10.69 ของพื้นที่ทั้งหมด ผลการสำรวจธรณีสนาม พบว่าลักษณะธรณีวิทยาในพื้นที่โครงการ ประกอบด้วย หินตะกอน และตะกอนทั้งหมดหินที่พบมีตั้งแต่ช่วงมหายุคพาลีโอโซอิก (คาร์บอนิเฟอรัส -เพอร์เมียน) จนถึงมหายุคซีโนโซอิก (ควอเทอร์นารี) แสดงใน รูปที่ 3.2.2-2 ถึงรูปที่ 3.2.2-6 หินเหล่านี้สามารถแยกออกจากกันได้โดยอาศัยลักษณะ และส่วนประกอบของเนื้อหิน การวางตัวของชั้นหิน มีจุดศึกษาทั้งหมด 22 จุด ในพื้นที่โครงการ แสดงในตารางที่ 3.2.2-1 รายละเอียดเพิ่มเติมมีดังนี้ ก) ชั้นหินแข็ง หมวดหินเกาะเฮ CPkh พบเป็นพื้นที่เล็กๆ บริเวณทิศเหนือของพื้นที่ หินทรายและหิน ทรายเนื้อกรวด หมวดหินเกาะเฮ กลุ่มหินราชบุรี สีเทาแกมเขียวถึงเทา เม็ดกรวดประกอบด้วย ควอตซ์ หินทราย หินทรายแป้ง อายุประมาณ 245 – 360 ล้านปี หมวดหินเขาพระ CPkp พบเป็นบริเวณกว้างทางด้านทิศเหนือและทิ ศใต้ของพื้นที่รวมถึง เกาะปลิง วางตัวแนวตะวันตกเฉียงเหนือ - ตะวันออกเฉียงใต้ หินทราย หินทรายแป้ง หมวดหินเขาพระ กลุ่มหิน แก่งกระจาน สีเทาเขียวไม่แสดงชั้นถึงชั้นหนามาก อายุประมาณ 245 – 360 ล้านปี หมวดหินเขาเจ้า CPkc พบบริเวณทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้และทิ ศเหนือของพื้นที่ และเกาะเปลว วางตัวแนวตะวันตกเฉียงเหนือ - ตะวันออกเฉียงใต้ หินทรายเนื้ออาร์โคส หมวดหินเขาเจ้า กลุ่มหิน แก่งกระจาน สีขาวถึงเทาจาง การคัดขนาดดี เม็ดขนาดปานกลาง อายุประมาณ 245 – 360 ล้านปี หมวดหินอุ้มลูก Pul พบบริเวณเกาะบริเวณทางด้านทิศตะวั นออกเฉียงเหนือของพื้นที่ ได้แก่เกาะร่าปูเล หินปูน หินปูนเนื้อโดโลไมต์ หมวดหินอุ้มลูก กลุ่มหินราชบุรี สีเทาและสีเทาดำ มีหินเชิร์ตแทรก เป็นเลนส์ อายุประมาณ 245 - 286 ล้านปี ข) ตะกอนยุคควอเทอร์นารี ตะกอนสั นทรายชายหาด Qn ลั กษณะตะกอนจะเป็นทรายร่ วน ขนาดละเอีย ด การ คัดขนาดดี ตะกอนตะพั ก ลุ ่ มน้ ำ Qt เป็ น ตะกอนทรายหยาบและกรวดละเอี ย ด สลั บ ดิ น เหนี ย ว ทรายแป้ง กรมทางหลวงชนบท 3-39 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.2-2 แผนที่ธรณีวิทยาพื้นที่สำรวจ กรมทางหลวงชนบท 3-40 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.2-2 แผนที่ธรณีวิทยาพื้นที่สำรวจ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-41 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.2-3 Sand nodule ที่พบในหินทราย รูปที่ 3.2.2-4 แนวแตกที่พบในหินทรายเนื้อ เนื้อละเอียดหน่วยหิน CPkp (St. 2/2) ละเอียดหน่วยหิน CPkp (St. 2/2) ้ หินแบบบางมาก รูปที่ 3.2.2-5 หินโผล่แสดงชัน รูปที่ 3.2.2-6 หินโผล่แสดงการแทรกสลับของ (Lamination) ของหินทรายเม็ดละเอียด หินทรายเม็ดปานกลางและเม็ดหยาบ กรมทางหลวงชนบท 3-42 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-1 ตารางสรุปผลการสำรวจธรณีวิทยาภาคสนาม พิกัด ลำดับที่ สถานี หมวดหิน ชนิดหิน รายละเอียด แร่ประกอบหิน หมายเหตุ เหนือ ตะวันออก 1 2/1 506220 853313 CPkh Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดขาวถึงเทา สีผุน้ำตาลแดง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ ไม่ทำปฏิกิริยา การคัดขนาดดี กับกรด HCL 2 2/2 510787 851447 CPkp Fine sandstone - เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดเขียวเทา สีผุน้ำตาลเหลือง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ มี sand nodule Silt แสดงชั้นบางมาก )lamination) 3 2/3 511463 851817 CPkc Massive sandtone หินทรายเนื้อแน่น เม็ดทรายเนื้อละเอียด การคัดขนาดดี ควอตซ์, เฟลด์สปาร์, เศษแร่หนัก 4 2/4 509992 851173 CPkp Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดปานกลาง สีสดขาว สีผุดำเหลือง การคัด ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ ขนาดดี 5 3/1 507856 848385 CPkp Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดขาว สีผน ุ ้ำตาลเหลือง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ พบรอยการคดโค้ง 6 3/2 508064 848344 CPkp Medium sandstone เม็ดตะกอนขนาดปานกลาง สีสดขาว สีผุน้ำตาลเหลือง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ แสดงการเรียงขนาด แสดงชั้นแทรกสลับ (ชั้นหนา ประมาณ 3-5 ซม.) 7 3/3 508835 848223 CPkp Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดเทาเขียว สีผุน้ำตาลแดง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ มี sand lens แสดงชั้นบางมาก หินโคลนแทรกสลับหินทราย 8 3/5 510373 848431 CPkp Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดขาว สีผน ุ ้ำตาลเหลือง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ 9 3/6 510485 848322 CPkp Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดขาว สีผด ุำ ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ 10 3/7 512770 848713 CPkc Medium sandstone เม็ดตะกอนขนาดปานกลาง สีสดขาวเทา สีผุน้ำตาลเหลือง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ มี Drop stone 11 3/8 513049 848380 CPkc Medium sandstone เม็ดตะกอนขนาดปานกลางแทรกสลับขนาดหยาบ สีสด ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ ขาวชมพู สีผุน้ำตาลแดง การคัดขนาดดี 12 3/9 512225 849318 CPkc Coarse sandstone เม็ดตะกอนขนาดหยาบ สีสดชมพู สีผุเหลืองส้ม การ ควอตซ์, เฟลด์สปาร์, คัดขนาดดี ความกลมมนสูง เม็ดตะกอนแบบเหลี่ยม ไมกา 13 3/10 510879 847792 CPkp Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดขาวเทา สีผุน้ำตาลดำ ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ 14 3/11 509939 848286 CPkp Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดขาว ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ 15 3/12 507270 849207 Qn Sediment เม็ดทรายเนื้อละเอียด สีสดขาว การคัดขนาดดี ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ กรมทางหลวงชนบท 3-43 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-1 ตารางสรุปผลการสำรวจธรณีวิทยาภาคสนาม (ต่อ) พิกัด ลำดับที่ สถานี หมวดหิน ชนิดหิน รายละเอียด แร่ประกอบหิน หมายเหตุ เหนือ ตะวันออก 16 4/1 511238 850058 CPkp Fine sandstone สีผุน้ำตาลเหลือง สีสดเทาเขียว การคัดขนาดดี ความกลม ควอตซ์, เฟลด์สปาร์, มนดี เม็ดตะกอนแบบเหลีย ่ มมาก เศษแร่หนัก 17 4/3 511977 849550 CPkc Find sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดเทาดำ สีผุน้ำตาลเหลือง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์, การคัดขนาดดี ไมกา 18 5/1 510781 851394 CPkp Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดขาวเทา สีผุน้ำตาลเหลือง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ 19 5/2 511463 851813 CPkc Medium sandstone เม็ดตะกอนขนาดปานกลาง สีสดขาวเทา สีผุน้ำตาลเหลือง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ 20 5/3 507534 852132 CPkh Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดขาว สีผน ุ ้ำตาลเหลือง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ 21 5/4 509984 851173 CPkp Fine sandstone หินทรายปนหินชนวน (shale) สีดำ ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ 22 5/5 510133 851047 CPkp Fine sandstone เม็ดตะกอนขนาดละเอียด สีสดขาว สีผน ุ ้ำตาลเหลือง ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ กรมทางหลวงชนบท 3-44 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ธรณีวิทยาโครงสร้าง จากการสำรวจธรณีวิทยาภาคสนามพบลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา ที่สำคัญอันได้แก่ การวางตัวของชั้นหิน รอยแตก โดยสามารถแยกหน่วยหินออกได้เป็นดังนี้ - หน่วยหิน CPkc การวางตัวของชั้นหินไม่พบโครงสร้างการคดโค้ง รอยเลื่อน พบเพียง รอยแตกเท่านั้น เมื่อนำค่าการวางตัวของชั้นหินมาลง Stereonet (รูปที่ 3.2.2-7 ถึงรูปที่ 3.2.2-8 และตารางที่ 3.2.2-2) พบว่า มีการวางตัวในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ – ตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนรอยแตกมีทิศทางสามทิศทาง เมื่อนำค่ามาลง Stereonet แสดงผลในรูปแบบ Rose Diagram พบว่า มีค่าเฉลี่ย = 90.4 องศา รูปที่ 3.2.2-7 การวางตัวของชั้นหินหน่วยหิน CPkc ตารางที่ 3.2.2-2 ตัวแทนการวางตัวของรอยแตกของหน่วยหิน Rock Unit Joint Strike Dip CPkc J1 053 58 CPkp J1 057 62 รูปที่ 3.2.2-8 แนวแตกของหน่วยหิน CPkc กรมทางหลวงชนบท 3-45 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - หน่วยหิน CPkp การวางตัวของชั้นหินไม่พบโครงสร้างการคดโค้งขนาดใหญ่ พบเพียง โครงสร้างการคดโค้งขนาดเล็ก ไม่พบรอยเลื่อน เมื่อนำค่าการวางตัวของชั้นหินมาลง Stereonet (รูปที่ 3.2.2-9 ถึงรูปที่ 3.2.2-10 และตารางที่ 3.2.2-3) พบว่า มีการวางตัวในสองทิศทาง คือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ – ตะวันตกเฉียงใต้ และทิศตะวันออกเฉียงใต้ – ตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนรอยแตกมีทิศทางสี่ทิศทาง เมื่อนำค่ามาลง Stereonet แสดงผลในรูปแบบ Rose Diagram พบว่ามีค่าเฉลี่ย = 53.8 องศา รูปที่ 3.2.2-9 การวางตัวของชั้นหินหน่วยหิน CPkp ตารางที่ 3.2.2-3 ตัวแทนการวางตัวของชุดรอยแตกของหน่วยหิน CPkp Rock Unit Joint Strike Dip J1 045 60 J2 123 62 CPkp J3 230 65 J4 314 60 รูปที่ 3.2.2-10 ชุดรอยแตกของหน่วยหิน CPkp กรมทางหลวงชนบท 3-46 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน การหาความแข็งจากการกระแทก (Determination of Impact Hardness of rock) การหาความแข็งจากการกระแทกนี้ ดัดแปลงมาจากการทดสอบความแข็งแรงในแท่งคอนกรีต โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า ชมิดท์ รีบาว แฮมเมอร์ (Schmidt Rebound Hammer) ลักษณะของหินที่ทดสอบ มีความหนามากกว่า 100 มิลลิเมตรขึ้นไป และมีผิวหน้าเรียบ โดยกดชมิดท์ แฮมเมอร์ ในทิศทางตั้งฉากกับผิวหน้า ของหิน กดให้ได้ค่าสะท้อน 20 ค่า แล้วตัดค่าที่ต่ำที่สุดออก 10 แล้วหาค่าเฉลี่ยของค่าสะท้อน โดยตำแหน่งการ ทดสอบแสดงในแผนที่รูปที่ 3.2.2-11 และจุดทดสอบในสนามแสดงในรูปที่ 3.2.2-12 ถึงรูปที่ 3.2.2-13 รูปที่ 3.2.2-11 ภาพแสดงตำแหน่งที่ทำการทดสอบ Schmidt Hammer กรมทางหลวงชนบท 3-47 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ผลการทดสอบหินโผล่ทั้งหมด 16 จุด (ตารางที่ 3.2.2-4) จากการทดสอบหินโผล่ด้วย N-type Schmidt Hammer พบว่าในเมื่อเทียบกับตารางแสดงความแกร่งของหิน (ตารางที่ 3.2.2-5) พบว่า ในบริเวณ จุดที่ 1 และจุดที่ 2 หินมีความแกร่งระดับปานกลาง ส่วนในบริเวณจุดที่ 3 ถึง 16 หินมีความแกร่งสูง (ภาคผนวก ง) ตารางที่ 3.2.2-4 แสดงข้อมูลจุดทดสอบ พิกัด จุดทดสอบที่ ค่าเฉลี่ย ชนิดหิน ความแกร่ง เหนือ ตะวันออก 1 507852 848374 18.4 หินทราย ปานกลาง 2 508061 848342 19.2 หินทราย ปานกลาง 3 508837 848229 24.2 หินทราย สูง 4 510366 848442 48.2 หินทราย สูง 5 510483 848320 25.8 หินทราย สูง 6 512224 849325 31.2 หินทราย สูง 7 512771 848711 42.2 หินทราย สูง 8 513035 848375 24.2 หินทราย สูง 9 511977 849550 26.4 หินทราย สูง 10 510781 851394 32.6 หินทราย สูง 11 511462 851813 41.4 หินทราย สูง 12 507534 852132 30.8 หินทราย สูง 13 509964 851173 25.8 หินทราย สูง 14 510133 851047 42.4 หินทราย สูง 15 510971 850428 33.2 หินทราย สูง 16 511238 850058 33.6 หินทราย สูง ตารางที่ 3.2.2-5 ตารางแสดงระดับความแกร่งของหิน Strength Low Medium High Very High Extremely High UCS value (Mpa) <6 6-20 20-60 60-200 >200 Schmidt Hammer <10 10-25 25-40 40-60 >60 Rebound Value Typical weathering XW HW MW SW FR ที่มา : Hand book of Geotechnical Investigation and Design Tables. โดย Burt G.Look. ค.ศ. 2007 กรมทางหลวงชนบท 3-48 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.2-12 จุดทดสอบที่ 74 หินทรายค่าเฉลี่ย 4.62 พิกัด 47P 511977E 849550N รูปที่ 3.2.2-13 จุดทดสอบที่ 10 หินทรายค่าเฉลี่ย 32.6 พิกัด 47P 510781 E 851394 N กรมทางหลวงชนบท 3-49 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน การเกิดแผ่นดินไหว จากการตรวจสอบแผนที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวประเทศไทย ของกรมทรัพยากรธรณี (2559) พบว่า แนวเส้นทางโครงการตั้งอยู่ในเขตพื้นที่สีเขียวเข้ม ซึ่งมีระดับความรุนแรงแผ่นดินไหวอยู่ที่ระดับเบา มีค่าอยู่ ระหว่าง 1 – 3 เมอร์คัลลี่ (คนจะไม่รู้สึก แต่เครื่องวัดสามารถตรวจวัดจับได้) แต่หากพิจารณาในรัศมี 150 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี พังงา และภูเก็ต ซึ่งมีระดับความรุนแรงแผ่นดินไหวตั้งแต่ 3 -22 เมอร์คัลลี่ แสดงดังรูปที่ 3.2.2-14 รอยเลื่อน เป็นลักษณะของรอยแตกหรือแนวแตกในหิน โดยหินทั้งสองฟากของรอยแตก มีการ เคลื่อนที่สัมพันธ์กัน และทิศทางการเคลื่อนที่ขนานไปกับระนาบของรอยเลื่อนนั้นๆ รอยเลื่อนเกิดจากกระบวนการ ที่ทำให้หินแตกและเลื่อน / เคลื่อนไหว เนื่องจากความเค้นในเนื้อหินที่เปลือกโลก การเลื่อนขอ งรอยเลื่อน อาจเป็นไปได้ทุกทิศทางที่เป็นแนวเปราะบาง ระยะทางของการเลื่อนตัวอาจน้อยเป็นเซนติเมตร ในการที่ประกาศ ว่ารอยเลื่อนใดในประเทศไทยมีพลัง ต้องมีผลการศึกษาทางธรณีวิทยาแล้วทราบถึง 6 องค์ประกอบสำคัญ คือ - ในรอบ 10,000 ปีที่ผ่านมา จะต้องเคยเกิดแผ่นดินไหวอย่างน้อย 1 ครั้ง โดยศึกษาจากตะกอน - ต้องเคยเป็นจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวขนาดเล็ก - ต้องเห็นรูปร่างลักษณะที่ทำให้ภูมิประเทศเปลี่ยน - ต้องมีความสัมพันธ์กับรอยเลื่อนอื่นๆ - ดูลักษณะทางน้ำที่อยู่บริเวณรอยเลื่อนดังกล่าว และ - ต้องอยู่ใกล้กับน้ำพุร้อน กลุ่มรอยเลื่อนตามทิศทางการวางตัวและการเคลื่อนที่ที่สำคัญได้ 3 แนว คือ กลุ่มรอยเลื่อนที่ วางตัวในแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ -ตะวันตกเฉียงใต้ กลุ่มรอยเลื่อนที่วางตัวในทิ ศตะวันตกเฉี ยงเหนื อ - ตะวันออกเฉียงใต้ และกลุ่มรอยเลื่อนที่วางตัวอยู่ในทิศเหนือ-ใต้ จำนวนทั้งสิ้น 16 กลุ่มรอยเลื่อน (กรมทรัพยากรธรณี, 2563) โดยรอยเลื่อนที่มีพลังที่อยู่ ใกล้กับพื้นที่โครงการมากที่สุด คือ รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย ซึ่งอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ ตอนล่างในรัศมี 150 กิโลเมตร มีระยะห่างจากที่ตั้งโครงการประมาณ 70.5 กิโลเมตร แสดงดังรูปที่ 3.2.2-15 และจากการตรวจสอบแผนที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยและศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ของกรมทรัพยากรธรณี (2561) พบว่า ที่ตั้งโครงการไม่ได้อยู่ในศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ในช่วงปี พ.ศ. 2473-2561 แต่อย่างใด แต่หาก พิจารณาพื้นที่โดยรอบในระยะ 150 กิโลเมตร จากที่ตั้งโครงการ พบศูนย์เกิดแผ่นดินไหวในพื้นที่จังหวัดกระบี่ แผ่นดินไหวที่มีขนาดน้อยกว่า 3 ริกเตอร์ ถื อเป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังพบศูนย์เกิดแผ่นดินไหวใน พื้นที่ใกล้เคียง ได้แก่ จังหวัดตรัง ภูเก็ต และสุราษฎร์ธานี แสดงดัง รูปที่ 3.2.2-16 และจากการตรวจสอบข้อมูล สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 ของกรมทรัพยากรธรณี พบว่า จั ง หวั ด กระบี่ไม่ใช่ศุนย์กลางการเกิ ดแผนดินไหวและไม่พบการเกิด แผ่ นดินไหวในพื้นที่ แต่อย่างใด แสดงดัง ตารางที่ 3.2.2-6 กรมทางหลวงชนบท 3-50 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.2-14 แผนที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี, 2559) กรมทางหลวงชนบท 3-51 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.2-15 แผนที่รอยเลื่อนที่มีพลังในประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี, 2563) กรมทางหลวงชนบท 3-52 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.2-16 แผนที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยและศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (กรมทรัพยากรธรณี, 2561) กรมทางหลวงชนบท 3-53 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง 24 ส.ค. 2563 21.27 ประเทศลาว 3.6 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น เมืองหงสา แขวงไชยบุรี ประเทศลาว 20 ก.ค. 2563 12.14 อ.เมือง จ.เลย 2.8 รูส้ ึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.ศรีสองรัก อ.เมือง จ.เลย หมู่เกาะอันดามัน 17 ก.ค. 2563 21.03 5.8 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น พระราม 9 กทม. ประเทศอินเดีย รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น บ้านกกซ้อ ต.ทรายขาว อ.วังสะพุง, ต.นาอ้อ ต.น้ำ 25 มิ.ย. 2563 21.37 อ.เมือง จ.เลย 3.8 หมาน ต.กุดป่อง ต.นาแขม ต.ศรีสองรัก บ้านขอนแดง ต.นาอาน อ.เมือง, บ้านนาสี บ้านธาตุ อ.เชียงคาน จ.เลย 9 มิ.ย. 2563 22.50 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 2.9 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น บ้านศรีงาม ต.แม่แฝก อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 22 พ.ค. 2563 22.24 ประเทศเมียนมาร์ 3.5 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี 18 พ.ค. 2563 00.08 อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 1.8 รู้สึกสั่นไหว บ้านป่าก่อดำ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น บ้านดงมะเฟือง ต.จอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว 3 พ.ค. 2563 08.27 อ.เมือง จ.เชียงราย 2.2 จ.เชียงราย 25 เม.ย. 2563 13.36 อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 2.3 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.จอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 16 เม.ย. 2563 18.45 ประเทศเมียนมาร์ 6.1 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ห้วยขวาง กทม. รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ประเทศลาว ติดกับ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน/ 14 เม.ย. 2563 04.03 ประเทศลาว 4.3 ต.ทุ่งช้าง อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน 29 ก.พ. 2563 01.13 ประเทศลาว 4.5 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น แขวงหลวงน้ำทา ประเทศลาว 7 ก.พ. 2563 18.50 ประเทศลาว 3.5 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.ห้วยโก๋น อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน อ.บางสะพาน 6 ก.พ. 2563 18.10 2.8 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.ธงชัย อ.บางสะพาน, อ.ทับสะแก จ.ประจวบฯ จ.ประจวบคีรีขันธ์ 26 ม.ค. 2563 00.42 อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา 2.2 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.โคกเคียน อ.ตะกัว ่ ป่า จ.พังงา 14 ธ.ค. 2562 07.12 ประเทศลาว 3.2 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน 12 ธ.ค. 2562 16.02 ประเทศลาว 4.7 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.ปัว อ.ปัว จ.น่าน 1 ธ.ค. 2562 22.33 ประเทศลาว 3.4 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น บ.สะเนียน ต.สะเนียน อ.เมืองน่าน, ต.ปัว อ.ปัว จ. 29 พ.ย. 2562 06.50 ประเทศลาว 4.6 น่าน 26 พ.ย. 2562 18.05 ประเทศเมียนมาร์ 5.6 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.เมือง จ.เชียงใหม่ รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.ดู่ใต้ อ.เมือง จ.น่าน/อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย/ อ.เมือง จ.ลำพูน/อ.เมือง จ.แพร่/อ.เมือง จ.พิษณุโลก/ต.ท่าอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์/ ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่/อ.เทิง , อ.แม่จ ัน, อ.เชียงของ, อ.เมือง จ.เชียงราย/อ.วังเหนือ จ.ลำปาง/ต.ในเมือง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์/ต.เด่นเหล็ก อ.น้ำปาด, อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์/ต.ธาตุเชิ งชุ ม 21 พ.ย. 2562 06.50 ประเทศลาว 6.4 อ.เมือง, ต.สว่างแดนดิน อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร/ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น/ต.หมากแข้ง, ต.หนองบัว อ.เมือ งอุดรธานี จ.อุดรธานี/ ต.วังสะพุง อ.วังสะพุง, ต.นาอาน อ.เมือง, อ.เชียงคาน จ.เลย/อ.เมือ ง จ.มุกดาหาร/ ต.สะแกกรัง อ.เมือง จ.อุทัยธานี/จตุจักร, บางซื่อ, หลักสี่, ปทุมวัน, พระโขนง, คลองสาน, ยานนาวา, บางรัก, บางนา, ห้วยขวาง, ดินแดง, คลองสาน, ธนบุรี กทม./ คลองหลวง จ.ปทุมธานี/นนทบุรี กรมทางหลวงชนบท 3-54 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.ท่าวังผา , ต.เชียงกลาง อ.เชียงกลาง , ต.สถาน ต.ปัว อ.ปัว, อ.บ่อเกลือ อ.ทุ่งช้าง, ต.ในเวียง อ.เมือง, อ.เฉลิมพระเกียรติ, อ.เวียงสา จ.น่าน/อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์/ต.นาปรัง ต.ออย อ.ปง, ต.แม่กา อ.เมือ ง , อ.เชีย งคำ , อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา/ต.กลางใหญ่ อ.บ้า นผือ จ.อุดรธานี/ 21 พ.ย. 2562 04.03 ประเทศลาว 5.9 อ.เมือง, ต.ธาตุ อ.เชียงคาน, ต.วังสะพุง อ.วังสะพุง จ.เลย/ต.บ้านกลาง อ.เมื อ ง จ.ลำพู น /ต.หนองหาร อ.สั น ทราย จ.เชี ย งใหม่ / อ.พาน , ต.รอบเวีย ง ต.บ้า นดู่ อ.เมือ ง , ต.ศรีดอนไชย อ.เทิง , ต.ดงมหาวั น อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย/ต.บ้านกลาง อ.สอง จ.แพร่/อ.เมือง จ.ลำปาง/ อ.ร้องกวาง จ.แพร่/จ.ขอนแก่น อ.ดอยสะเก็ด 27 ต.ค. 2562 10.10 3.1 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.เมือง, อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.ป่าแดด ต.สันผีเสื้อ ต.ศรีภูมิ, ต.ฟ้าฮ่าม อ.เมือง อ.ดอยสะเก็ด ต.ออนใต้ อ.สันกำแพง, ต.ป่าลาน ต.สันปูเลย อ.ดอยสะเก็ด, อ.หางดง, 18 ต.ค. 2562 21.46 4.1 จ.เชียงใหม่ ต.หนองหาร อ.สันทราย, อ.พร้าว, ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่/ อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย 17 ต.ค. 2562 10.18 อ.เมืองเลย จ.เลย 2.6 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.ศรีสองรัก อ.เมืองเลย จ.เลย 16 ต.ค. 2562 12.36 อ.เมืองเลย จ.เลย 3.9 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น บ้านท่าบุ่ง ต.เมือง, ต.กุดป่อง ของ อ.เมือง จ.เลย 27 พ.ค. 2562 21.48 อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 3.0 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 23 เม.ย. 2562 04.40 อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 2.8 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.แม่สูน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 18 เม.ย. 2562 12.42 อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 2.9 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.วังเหนือ จ.ลำปาง รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.จอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว, บ้านหัวฝาย ต.สันกลาง 15 มี.ค. 2562 20.35 อ.พาน จ.เชียงราย 3.0 อ.พาน จ.เชียงราย 14 มี.ค. 2562 23.58 อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 2.4 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.วังซ้าย อ.วังเหนือ จ.ลำปาง/ต.บ้านใหม่ อ.เมือง 14 มี.ค. 2562 21.55 อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 4.0 จ.พะเยา/อ.พร้าว, ต.สะลวง อ.แม่ริม, อ.สันทราย, จ.เชียงใหม่ รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.แม่แวน อ.พร้าว จ.เชียงใหม่/ต.ศรีถ้อย อ.แม่ใจ, 14 มี.ค. 2562 00.04 อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 4.2 ต.หนองหล่ม อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา/อ.เวียงป่าเป้า, ต.ท่าสุด อ.เมือง, อ.พาน จ.เชียงราย/อ.วังเหนือ ลำปาง 24 ก.พ. 2562 01.56 อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 2.5 รู้สึกสั่นไหว อ.เมือง จ.ลำปาง 23 ก.พ. 2562 12.52 อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 2.9 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.วังซ้าย อ.วังเหนือ ลำปาง 23 ก.พ. 2562 09.54 อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 2.5 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.วังซ้าย อ.วังเหนือ ลำปาง รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน/อ.แจ้ห่ม, ต.ต้นธงชัย อ.เมือง , อ.วังเหนือ ลำปาง/ต.เหมืองง่า อ.เมือง จ.ลำพูน/ต.บ้านปง อ.หางดง, อ.สารภี, ต.ม่อนปิ่น อ.ฝาง, ต.ท่าศาลา ต.รอบเวียง ต.วัดเกต ต.หนองป่า 20 ก.พ. 2562 16.05 อ.วังเหนือ จ.ลำปาง 4.9 ครั่ง ต.สุเทพ อ.เมือง, อ.ฮอด, อ.พร้าว, อ.สันทราย, ต.อินทขิล อ.แม่ แตง จ.เชียงใหม่/อ.เวียงป่าเป้า, ต.ป่าแดด อ.แม่สรวย, ต.เมืองพาน อ.พาน จ.เชียงราย/ต.ป่าแฝก อ.แม่ใจ, ต.เวียง อ.เมือง จ.พะเยา 29 ม.ค. 2562 06.06 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 2.6 รู้สึกสั่นไหวบ้านสั่น บ้านหนองเต่าคำใหม่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 27 ม.ค. 2562 01.04 อ.ท่าสองยาง จ.ตาก 3.1 รู้สึกสั่นไหว กระจกสั่น ต.แม่ตา ้ น อ.ท่าสองยาง จ.ตาก รู้สึกสั่นไหวบ้านสั่น ต.แม่แฝกใหม่ อ.สันทราย, บ้านป่าม่วง ต.แม่แรม 22 ม.ค. 2562 23.00 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 3.2 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ กรมทางหลวงชนบท 3-55 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง รู้สึกสั่นไหว อ.อุ้มผาง จ.ตาก/อ.สากเหล็ก จ.พิจิตร/อ.ศรีประจันต์, อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี/ต.บ่อยาง อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทย ั ธานี/ ต.บ้านชี อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี/ต.เจดีย์หัก, ต.หน้าเมือง อ.เมือง, ต.หนองโพ อ.ศรีสวัสดิ์ อ.โพธาราม ราชบุรี/อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม/อ.ท่ามะกา, อ.ไทรโยค, 30 ม.ค. 2561 22.39 4.9 จ.กาญจนบุรี ต.สมเด็จเจริญ อ.หนองปรือ, อ.ทองผาภูมิ, ต.หนองบัว อ.เมือง จ.กาญจนบุรี/อ.ลาดยาว, ต.ปากน้ำโพ อ.เมือง จ.นครสวรรค์/ เขตยานนาวา หนองบอน, ประเวศ, สาทร ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ/ อ.บางกรวย นนทบุรี 16 พ.ย. 2561 08.55 อ.พาน จ.เชียงราย 3.3 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.จอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 12 ต.ค. 2561 08.56 อ.แม่สรวย จ.เชียงราย 2.8 รู้สึกสั่นไหว เพดานสั่น ต.แม่พริก อ.แม่สรวย จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.ฝาง, ต.ช้างเคียน อ.เมือง, ต.ท่าตอน อ.แม่อาย 1 ก.ค. 2561 22.10 ประเทศเมียนมาร์ 5.0 ของ จ.เชียงใหม่ 10 มิ.ย. 2561 22.08 อ.วังสะพุง จ.เลย 3.4 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.โคกขมิ้น อ.วังสะพุง จังหวัดเลย 29 พ.ค. 2561 23.04 อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 2.7 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ต.บัวสลี อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 18 มี.ค. 2561 02.59 ประเทศเมียนมาร์ 5.2 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 8 มี.ค. 2561 04.13 ประเทศเมียนมาร์ 5.4 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 3 ก.พ. 2561 01.14 ประเทศเมียนมาร์ 4.0 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ม.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไหวบริเวณ ต.ท่าสุด อ.เมือง, ต.หล่ายงาว อ.เวียงแก่น, ต.งิ้ว 3 ก.พ. 2561 22.29 ประเทศเมียนมาร์ 5.1 ต.แม่ลอย อ.เทิง, อ.แม่ฟ้าหลวง ของ จ.เชียงราย/ต.ห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา รู้สึกสั่นไหวบริเวณ จอมแจ้ง อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน/ต.สุเทพ ต.หนองหอย ต.ช้างเผือก ของ อ.เมือง, ต.หนองผึ้ง อ.สารภี, ต.สะลวง 12 ม.ค. 2561 01.26 ประเทศเมียนมาร์ 5.9 อ.แม่ริม ต.หนองหาร อ.สันทราย, อ.หางดง จ.เชียงใหม่/อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง รู้สึกสั่นไหวบริเวณ ต.แม่จัน, บ้านห้วยยาโน ต.ป่าตึง อ.แม่จัน 3 ม.ค. 2561 23.22 อ.แม่จัน จ.เชียงราย 2.7 จ.เชียงราย 22 พ.ย. 2560 11.18 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 3.0 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ ต.แม่แฝกใหม่ อ.สันทราย, อ.เมือง, อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 21 พ.ย. 2560 21.36 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 2.4 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 9 พ.ย. 2560 06.29 ประเทศเมียนมาร์ 4.4 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น ม.แม่ฟ้าหลวง ต.ท่าสุด อ.เมือง จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น บ้านนาแหลม, บ้านโป่งศรี, แยกสนามบิน, 23 ต.ค. 2560 22.58 อ.เมืองแพร่ จ.แพร่ 3.4 บ้านเหมืองแดง, บ้านน้ำท้อง อ.เมือง จ.แพร่ 23 ต.ค. 2560 22.44 อ.เมืองแพร่ จ.แพร่ 2.6 รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น อ.เมือง จ.แพร่ อ.สันกำแพง 19 ก.ย. 2560 06.55 2.7 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ ต.ป่าบง ต.ไชยสถาน อ.สารภี, จ.เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ รู้สึกสั่นไหว บ้านสั่น บ้านปากกอง อ.สารภี, ต.บ้านแหวน อ.หางดง, 10 ก.ย. 2560 07.39 อ.เมืองลำพูน จ.ลำพูน 3.1 อ.เมือง ของ จ.เชียงใหม่ /ต.หนองช้างคืน อ.เมือง จ.ลำพูน รู้สึกสั่นไหว บ้าน 2 ชั้น ของสั่น ม.ป่าไผ่หลวง ต.หนองช้างคืน 7 ก.ย. 2560 12.48 อ.บ้านธิ จ.ลำพูน 2.1 อ.บ้านธิ จ.ลำพูน รู้สึกสั่นไหวที่ ร.ร.พานพิทยาคมสั่นไหวรุนแรง, รพ.แม่สรวย, 31 ส.ค. 2560 14.49 อ.แม่สรวย จ.เชียงราย 3.7 ร.ร.ดำรงราษฎร์สงเคราะห์ จ.เชียงราย /ร.ร.บ้านแม่ป๋าม, อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ อ.เมืองกาญจนบุรี 28 ส.ค. 2560 07.17 2.6 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี จ.กาญจนบุรี กรมทางหลวงชนบท 3-56 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง 5 ส.ค 2560 04.38 อ.แม่สรวย จ.เชียงราย 3.6 รู้สึกสั่นไหวที่ บ้าน 2 ชั้น ม.3 ต.แม่สรวย อ.แม่สรวย จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ ม.7 บ้านแม่นาจาง ต.แม่นาจาง อ.แม่ลาน้อย 1 ก.ค. 2560 01.00 อ.บ้านธิ จ.ลำพูน 1.3 จ.แม่ฮ่องสอน ต.ธารทอง อ.พาน 4 มิ.ย. 2560 20.01 2.1 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ บ้าน 1 ชั้น ต.ธารทอง อ.พาน จ.เชียงราย จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไหว อ.แม่สรวย บ้าน 1 ชั้น เสียงเหมือนแผ่นดินแยก, รพ.แม่ฟ้าหลวง บ้านชั้น 2 บ้านม่วงทอง ต.ม่วงคำ ต.เมืองพาน อ.พาน, 27 พ.ค. 2560 22.14 อ.แม่สรวย จ.เชียงราย 4.0 บ้าน 1 ชั้น ดงมะดะ อ.แม่ลาว, บ้านร่องกู่ บ้านสันมะเค็ด บ้านเวียง กาหลง อ.เวียงป่าเป้า, บ้านเมืองรวง อ.แม่กรณ์ จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไหวนาน5วินาที เวียนหัว บ้าน 1 ชั้น ดอยผาหมี ชายแดนไทย- 26 พ.ค. 2560 23.28 ประเทศเมียนมาร์ 3.0 พม่า ต.เวียงพางคำ อ.แม่สาย จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไม่แรงมากประมาณ 3 วินาที บ้าน 1 ชั้น หมู่ 1 ต.พรุใน 24 พ.ค. 2560 12.58 อ.เกาะยาว จ.พังงา 3.4 อ.เกาะยาว จ.พังงา รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ บ้าน 1 ชั้นสั่นสะเทือน เวียงเหนือ อ.ปาย 22 พ.ค. 2560 08.14 ประเทศเมียนมาร์ 4.0 จ.แม่ฮ่องสอน รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ อาคารสำนักงานไม่เกิน 5 ชั้น รพ.น่าน อ.เมือง 6 พ.ค. 2560 05.10 ประเทศลาว 4.7 จ.น่าน 2 พ.ค. 2560 17.04 อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 3.1 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ บ้านโป่งมอญ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 22 เม.ย. 2560 14.57 อ.นาน้อย จ.น่าน 3.9 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ อ.นาน้อย อ.เวียงสา จ.น่าน รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ อ.เมือง อ.แม่จัน อ.แม่สาย อ.เชียงแสน 18 เม.ย. 2560 16.13 ประเทศเมียนมาร์ 5.1 จ.เชียงราย 6 เม.ย. 2560 18.24 อ.หลังสวน จ.ชุมพร 2.9 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ อ.หลังสวน จ.ชุมพร 15 ม.ค. 2560 15.35 อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ 4.2 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ จ.แม่ฮ่องสอน และ จ.เชียงใหม่ 8 ม.ค. 2560 03.08 อ.อุ้มผาง จ.ตาก 3.9 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ อ.อุ้มผาง จ.ตาก ทางตอนเหนือของ 7 ธ.ค. 2559 05.03 เกาะสุมาตรา, 6.5 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ จ.กระบี่ จ.สงขลา และ จ.ภูเก็ต อินโดนีเซีย 29 ต.ค. 2559 00.53 ประเทศเมียนมาร์ 4.5 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ อ.เมืองตาก อ.แม่สอด อ.ท่าสองยาง จ.ตาก อ.ปากช่อง 14 ต.ค. 2559 23.00 3.0 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา จ.นครราชสีมา 24 ส.ค. 2559 17:34 ประเทศเมียนมาร์ 6.8 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย และกรุงเทพมหานคร ในทะเล ใกล้เกาะยาว 18 มิ.ย. 2559 05.17 3.1 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เกาะยาวใหญ่ จ.พังงา ใหญ่ จังหวัดพังงา ในทะเล ใกล้เกาะยาว 31 มี.ค. 2559 09.26 2.4 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เกาะยาวใหญ่ จ.พังงา ใหญ่ จังหวัดพังงา ต.หนองบัว 10 ม.ค. 2559 12.11 อ.เมืองกาญจนบุรี 2.3 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี จ.กาญจนบุรี ต.แม่เหาะ อ.แม่สะ 6 ม.ค. 2559 04.28 3.5 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน เรียง จ.แม่ฮ่องสอน 16 พ.ย. 2558 02.15 อ.พาน จ.เชียงราย 2.2 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ อ.พาน จ.เชียงราย กรมทางหลวงชนบท 3-57 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง หมู่เกาะนิโคบาร์ รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต, อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา, อ.เมือง จ.สุราษฎร์ 8 พ.ย. 2558 23.47 6.2 ประเทศอินเดีย ธานี, อ.เมือง จ.กระบี่ ต.แม่สรวย อ.แม่สรวย 7 ต.ค. 2558 01.57 2.4 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ อ.แม่สรวย จ.เชียงราย จ.เชียงราย อ.สังขละบุรี 20 ส.ค. 2558 19.10 4.5 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ อ.ทองผาภูมิ อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี จ.กาญจนบุรี 16 ส.ค. 2558 18.02 อ.พาน จ.เชียงราย 3 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ ต.เมืองพาน อ.พาน จ.เชียงราย ต.ปรังเผล อ.สังขละบุรี 14 ก.ค. 2558 21.25 4.8 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ อ.สังขละบุรี, อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี จ.กาญจนบุรี 24 พ.ค. 13.27 ประเทศเมียนมาร์ 5.1 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย และ จ.แม่ฮ่องสอน 2558 ใน ทะเลบริเวณ 7 พ.ค. 2558 00.30 4.5 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ จ.พังงา จ.ภูเก็ต และ จ.กระบี่ อ.เกาะยาว จ.พังงา ในทะเลบริเวณ 6 พ.ค. 2558 04.18 4.6 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ จ.พังงา จ.ภูเก็ต และ จ.กระบี่ อ.เกาะยาว จ.พังงา นอกชายฝั่งทางทิศ 25 มี.ค. 2558 05.32 3.8 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง อ.กะทู้ อ.ถลาง จ.ภูเก็ต, เกาะยาวใหญ่ จ.พังงา ตะวันออกของ จ.ภูเก็ต อ่าวพังงา ทางทิศใต้ 20 ก.พ. 2558 13.02 ของเกาะยาวใหญ่ 4 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง อ.กะทู้ อ.ถลาง จ.ภูเก็ต, เกาะยาวใหญ่ จ.พังงา อ.เกาะยาว จ.พังงา ต.เวียงมอก อ.เถิน 19 ม.ค. 2558 21.04 2.8 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เถิน จ.ลำปาง จ.ลำปาง 6 ธ.ค. 2557 17.20 ยูนนาน ประเทศจีน 5.9 รู้สึกสั่นไหวที่ ตึกสูง จ.เชียงราย, จ.เชียงใหม่ และกรุงเทพมหานคร 24 ต.ค. 2557 8.27 อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา 3.6 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา 24 พ.ค. 2557 10.12 อ.นาน้อย จ.น่าน 3.6 รู้สึกสั่นไหวที่ ต.ในเวียง อ.เมือง จ.น่าน ถนน อาคารและบ้านเรือนบริเวณใกล้จด ุ ศูนย์กลางได้รับความเสียหาย ต.ดงมะดะ อ.แม่ลาว อย่างหนัก มีผู้เสียชีวิต 1 คน เกิดโคลนผุด รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย, 5 พ.ค. 2557 18.08 6.3 จ.เชียงราย จ.แพร่, จ.แม่ฮ่องสอน, จ.อุตรดิตถ์, จ.พิษณุโลก, จ.เชียงใหม่ และตึกสูง ในกรุงเทพฯ หมู่เกาะนิโคบาร์, 21 มี.ค. 2557 20.41 6.4 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต ประเทศอินเดีย ต.จำป่าหวาย อ.เมือง 1 ธ.ค. 2556 00.37 3.2 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา จ.พะเยา ต.ทุ่งหลวง อ.พร้าว 11 ต.ค. 2556 01.19 4.1 รู้สึกสั่นไหวที่ ต.สันทราย อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 20 ก.ย. 2556 17.05 อ.แม่จัน จ.เชียงราย 2.4 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ต.แม่ปืม อ.เมือง 1 ส.ค. 2556 03.42 3.7 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.แม่ใจ จ.พะเยา จ.พะเยา ตอนเหนือของ 2 ก.ค. 2556 14.37 เกาะสุมาตรา 6.0 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ จ.ภูเก็ต จ.พังงา และอาคารสูงในกรุงเทพฯ ประเทศอินโดนีเซีย ต.ทุ่งปี้ อ.แม่วาง 7 มิ.ย. 2556 00.01 3.1 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.แม่วาง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ กรมทางหลวงชนบท 3-58 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง 7 พ.ค. 2556 03.17 ประเทศเมียนมาร์ 5.4 รู้สึกสั่นไหว ที่บ้านและบนอาคาร อ.แม่สาย อ.เมือง จ.เชียงราย 11 เม.ย. 2556 05.05 ประเทศเมียนมาร์ 5.1 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.แม่ฮ่องสอน ต.แม่วิน อ.แม่วาง 5 เม.ย. 2556 23.20 2.9 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.แม่วาง อ.หางดง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ต.ทุ่งฝาย อ.เมือง ั ต.ต้นธงชัย ได้ยินเสียงดัง บ้านมีการสั่น รู้สึกสั่นไหวที่ ต.ต้นฝาย ต.พิชย 2 มี.ค. 2556 20.35 3.4 จ.ลำปาง จ.ลำปาง 7 ก.พ. 2556 10.12 ประเทศเมียนมาร์ 4.3 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย 20 ธ.ค. 2555 07.54 ประเทศเมียนมาร์ 4.6 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย และบนอาคารสูง จ.เชียงใหม่ 11 พ.ย. 2555 17.54 ประเทศเมียนมาร์ 5.8 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ และบนตึกสูงของกรุงเทพฯ 11 พ.ย. 2555 08.12 ประเทศเมียนมาร์ 6.6 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ จ.นนทบุรี กรุงเทพฯ ต.จอมหมอกแก้ว 13 ก.ย. 2555 01.55 3.4 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พาน จ.เชียงราย กระจกและบ้านสั่น อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 23 มิ.ย. 2555 11.34 ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 6.3 รู้สึกบนอาคารสูง จ.ภูเก็ต และสงขลา 4 มิ.ย. 2555 12.49 อ.เมือง จ.ระนอง 4.0 รู้สึกสั่นไหวที่ ต.เขานิเวศน์ ต.บางนอน อ.เมืองระนอง จ.ระนอง ต.ศรีสุนทร อ.ถลาง รู้สึกไหวในหลายพื้นที่ใน จ.ภูเก็ต บ้านเรือนแตกร้าวหลายหลัง 16 เม.ย. 2555 16.44 4.3 จ.ภูเก็ต ใน อ.ถลาง จ.ภูเก็ต เกิดอัฟเตอร์ช็อคมากกว่า 26 ครั้ง ชายฝั่งตะวันตก รู้สึกได้ในหลายจังหวัดในภาคใต้และภาคกลาง รวมถึงภาคอีสาน 11 เม.ย. 2555 15.38 ทางตอนเหนือ 8.6 เกิดคลื่นสึนามิสูง 80 ซม. ที่ประเทศอินโดนีเซีย และ 30 ซม. ของเกาะสุมาตรา ที่เกาะเมียง จ.พังงา 5 มี.ค. 2555 13.54 ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 5.2 รู้สึกไหวเล็กน้อยที่ จ.ภูเก็ต 20 ก.พ. 2555 03.48 อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา 2.7 รู้สึกได้บริเวณใกล้ศูนย์กลาง และมีความเสียหายเล็กน้อย 6 ก.ย. 2554 00.55 ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 6.7 รู้สึกที่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา กิ่งอำเภอหาดสำราญ 24 มิ.ย. 2554 23.42 3.5 รู้สึกที่ อ.กันตัง อ.ย่านตาขาว อ.เมือง จ.ตรัง จ.ตรัง 10 พ.ย. 2554 15.11 ประเทศเมียนมาร์ 4.0 รู้สึกที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย 30 เม.ย. 2554 18.12 ทะเลอันดามัน 4.4 รู้สึกที่ จ.ภูเก็ต รู้สึกได้ในภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือและอาคารสูงในกรุงเทพฯ 24 มี.ค. 2554 20.55 ประเทศเมียนมาร์ 6.7 หลายแห่ง และมีความเสียหายที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย มีผู้เสียชีวิต 1 คน จากผนังบ้านพังทับศีรษะ รู้สึกที่ จ.แพร่ จ.น่าน จ.อุดรธานี จ.เลย จ.หนองคาย จ.หนองบัวลำภู 23 ก.พ. 2554 22.53 ลาว 5.4 จ.ขอนแก่น จ.มหาสารคาม 4 ก.พ. 2554 20.54 พรมแดนพม่า-อินเดีย 6.8 รู้สึกบนอาคารสูง กทม. หลายแห่ง 6 ก.ค. 2553 22.23 ประเทศเมียนมาร์ 4.5 รู้สึกได้ที่ อ.แม่สาย อ.แม่จัน อ.เชียงแสน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไหวอาคารสูง จ.ภูเก็ต จ.พังงา จ.สุราษฎร์ธานี จ.สงขลา 9 พ.ค. 2553 19.59 ตอนเหนือสุมาตรา 7.3 และกรุงเทพฯ 7 เม.ย. 2553 05.15 ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 7.6 รู้สึกได้ที่อาคารสูง กทม. หลายแห่ง 5 เม.ย. 2553 06.42 อ.เวียงชัย จ.เชียงราย 3.5 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ อ.เมือง จ.เชียงราย ประเทศพม่า ห่างจาก 20 มี.ค. 2553 02.53 พรมแดนไทย (แม่สาย) 5.0 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย ประมาณ 80 กิโลเมตร รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ ประเทศอินโดนีเซียมีผู้เสียชีวิต 30 ก.ย. 2552 17.16 ตอนกลางเกาะสุมาตรา 7.9 ประมาณ 1,000 คน กรมทางหลวงชนบท 3-59 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง อ.พระแสง 23 ธ.ค. 2551 13.38 4.1 รู้สึกสั่นไหวในบริเวณ อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี 22 ก.ย. 1951 20.30 ชายฝั่งตอนใต้ของพม่า 5.2 รูส้ ึกสั่นไหวบนตึกสูงหลายแห่งในกรุงเทพ รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ หลายแห่ง ประเทศจีนมีผู้เสียชีวิต 21 ส.ค. 2551 19.24 พรมแดนพม่า-จีน 5.7 1 คน บาดเจ็บหลายคน 1 ก.ค. 1951 16.45 อ.พร้าว เชียงใหม่ 3.8 รู้สึกสั่นไหวได้ที่ จ.เชียงใหม่ รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ หลายแห่ง ประเทศจีนมีผู้เสียชีวิต 12 พ.ค. 1951 13.27 มณฑลเสฉวน, จีน 7.8 ประมาณ 20,000 คน 22 เม.ย. 1951 02.31 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 3.9 รู้สึกสั่นไหวได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ และ จ.ภูเก็ต อาจเกิดสึนามิขนาดเล็ก 20 ก.พ. 1951 15.05 ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 7.5 บริเวณใกล้ศูนย์กลาง 28 ธ.ค. 2550 12.24 ตอนเหนือของสุมาตรา 5.7 รู้สึกสั่นสะเทือนได้บนอาคารสูง จ.ภูเก็ต จ.พังงา 2 พ.ย. 2550 02.05 พรมแดนพม่า-ลาว-จีน 5.7 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย 16 ต.ค. 2550 13.47 ตอนเหนือของลาว 5.0 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย 13 ก.ย. 2550 10.35 ตอนใต้ของสุมาตรา 7.1 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ บนอาคารสูงบางแห่งในกรุงเทพฯ 12 ก.ย. 2550 18.10 ตอนใต้ของสุมาตรา 8.4 รู้สึกสั่นสะเทือนได้บนอาคารสูงในกรุงเทพฯ 15.17, รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย และอาคารสูง 23 มิ.ย. 2550 ประเทศเมียนมาร์ 5.5, 5.2 15.27 ในกรุงเทพฯ 19 มิ.ย. 2550 12.06 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 4.5 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ และ จ.ลำพูน รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่หลายจังหวัดในภาคเหนือและอาคารสูง 16 พ.ค. 2550 15.57 พรมแดนลาว - พม่า 6.1 ในกรุงเทพฯ 15 พ.ค. 2550 21.35 พรมแดนลาว - พม่า 5.1 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย 27 เม.ย. 2550 15.03 ตอนเหนือของสุมาตรา 6.1 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.ภูเก็ต อ.เวียงป่าเป้า 22 เม.ย. 2550 13.18 4.5 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย และ จ.พะเยา จ.เชียงราย 6 ม.ค. 2550 18.51 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 3.1 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เมือง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 23 ธ.ค. 2549 18.51 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 3.6 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 22 ธ.ค. 2549 22.59 อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน 3.3 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่บริเวณ จ.แม่ฮ่องสอน 22 ธ.ค. 2549 16.41 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 2.2 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 19 ธ.ค. 2549 07.03 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 2.7 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทั่วไปใน จ.เชียงใหม่ และอาคารสูง 13 ธ.ค. 2549 00.02 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 5.1 ใน จ.เชียงราย เกาะสุมาตรา 1 ธ.ค. 2549 10.58 6.5 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา และ จ.นราธิวาส อินโดนีเซีย 17 พ.ย 2549 01.39 อ.พาน จ.เชียงราย 4.4 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.พาน, อ.เมือง จ.เชียงราย รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทั่วไปของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์, อ.ท่ายาง 8 ต.ค. 2549 04.17 ประเทศเมียนมาร์ 5.6 จ.เพชรบุรี อ.โพธาราม จ.ราชบุรี, อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม 28 ก.ย. 2549 16.50 ประเทศเมียนมาร์ 5.0 รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทั่วไปของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 00.35, 28 ก.ย. 2549 ประเทศเมียนมาร์ 4.8 รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทั่วไปของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 01.45 21.30, 27 ก.ย. 2549 ประเทศเมียนมาร์ 4.8 รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทั่วไปของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 23.15 6 ส.ค. 2549 12.15 อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 3.4 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ กรมทางหลวงชนบท 3-60 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง 13 ก.ค. 2549 07.28 อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 3.0 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.หางดง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ 16 มี.ค. 2549 20.34 เชียงใหม่ 3.0 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.จอมทอง อ.เมือง อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ 24 ม.ค. 2549 20.42 รัฐฉาน พม่า 5.7 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย แม่ฮ่องสอน 09.13, 3.8, 16 ธ.ค. 2548 จ.เชียงราย รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.ป่าแดด จ.เชียงราย 09.14 3.9 15 ธ.ค. 2548 13.48 จ.เชียงราย 4.1 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เมือง อ.เทิง จ.เชียงราย 7 ธ.ค. 2548 16.02 จ.เชียงราย 3.9 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่สรวย จ.เชียงราย 4 ธ.ค. 2548 16.34 จ.เชียงใหม่ 4.1 รู้สึกสั่นสะเทือนได้บนอาคารสูง จ.เชียงใหม่ และ จ.ลำพูน 19 พ.ย. 2548 21.10 ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 6.1 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.พังงา และ จ.ภูเก็ต 11 ต.ค. 2548 22:05 ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 6.2 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.พังงา และ จ.ภูเก็ต 18 ก.ย. 2548 14:26 พรมแดนพม่า - อินเดีย 6.0 รู้สึกสั่นสะเทือนบนอาคารสูง จ.เชียงใหม่ เกาะสุมาตรา 7 ก.ย. 2548 06.22 5.0 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.พังงา และ จ.ภูเก็ต อินโดนีเซีย หมู่เกาะนิโคบาร์ ห่างจาก จ.ภูเก็ตไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 640 กม. 24 ก.ค. 2548 22.42 7.2 อินเดีย เตือนให้ประชาชนอพยพ เกาะสุมาตรา 5 ก.ค. 2548 08.52 6.8 ห่างจาก จ.ภูเก็ต ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 700 กม. อินโดนีเซีย 5 มิ.ย. 2548 08.53 อ.ลี้ จ.ลำพูน 3 ห่างจาก จ.เชียงใหม่ ไปทางทิศใต้ประมาณ 110 กม. 5 มิ.ย. 2548 06.17 อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์ 2.8 รู้สึกสั่นสะเทือนได้เล็กน้อยในบริเวณใกล้ศูนย์กลาง เกาะสุมาตรา 22 พ.ค. 2548 06.01 6.1 ไม่มีรายงานความสั่นสะเทือนในประเทศไทย อินโดนีเซีย เกาะสุมาตรา รู้สึกได้หลายจังหวัดในภาคใต้ตอนล่าง และบนอาคารสูงบางแห่ง 19 พ.ค. 2548 08.55 6.8 อินโดนีเซีย ในกรุงเทพฯ เกาะสุมาตรา 14 พ.ค. 2548 12.05 6.5 ไม่มีรายงานความสั่นสะเทือนในประเทศไทย อินโดนีเซีย เกาะสุมาตรา 10 เม.ย. 2548 17.29 6.7 ไม่มีรายงานความสั่นสะเทือนในประเทศไทย อินโดนีเซีย เกาะสุมาตรา ห่างจาก จ.ภูเก็ต ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 670 กม. 28 มี.ค. 2548 23.10 8.5 อินโดนีเซีย มีคำเตือนให้ประชาชนอพยพ 16 ก.พ. 2548 15.19 เกาะนิโคบาร์ อินเดีย 5.8 รู้สึกได้บนอาคารสูง จ.ภูเก็ต เกาะสุมาตรา 9 ก.พ. 2548 20.28 5.8 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต อินโดนีเซีย 08.07, 30 ธ.ค. 2490 ประเทศพม่า 5.4, 5.6 รู้สึกได้บนอาคารสูงใน อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 08.13 27 ธ.ค. 2490 16.39 ทะเลอันดามัน 6.6 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่จังหวัดภูเก็ต รู้สึกได้หลายจังหวัดในภาคเหนือ ได้แก่ ลำปาง เชียงใหม่ เชียงราย 26 ธ.ค. 2490 08.30 ประเทศพม่า 6.4 และกรุงเทพฯ รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทุกจังหวัดในภาคใต้ รวมถึงอาคารสูงหลายแห่ง เกาะสุมาตรา 26 ธ.ค. 2490 07.58 9.2 ในกรุงเทพฯ และเกิดคลื่นสึนามิก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมาก อินโดนีเซีย บริเวณภาคใต้ ฝั่งตะวันตก มีผู้เสียชีวิตกว่า 5,000 คน กรมทางหลวงชนบท 3-61 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง 17 ก.ย. 2490 18.25 ทะเลอันดามัน 5.8 รู้สึกสั่นสะเทือนได้บนอาคารสูงของกรุงเทพฯ 11 ก.ย. 2490 08.30 อ.สเมิง จ.เชียงใหม่ 3.7 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เมือง อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 30 พ.ค. 2490 23.53 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 2.0 รู้สึกสั่นสะเทือนที่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 6 เม.ย. 2490 11.49 อ.เมือง จ.เชียงราย 3.1 รู้สึกสั่นสะเทือนที่ อ.เมือง จ.เชียงราย 27 มี.ค. 2490 11.05 อ.แม่สรวย จ.เชียงราย 3.4 รู้สึกสั่นสะเทือนที่ อ.แม่สรวย จ.เชียงราย 3 ก.พ. 2547 24.58 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 1.9 รู้สึกสั่นสะเทือนที่ อ.สันทราย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ และอาคารสูงบางแห่ง 22 ก.ย. 2546 01.16 พม่า 6.7 ของกรุงเทพฯ 18 ก.ย. 2546 18.04 ลาว - พม่า 5.5 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย เกาะสุมาตรา 14 ก.ย. 2546 03.42 5.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต อินโดนีเซีย อ.ดอยสะเก็ด 23 ส.ค. 2546 15.57 2.5 รู้สึกสั่นสะเทือนที่ อ.ดอยสะเก็ด อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 26 ก.พ. 2546 05.19 อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 3.0 รู้สึกได้ที่ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย รู้สึกได้บนอาคารสูงในหลายพื้นที่ของกรุงเทพฯ รวมทั้งหลายจังหวัด 22 ม.ค. 2546 10.00 บริเวณเกาะสุมาตรา 7.0 ในภาคใต้ 18 ธ.ค. 2545 20.47 อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ 4.3 รู้สึกได้ที่ อ.เชียงดาว จ.เชียงราย 2 พ.ย. 2545 08.26 ตอนใต้เกาะสุมาตรา 7.5 รู้สึกได้ที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 19 ส.ค. 2545 04.07 พรมแดนไทย-พม่า 4.8 รู้สึกได้ที่ อ.แม่สอด จ.ตาก ประเทศพม่ 19 ก.ค. 2545 12.39 4.6 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย (Aftershock) 18 ก.ค. 2545 16.50 ประเทศพม่า 5.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย รู้สึกได้ที่ อ.เชียงแสน อ.เมือง อ.เชียงของ จ.เชียงราย อ.เมือง จ.พะเยา 2 ก.ค. 2545 10.54 อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 4.7 อ.เมือง จ.น่าน มีความเสียหายเล็กน้อยบริเวณ อ.เชียงแสน อ.เชียงของ 19 พ.ค. 2545 14.31 อ.สารภี จ.เชียงใหม่ 2.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 8 พ.ค. 2545 20.05 อ.แม่สรวย จ.เชียงราย 2.0 รู้สึกได้ที่ อ.แม่สรวย อ.เมือง จ.เชียงราย อ.สารภี อ.สันกำแพง 27 เม.ย. 2545 03.32 3.2 รู้สึกได้ที่ อ.สันกำแพง อ.สารภี และ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 25 เม.ย. 2545 18.49 อ.สารภี จ.เชียงใหม่ 2.2 รู้สึกได้ที่ อ.สารภี จ.เชียงใหม่ 11 พ.ย. 2544 18.38 จ.เชียงราย 3.7 รู้สึกได้ที่ อ.พาน จ.เชียงราย 2 ก.ค. 2544 23.55 พรมแดนไทย-พม่า 4.6 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน 22 ก.พ. 2544 05.03 เขื่อนเขาแหลม 4.3 รู้สึกได้ที่ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี 09.05, 4 ม.ค. 2544 จ.เชียงตุง พม่า 4.6, 5.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย 11.03 13 ก.ย. 2543 03.51 อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน 3.0 รู้สึกได้ที่ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน 7 ส.ค. 2543 18.28 พรมแดนไทย-พม่า 3.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน อ.สันกำแพง รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.สันกำแพง อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ มีความเสียหาย 29 พ.ค. 2543 02.41 3.8 จ.เชียงใหม่ เล็กน้อยบริเวณใกล้ศูนย์กลาง 14 เม.ย. 2543 18.12 พรมแดนลาว-เวียตนาม 4.9 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.สกลนคร ประเทศลาว อ.หงสา รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.ท่าวังผา อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน จ.แพร่ จ.พะเยา 20 ม.ค. 2543 03.59 5.9 จ.สยาบุรี จ.เชียงราย มีความเสียหายเล็กน้อยที่ จ.น่าน และ จ.แพร่ กรมทางหลวงชนบท 3-62 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง บริเวณทะเลอันดามัน ระยะทางห่างประมาณ 10 กม. ไปทางทิศ 29 ส.ค. 2542 07.41 2.1 รู้สึกได้ที่ จ.ภูเก็ต และ จ.พังงา ตะวันออกค่อนทางใต้ เล็กน้อยของท่าอากาศ ยานภูเก็ต บริเวณทะเลอันดามัน ระยะทางห่างประมาณ 10 กม. ไปทางทิศ 17 ส.ค. 2542 23.39 2.1 รู้สึกได้ที่ จ.ภูเก็ต และ จ.พังงา ตะวันออกค่อนทางใต้ เล็กน้อยของท่าอากาศ ยานภูเก็ต 15 ส.ค. 2542 23.19 บริเวณตอนใต้ของพม่า 5.6 รู้สึกได้ที่ จ.เชียงใหม่ 29 เม.ย. 2542 06.38 อยู่ในเขตประเทศพม่า 5.6 รู้สึกได้ที่ จ.เชียงราย 3 เม.ย. 2542 07.47 ใกล้พรมแดนไทย-พม่า 3.2 รู้สึกได้ที่ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 31 มี.ค. 2542 10.19 ใกล้พรมแดนไทย-ลาว 4.8 รู้สึกได้ที่ จ.น่าน 14 พ.ย. 2541 03.30 อ.เมือง จ.ลำพูน 3.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.ลำพูน และ อ.สารภี จ.เชียงใหม่ 17 ส.ค. 2541 20.41 อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา 3.9 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา 09.20, 13 ก.ค. 2541 อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 4.1, 3.5 รู้สึกได้ที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ และ จ.เชียงราย 12.56 30 มิ.ย. 2541 20.19 พรมแดนไทย-พม่า 3.1 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน 26 มิ.ย. 2541 05.39 อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์ 3.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ 25 มิ.ย. 2541 19.45 อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์ 2.3, 2.8 รู้สึกได้ที่ อ.ท่าปลา อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ 23 พ.ค. 2541 11.43 พรมแดนไทย-พม่า 4.8 รู้สึกได้ที่ จ.แม่ฮ่องสอน จ.เชียงราย จ.เชียงใหม่ 21 ก.ย. 2540 20.19 บริเวณประเทศพม่า 4.5 รู้สึกได้ที่ อ.แม่อาย อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ บริเวณเกาะสุมาตร 20 ส.ค. 2540 14.18 6.5 รู้สึกสั่นไหวบนอาคารสูงใน จ.สงขลา ตอนบน บริเวณพรมแดน 6 มิ.ย. 2540 18.06 4.0 รู้สึกการสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย ไทย-พม่า 2 ก.พ. 2540 19.35 บริเวณ อ.สอง จ.แพร่ 4.0 รู้สึกได้ที่ อ.สอง จ.แพร่ 15 ม.ค. 2540 08.26 บริเวณประเทศพม่า 4.6 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ และมีความเสียหายเล็กน้อยที่ อ.เมือง 22 ธ.ค. 2539 00.51 พรมแดนไทย-ลาว 5.5 จ.เชียงราย 11 พ.ย. 2539 16.22 บริเวณพม่า 6.5 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ และ อ.เมือง จ.เชียงราย 9 พ.ย. 2539 10.40 พรมแดนจีน-พม่า 5.0 รู้สึกการสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย 15 ก.ค. 2539 12.28 พรมแดนจีน-พม่า 5.0 รู้สึกได้ที่หอบังคับการบิน อ.เมือง จ.เชียงราย อ.สันป่าตอง 22 เม.ย. 2539 02.59 3.0 อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 10 เม.ย. 2539 05.01 ลุ่มแม่น้ำสาละวิน-พม่า 5.0 อ.เมือง และบริเวณรอบๆ จ.เชียงใหม่ อ.ไชยปราการ 2 เม.ย. 2539 22.23 3.0 อ.ไชยปราการ จ.เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 31 มี.ค. 2539 03.36 อ.หางดง-อ.สันป่าตอง 3.5 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.หางดง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ กรมทางหลวงชนบท 3-63 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง 11.14, 5 ม.ค. 2539 พม่า-จีน 4.2, 4.1 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย 11.29 รู้สึกได้ที่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน 21 ธ.ค. 2538 23.30 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 5.2 มีผู้เสียชีวิตที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 1 คน เนื่องจากมีอายุมากล้มศีรษะ กระแทกพื้น มีความเสียหายเล็กน้อยทีบ ่ ริเวณใกล้ศูนย์กลาง รู้สึกได้ที่ อ.เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา แพร่ อุตรดิตถ์ 9 ธ.ค. 2538 20.26 อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 5.1 และน่าน เสียหายเล็กน้อย ที่ จ.แพร่ รู้สึกได้บริเวณ อ.เมือง จ.พะเยา ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 15 พ.ย. 2538 01.30 อ.เมือง จ.พะเยา 3.0 ของสถานีตรวจแผ่นดินไหวเชียงใหม่ ประมาณ 110 กม. ศูนย์กลางอยู่บริเวณทะเลอันดามันด้านชายฝั่ง ตะวันตก 8 พ.ย. 2538 14.15 ทะเลอันดามัน 6.9 ของเกาะสุมาตรา รู้สึกได้บนอาคารสูง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 5 พ.ย. 2538 06.57 อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 4.0 รู้สึกได้ที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 17 ต.ค. 2538 03.56 อ.ปาย แม่ฮ่องสอน 4.3 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 7 ส.ค. 2538 10.27 ประเทศพม่า 5.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย รู้สึกได้ที่ บริเวณภาคเหนือตอนบน และอาคารสูงในกรุงเทพฯ มีความ 12 ก.ค. 2538 04.47 ประเทศพม่า 7.2 เสียหายเล็กน้อยต่ออาคารและสิ่งก่อสร้าง 10 ก.ค. 2538 03.32 ประเทศพม่า 6.6 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ และ อ.เมือง จ.เชียงราย 30 มิ.ย. 2538 06.04 ประเทศพม่า 5.5 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย 17 พ.ค. 2538 04.58 ประเทศพม่า 6.0 รู้สึกได้ที่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ และ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน 08.50, 25 ก.พ. 2538 อ.หางดง 2.5, 3.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.หางดง และ อ.สันป่าตอง 09.03 24 ก.พ. 2538 15.11 ประเทศพม่า 5.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย 24 ก.พ. 2538 00.11 สันทราย-สันกำแพง 3.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.สันกำแพง อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 25 ม.ค. 2538 11.56 พรมแดนพม่า-ลาว 5.0 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย 16 ม.ค. 2538 12.43 อ.เชียงของ 3.1 รู้สึกได้ที่ อ.เชียงของ จ.เชียงราย 03.34, รู้สึกได้ที่ จ.เชียงราย มีความเสียหายต่อสิ่งก่อสร้างใกล้ศูนย์กลาง 11 ก.ย. 2537 อ.พาน จ.เชียงราย 3.0, 5.1 08.31 เช่นโรงพยาบาลพาน วัด และโรงเรียน เป็นต้น 20 ส.ค. 2537 04 03 ประเทศพม่า 6.0 รู้สึกได้ที่บริเวณภาคเหนือ 29 พ.ค. 2537 21.12 ประเทศพม่า 6.2 รู้สึกได้ที่อาคารสูง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 10 พ.ค. 2537 01.06 จ.เชียงใหม่ 3.5 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 8 พ.ค. 2537 02.56 จ.เชียงใหม่ 4.5 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ จ.ลำปาง จ.ลำพูน 17 ม.ค. 2537 04.37 ชายฝั่งตอนใต้พม่า 4.7 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.ปะทิว จ.ชุมพร นาน 15-20 วินาที 21 พ.ย. 2536 20.56 พรมแดนไทย-พม่า 4.0 รู้สึกได้ที่ อ.แม่ฮ่องสอน และ จ.เชียงใหม่ 20 ม.ค. 2536 09.03 สุมาตราตอน 6.2 รู้สึกบนอาคารสูง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน และบนอาคารสูง 28 ต.ค. 2535 14.02 พม่า 6.0 ในกรุงเทพฯ 25 ก.ค. 2535 02.18 นครราชสีมา 3.0 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 15 มิ.ย. 2535 09.48 พม่า 5.7 รู้สึกสั่นไหวบนอาคารสูงในกรุงเทพฯ 23 เม.ย. 2535 21.18 พม่า 6.0 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย และ จ.พะเยา 5 พ.ย. 2534 09.11 แม่ฮ่องสอน 4.0 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ และ อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน 4 ส.ค. 2534 19.22 เชียงใหม่ 3.7 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 13 ก.ค. 2534 04.57 เพชรบูรณ์ 3.5 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เพชรบูรณ์ และ จ.เลย กรมทางหลวงชนบท 3-64 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง 12 มิ.ย. 2534 10.05 อันดามัน 5.0 รู้สึกสั่นไหวบนอาคารสูงบางแห่งในกรุงเทพฯ 1 เม.ย. 2534 10.53 พม่า 6.5 รู้สึกสั่นไหวได้ทั่วไปบนอาคารสูงในกรุงเทพฯ 5 ม.ค. 2534 21.57 พม่า 6.2 รู้สึกสั่นไหวบริเวณภาคเหนือ และบนอาคารสูงในกรุงเทพฯ 15 พ.ย. 2533 09.34 สุมาตราตอนเหนือ 6.1 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.ภูเก็ต จ.สงขลา และบนอาคารสูงในกรุงเทพฯ 3 พ.ย. 2533 21.51 กาญจนบุรี 4.0 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี 23 ต.ค. 2533 03.38 พม่า-ไทย 4.0 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน 12 ต.ค. 2533 19.27 เพชรบูรณ์ 4.0 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.หล่มสัก อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ 10 ก.ย. 2533 16.27 แพร่ 3.0 รู้สึกสั่นไหวในรัศมี 20 กม. รอบศูนย์กลาง 21 ก.ค. 2533 08.50 เชียงราย 3.2 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.เชียงราย 14 ก.ค. 2533 10.51 พม่า-ลาว 4.5 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย 28 พ.ค. 2533 18.23 กาญจนบุรี 4.2 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี 9 ม.ค. 2533 22.35 อันดามัน 5.2 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.ระนอง 15 ธ.ค. 2532 00.28 กาญจนบุรี 4.0 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี 29 พ.ย. 2532 08.17 เชียงใหม่ 3.5 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง อ.สันป่าตอง และ อ.หางดง จ.เชียงใหม่ รู้สึกสั่นไหวทั่วภาคเหนือตอนบน หลายคนตกใจตื่น เสียหายเล็กน้อย 1 ต.ค. 2532 01.19 พม่า-ไทย 5.3 แก่อาคารที่ จ.เชียงใหม่ และ จ.เชียงราย 29 ก.ย. 2532 04.52 พม่า-ไทย 5.4 รู้สึกสั่นไหวที่ภาคเหนือตอนบน 27 ส.ค. 2532 22.20 พม่า-ไทย 4.5 รู้สึกสั่นไหวที่ภาคเหนือตอนบน 20 ส.ค. 2532 11.42 พม่า-ไทย 4.6 รู้สึกสั่นไหวที่ภาคเหนือตอนบน 20 ส.ค. 2532 11.36 พม่า-ไทย 4.3 รู้สึกสั่นไหวที่ภาคเหนือตอนบน 8 เม.ย. 2532 04.45 ลาว 4.6 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย 1 มี.ค. 2532 10.25 พม่า 5.1 รู้สึกสั่นไหวที่ภาคเหนือตอนบน 29 พ.ย. 2531 06.59 กาญจนบุรี 4.5 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ศรีสวัสดิ์ และ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี 6 พ.ย. 2531 20.03 พม่า-จีน 6.1 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย เชียงใหม่ และอาคารสูงในกรุงเทพฯ 6 ส.ค. 2531 07.36 พม่า-อินเดีย 6.8 รู้สึกสั่นไหวบนอาคารสูงในกรุงเทพฯ มีผู้เสียชีวิต ในพม่า 3 คน 25 ก.ค. 2531 04.51 พะเยา 4.2 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ 19 ก.พ. 2531 01.38 เชียงใหม่ 4.2 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ 30 ม.ค. 2530 05.09 เชียงราย 3.8 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ 18 ก.ย. 2529 02.57 พม่า 4.4 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ 25 ธ.ค. 2528 06.04 พม่า 4.2 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ และ จ.แม่ฮอ่ งสอน 18 ต.ค. 2528 15.37 ลาว 4.7 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.นครพนม จ.สกลนคร 15 ก.ค. 2528 17.38 พม่า 5.0 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ อ.ทองผาภูมิ 25 มี.ค. 2528 18.56 3.5 รู้สึกสั่นไหวที่เขื่อนเขาแหลม จ.กาญจนบุรี 29 พ.ค. 2527 11.36 สุมาตราตอนบน 5.8 รู้สึกได้ที่ชั้น 11 ของโรงพยาบาลสงขลานครินท์ 24 เม.ย. 2527 05.29 พม่า-จีน 5.9 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย 30 ส.ค. 2526 05.09 กาญจนบุรี 4.2 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.กาญจนบุรี 18 ก.ค. 2526 00.48 กาญจนบุรี 4.7 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี 24 มิ.ย. 2526 14.15 จีน-เวียดนาม 6.1 รู้สึกสั่นไหวบนอาคารสูงใน กทม. รู้สึกแผ่นดินไหวตลอดภาคกลางและภาคเหนือ หลายคนตื่นตระหนก 22 เม.ย. 2526 10.21 กาญจนบุรี 5.2 เสียหายเล็กน้อยแก่อาคารในกรุงเทพฯ รู้สึกสั่นไหว 2 ครั้ง เมื่อเวลา 07.37 น. และ 10.21 น. กรมทางหลวงชนบท 3-65 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.2-6 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 (ต่อ) ศูนย์กลาง/ ขนาด/ วันที่ เวลา ระดับผลกระทบ ตำแหน่งที่รู้สึก ความรุนแรง รู้สึกแผ่นดินไหวตลอดภาคกลาง และภาคเหนือหลายคนตื่นตระหนก 22 เม.ย. 2526 07.37 กาญจนบุรี 5.9 เสียหายเล็กน้อยแก่อาคารในกรุงเทพฯ รู้สึกสั่นไหว 2 ครั้ง เมื่อเวลา 07.37 น. และ 10.21 น. 15 เม.ย. 2526 16.23 กาญจนบุรี 5.5 รู้สึกแผ่นดินไหวชัดเจนใน กทม. 4 เม.ย. 2526 09.51 สุมาตราตอนบน 6.6 รู้สึกสั่นไหวบนชั้น 22 ของตึกโชคชัย รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน และลำปาง มีเสียงดัง 20 มิ.ย. 2525 20.20 เชียงใหม่ 4.3 คล้ายฟ้าร้อง 23 ธ.ค. 2523 07.55 แพร่ 3.7 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.แพร่ 22 ธ.ค. 2523 14.55 แพร่ 4.0 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.แพร่ 10 ก.ย. 2523 09.21 เชียงใหม่ 3.6 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ นาน 2-3 วินาที 10 ก.พ. 2523 09.17 เชียงใหม่ 4.2 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ นาน 5 วินาที 18 มี.ค. 2522 13.41 ไทย-ลาว 4.5 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย 26 ก.พ. 2522 01.53 พม่า-ไทย 4.2 แผ่นดินไหว 22 ม.ค. 2522 14.34 ลาว 4.5 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย 1 ก.ย. 2521 11.55 ลาว 4.9 รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย นาน 2-3 วินาที 2 ส.ค. 2521 14.45 ลาว 5.1 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เชียงของ จ.เชียงราย 24 ก.ค. 2521 04.34 ตาก 4.0 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.สามเงา อ.อุ้มผาง และ อ.แม่สอด จ.ตาก 29 มิ.ย. 2521 00.42 พม่า 3.9 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เชียงแสน อ.แม่สาย จ.เชียงราย รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมืองแสน และ อ.แม่สาย จ.เชียงราย นานประมาณ 24 มิ.ย. 2521 02.59 พม่า 3.7 3-5 วินาที 21 มิ.ย. 2521 04.05 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 3.1, 3.2 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว 2 ครั้ง เมื่อเวลา 03.45 น. และ 04.05 น. 18 มิ.ย. 2521 23.44 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 1.6 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว 30 พ.ค. 2521 05.26 อ..พร้าว จ.เชียงใหม่ 3.4 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว 18 มิ.ย. 2521 23.44 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 1.6 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว 30 พ.ค. 2521 05.26 อ..พร้าว จ.เชียงใหม่ 3.4 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว 27 พ.ค. 2521 14.05 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 3.0 รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว 3 ครั้ง เมื่อเวลา 14.05, 14.16 และ 15.03 น. เสียหายเล็กน้อยที่ อ.พร้าว รู้สึกสั่นไหวนาน 15 วินาที ที่ จ.เชียงราย 26 พ.ค. 2521 06.22 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 4.8 เชียงใหม่ และลำปาง รู้สึกสั่นไหวที่ลำปางนาน 2 วินาที สายไฟฟ้า แกว่ง รู้สึกสั่นไหวที่อาคาร 29 ก.ย. 2518 20.42 พม่า 5.1 กรุงเทพประกันภัย ชั้น 7 13 ก.ย. 2518 06.07 พม่า 4.0 รู้สึกได้ที่ จ.เชียงราย รู้สึกได้ทั้งภาคเหนือและภาคกลาง รวมถึงกรุงเทพฯ มีความเสียหาย 17 ก.พ. 2518 10.38 พม่า-ไทย 5.6 เล็กน้อย ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี, 2563 การเกิดสึนามิ ปี พ.ศ. 2547 เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยคลื่นยักษ์สึนามิ เกิดขึ้นเมื่อเวลา 07.58 น. (เวลาในประเทศไทย) ของวัน อาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ในขณะนั้น เกิดแผ่นดินไหวในทะเลเหนือเกาะสุมาตรา ขนาด 9.2 จุดศูนย์กลาง อยู่ใต้มหาสมุทรอินเดียลึกลงไปประมาณ 30 กิโลเมตร จุดเหนือศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวอยู่บริเวณทิศตะวันตก เฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งแรงสั่นสะเทือนสามารถรับรู้ได้ถึงจังหวัดภูเก็ต และในอีกหลาย จังหวัดชายฝั่งอันดามันของไทย รวมถึงจังหวัดกระบี่ด้วย กรมทางหลวงชนบท 3-66 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน เวลาประมาณ 10.00 น.ของวันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (เวลาในประเทศไทย) คลื่นยักษ์ สึนามิได้พัดเข้าถล่มบริเวณชายฝั่งของหลายประเทศในมหาสมุทรอินเดีย ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย ศรีลังกา อินเดีย มัลดีฟส์ โซมาเลีย เมียนมาร์ มาเลเซีย แทนซาเนีย แอฟริกาใต้ บังคลาเทศ เยเมน เคนยา มาดากัสการ์ หมู่เกาะเซเชลส์ รวมทั้งประเทศไทย สร้างความเสียหายให้กับพื้นที่ 6 จังหวัดภาคใต้ที่มีพื้นที่อยู่ติดกับชายฝั่งทะเล อันดามัน ประกอบด้วย จังหวัด ภูเก็ต พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากเหตุการณคลื่นยักษสึนามิเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ส่งผลกระทบ ใหพื้นทองทะเลเกิดการเคลื่อนตัวในแนวดิ่งอย่างกะทันหัน และน้ำทะเลปริมาณมหาศาลถูกทำให เคลื่อนตัว อยางทันทีทันใด เกิดสึนามิตามแนวชายฝงทะเลภาคใตของประเทศไทยดานทะเลอันดามัน สรางความเสียหาย ใหแกชีวิต และทรัพยสินเปนอยางมากในจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน ซึ่งมีพื้นที่เสียหายทั้งหมด 6 จังหวัด ไดแก ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล ซึ่งในพื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ก็เป นพื้นที่สวนหนึ่งที่ไดรับความ เสียหายจากเหตุการณดังกลาว โดยในพื้นที่เกาะลันตามีจํานวนครัวเรือนที่ประสบภัยทั้งหมดประมาณ 1,859 ครัวเรือน (ครัวเรือนทั้งหมดที่ประสบภัยอางตามตัวเลขสูงสุด) ซึ่งไดรับความเสียหายทั้งเสียชีวิต การบาดเจ็บ บานเรือนและที่ดิน ทรัพยสินสวนตัว เรือและอุปกรณประมง การเลี้ยงสัตวน้ำ การประกอบอาชีพตางๆ รวมถึง ธุรกิจตางๆ และด้านการเกษตร โดยชุมชนที่ประสบภัยอยางมากในพื้นที่เกาะลันตา ไดแก ชุมชนบานศาลาดาน ตําบลศาลาดาน ชุมชนบานสังกะอู และชุมชนบานศรีรายา ตําบลเกาะลันตาใหญ อําเภอเกาะลันตา ส่วนพื้นที่ ในตำบลเกาะลันตาน้อย และตำบลเกาะกลางนั้น คลื่นสึนามิได้เข้าทำลายและสร้างความเสียหายในบริเวณพื้นที่ ตามแนวชายฝั่งของคลองช่องลาด ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าชายเลนของพื้นที่ห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล ดังแสดงขอบเขตพื้นที่ น้ำทะเลทวมถึงจากเหตุการณคลื่นยักษสึนามิ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 แสดงดังรูปที่ 3.2.2-17 พื้นที่ในตำบลเกาะกลาง และตำบลเกาะลันตาน้อย เป็นหนึ่งในพื้นที่ประสบภัยจากคลื่นยักษ์สน ึ ามิ พ.ศ. 2547 ซึ่งมีผลการศึกษาวิจัยของกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง สหสัมพันธ์ระหว่างการวัดขึ้นไปในแผ่นดินของ คลื่นสึนามิกับลักษณะชายฝั่ง (ภูเวียง คำประมินทร์ 2548) ความเร็วของคลื่น (Velocity-V) คลื่นทะเลทั่วๆ ไปมีความเร็วประมาณ 90 กม./ชั่วโมง แต่คลื่นสึนามิ อาจจะมีความเร็วได้ถึง 950 กม./ชั่วโมง ซึ่งก็พอๆ กับความเร็วของเครื่องบินเจ็ททีเดียว โดยจะขึ้นอยู่กับความลึก ที่เกิดแผ่นดินถล่มใต้ทะเล ถ้าแผ่นดินไหวยิ่งเกิดที่ก้นทะเลลึกเท่าไหร่ ความเร็วของคลื่นสนามิ ก็จะสูงขึ้ นมาก เท่านั้น เพราะปริมาตรน้ำที่ถูกเคลื่อนออกจากที่เดิม จะมีมากขึ้นไปตามความลึก คลื่นสึนามิจึงสามารถเคลื่อนที่ ผ่านท้องทะเลอันกว้างใหญ่ได้ภายในเวลาไม่นาน ลักษณะเฉพาะของคลื่นสึนามิ การเพิ่มสูงขึ้นอย่างกะทันหันของพื ้นทะเลเพียงแค่ 2-3 เมตร จาก พื้นระดับทะเลปานกลาง ระหว่างที่เกิดแผ่นดินไหว สามารถเลื่อนปริมาตรมหาศาลของมวลน้ำขึ้นได้อย่างฉับพลัน เช่นกัน ดังนั้น จึงเป็นผลให้เกิดคลื่นสึนามิขึ้น คลื่นสึนามิทำลายล้าง (Destructive Tsunami) ซึ่งทำให้เกิดความ เสียหายไกลออกไปจากต้นกำเนิดมากๆ ได้ บางครั้งจะเรียกว่า “Tele-tsunami” และส่วนมากจะเกิดจากการ เคลื่อนไหวในแนวดิ่งของพื้นทะเลมากกว่าการเคลื่อนไหวในแนวราบ จากข้อมูลสำนักแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวที่จะก่อให้เกิดคลื่น สึนามิในทะเลอันดามันนั้น อยู่บริเวณ Sunda trend หรือแนวชนกันแบบมุดตัวลงของแผ่นเปลือกโลก โดยเฉพาะ บริเวณหมู่เกาะนิโคบาร์ หมู่เกาะอันดามัน ประเทศอินเดีย ทั้งนี้บริเวณหมู่เกาะอันดามัน และตอนเหนือของ เกาะสุมาตรา ประเทศอิ นโดนีเซีย นอกจากจะมีโอกาสเกิดคลื่นสึนามิจากแผ่นดินไหวแล้วยังมีโอกาสเกิดจาก แผ่นดินถล่มใต้ทะเลอีกด้วย เพราะเป็นแนวหุบเหวลึกใต้ทะเล มีหน้าผาชัน เมื่อเกิดแผ่นดินไหว แรงสั่นสะเทือน ก็มีโอกาสทำให้หน้าผาพังทลายลงพร้อมก่อเกิดคลื่นสึนามิได้ กรมทางหลวงชนบท 3-67 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : โครงการศึกษาผลกระทบจากคลื่นยักษ์ที่มีต่อทรัพยากรน้ำในแผ่นดินฯ กรมทรัพยากรน้ำ รูปที่ 3.2.2-17 ขอบเขตพื้นที่น้ำทะเลท่วมถึงจากเหตุการณ์คลื่นสึนามิ เมื่อ 26 ธันวาคม 2547 กรมทางหลวงชนบท 3-68 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.2.3 น้ำผิวดิน 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาตำแหน่งของแหล่งน้ำ ขนาดและปริมาณ คุณภาพน้ำ สภาพทางชลศาสตร์และอุทก วิทยาน้ำผิวดินที่แนวเส้นทางโครงการตัดผ่าน (2) เพื่อนำข้อมูลไปประเมินผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำผิวดิน ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการพัฒนาโครงการ 2) วิธีการศึกษา (1) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากรายงานและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (2) ศึกษาระบบโครงข่ายแหล่งน้ำผิวดิน หรือแหล่งน้ำผิวดินที่สำคัญ ในพื้นที่ศึกษาโครงการ มีน้ำ ตลอดทั้งปี มีการใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภค-บริโภค การเกษตรกรรม เป็นต้น 3) ผลการศึกษา การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (1) การผลิตน้ำประปา ผลจากการตรวจสอบข้อมูลการผลิตน้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาค สาขากระบี่ (ณ เดือนธันวาคม 2564) พบว่าในพื้นที่จังหวัดกระบี่ มีจำนวนผู้ใช้น้ำทั้งหมด 31,634 ราย ซึ่งการผลิต น้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาคสาขากระบี่มีกำลังผลิ ตที่ใช้งานอยู่ที่ 39,600 ลบ.ม./วัน มีปริมาณน้ำผลิต 842,241 ลบ.ม./เดือน ปริมาณน้ำผลิตจ่าย 833,910 ลบ.ม./เดือน และมีปริมาณน้ำจำหน่าย 652,522 ลบ.ม./ เดือน แสดงดังตารางที่ 3.2.3-1 ตารางที่ 3.2.3-1 ข้อมูลการผลิตน้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาคสาขากระบี่ ประเภท จำนวน หน่วย จำนวนผู้ใช้น้ำทั้งหมด 31,634 ราย กำลังผลิตที่ใช้งาน 39,600 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำผลิต 842,241 ลบ.ม./เดือน ปริมาณน้ำผลิตจ่าย 833,910 ลบ.ม./เดือน ปริมาณน้ำจำหน่าย 652,522 ลบ.ม./เดือน ที่มา : การประปาส่วนภูมิภาค สาขากระบี่ (ณ เดือนธันวาคม 2564) (2) ความพอเพียงของปริมาณน้ำใช้ ผลการทบทวนรายงานแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำจังหวัดกระบี่ สำนักบริหารโครงการ กรมชลประทาน (2561) พบว่า จังหวัดกระบี่ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 3,329,671 ไร่ มีพื้นที่ ตั้งอยู่ใน 2 ลุ่มน้ำ ได้แก่ลุ่มน้ำตาปี และลุ่ ม น้ ำ ภาคใต้ ฝั่ ง ตะวั น ตก ในปี พ.ศ. 2560 จั ง หวั ด กระบี่ มี จํ า นวน ครัวเรือนทั้งหมด 113,288 ครัวเรือน โดยเป็นครัวเรือนเกษตร 54,107 ครัวเรือน จํานวนประชากรรวมทั้งสิ้น 469,769 คน แนวโน้มจํานวนประชากรในอนาคตของจังหวัดกระบี่เมื่อทําการคํานวณอัตราการเจริญเติบโตของ ประชากรเพื่อประมาณการจํานวนประชากรในอนาคตอีก 20 ปีข้างหน้า โดยใช้ปี พ.ศ. 2560 เป็นปีฐาน พบว่า ประชากรในจั งหวัดกระบี่มี อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 5.39 ซึ่งมีผลทําให้ใ นอีก 20 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2580) จํานวนประชากรจะเพิ่มขึ้น เป็น 1,019,636 คน ดังตารางที่ 3.2.3-2 กรมทางหลวงชนบท 3-69 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.3-2 จํานวนประชากรและการคาดการณ์ในอนาคตจังหวัดกระบี่ ปี พ.ศ. ประชากร (คน) 2560 469,769 2565 557,177 2570 660,849 2575 929,651 2580 1,019,636 ที่มา : จากการคาดการณ์ประชากรด้วยแบบจําลองทวีกําลัง (Exponential Model) โดยใช้ข้อมูลประชากรย้อนหลัง 10 ปี (พ.ศ. 2551-2560) ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2561 (3) สถานการณ์ด้านทรัพยากรน้ำและการพัฒนาในปัจจุบัน ก) ลําน้ำและแหล่งน้ำตามธรรมชาติ จังหวัดกระบี่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ 2 ลุ่มน้ำ (ตามการแบ่ง ลุ่มน้ำหลักของประเทศไทย โดยคณะกรรมการอุทกวิทยาแห่งชาติ) โดยมีแหล่งน้ำตามธรรมชาติที่สําคัญ แยก ตามลุ่มน้ำต่าง ๆ ดังนี้ • ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดมีพื้นที่ในเขตลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่ง ตะวันตก 3,032.77 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 64.34 ของพื้นที่จังหวัดและคิดเป็นร้อยละ 16.10 ของพื้นที่ใน ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก ได้แก่ พื้นที่บริเวณอําเภอเกาะยาว เขาพนม คลองท่อม ปลายพระยา เมืองกระบี่ เหนือ คลองลําทับ อ่าวลึก และเกาะลันตา ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตกมีลักษณะคล้ายคลึงกับลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออก เป็นพื้นที่ชายฝั่งติดทะเลอันดามัน มีเทือกเขาภูเก็ตพาดผ่านจากจังหวัดระนอง ลงมาจนถึงจังหวัดพังงา ซึ่งเป็นต้น กําเนิดแม่น้ำสายต่าง ๆ แม่น้ำและลําน้ำทั่วไปมีความยาวไม่มากนักและไหลลงสู่ทะเลอันดามันไปทางทิศตะวันตก และตะวันตกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ลุ่มน้ำสาขาลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตกในจังหวัดกระบี่ ได้แก่ ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่ง ตะวันตก ส่วนที่ 2 คลองท่อม ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 3 และแม่น้ำตรัง • ลุ่มน้ำตาปี เป็นพื้นที่ในจังหวัดกระบี่ 1,680.79 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 35.66 ของพื้นที่จังหวัด และคิดเป็นร้อยละ 12.49 ของพื้นที่ในลุ่มน้ำตาปีของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ พื้นที่บริเวณอําเภอ ลําทับ เขาพนม คลองท่อม ปลายพระยา เมืองกระบี่ เหนือคลอง ลําทับ และอ่าวลึก ลุ่มน้ำสาขาตาปีในจังหวัด กระบี่ที่สําคัญ ได้แก่ แม่น้ำตาปีตอนบน คลองสินพูน คลองสิปัน และคลองสก ข) โครงการพัฒนาแหล่งน้ำที่มีในปัจจุบัน จังหวัดกระบี่ยังไม่มีการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ โดยมีโครงการชลประทานขนาดกลางและขนาดเล็กประเภทต่างๆ ที่ดําเนินการแล้วถึง พ.ศ. 2560 จํานวนทั้งสิ้น 69 แห่ง สามารถเก็บกักน้ำได้ 29.57 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 61 ,076 ไร่ รายละเอียดตามตารางที่ 3.2.3-3 ถึง ตารางที่ 3.2.3-4 และรูปที่ 3.2.3-1 ค) สถานการณ์น้ำของจังหวัด (ก) สถานการณ์ด้านการขาดแคลนน้ำและภัยแล้ง จากข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งของ จังหวัดกระบี่ โดยกรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2556 พบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 90.00 มีปัญหาภัยแล้งใน ระดับต่ำบริเวณทุกอําเภอในจังหวัดกระบี่ แต่ในพื้นที่บางส่วนโดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ชายฝั่งไม่มีความเสี่ยงภัยแล้ง กรมทางหลวงชนบท 3-70 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ข) สถานการณ์ด้านน้ำท่วมและอุทกภัย สภาพการเกิดอุทกภัยในจังหวัดกระบี่ แบ่งออก ได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ อุทกภัยที่เกิดจากดินโคลนถล่ม น้ำป่าไหลหลาก และน้ำท่วมฉับพลัน และอุทกภัยน้ำ หลากล้นตลิ่ง การเกิดอุทกภัยในลักษณะแรกเกิดขึ้นกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดกระบี่ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศ ที่เป็นลุ่มน้ำย่อยขนาดเล็ก ๆ ลําน้ำสายสั้น ๆ ความลาดชันของลําน้ำสูง ลักษณะที่สองเกิดจากน้ำหลากล้นตลิ่ง ํ น้ำ เกิดขึ้นกับพื้นที่ที่อยู่บริเวณท้ายน้ำ ซึ่งลําน้ำและพื้นที่มีลักษณะเป็นที่ราบหรือราบลุ่ม ก่อนไหลลงสู่ทะเลที่ลา สายหลักติดกับทางหลวงสายประธาน เช่น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) และเป็นที่ตั้งของ ชุมชนหนาแน่นทําให้มีสิ่งกีดขวางการระบายน้ำทั้งในลําน้ำและพื้นที่ริมตลิ่ง ซึ่งจากข้อมูลพื้นที่ เสี่ยงภัยน้ำท่วม ซ้ำซากของจังหวัดกระบี่ โดยสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิศาสตร์สารสนเทศ ( GISDA) พ.ศ. 2556 พบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดมีพื้นที่เสี่ยงน้ำท่วมซ้ำซากน้อยและเสี่ยงปานกลางและมีพื้นที่เสี่ยงสูงเล็กน้อยโดย ความเสี่ยงปานกลางและความรุนแรงจะอยู่บริเวณที่มีเทือกเขาในแต่ละอําเภอ ตารางที่ 3.2.3-3 โครงการชลประทานขนาดกลางในจังหวัดกระบี่ ความจุ พื้นที่ชลประทาน ปีก่อสร้าง ที่ โครงการ ตำบล อำเภอ (ล้าน ลบ.ม.) (ไร่) เริ่ม เสร็จ 1 ฝายคลองปกาไสย เหนือคลอง เมือง 5,563 2493 2497 2 อ่างเก็บน้ำบางกําปรัด สินปุน เขาพนม 16.00 16,909 2529 2533 3 ฝายคลองน้ำแดง พรุเตียว เขาพนม 6,706 2511 2514 4 อ่างเก็บห้วยน้ำเขียว คลองท่อมใต้ คลองท่อม 7.30 4,220 2531 2536 5 ฝายคลองทรายขาว ทรายขาว คลองท่อม 2,831 2493 2495 6 ระบบส่งน้ำอ่างเก็บน้ำห้วยทับ ทุ่งไทรทอง ลำทับ 2,254 2558 2559 ไม้เหลี่ยม 7 อ่างเก็บน้ำคลองหยา ปลายพระยา ปลายพระยา 3.20 2,755 2533 2536 8 แก้มลิงบ้านน้ำซ่ำพร้อมอาคาร ปลายพระยา ปลายพระยา 0.38 2558 2559 ประกอบ 9 อ่างเก็บน้ำห้วยลึก เขาเขน ปลายพระยา 2.50 6,183 2533 2537 10 แก้มลิงหนองน้ำบางตง เขาเขน ปลายพระยา 0.19 2558 2559 พร้อมอาคารประกอบ รวม 29.57 47,421 ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน กรมทางหลวงชนบท 3-71 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.3-4 โครงการชลประทานที่มีอยู่ในปัจจุบัน จังหวัดกระบี่ ประเภท ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก รวม 1. อ่างเก็บน้ำ - จํานวน (แห่ง) - 4 8 12 - ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) - 29 - 29 - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) - 30,067 50 30,117 2. แก้มลิง - จํานวน (แห่ง) - 2 6 8 - ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) - 0.57 - 0.57 - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) - 0 - - 3. ฝาย - จํานวน (แห่ง) - 3 17 20 - ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) - - - - - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) - 15,100 1,885 16,985 4. ปตร. - จํานวน (แห่ง) - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 5. สถานีสูบน้ำ - จํานวน (แห่ง) 2 9 - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 980 980 6. ระบบส่งน้ำ - จํานวน (แห่ง) 1 7 8 - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 2,254 3,870 6,124 7. ระบบระบายน้ำ - จํานวน (แห่ง) - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 8. อื่นๆ - จํานวน (แห่ง) 19 19 - ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 6,870 6,870 9. รวมทุกประเภท - จํานวน (แห่ง) 10 59 69 - ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) 29.57 0 29.57 - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 47,421 13,655 61,076 ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน กรมทางหลวงชนบท 3-72 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน รูปที่ 3.2.3-1 โครงการชลประทานขนาดกลางในจังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-73 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (4) ความต้องการใช้น้ำ การศึกษาความต้องการใช้น้ำของจังหวัดกระบี่ครั้งนี้ จะได้ประเมินความต้องการใช้น้ำจาก กิจกรรมหลักที่สําคัญ 4 ประเภท คือ ความต้องการใช้น้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค ความต้องการน้ำเพื่อรักษาระบบ นิเวศท้ายน้ำความต้องการน้ำเพื่อการเกษตร และความต้องการน้ำเพื่ออุตสาหกรรม แสดงดัง ตารางที่ 3.2.3-5 โดยมีรายละเอียดดังนี้ ก) ความต้องการใช้น้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค ความต้องการใช้น้ำเพื่อการอุปโภคและ บริโภค ประเมินจากจํานวนประชากรกับอัตราการใช้น้ำของประชากร โดยทําการประเมินความต้องการในอนาคต 5 ปี, 10 ปี และ 20 ปี จากการวิเคราะห์แนวโน้มของปริมาณประชากร โดยพบว่าความต้องการใช้น้ำเพื่ออุปโภค และบริโภคในปัจจุบัน เท่ากับ 25.70 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี และจะเพิ่มเป็น 30.51, 36.18 และ 50.90 ล้าน ลูกบาศก์เมตร/ปี ในระยะ 5 ปี, 10 ปี และ 20 ปี ตามลําดับ ข) ความต้องการใช้น้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศท้ายน้ำ ความต้องการใช้น้ำเพื่อรักษาระบบ นิเวศท้ายน้ำ ประเมินโดยการเปรียบเทียบความต้องการน้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศท้ายน้ำของลุ่มน้ำหลัก จากรายงาน โครงการพัฒนาระบบคลังข้อมูล 25 ลุ่มน้ำ และแบบจําลองน้ำท่วมน้ำแล้งสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและ การเกษตร (สส.นก.) พ.ศ. 2555 โดยเปรียบเทียบพื้นที่ของจังหวัดกระบี่กับพื้นที่ลุ่มน้ำที่มีพื้นที่ครอบคลุมจังหวัด กระบี่ จากผลการประเมินความต้องการใช้น้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศท้ายน้ำจังหวัดกระบี่เท่ากับ 617.56 ล้าน ลูกบาศก์เมตร/ปี ค) ความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตร ความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตร ประเมินจากพื้นที่ เกษตรกรรมฤดูฝนและฤดูแล้ง ทั้งในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน กับอัตราการใช้น้ำเพื่อการเพาะปลูก ต่อไร่ โดยความต้องการน้ำเพื่อการเกษตรในเขตชลประทานประเมิน จากพื้นที่ชลประทานที่มีในปัจจุบันและ แผนในอนาคตจากการพัฒนาพื้นที่ชลประทาน ซึ่งฤดูฝนเพาะปลูกเต็มพื้นที่ส่วนฤดูแล้งพื้นที่เพาะปลูกร้อยละ 20.00 ของพื้นที่ชลประทาน ความต้องการน้ำเพื่อการเกษตรนอกเขตชลประทานประเมินจากพื้นที่เพาะปลูก นอกเขตชลประทานในปั จจุ บ ั น และคาดการณ์ ว ่ าพื ้ นที ่ เพาะปลู ก โดยรวมไม่ เปลี ่ ยนแปลงอย่ างมี น ั ยสํ า คั ญ ผลการประเมินความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตรสรุปได้ว่า ความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตร เท่ากับ 2,421.60 ล้ า นลู กบาศก์ เ มตร/ปี และความต้ องการน้ ำเพื ่ อการเกษตรจะเพิ ่ มเป็ น 2 ,450.17, 2,452.01 และ 2,452.01 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี ในระยะ 5 ปี, 10 ปี และ 20 ปี ตามลําดับ ง) ความต้องการใช้น้ำเพื่อการอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรมและการนิคมอุตสาหกรรม ได้ ท ํ า การประเมิ น ความต้ องการน้ ำ เพื ่ อการอุ ต สาหกรรมเป็ น รายจั ง หวั ด โดยประเมิ น จากจํ า นวนโรงงาน อุตสาหกรรมที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมกับอัตราการใช้น้ำของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดต่าง ๆ แยกตามกําลังการผลิต (กําลังม้า) รวมถึงอัตราการใช้น้ำของการนิคมอุตสาหกรรมโดยคิดเป็นต่อพื้นที่ โดยทําการ ประเมิ น ความต้ อ งการในอนาคต 5 ปี , 10 ปี และ 20 ปี จากการวิ เ คราะห์ แ นวโน้ ม ของการเจริ ญ เติ บ โต ด้านอุตสาหกรรมและแผนการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม โดยพบว่าความต้องการใช้น้ำเพื่ออุตสาหกรรม เท่ากับ 13.48 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี และจะเพิ่มเป็น 14.16, 14.83 และ 16.18 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี ในระยะ 5 ปี, 10 ปี และ 20 ปี ตามลําดับ กรมทางหลวงชนบท 3-74 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.3-5 แผนงานโครงการขนาดกลาง ระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ ปีก่อสร้าง ความจุ พื้นที่ชลประทาน ที่ โครงการ ตำบล อำเภอ ปี ปี (ล้าน ลบ.ม.) (ไร่) ก่อสร้าง แล้วเสร็จ 1 ระบบส่งน้ำพร้อมอาคาร กระบี่น้อย เมือง 5.00 4,300.00 2560 2562 ประกอบ โครงการระบบส่ง น้ำอ่างเก็บน้ำคลองแห้ง 2 อ่างเก็บน้ำห้วยทรายขาว ทรายขาว คลองท่อม 2.25 0 2560 2563 3 อ่างเก็บน้ำบ้านคลองโขง ศาลาด่าน เกาะลันตา 5.30 2,480.00 2561 2563 4 อ่างเก็บน้ำคลองปกาไสย เขาพนม เขาพนม 16.00 6,000.00 2561 2564 5 อ่างเก็บน้ำคลองหิน คลองหิน อ่าวลึก 3.00 10,000.00 2562 2564 6 โครงการเพิ่มศักยภาพความจุ 1.00 2566 2566 อ่างเก็บน้ำบางกําปรัด 7 โครงการเพิ่มศักยภาพความจุ 0.76 2567 2567 อ่างเก็บน้ำห้วยน้ำเขียว 8 โครงการเพิ่มศักยภาพความจุ - 2569 2569 อ่างเก็บน้ำคลองหยา รวม 29.57 47,421 ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน (5) แผนการพัฒนาการชลประทานระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2580) ในการจัดทําแผนการดําเนินการระดับจังหวัด ได้นําโครงการที่มีผลการศึกษา สํารวจ ออกแบบ และโครงการที่มีศักยภาพในการดําเนินการมาทําการจัดเป็นแผนงานและงบประมาณ (รูปที่ 3.2.3-2 และตารางที่ ตารางที่ 3.2.3-6) โดยมีแนวทางดังนี้ ก) ระยะของแผนดําเนินการ การจัดระยะของแผนงาน แบ่งออกเป็น 3 ระยะให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ซึ่งเป็นแผนดําเนินการก่อสร้างดังนี้ - โครงการตามแผนระยะสั้น ดําเนินการแล้วเสร็จภายใน พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2565 - โครงการตามแผนระยะกลาง ดําเนินการแล้วเสร็จภายใน พ.ศ. 2566 - พ.ศ. 2570 - โครงการตามแผนระยะยาว ดําเนินการแล้วเสร็จภายใน พ.ศ. 2571 - พ.ศ. 2580 ข) การจัดลําดับความสําคัญของโครงการ มีแนวทางดังนี้ - เป็นโครงการที่มีความพร้อมด้านวิศวกรรมและสิ่งแวดล้อมและสามารถดําเนินการ ก่อสร้างได้ทันที - เป็นโครงการพระราชดําริ - มีความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ ยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ตอบสนองการแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่ (Area base) - เป็นโครงการที่สามารถแก้ไขได้ทั้งปัญหาขาดแคลนน้ำและน้ำท่วม - มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำ - มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูง กรมทางหลวงชนบท 3-75 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน รูปที่ 3.2.3-2 แผนงานโครงการขนาดกลาง ระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-76 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.3-6 แผนงานโครงการขนาดเล็ก ระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ พื้นที่ ปีก่อสร้าง ความจุ ที่ โครงการ ตำบล อำเภอ ชลประทาน ปี ปี (ล้าน ลบ.ม.) (ไร่) ก่อสร้าง แล้วเสร็จ 1 ฝายคลองโตบพร้อมระบบส่งน้ำ เกาะลันตา เกาะลันตา 0 700 2566 2566 ใหญ่ 2 ฝายบ้านคลองนิน เกาะลันตา เกาะลันตา 0.002 0 2564 2564 ใหญ่ 3 ฝายคลองโตบ เกาะลันตา เกาะลันตา 0.002 0 2565 2565 ใหญ่ 4 ฝายคลองนิน เกาะลันตา เกาะลันตา 0.002 0 2565 2565 ใหญ่ 5 ฝายคลองหิน เกาะลันตา เกาะลันตา 0.002 0 2565 2565 ใหญ่ 6 สถานีสูบน้ำพร้อมระบบส่งน้ำบ้าน คลองยาง เกาะลันตา 0 1,500 2561 2561 ห้วยบ่อ 7 ฝายบ้านบางนุ้ย สินปุน เขาพนม 0 0 2563 2563 8 ฝายบ้านหนองบัว เขาดิน เขาพนม 0 0 2564 2564 9 อาคารอัดน้ำห้วยรากไม้พร้อมระบบ หน้าเขา เขาพนม 0.03 700 2563 2563 ส่งน้ำ 10 ฝายบ้านบางราโพธิ์ สินปุน เขาพนม 0.15 0 2563 2563 11 อาคารบังคับน้ำคลองบางมุด พรุดินนา เขาพนม 0 0 2565 2565 12 ฝายคลองบางเตียว คลองท่อม คลองท่อม 0 100 2564 2564 เหนือ 13 ระบบส่งน้ำพร้อมอาคารประกอบ เขาต่อ ปลายพระยา 0 500 2563 2563 ตําบลเขาต่อ 14 อาคารบังคับน้ำหนองจูด คีรีวง ปลายพระยา 0 0 2563 2563 15 อาคารอัดน้ำบางสันพร้อมระบบส่ง ปลายพระยา ปลายพระยา 0 400 2562 2562 น้ำ 16 ฝายคลองอิปัน ปลายพระยา ปลายพระยา 0 - 2563 2563 17 ฝายคลองบางเหียน ปลายพระยา ปลายพระยา 0 - 2562 2562 18 อาคารบังคับน้ำ กรมทหารราบที่ 2 หนองทะเล เมืองกระบี่ 0 1,000 2566 2566 19 อาคารบังคับน้ำห้วยโตนบ้านไร่คอก ลำทับ ลำทับ 300 2563 2563 พร้อมระบบส่งน้ำ 20 ฝายคลองห้วยปุพร้อมระบบส่งน้ำ ทุ่งไทรทอง ลำทับ - 2562 2562 21 ฝายคลองนิน โคกยาง เหนือคลอง 0.05 100 2563 2563 22 ฝายคลองอินทนินพร้อมระบบส่งน้ำ โคกยาง เหนือคลอง 0.40 - 2563 2563 23 ฝายคลองโศกและอาคารประกอบ อ่าวลึกใต้ อ่าวลึก 0.02 - 2567 2567 รวม 0.66 5,300 ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน กรมทางหลวงชนบท 3-77 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ค) ผลการจัดทําแผนงานโครงการ กรมชลประทานได้จัดทําแผนการพัฒนาการชลประทาน ในระดับลุ่มน้ำ โดยการวางแผนพัฒนาโครงการชลประทานประเภทต่าง ๆ ทั้งขนาดเล็กขนาดกลางและขนาดใหญ่ รวมถึงการปรับปรุงโครงการที่มีอยู่เดิมทั้ง 25 ลุ่มน้ำหลักทั่วประเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาแหล่งเก็บกักน้ำ พื้นที่ชลประทาน และการป้องกันบรรเทาน้ำท่วมและอุทกภัยให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ตามที่กล่าว แล้วข้างต้น จังหวัดกระบี่ มีพื้นที่ 3,329,671 ไร่ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม 2,213,145 ไร่ หรือประมาณร้อยละ 66.50 ของพื้นที่จังหวัด โดยในพื้นที่เกษตรกรรมดังกล่าวมีการพัฒนาเป็นพื้ นที่ชลประทานแล้ว 61,076 ไร่ หรือ ประมาณร้อยละ 29.10 ของพื้นที่เกษตรกรรมทั้งหมด โครงการพัฒนาแหล่ง น้ำที่มีศักยภาพตามแผนการพัฒนา การชลประทานระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2580) ที่อยู่ในแผนดําเนินการจํานวน 31 โครงการ เป็นโครงการ ขนาดกลาง 25 โครงการ เป็นโครงการขนาดเล็ก 6 โครงการ หากดําเนินการแล้วเสร็จตามแผนทั้งหมดจะสามารถ เก็บกักน้ำได้เพิ่มอีก 33.88 ล้านลูกบาศก์เมตร และจะมีพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น 28,080 ไร่ (6) ปริมาณความต้องการน้ำใช้และอัตราการผลิตน้ำประปาในพื้นที่หมู่เกาะลันตา ปริมาณน้ำอุปโภคและบริโภคที่เพียงพอเป็นเรื่องสำคัญสำหรับการท่องเที่ยวประเภทเกาะ สำหรับในอดีตนั้น เกาะลันตาใหญ่มีแต่ประชาชนท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่ น้ำใช้ได้มาจากเป็นการขุดเจาะบ่อบาดาล และการเก็บกักน้ำฝนไว้ใช้เกาะลันตาใหญ่มีแหล่งน้ำจืดผิวดินที่สำคัญ ได้แก่ คลองจาก คลองหิน คลองน้ำจืด และ คลองนิน มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาลันตาในตอนกลางของพื้นที่เกาะอยู่ในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา ส่วนใหญ่มีน้ำไหลตลอดทั้งปี แต่เมื่อมีความต้องการใช้น้ำมากขึ้น พบว่าในช่วงหน้าแล้งจะเกิดปัญหาน้ำขาดแคลน อยู่เสมอ จึงเกิดประปาท้องถิ่นซึ่งได้จากแหล่งน้ำดิบที่มาจากน้ำบาดาลและน้ำผิวดิน ข้อมูลของกรมทรัพยากร น้ำบาดาล ระบุบ่อบาดาลของกรมทรัพยากรน้ำบาดาลในตำบลเกาะลันตาใหญ่ รวม 4 บ่ อ มีกำลังผลิตน้ำบาดาล 888 ลบ.ม./วั น และตำบลศาลาด่ า นมี บ ่ อ บาดาล จำนวน 2 บ่ อ กำลั ง ผลิ ต น้ ำ บาดาล 480 ลบ.ม./วั น (กรมทรัพยากรน้ำบาดาล , 2562) และเมื่อเปรียบเทียบกับความต้องการใช้น้ำในปัจจุบันแล้วยังมีน้ำอุปโภค ไม่เพียงพอต่อความต้องการ (ตารางที่ 3.2.3-7) แม้ว่าหมู่บ้านต่างๆ มีการพัฒนาประปาท้องถิ่นโดยขุด เจาะ บ่อบาดาลสำหรับใช้ในหมู่บ้าน ในช่วงฤดูแล้งชาวบ้านจึงจำเป็นต้องซื้อน้ำจากเอกชนเป็นประจำ เช่น หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ และหมู่ที่ 1 ตำบลศาลาด่าน เป็นต้น ปัจจุบันการประปาส่วนภูมิภาค กำลังจัดทำโครงการผลิต น้ำประปาเกาะลันตาใหญ่ โดยจะใช้แหล่งน้ำดิบจากฝายทดน้ำคลองจาก ดังนั้นเมื่อรวมกับการผลิตประปาท้องถิ่น ที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน น่าจะเพียงพอต่อปริมาณการใช้น้ำที่เพิ่มขึ้น และสามารถคาดการณ์ว่าจะรองรับผู้ใช้น้ำ ในอนาคตได้ประมาณ 34,255 คน/วัน อย่างไรก็ดี มาตรการประหยัดและอนุรักษ์น้ำยังเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับเกาะลันตาใหญ่ (ดรรชนีและคณะ, 25621) 1 ดรรชนี เอมพันธุ์, พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์ และวันชัย อรุณประภารัตน์, 2562, คู่มือการประเมินขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยวพื้นที่หมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่, สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), กรุงเทพฯ กรมทางหลวงชนบท 3-78 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.3-7 จำนวนผู้ใช้น้ำเฉลี่ย ปริมาณความต้องการใช้น้ำ และปริมาณน้ำที่ผลิตได้ของพื้นที่ หมู่เกาะลันตา จำนวนผู้ใช้น้ำเฉลี่ย (คน) ปริมาณความ ปริมาณการ ประชากรแฝง ต้องการใช้น้ำ ผลิต พื้นที่ นักท่องเที่ยว และประชากร รวม อุปโภค* (บ่อบาดาล) พักค้าง ท้องถิ่น (ลบ.ม./วัน) (ลบ.ม./วัน) ตำบลศาลาด่าน 9,240 11,802 21,042 1,606.5 480 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 3,026 7,302 10,328 697.96 888 เทศบาลตำบลเกาะลันตา 2,38 1,187 1,425 156.75 ใหญ่ ที่ทำการอุทยานแห่งชาติ 16 30 672 5.06 หมู่เกาะลันตา (แหลมโตนด) รวมเกาะลันตาใหญ่ 12,520 20,321 32,841 2,466.27 1,368 เกาะรอก 689 18 707 35.35 25.0 เกาะไหง 691 282 973 107.03 ไม่มีข้อมูล ที่มา : ดรรชนีและคณะ, 2562 หมายเหตุ : * คำนวณจากปริมาณผู้ใช้น้ำ โดย - เกาะลันตาใหญ่ : นักท่องเที่ยวใช้น้ำประมาณ 110 ลิตร/คน/วัน ประชากรท้องถิ่นเขตเทศบาลตำบล ใช้น้ำ 110 ลิตร/คน/วัน และประชากรชนบททั่วไปใช้น้ำ 50 ลิตร/คน/วัน - เกาะรอก : นักท่องเที่ยวและเจ้าหน้าที่บนเกาะรอกใช้น้ำ 50 ลิตร/คน/วัน - เกาะไหง : นักท่องเที่ยวและผู้ให้บริการบนเกาะไหงใช้น้ำ 110 ลิตร/คน/วัน ประเด็นปัญหาด้านปริมาณน้ำใช้ - น้ำใช้เพื่ออุปโภคยังไม่เพียงพอต่อความต้องการในปัจจุบันและการท่องเที่ยวที่อาจเพิ่มขึ้น ในอนาคต ประชาชนและผู้ประกอบการยังต้องซื้อน้ำใช้จากเอกชนในช่วงฤดูแล้ง ทั้งในตำบลศาลาด่าน และตำบล เกาะลันตาใหญ่ เช่น หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ และหมู่ 1 ตำบลศาลาด่าน เป็นต้น - เกาะลันตาใหญ่มีแหล่งน้ำดิบผิวดินตามธรรมชาติหลายแห่ง เช่น คลองสังกาอู้ คลองน้ำจืด เป็นต้น แต่ยังไม่ได้นำมาพัฒนาใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เช่น ปัจจุบันมีทำนบชั่วคราวขนาดเล็ก เก็บกักน้ำในคลองสังกาอู้ แต่ควรขยายการเก็บกักน้ำให้มีประสิทธิภาพดีขึ้นเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้ประโยชน์ ของหมู่ 1 และหมู่ 7 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ - การบริหารจัดการน้ำในชุมชนยังมีประสิทธิภาพน้อย พบว่าบางชุมชนไม่สามารถดูแลระบบ ประปา ท่อส่งน้ำให้ใช้งานได้ยาวนาน เพราะไม่สามารถบริหารระบบประปาในหมู่บ้านได้ โดยไม่สามารถเก็บเงิน ค่าน้ำประปา และชาวบ้านไม่ร่วมมือใช้น้ำประปาอย่างประหยัดในช่วงฤดูแล้ง เป็นต้น - เกาะรอกมีบ่อบาดาลเพียงบ่อเดียว ที่มีอัตราการสูบน้ำได้เพียงวันละประมาณ 25,000 ลิตร จึงทำให้มีปริมาณน้ำที่สามารถสูบขึ้นไปเก็บกักได้น้อยในแต่ละวัน แต่มีแท้งก์เก็บน้ำขนาดใหญ่ จึงควรสำรวจและ ขุดเจาะบ่อบาดาลเพิ่มเติม กรมทางหลวงชนบท 3-79 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน แนวทางจัดการแก้ไขปัญหาน้ำประปา - พัฒนาปรับปรุงระบบประปาท้องถิ่นโดยสำรวจแหล่งน้ำดิบธรรมชาติ และจัดทำโครงการ พัฒนาแหล่งน้ำอุปโภค-บริโภคสำหรับใช้ในหมู่บ้าน เช่น ขุดบ่อบาดาลหรือทำฝายทำนบกั้นน้ำผิวดินในบริเวณ ที่เหมาะสมและมีศักยภาพ เช่น คลองสังกาอู้ และคลองน้ำจืด - เร่งรัดโครงการผลิตน้ำประปาเกาะลันตาใหญ่ ที่ดำเนินการโดยการประปาส่วนภูมิภาค เพื่อให้ทันการสถานการณ์ปัญหาการขาดแคลนน้ำของเกาะลันใหญ่ - ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการน้ำในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ โดยการจัดทำแผนการบริหาร จัดการน้ำของชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การบำรุงรักษาระบบประปาของหมู่บ้าน การกำหนด อัตราค่าบริการ ที่เหมาะสม การรณรงค์ใช้น้ำอย่างประหยัด กำหนดระยะเปิด-ปิดน้ำ เป็นต้น - รณรงค์การใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภ าพ เช่น กำหนดระยะเวลาเปิด -ปิดน้ำ การปรับเปลี่ยน อุปกรณ์เพื่อช่วยประหยัดน้ำ การรณรงค์ประหยัดน้ำในภาคส่วนท่องเที่ยว จากผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว เช่น ไม่เปลี่ยนผ้าปูที่นอนและผ้าขนหนูทุกวันสำหรับแขกชุดเดิม เป็นต้น มีการนำน้ำใช้แล้วที่ผ่านการบำบัด มาใช้ใหม่ เป็นต้น - สำรวจและขุดเจาะบ่อบาดาลเพิ่มบนเกาะรอก เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำใช้บนเกาะรอกรองรับ การขยายตัวของการท่องเที่ยวในอนาคต การบริหารจัดการน้ำใช้ในพื้นที่เกาะลันตาในปัจจุบัน การแก้ปัญหาระยะสั้นของความต้องการน้ำที่เกาะลันตา โดยการขอซื้อน้ำจากการประปา คลองท่อม ซึ่งมีความสามารถในการจำหน่ายน้ำประปาให้แก่เกาะลันตาได้อย่างเพียงพอ โดยไม่เกิดปัญหา การ ขาดแคลนน้ำในเขตการให้บริการของประปาภูมิภาคสาขาคลองท่อม จากข้อมูลสถิติการประปาระหว่างปี พ.ศ. 2553 ถึง 2562 (แหล่งข้อมูลกองศูนย์ข้อมูลและแผนเทคโนโลยี :สารสนเทศ กปภ.) และข้อมูลสถิติรายเดือนล่าสุด ของ ปี พ.ศ. 2564 (แหล่งข้อมูลกองศูนย์ข้อมูลและแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ : กปภ.) พบว่า กำลังผลิตใช้งาน ของการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เท่ากับ 5,600 ลบ.ม./วัน หรือ 168,000 ลบ.ม./เดือน โดยแต่ละเดือนตลอดปี พ.ศ. 2564 มีปริมาณน้ำจำหน่าย ระหว่าง 97,675 ถึง 125,835 ลบ.ม./เดือน ทำให้กรณี แก้ไขปัญหาน้ำใช้ที่เกาะลันตาในระยะสั้นมีปริมาณน้ำที่สามารถจำหน่ายได้เพิ่มขึ้น (หากจำหน่ายน้ำประปาให้กับ เกาะลันตาโดยใช้รถบรรทุกน้ำประปาขนส่งผ่านสะพานเชื่อมเกาะลันตา) ระหว่าง 42,000 ถึง 70,000 ลบ.ม./เดือน โดยไม่มีผลกระทบต่อการใช้น้ำของผู้ใช้น้ำในเขตอำเภอคลองท่อม ความก้าวหน้าในการแก้ปัญหาน้ำใช้ที่เกาะลันตาใหญ่ในปัจจุบัน เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2563 การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม นำโดยน ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม พร้อมด้วย หัวหน้างานบริการ และควบคุมน้ำสูญเสีย เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย เพื่อชี้แจงรายละเอียด การขอใช้ที่ดินสำหรับดำเนินการตามแผนงานของการประปาส่วนภูมิภาค แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม อำเภอคลองท่อม - เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (โครงการเพื่อพัฒนาปี 2565 งบประมาณประจำปี 2566) ณ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งที่ ประชุมมีมติเห็นชอบให้ การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อมใช้ที่ดินสำหรับโครงการดังกล่าว จำนวน 2 ไร่ (รูปที่ 3.2.3-3) กรมทางหลวงชนบท 3-80 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : ข่าวภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค รูปที่ 3.2.3-3 การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2563 ต่อมา เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เวลา 09.00 น. การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม ภายใต้การบริหารงานโด ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม ในการนี้ ผู้อำนวยการกองแผนงานโครงการ 1 พร้อมด้วย ผู้จัดการ การประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อมและคณะ ได้เข้าร่วมประชุมเพื่อชี้แจงพิจารณาจัดทำประชาคมเรื่องการใช้ น้ำประปาของ กปภ. ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ หมู่ที่ 5 , 6 และ 8 สำหรับดำเนินการตามแผนงานของการ ประปาส่วนภูมิภาค แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม อำเภอคลองท่อม - เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (โครงการเพื่อพัฒนาปี 2565 งบประมาณประจำปี 2566) ณ โรงแรมเซาเทิร์น ลันตารีสอร์ท อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็น ชอบให้ การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อมสามารถ ดำเนินงานตามแผนงานโครงการก่อสร้างดังกล่าวได้ (รูปที่ 3.2.3-4) การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) เดินหน้าเร่งก่อสร้างระบบผลิตน้ำประปาจากผิวดินและจากน้ำทะเล ขนาดกำลังผลิตวันละ 2,400 ลบ.ม. เพื่อส่งจ่ายน้ำประปาให้บริการแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยวบนเกาะลันตา จังหวัด กระบี่ ภายหลังได้รับการสนับสนุนจากประชาชนในพื้นที่ เนื่ องจากบนเกาะใช้น้ำประปาจากท้องถิ่น ซึ่งมีปริมาณไม่เพี ยงพอต่ อความต้ องการใช้น้ำประปาที่เพิ่มขึ้นมาก กปภ.เขต 4 และ กปภ.สาขาคลองท่อม จึงสำรวจความคิด เห็นของประชาชนเกี่ยวกับการจั ดทำโครงการก่อสร้ างระบบผลิ ตน้ำประปาในพื้ นที่หมู่ 5 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลปรากฏว่าประชาชนให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ กปภ. จึงขออนุมัติใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์คลองจาก ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่หมู่ 5 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เนื้อที่ประมาณ 15 ไร่ 60 ตารางวา กรมทางหลวงชนบท 3-81 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : ข่าวภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค รูปที่ 3.2.3-4 การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม เข้าร่วมประชุมประชาคมหมู่บา ้ น พื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2563 การแก้ปัญหาน้ำใช้ในระยะยาวที่เกาะลันตาของ กปภ. โดยการก่อสร้างระบบประปาจากแผ่นดินใหญ่ กระบี่มายังเกาะลันตา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม มีแผนดำเนินการโครงการปรับปรุงขยายประปา ส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม มายังเกาะลันตา ซึ่งเป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ของการประปาภูมิภาค โดยในกรณี ที่มีการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา การประปาภูมิภาคจะประสานงานกับกรมทางหลวงชนบทในการขอติดตั้ ง ระบบท่อประปาภายในโครงสร้าง Segmental Box Girder ของสะพานเชื่อมเกาะลันตาต่อไป การสำรวจภาคสนาม การสำรวจแหล่งน้ำผิวดินในบริเวณพื้นที่ดำเนินโครงการและพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จาก แนวเส้นทางโครงการ ไม่พบแหล่งน้ำผิวดินในพื้นที่โครงการแต่อย่างใด โดยปริมาณน้ำฝนที่ตกลงบนพื้นจะไหล ไปตามสภาพภูมิประเทศของพื้นที่ลงสู่พื้นที่รับน้ำที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และไหลไปยังพื้นที่ลุ่มชายฝั่ง ทะเลที่ เป็นพื้นที่ป่าชายเลนและระบายออกสู่ทะลต่อไป แสดงดังรูปที่ 3.2.3-5 กรมทางหลวงชนบท 3-82 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.3-5 สภาพอุทกวิทยาน้ำผิวดินและการระบายน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-83 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.2.4 คุณภาพน้ำทะเล สมุทรศาสตร์และการกัดเซาะ 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาของคุณภาพน้ำทะเลบริเวณพื้นที่โครงการ (2) เพื่อศึกษาลักษณะทางสมุทรศาสตร์ การหมุนเวียน การพัดพาและการตกตะกอน (3) เพื่อนำข้อมูลด้านคุณภาพน้ำทะเล สมุทรศาสตร์และการกัดเซาะในพื้นที่โครงการ มาประกอบ การพิจารณาเพื่อประเมินผลกระทบในกรณีไม่มีโครงการและกรณีมีโครงการ 2) วิธีการศึกษา (1) วิธีการศึกษาคุณภาพน้ำทะเล ก) ทำการตรวจวัดคุณภาพน้ำทะเลบริ เวณที่คาดว่าจะได้ รับผลกระทบ จำนวน 3 สถานี แสดงในรูปที่ 3.2.4-1 โดยทำการเก็บตัวอย่าง จำนวน 3 ครั้ง ซึ่งตรวจวัดคุณภาพน้ำทะเล จำนวน 14 ดัชนี ได้แก่ วัตถุลอยน้ำ กลิ่น น้ำมันและไขมัน อุณหภูมิ ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ความโปร่งใส (Transparency) ปริมาณสาร แขวนลอย (Suspended Solids) ออกซิเจนละลาย (DO) ค่าความเค็ม (Salinity) ตะกั่ว (Pb) ปรอทรวม (Hg) สารหนู ( As) แบคที เ รี ย กลุ่ ม โคลิ ฟ อร์ ม ทั้ ง หมด ( Total Coliform Bacteria ) และแบคที เ รี ย กลุ่ ม ฟี คอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria) แสดงดังตารางที่ 3.2.4-1 โดยขั้นตอนการสำรวจเก็บตัวอย่าง และวิเคราะห์คุณภาพน้ำ เป็นไปตามกำหนดในประกาศคณะกรรมการสิ่ งแวดล้ อมแห่งชาติ เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำ ทะเล ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนพิเศษ 288ง เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 ตารางที่ 3.2.4-1 ดัชนีตรวจคุณภาพน้ำทะเล ดัชนีคุณภาพน้ำ หน่วย ระยะเวลาเก็บตัวอย่าง 1. วัตถุลอยน้ำ - ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 2. กลิ่น - ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 3. น้ำมันและไขมัน - ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 4. อุณหภูมิ C ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 5. ความเป็นกรด-ด่าง (pH) - ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 6. ความโปร่งใส (Transparency) cm ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 7. ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) - ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 8. ออกซิเจนละลาย (DO) mg/l ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 9. ความเค็ม (Salinity) ppt ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 10. ตะกั่ว (Pb) /l ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 11. ปรอทรวม (Total Mercury) /l ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 12. สารหนู (As) /l ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 13. แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform Bacteria) MPN/100 ml ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 14. กลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Fecal Coliform Bacteria) CFU/100 ml ฤดูฝน, ฤดูแล้ง หมายเหตุ : วิธีการวิเคราะห์คุณภาพน้ำทะเล ตามกำหนดในประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง กำหนดมาตรฐาน คุณภาพน้ำทะเล ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนพิเศษ 288ง เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 กรมทางหลวงชนบท 3-84 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.4-1 สถานีตรวจวัดคุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-85 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดำเนินการร่วมกับผลกระทบต่อระบบนิเวศในน้ำที่เป็น ผลกระทบจากกิจกรรมการก่อสร้างและการดำเนินโครงการ โดยเฉพาะการแพร่กระจายของตะกอนความขุ่น จากการก่อสร้าง โดยเปรียบเทียบระดับของผลกระทบกับค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล (2) วิธีการศึกษาสมุทรศาสตร์และการกัดเซาะ ก) รวบรวมข้อมูลด้านสมุทรศาสตร์บริเวณพื้นที่ใกล้เคียงพื้นที่ศึกษาโครงการ ข) รวบรวมข้อมูลด้านการกัดเซาะบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงพื้นที่ศึกษาโครงการ ค) ศึกษาการไหลเวียนของกระแสน้ำด้วยแบบจำลองคณิตศาสตร์ ง) วิเคราะห์การไหลเวียนกระแสน้ำในสภาพปัจจุบัน 3) ผลการศึกษาภาคสนาม (1) ผลการศึกษาด้านคุณภาพน้ำทะเล ก. ผลการสำรวจและเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 1 ผลการสำรวจและเก็ บ ตั ว อย่ า งคุ ณ ภาพน้ ำ ทะเล จากการดำเนิ น การเก็ บ ตั ว อย่ า ง คุณภาพน้ำทะเลในพื้นทีศ ่ ึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2564 จำนวน 3 สถานี ซึ่งเป็นบริเวณเดียวกับ สถานีเก็บตัวอย่างนิเวศวิทยาทางน้ำ (รูปที่ 3.2.4-2) มีผลการศึกษาแสดงดังภาคผนวก ฎ.1 ดังนี้ ก) สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ผลการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล ได้ทำการเก็บน้ำทะเล 3 ระดับ คือ ผิวน้ำทะเล กลางน้ำ และพื้นท้องน้ำ - คุณภาพน้ำ ณ ผิวน้ำ จากการสำรวจวัตถุลอยน้ำ พบว่า ไม่มีวัตถุลอยน้ำ ไม่พบ คราบไขมันและน้ำมัน และน้ำไม่มีกลิ่น อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 27.2 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-2) ความโปร่งใส 2.4 เมตร ความขุ่น 1.41 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.0 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.9 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.67 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 51.4 มิลลิซีเมนส์ ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 32.3 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไป จนถึ ง น้ อ ยกว่ า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, 0.330 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด พบ 7.8 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 7 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ กลางน้ำ พบว่า อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 27.2 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-2) ความขุ่น 1.63 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.1 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.7 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.79 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 50.2 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 32.2 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และ ปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการ ปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 26 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรีย กลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 6 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ พื้นท้องน้ำ พบว่า น้ำมีความลึก 6.0 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ใน เกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 27.2 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-2) ความขุ่น 1.37 NTU ความเป็นกรดด่าง 9.1 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำ ไฟฟ้าเท่ากับ 51.7 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 32.3 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมด มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, กรมทางหลวงชนบท 3-86 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 0.390 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรีย กลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 23 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 8 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำของสถานีที่ 1 (ณ 3 ระดับความลึก) ที่ทำการศึกษา พบว่าอยู่ในระดับดี มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลในเขตน่านน้ำไทยทั้งหมด เมื่อดูค่ามาตรฐานของดัชนีคุณภาพน้ำของ คุณภาพน้ำทะเลแล้วสามารถจัดอยู่ในประเภทที่ 1 เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย รูปที่ 3.2.4-2 การเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งในเดือนมกราคม พ.ศ. 2564 ทั้ง 3 สถานี กรมทางหลวงชนบท 3-87 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.4-2 ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทะเลในบริเวณพื้นที่โครงการ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2564 สถานี มาตรฐานคุณภาพน้าทะเล1 ดัชนีคณ ุ ภาพน้า หน่วย 1 2 3 ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 2 ประเภทที่ 3 ประเภทที่ 4 ประเภทที่ 5 ประเภทที่ 6 ่ การอนุรักษ์ เพือ ่ การอนุรักษ์ เพือ เพีอ ่ การเพาะเลี้ ยง ่ การ เพือ ่ การอุตสาหกรรม เพือ สาหรับเขต ผิวน้า กลางน้า ้ ท้องน้า พืน ผิวน้า พืน ้ ท้องน้า ผิวน้า ้ ท้องน้า พืน ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งปะการัง สัตว์นา ้ นันทนาการ และท่าเรือ ชุมชน 1. ความลึก (Depth) m - - 6.0 - 4.0 - 1.9 - - - - - - 2. วัตถุลอยน้า (Floating objects) - ไม่มี - - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี 3. ไขมันและน้ามัน (Oil and Grease) - ไม่มี - - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ่ (Odor) 4. กลิน - ไม่มี - - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี 5. อุ ณหภูมิ (Temperature) o 27.2 27.2 27.2 27.4 27.4 27.6 27.5 ่ นแปลงเพิ่มขึนไม่เกิน 1 เปลีย ไม่เปลีย่ นแปลง เปลีย ่ นแปลงเพิ่มขึนไม่เกิน 1 ่ นแปลงเพิ่มขึนไม่เกิน 2 เปลีย C จากสภาพธรรมชาติ จากสภาพธรรมชาติ จากสภาพธรรมชาติ 6. ความโปร่งแสง (Transparency) cm 240 - - 200 - 170 - มีค่าลดลงจากสภาพธรรมชาติไม่เกินร้อยละ 10 จากค่าความโปร่งใสต่้าสุด 7. ความขุ่น (Turbidity) NTU 1.41 1.63 1.37 1.69 1.49 1.91 1.78 - - - - - - 8. ความเป็นกรด-ด่าง (pH) - 8.0 8.1 9.1 8.1 8.1 8.2 8.2 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 9. ออกซิเจนละลาย (DO) mg/l 5.9 5.7 5.6 5.7 5.7 6.6 6.1 ไม่น้อยกว่า 4.0 ไม่น้อยกว่า 6.0 ไม่น้อยกว่า 4.0 ไม่น้อยกว่า 4.0 ไม่น้อยกว่า 4.0 ไม่น้อยกว่า 4.0 10. ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี (BOD) mg/l 0.67 0.79 0.75 0.66 0.59 0.83 0.68 - - - - - - 11. ความน้าไฟฟ้า (Conductivity) mS/cm 51.4 50.2 51.7 51.6 51.6 51.9 51.8 - - - - - - 12. ความเค็ม (Salinity) ppt 32.3 32.2 32.3 32.2 32.2 32.3 32.3 ่ นแปลงไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าความเค็มต่้าสุด เปลีย 13. ปริมาณของแข็งแขวนลอย mg/l 1 mg/L แต่ <5 mg/L - จุดเก็บตัวอย่างน้ำ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ต.เกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ต.เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-88 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง ผลการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล ได้ทำการเก็บน้ำ ทะเล 2 ระดับ คือ ผิวน้ำทะเล และพื้นท้องน้ำ - คุณภาพน้ำ ณ ผิวน้ำ จากการสำรวจวัตถุลอยน้ำ พบว่า ไม่มีวัตถุลอยน้ำ ไม่พบ คราบไขมันและน้ำมัน และน้ำไม่มีกลิ่น อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 27.4 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-2) ความโปร่งใส 2.0 เมตร ความขุ่น 1.69 NTU ความเป็นกรด-ด่าง 8.1 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.7 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.66 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 51.6 มิลลิซีเมนส์ ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 32.2 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไป จนถึ ง น้ อ ยกว่ า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่า สารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300 , 0.170 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์ม ทั้งหมดพบ 23 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ ต่ำกว่า 1 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ พื้นท้องน้ำ พบว่า น้ำมีความลึก 4.0 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 27.4 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-2) ความขุ่น 1.49 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.1 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.7 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.59 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้า เท่ากับ 51.6 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 32.2 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดเท่ากับ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, 0.270 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 2.0 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 1 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำของสถานีที่ 2 (ณ 2 ระดับความลึก) ที่ทำการศึกษา พบว่า อยู่ในระดับดี มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลในเขตน่านน้ำไทยทั้งหมด เมื่อดูค่ามาตรฐานของดัชนีคุณภาพน้ำ ของ คุณภาพน้ำทะเลแล้วสามารถจัดอยู่ในประเภทที่ 1 เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ค) สถานี ที่ 3 ชายฝั่ ง บ้ า นทุ่ ง โต๊ ะหยุ ม ตำบลเกาะลั นตาน้ อย ผลการเก็ บ ตั วอย่าง คุณภาพน้ำทะเล ได้ทำการเก็บน้ำทะเล 2 ระดับ คือ ผิวน้ำทะเล และพื้นท้องน้ำ - คุณภาพน้ำ ณ ผิวน้ำ จากการสำรวจวัตถุลอยน้ำ พบว่า ไม่มีวัตถุลอยน้ำ ไม่พบ คราบไขมันและน้ำมัน และน้ำไม่มีกลิ่น อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 27.6 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-2) ความโปร่งใส 1.7 เมตร ความขุ่น 1.91 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.2 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 6.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.83 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 51.9 มิลลิซีเมนส์ ต่ อเซนติ เมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 32.3 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดเท่ากับ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300 , 0.500 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 17 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 2 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ พื้นท้องน้ำ พบว่า น้ำมีความลึก 1.9 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ใน เกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 27.5 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-2) ความขุ่น 1.78 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.16 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 6.12 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.68 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำ ไฟฟ้าเท่ากับ 51.8 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 32.3 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมด เท่ากับ 6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300 , 0.230 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด พบ 6.8 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 3 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร กรมทางหลวงชนบท 3-89 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน คุณภาพน้ำของสถานีที่ 3 (ณ 2 ระดับความลึก) ที่ทำการศึกษา พบว่า อยู่ในระดับดี มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลในเขตน่านน้ำไทยทั้งหมด เมื่อดูค่ามาตรฐานของดัชนีคุณภาพน้ำของ คุณภาพน้ำทะเลแล้วสามารถจัดอยู่ในประเภทที่ 1 เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สรุปผลการศึกษาคุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 1 คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ศึกษานั้น สรุปว่าน้ำมีความลึก 1.9-6.0 เมตร อุณหภูมิของน้ำ อยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 27.2-27.6 องศาเซลเซียส ความโปร่งใส พบอยู่ระหว่าง 1.7-2.4 เมตร ความขุ่น พบอยู่ระหว่าง 1.37-1.91 NTU ความเป็นกรดด่าง พบอยู่ระหว่าง 8.0-9.1 ออกซิเจนละลายพบอยู่ระหว่าง 5.6- 6.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบอยู่ระหว่าง 0.59-0.83 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าพบอยู่ ระหว่าง 50.2-51.9 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มพบอยู่ระหว่าง 32.2-32.3 ส่วนในพัน ปริมาณสาร แขวนลอยทั้งหมดพบอยู่ระหว่างมากกว่าหรื อเท่า กับ 1 ไปจนถึง 6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และ ปรอททั้งหมด พบอยู่ระหว่างต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 ไปจนถึง 0.500 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่ม โคลิฟอร์มทั้งหมดพบอยู่ระหว่าง 2.0- 26.0 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบอยู่ระหว่างต่ำกว่า 1 ไปจนถึง 8 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่โครงการ ทั้ง 3 สถานี จัดว่าน้ำทะเลทั้ง ณ ผิวน้ำ และพื้นท้องน้ำ มีคุณภาพทั้งทางกายภาพ และทางเคมีอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลประเภทที่ 1 (เพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ) ข. ผลการสำรวจและเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 2 ผลการสำรวจและเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล จากการดำเนินการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำ ทะเลในพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 3 สถานี ซึ่งเป็นบริเวณเดียวกับสถานีเก็บ ตัวอย่างนิเวศวิทยาทางน้ำ (รูปที่ 3.2.4-3) มีผลการศึกษาแสดงดังภาคผนวก ฎ.2 ดังนี้ ก) สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ผลการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล ได้ทำการเก็บน้ำทะเล 3 ระดับ คือ ผิวน้ำทะเล กลางน้ำ และพื้นท้องน้ำ - คุณภาพน้ำ ณ ผิวน้ำ จากการสำรวจวัตถุลอยน้ำ พบว่า ไม่มีวัตถุลอยน้ำ ไม่พบ คราบไขมันและน้ำมัน และน้ำไม่มีกลิ่น อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 28.3 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-3) ความโปร่งใส 3.4 เมตร ความขุ่น 0.43 NTU ความเป็นกรดด่าง 7.9 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 6.2 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.78 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 53.8 มิลลิซีเมนส์ ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 33.0 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไป จนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300 , ต่ำกว่า 0.100 และ ต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัม ต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์ม ทั้งหมดพบ 600 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 4.5 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ กลางน้ำ พบว่า อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ อุณหภูมิข องน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 28.4 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-3) ความขุ่น 0.43 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.1 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 6.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 1.27 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 53.9 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 33.1 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และ ปรอททั้งหมด พบต่ำ กว่ า 0.300 , 0.280 และต่ ำ กว่ า 0.020 ไมโครกรั ม ต่อลิ ตร ตามลำดั บ ในส่ ว นของการ ปนเปื้ อนของแบคที เรี ย นั้ น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 440 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และ แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 13 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร กรมทางหลวงชนบท 3-90 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - คุณภาพน้ำ ณ พื้นท้องน้ำ พบว่า น้ำมีความลึก 5.8 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ใน เกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 28.4 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-3) ความขุ่น 0.43 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.0 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.8 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.72 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำ ไฟฟ้าเท่ากับ 53.9 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 33.1 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมด มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่า แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 74 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 22 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำของสถานีที่ 1 (ณ 3 ระดับความลึก) ที่ทำการศึกษา พบว่า อยู่ในระดับดี มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลในเขตน่านน้ำไทยทั้งหมด เมื่อดูค่ามาตรฐานของดัชนีคุณภาพน้ำของ คุณภาพน้ำทะเลแล้วสามารถจัดอยู่ในประเภทที่ 1 เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ข) สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง ผลการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล ได้ทำการเก็บน้ำทะเล 2 ระดับ คือ ผิวน้ำทะเล และพื้นท้องน้ำ - คุณภาพน้ำ ณ ผิวน้ำ จากการสำรวจวัตถุลอยน้ำ พบว่า ไม่มีวัตถุลอยน้ำ ไม่พบ คราบไขมันและน้ำมัน และน้ำไม่มีกลิ่น อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 28.3 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-3) ความโปร่งใส 2.9 เมตร ความขุ่น 1.35 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.1 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.8 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.60 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 53.9 มิลลิซีเมนส์ ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 33.2 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึง น้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้ งหมด พบต่ำกว่า 0.300, 0.290 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 56 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 4.5 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ พื้นท้องน้ำ พบว่า น้ำมีความลึก 3.8 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ใน เกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 28.4 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-3) ความขุ่น 1.91 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.1 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.7 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.84 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำ ไฟฟ้าเท่ากับ 54.0 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 33.2 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมด มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, 0.130 และต่ำกว่ า 0.020 ไมโครกรั มต่อลิ ตร ตามลำดับ ในส่ ว นของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 62 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 6.8 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำของสถานีที่ 2 (ณ 2 ระดับความลึก) ที่ทำการศึกษา พบว่าอยู่ในระดับดี มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลในเขตน่านน้ำไทยทั้งหมด เมื่อดูค่ามาตรฐานของดัชนีคุณภาพน้ำของ คุณภาพน้ำทะเลแล้วสามารถจัดอยู่ในประเภทที่ 1 เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กรมทางหลวงชนบท 3-91 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย รูปที่ 3.2.4-3 การเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-92 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.4-3 ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทะเลในบริเวณพื้นที่โครงการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 สถานี มาตรฐานคุณภาพน้าทะเล1 ดัชนีคณ ุ ภาพน้า หน่วย 1 2 3 ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 2 ประเภทที่ 3 ประเภทที่ 4 ประเภทที่ 5 ประเภทที่ 6 เพือ่ การอนุรักษ์ ่ การอนุรักษ์ เพือ เพีอ ่ การเพาะเลี้ ยง ่ การ เพือ เพือ่ การอุตสาหกรรม สาหรับเขต ผิวน้า กลางน้า ้ ท้องน้า พืน ผิวน้า พืน ้ ท้องน้า ผิวน้า ้ ท้องน้า พืน ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งปะการัง สัตว์นา ้ นันทนาการ และท่าเรือ ชุมชน 1. ความลึก (Depth) m - - 5.8 - 3.8 - 1.7 - - - - - - 2. วัตถุลอยน้า (Floating objects) - ไม่มี - - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี 3. ไขมันและน้ามัน (Oil and Grease) - ไม่มี - - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ่ (Odor) 4. กลิน - ไม่มี - - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี o ่ นแปลงเพิ่มขึนไม่เกิน 1 เปลีย ไม่เปลีย่ นแปลง เปลีย ่ นแปลงเพิ่มขึนไม่เกิน 1 5. อุ ณหภูมิ (Temperature) C 28.3 28.4 28.4 28.3 28.4 28.6 28.7 ่ นแปลงเพิ่มขึนไม่เกิน 2 เปลีย จากสภาพธรรมชาติ จากสภาพธรรมชาติ จากสภาพธรรมชาติ 6. ความโปร่งแสง (Transparency) cm 340 - - 290 - >150 - มีค่าลดลงจากสภาพธรรมชาติไม่เกินร้อยละ 10 จากค่าความโปร่งใสต่้าสุด 7. ความขุ่น (Turbidity) NTU 0.43 0.43 0.43 1.35 1.91 1.24 1.28 - - - - - - 8. ความเป็นกรด-ด่าง (pH) - 7.9 8.1 8.0 8.1 8.1 8.2 8.2 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 9. ออกซิเจนละลาย (DO) mg/l 6.2 6.0 5.8 5.8 5.7 6.1 6.0 ไม่น้อยกว่า 4.0 ไม่น้อยกว่า 6.0 ไม่น้อยกว่า 4.0 ไม่น้อยกว่า 4.0 ไม่น้อยกว่า 4.0 ไม่น้อยกว่า 4.0 10. ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี (BOD) mg/l 0.78 1.27 0.72 0.60 0.84 0.61 0.54 - - - - - - 11. ความน้าไฟฟ้า (Conductivity) mS/cm 53.8 53.9 53.9 53.9 54.0 54.8 54.6 - - - - - - 12. ความเค็ม (Salinity) ppt 33.0 33.1 33.1 33.2 33.2 33.3 33.2 ่ นแปลงไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าความเค็มต่้าสุด เปลีย 13. ปริมาณของแข็งแขวนลอย mg/l 1 mg/L แต่ <5 mg/L - จุดเก็บตัวอย่างน้ำ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ต.เกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ต.เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-93 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ค) สถานี ท ี ่ 3 ชายฝั ่ ง บ้ านทุ่ ง โต๊ ะหยุ ม ตำบลเกาะลันตาน้ อย ผลการเก็ บตั วอย่าง คุณภาพน้ำทะเล ได้ทำการเก็บน้ำทะเล 2 ระดับ คือ ผิวน้ำทะเล และพื้นท้องน้ำ - คุณภาพน้ำ ณ ผิวน้ำ จากการสำรวจวัตถุลอยน้ำ พบว่า ไม่มีวัตถุลอยน้ำ ไม่พบ คราบไขมันและน้ำมัน และน้ำไม่มีกลิ่น อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 28.6 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-3) ความโปร่งใส มากว่า 1.5 เมตร ความขุ่น 1.24 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.2 ออกซิเจนละลาย เท่ากับ 6.1 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.61 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 54.8 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 33.3 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, 0.190 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์ม ทั้ ง หมดพบ 12 เอ็ ม พี เอ็ น ต่ อ 100 มิ ล ลิ ลิ ต ร และแบคที เรี ย กลุ่ ม ฟี คอลโคลิ ฟ อร์ ม ตรวจพบ 2 .0 ซี เอฟยู ต่ อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ พื้นท้องน้ำ พบว่า น้ำมีความลึก 1.7 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ใน เกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 28.7 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-3) ความขุ่น 1.28 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.2 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 6.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.54 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำ ไฟฟ้าเท่ากับ 54.6 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 33.2 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมด มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้ งหมด พบต่ำกว่า 0.300, 0.150 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่า แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 15 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 2.0 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำของสถานีที่ 3 (ณ 2 ระดับความลึก) ที่ทำการศึกษา พบว่า อยู่ในระดับดี มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลในเขตน่านน้ำไทยทั้งหมด เมื่อดูค่ามาตรฐานของดัชนีคุณภาพน้ำของ คุณภาพน้ำทะเลแล้วสามารถจัดอยู่ในประเภทที่ 1 เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สรุปผลการศึกษาคุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 2 คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ศึกษานั้น สรุปว่าน้ำมีความลึก 1.7-5.8 เมตร อุณหภูมิของน้ำ อยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 28.3-28.7 องศาเซลเซียส ความโปร่งใส พบอยู่ระหว่าง 2.9-3.4 เมตร ความขุ่น พบอยู่ระหว่าง 0.43-1.91 NTU ความเป็นกรดด่าง พบอยู่ระหว่าง 7.9-8.2 ออกซิเจนละลายพบอยู่ระหว่าง 5.7- 6.2 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบอยู่ระหว่าง 0.54-1.72 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าพบอยู่ ระหว่าง 53.8-54.8 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มพบอยู่ระหว่าง 33.0-33.3 ส่วนในพัน ปริมาณสาร แขวนลอยทั้งหมดพบอยู่ระหว่างมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึง 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอท ทั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300 , ต่ำกว่า 0.100 ไปจนถึง 0.290 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบอยู่ระหว่าง 12-600 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ อยู่ระหว่าง 2.0-22.0 ซีเอฟยู ต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่โครงการ ทั้ง 3 สถานี จัดว่าน้ำทะเลทั้ง ณ ผิวน้ำ และพื้นท้องน้ำ มีคุณภาพทั้งทางกายภาพ และทางเคมีอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลประเภทที่ 1 (เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ) กรมทางหลวงชนบท 3-94 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ค. ผลการสำรวจและเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 3 ผลการสำรวจและเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล จากการดำเนินการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำ ทะเลในพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2564 จำนวน 3 สถานี ซึ่งเป็นบริเวณเดียวกับสถานี เก็บ ตัวอย่างนิเวศวิทยาทางน้ำ (รูปที่ 3.2.4-4) มีผลการศึกษาแสดงดังภาคผนวก ฎ.3 ดังนี้ ก) สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ผลการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล ได้ทำการเก็บน้ำทะเล 3 ระดับ คือ ผิวน้ำทะเล กลางน้ำ และพื้นท้องน้ำ - คุณภาพน้ำ ณ ผิวน้ำ จากการสำรวจวัตถุลอยน้ำ พบว่า ไม่มีวัตถุลอยน้ำ ไม่พบ คราบไขมันและน้ำมัน และน้ำไม่มีกลิ่น อุ ณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 29.9 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-4) ความโปร่งใส 3.0 เมตร ความขุ่น 0.70 NTU ความเป็นกรดด่าง 7.9 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.2 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.59 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 51.4 มิลลิซี เมนส์ ต่ อเซนติ เมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 30.3 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไป จนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด พบต่ำกว่า 1.8 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 2.0 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ กลางน้ำ พบว่า อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ อุณหภูมิข องน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 30.0 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.3-4) ความขุ่น 0.72 NTU ความเป็นกรดด่าง 7.9 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.2 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.41 มิลลิกรัมต่อลิ ตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 51.5 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 30.3 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และ ปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของ การปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 2.0 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และ แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ 2.0 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ พื้นท้องน้ำ พบว่า น้ำมีความลึก 6.0 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ใน เกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 30.0 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.3-4) ความขุ่น 1.07 NTU ความเป็นกรดด่าง 7.9 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.3 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.48 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำ ไฟฟ้าเท่ากับ 51.8 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 30.4 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมด มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิต ร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้ อนของแบคที เรีย นั้ น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 1,600 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม ตรวจพบ 59 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำของสถานีที่ 1 (ณ 3 ระดับความลึก) ที่ทำการศึกษาพบว่า อยู่ในระดับดี มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลในเขตน่านน้ำไทยทั้งหมด เมื่อดูค่ามาตรฐานของดัชนีคุณภาพน้ำของ คุณภาพน้ำทะเลแล้วสามารถจัดอยู่ในประเภทที่ 1 เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กรมทางหลวงชนบท 3-95 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย รูปที่ 3.2.4-4 การเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-96 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.4-4 ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทะเลในบริเวณพื้นที่โครงการ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2564 สถานี มาตรฐานคุณภาพน้าทะเล1 ดัชนีคุณภาพน้า หน่วย 1 1 1 2 2 3 3 ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 2 ประเภทที่ 3 ประเภทที่ 4 ประเภทที่ 5 ประเภทที่ 6 ผิวน้า กลางน้า พื้นท้องน้า ผิวน้า พื้นท้องน้า ผิวน้า พื้นท้องน้า เพื่อการอนุรักษ์ เพื่อการอนุรักษ์ เพี่อการเพาะเลี้ ยง เพื่อการ เพื่อการอุตสาหกรรม สาหรับเขต ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่ งปะการัง สั ตว์นา ้ นันทนาการ และท่าเรือ ชุมชน 1. ความลึก (Depth) m - - 6.0 - 4.5 - 1.5 - - - - - - 2. วัตถุลอยน้า (Floating objects) - ไม่ มี - - ไม่ มี - ไม่ มี - ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี 3. ไขมั นและน้ามั น (Oil and Grease) - ไม่ มี - - ไม่ มี - ไม่ มี - ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี 4. กลิ่น (Odor) - ไม่ มี - - ไม่ มี - ไม่ มี - ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี ไม่ มี เปลี่ยนแปลงเพิม ่ ขึนไม่ เกิน 1 ไม่ เปลี่ยนแปลงจากสภาพ เปลี่ยนแปลงเพิม ่ ขึนไม่ เกิน 1 o เปลี่ยนแปลงเพิม ่ ขึนไม่ เกิน 2 5. อุณหภูมิ (Temperature) C 29.9 30.0 30.0 30.2 30.2 30.7 30.6 จากสภาพธรรมชาติ ธรรมชาติ จากสภาพธรรมชาติ 6. ความโปร่งแสง (Transparency) cm 300 250 >150 มี คา ่ ลดลงจากสภาพธรรมชาติไม่ เกินร้อยละ 10 จากค่าความโปร่งใสต่า ้ สุด 7. ความขุ่น (Turbidity) NTU 0.70 0.72 1.07 1.41 3.54 1.87 1.63 - - - - - - 8. ความเป็นกรด-ด่าง (pH) - 7.9 7.9 7.9 7.9 8.0 8.0 8.0 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 7.0-8.5 9. ออกซิเจนละลาย (DO) mg/l 5.2 5.2 5.3 5.3 5.3 5.6 5.6 ไม่ น้อยกว่า 4.0 ไม่ น้อยกว่า 6.0 ไม่ น้อยกว่า 4.0 ไม่ น้อยกว่า 4.0 ไม่ น้อยกว่า 4.0 ไม่ น้อยกว่า 4.0 10. ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี (BOD) mg/l 0.59 0.41 0.48 0.41 0.37 0.39 0.44 - - - - - - 11. ความน้าไฟฟ้า (Conductivity) mS/cm 51.4 51.5 51.8 52.3 52.4 52.7 52.7 - - - - - - 12. ความเค็ม (Salinity) ppt 30.3 30.3 30.4 30.6 30.6 30.7 30.7 เปลี่ยนแปลงไม่ เกินร้อยละ 10 ของค่าความเค็มต่า ้ สุด 13. ปริมาณของแข็งแขวนลอย (Suspended Solid) mg/l 1 mg/L แต่ <5 mg/L - จุดเก็บตัวอย่างน้ำ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ต.เกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ต.เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-97 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง ผลการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเล ได้ทำการเก็บน้ำ ทะเล 2 ระดับ คือ ผิวน้ำทะเล และพื้นท้องน้ำ - คุณภาพน้ำ ณ ผิวน้ำ จากการสำรวจวัตถุลอยน้ำ พบว่า ไม่มีวัตถุลอยน้ำ ไม่พบ คราบไขมันและน้ำมัน และน้ำไม่มีกลิ่น อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 30.2 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.3-4) ความโปร่งใส 2.5 เมตร ความขุ่น 1.41 NTU ความเป็นกรดด่าง 7.9 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.3 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.41 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 52.3 มิลลิซีเมนส์ ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 30.6 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึง น้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300 , ต่ำกว่า 0.100 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์ม ทั้งหมดพบ ต่ำกว่า 1.8 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ ต่ำกว่า 1.0 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ พื้นท้องน้ำ พบว่า น้ำมีความลึก 4.5 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ใน เกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 30.2 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.3-4) ความขุ่น 3.54 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.0 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.3 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.37 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำ ไฟฟ้าเท่ากับ 52.4 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 30.6 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมด มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้ งหมด พบต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 210 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจ พบ ต่ำกว่า 1.0 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำของสถานีที่ 2 (ณ 2 ระดับความลึก) ที่ทำการศึกษา พบว่าอยู่ในระดับดี มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลในเขตน่านน้ำไทยทั้งหมด เมื่อดูค่ามาตรฐานของดัชนีคุณภาพน้ำของ คุณภาพน้ำทะเลแล้วสามารถจัดอยู่ในประเภทที่ 1 เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ค) สถานี ท ี ่ 3 ชายฝั ่ ง บ้ านทุ่ ง โต๊ ะหยุ ม ตำบลเกาะลันตาน้ อย ผลการเก็ บตั วอย่าง คุณภาพน้ำทะเล ได้ทำการเก็บน้ำทะเล 2 ระดับ คือ ผิวน้ำทะเล และพื้นท้องน้ำ - คุณภาพน้ำ ณ ผิวน้ำ จากการสำรวจวัตถุลอยน้ำ พบว่า ไม่มีวัตถุลอยน้ำ ไม่พบ คราบไขมันและน้ำมัน และน้ำไม่มีกลิ่น อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 30.7 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.3-4) ความโปร่งใส มากว่า 1.5 เมตร ความขุ่น 1.87 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.0 ออกซิเจนละลาย เท่ากับ 5.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.39 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าเท่ากับ 52.7 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 30.7 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300 , ต่ำกว่า 0.100 และต่ ำ กว่ า 0.020 ไมโครกรั ม ต่ อลิ ต ร ตามลำดั บ ในส่ ว นของการปนเปื้ อนของแบคที เรี ย นั้ น ค่ า แบคที เรี ย กลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ 2.0 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเ รียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ ต่ำกว่า 1.0 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร - คุณภาพน้ำ ณ พื้นท้องน้ำ พบว่า น้ำมีความลึก 1.5 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ใน เกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 30.6 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3.2.4-4) ความขุ่น 1.63 NTU ความเป็นกรดด่าง 8.0 ออกซิเจนละลายเท่ากับ 5.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบ 0.44 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำ ไฟฟ้าเท่ากับ 52.7 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มเท่ากับ 30.7 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมด มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึงน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่ าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า กรมทางหลวงชนบท 3-98 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 0.300, ต่ำกว่า 0.100 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบ ต่ำกว่า 1.8 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิ ฟอร์มตรวจพบ 1.0 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำของสถานีที่ 3 (ณ 2 ระดับความลึก) ที่ทำการศึกษา พบว่า อยู่ในระดับดี มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลในเขตน่านน้ำไทยทั้งหมด เมื่อดูค่ามาตรฐานของดั ชนีคุณภาพน้ำของ คุณภาพน้ำทะเลแล้วสามารถจัดอยู่ในประเภทที่ 1 เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สรุปผลการศึกษาคุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 3 คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ศึกษานั้น สรุปว่าน้ำมีความลึก 1.5-6.0 เมตร อุณหภูมิของน้ำ อยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 29.9-30.7 องศาเซลเซียส ความโปร่งใส พบอยู่ระหว่างมากกว่า 1.5 ไปจนถึง 3.0 เมตร ความขุ่น พบอยู่ระหว่าง 0.70-3.54 NTU ความเป็นกรดด่าง พบอยู่ระหว่าง 7.9-80 ออกซิเจนละลาย พบอยู่ระหว่าง 5.2-5.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบอยู่ระหว่าง 0.37-0.59 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าพบอยู่ระหว่าง 51.4-52.7 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มพบอยู่ระหว่าง 30.3-30.7 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดพบอยู่ระหว่างมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึง 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของ การปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบอยู่ระหว่าง ต่ำกว่า 1.8 ไปจนถึง 1,600 เอ็ม พีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ อยู่ระหว่าง ต่ำกว่า 1.0 ไปจนถึง 59 ซีเอฟยู ต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่โครงการ ทั้ง 3 สถานี จัดว่าน้ำทะเลทั้ง ณ ผิวน้ำ และพื้นท้องน้ำ มีคุณภาพทั้งทางกายภาพ และทางเคมีอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลประเภทที่ 1 (เพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ) (2) ผลการศึกษาสมุทรศาสตร์และการกัดเซาะ ก. การรวบรวมข้อมูลด้านสมุทรศาสตร์บริเวณพื้นที่ใกล้เคียงพื้นที่ศึกษาโครงการ การตรวจวัดระดับน้ำทะเลในพื้นที่ศึกษาโครงการ ได้ดำเนินการโดยติดตั้งเสาวัดระดับน้ำที่ บริเวณท่าเทียบแพขนานยนต์บ้านหลังสอด ตรงตำแหน่งที่จะก่อสร้างสะพาน สำหรับการตรวจวัดกระแสน้ำใน คลองช่องลาดได้ดำเนินการตรงตำแหน่งที่จะก่อสร้างสะพานเช่นเดียวกัน โดยใช้วิธีทุ่นลอย ( Float Survey) โดยการปล่อยทุ่น จำนวน 2 ทุ่น ให้ลอยไปตามกระแสน้ำแล้วใช้กล้องสำรวจ 2 ตัว เล็งไปที่ทุ่นเพื่อหาค่าพิกัด ของทุ่ น ที่ เ วลาต่ า งๆ ให้ ค รอบคลุ ม ช่ ว งน้ ำ ขึ้ น และน้ ำ ลง จากนั้ น นำค่ า พิ กั ด มาคำนวณหาระยะทางที่ ทุ่ น เคลื่อนที่ไ ปตามกระแสน้ ำ และเมื่ อหารด้วยเวลาจะได้ความเร็วที่ทุ่นเคลื่อนที่ ความเร็วที่ได้จะเป็นความเร็วของ กระแสน้ำที่ใกล้ผิวน้ำ ซึ่งจะต้องนำค่าความเร็วทุ่นมาคูณด้วย 0.8 จึงจะได้ความเร็วเฉลี่ยของกระแสน้ำ ผลการตรวจวัดข้อมูลในสนาม สรุปได้ดังนี้ • การตรวจวัดระหว่างวันที่ 15-16 พฤษภาคม 2551 ซึ่งเป็นช่วงน้ำตาย พบว่า พิสัยของ ระดับน้ำทะเลมีค่า 1.2-1.8 เมตร ความเร็วกระแสน้ำมีความผันผวนเนื่องจากเป็นการวัดด้วยทุ่นลอย ซึ่งบางครั้ง เคลื่อนที่อยู่ในร่องน้ำและบางครั้งเคลื่อนที่เข้าใกล้ฝั่ง ในช่วงน้ ำขึ้นมีความเร็วอยู่ในช่วง 0.1-0.4 เมตร/วินาที และในช่วงน้ำลงมีความเร็วอยู่ในช่วง 0.1-0.2 เมตร/วินาที • การตรวจวัดระหว่างวันที่ 16-17 สิงหาคม 2551 ซึ่งเป็นช่วงน้ำเกิด พบว่า พิสัยของ ระดับน้ำทะเลมีค่า 2.0-2.5 เมตร ความเร็วกระแสน้ำมีความผันผวนมากในช่วงน้ำขึ้นมีความเร็วอยู่ในช่วง 0.1-0.6 เมตร/วินาที และในช่วงน้ำลงมีความเร็วอยู่ในช่วง 0.2-0.6 เมตร/วินาที กรมทางหลวงชนบท 3-99 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • การตรวจวัดตะกอนท้องน้ำในคลองช่องลาดและในทะเลบริเวณใกล้ปากคลอง ได้ทำ การสำรวจในช่ว งเวลาเดีย วกั นกับการตรวจวั ดกระแสน้ำ ครั้ ง ที่ 1 ทำการสำรวจทั้งหมด 6 จุ ด นำตั วอย่าง ตะกอนมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการเพื่อหาชนิดและขนาดคละของตะกอน สามารถสรุปชนิดและสัดส่วนของ ตะกอนท้องน้ำและค่า D50 แต่ละจุดสำรวจ แสดงดังตารางที่ 3.2.4-5 มีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 3.2.4-5 ชนิดและสัดส่วนของตะกอนท้องน้ำและค่า D50 เปอร์เซ็นต์สัดส่วนโดยน้ำหนัก D50 จุดสำรวจ กรวด ทราย ซิลค์และเคลย์ (มม.) ST1 2.58 93.05 4.37 0.21 ST2 7.58 92.09 0.33 0.43 ST3 0.10 99.54 0.36 0.18 ST4 2.03 96.71 1.06 0.33 ST5 0.11 98.80 1.09 0.20 ST6 0.16 98.02 1.82 0.20 โดยสรุปตะกอนท้องน้ำทั้งในคลองช่องลาดและในทะเลใกล้ปากคลองเป็นทราย โดยมี สัดส่วน ของทรายอยู่ในช่วง 92.1 - 99.5 เปอร์เซ็นต์ ที่เหลือเป็นกรวดและซิลค์และเคลย์ ซึ่งมีสัดส่วนอยู่ในช่วง 0.1 - 7.6 และ 0.3 - 4.4 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ที่จุดสำรวจ ST1 มีสัดส่วนของซิลค์และเคลย์มากกว่าที่จุดอื่น อาจเป็น เพราะจุดนี้อยู่ลึกเข้าไปในคลองลัดบ่อแหนมากที่สุด ซึ่งมีป่าชายเลนมาก สำหรับค่า DO50 ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยของ ขนาดของตะกอน พบว่า มีค่าอยู่ในช่วง 0.2 - 0.4 มิลลิเมตร จัดว่าเป็นประเภททรายละเอียด (Fine Sand) • การวิเคราะห์กระแสน้ำ เพื่อศึกษาสภาพของกระแสน้ำบริเวณปากคลองและในคลองช่อง ลาด ได้ทำการวิเคราะห์โดยใช้ระดับน้ำทะเลในช่วงเดือนพฤศจิกายน (เป็นตัวแทน) ซึ่งในช่วงเดือนดังกล่าวเป็น ่ คุณลักษณะของน้ำทะเลที่ใช้ศึกษาสรุปได้ดังนี้ เดือนที่มีพิสัย (Range) ของระดับน้ำทะเลขึ้น-ลงมากที่สุด ซึง - ช่วงน้ำเกิด ระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุดและลงต่ำสุดประมาณ 2.70 เมตร - ช่วงน้ำตาย ระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุดและลงต่ำสุดประมาณ 1.10 เมตร ผลการวิเคราะห์กระแสน้ำแสดงเป็น Vector ของกระแสน้ำที่กริดต่างๆ ทุก 3 ชั่วโมง ต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งเป็นกรณีน้ำเกิดและน้ำตาย ตามลำดับ โดยพบว่าในช่วงน้ำเกิด ขณะน้ำลงน้ำในทะเล จะไหลจากทิศใต้ขึ้นสู่ทิศเหนือ (ชั่วโมงที่ 7) กระแสน้ำจากคลองลัดบ่อแหนจะไหลออกจากปากแม่น้ำ แล้ว กระจายออกในทะเล ส่วนใหญ่กระแสน้ำจะค่อยๆ เบี่ยงแนวขึ้นสู่ทิศเหนือตามแนวกระแสน้ำหลักในทะเล และ บางส่วนจะไหลเลียบไปทางแหลมคอกวาง และในขณะน้ำขึ้น (ชั่วโมงที่ 13) น้ำในทะเลจะไหลจากทิศเหนือลงสู่ทิศใต้ กระแสน้ำในทะเลบริเวณใกล้ปากแม่น้ำจะค่อยๆ เบี่ยงแนวเข้าไปในคลองลัดบ่อแหน และกระแสน้ำในทะเล ส่วนใหญ่เมื่อปะทะกับอ่าวของแหลมคอกวางจะเบี่ยงแนวอ้อมแหลมคอกวาง ค่าความเร็วกระแสน้ำในคลองและ ในทะเลที่เวลาต่างๆ สรุปได้ ว่าความเร็วกระแสน้ำในคลองที่บริเวณจุดก่อสร้างสะพานในช่วงน้ำขึ้นและน้ำลงมี ค่าสูงสุดประมาณ 0.43 และ 0.68 เมตร/วินาที ตามลำดับ และความเร็วกระแสน้ำในทะเลที่จุดห่างจากปลาย แหลมคอกวาง ประมาณ 2 กิโลเมตร ในช่วงน้ำขึ้นและน้ำลงมีค่าสูงสุดประมาณ 0.53 และ 0.45 เมตร/วิน าที ตามลำดับ สำหรับในช่วงน้ำตาย ลักษณะการไหลของน้ำจะคล้ายกับในช่วงน้ำเกิด แต่จะมีความเร็วน้อยกว่า ค่าความเร็วกระแสน้ำในคลองมีค่าสูงสุดในช่วงน้ำขึ้นและน้ำลงประมาณ 0.17 และ 0.19 เมตร/วินาที ตามลำดับ และค่าความเร็วกระแสน้ำในทะเลมีค่าสูงสุดในช่วงน้ำขึ้นและน้ำ ลงประมาณ 0.32 และ 0.28 เมตร/วินาที ตามลำดับ กรมทางหลวงชนบท 3-100 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข. การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิด้านการกัดเซาะบริเวณพื้นทีใ ่ กล้เคียงพื้นที่ศึกษาโครงการ สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งทะเลด้านทะเลอันดามัน การกัดเซาะชายฝั่งทะเลด้านอันดามัน เกิดขึ้นตลอดแนวชายฝั่งทุกจังหวัดแต่น้อยกว่าฝั่งอ่าวไทย จังหวัดที่พบการกัดเซาะรุนแรงในอัตราเฉลี่ยมากกว่า 5 เมตรต่อปี ได้แก่ ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล พื้นที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะ 1-5 เมตร/ปี เกิดขึ้นในทุกจังหวัด แสดงดังตารางที่ 3.2.4-6 และรูปที่ 3.2.4-5 ตารางที่ 3.2.4-6 การกัดเซาะชายฝั่งทะเล แยกเป็นรายจังหวัด ปี 2560 ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะลและชายฝั่ง กรมทางหลวงชนบท 3-101 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่ตั้งโครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. ฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รูปที่ 3.2.4-5 ่ ทะเล พื้นที่แสดงการกัดเซาะชายฝัง กรมทางหลวงชนบท 3-102 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ค. การศึกษาการไหลเวียนของกระแสน้ำด้วยแบบจำลองคณิตศาสตร์ ก) เหตุผลและความจำเป็นในการเลือกแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา เนื ่ องจากการศึ กษาเกี ่ ยวกั บมวลน้ ำที ่ ม ี การเคลื ่ อนไหวตลอดเวลาหรื อที ่ เรี ยกว่ า พลศาสตร์ (Hydrodynamic) เป็นการวิเคราะห์ที่มีความซับซ้อนและแปรเปลี่ยนตามเวลา จำเป็นต้องอาศัยการ วิเคราะห์ด้วยแบบจำลองคณิตศาสตร์ (Mathematic Model) มาช่วย โดยสถาบันวิจัยทั่วโลก รวมทั้งหน่วยงานที่ เกี ่ ย วข้ องซึ ่ ง มี ความรู ้ ความสามารถ และประสบการณ์ ได้ ทำการศึ กษา วิ เคราะห์ วิ จ ั ย ค้ นคว้ า และพั ฒนา แบบจำลองคณิ ต ศาสตร์ ต ่ างๆ มาใช้ ในการศึ กษา ได้ แก่ แบบจำลอง MIKE21 MIKE11 AQUASEA และ SMS (Surface Water Modeling System) เป็นต้น โดยแบบจำลองดังกล่าวได้ผ่านการทดสอบและตรวจสอบความ แม่นยำของแบบจำลองด้วยการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์กับผลการตรวจวัดจริงในห้องปฏิบัติการ หรือวัดจริง ในภาคสนามให้ได้ผลใกล้เคียงกันมากที่สุด มีความถูกต้องและความแม่นยำสูงเป็นที่ยอมรับได้ ตลอดจนมีความ น่าเชื่อถือ เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ โดยสถาบันวิจัย หรือหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย พัฒนาแบบจำลองแต่ละแห่งนั้นมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน บางสถาบันพัฒนาเป็นเชิงพาณิชย์ และมีลิขสิทธิ์ที่ บุคคลทั่วไปไม่สามารถนำไปใช้ได้ ได้แก่ แบบจำลองตระกูล MIKE เป็นต้น ในขณะที่บางสถาบันก็พัฒนาเพื่อการ เผยแพร่ความรู้เชิงวิชาการแก่บุคคลทั่วไปให้สามารถนำมาใช้ได้ ได้แก่ AQUASEA และ SMS เป็นต้น ทั้งนี้ใน ปัจจุบัน แบบจำลองคณิตศาสตร์ในการศึกษาการไหลเวียนของกระแสน้ำที่นิยมใช้กันทั่วไป สำหรับแบบจำลองที่มี ลิ ขสิ ท ธิ ์ คื อ MIKE21 ส่ ว นแบบจำลองที ่ เผยแพร่ ให้ บ ุ คคลทั ่ ว ไปนำไปใช้ ได้ คื อ AQUASEA (การศึ กษาด้ ว ย แบบจำลองคณิตศาสตร์ AQUASEA นั้นให้ผลลัพธ์ที่มีความน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากในภาคสนาม และสภาพพื้นที่จริง แบบจำลองนี้ใช้สมการและทฤษฎีต่างๆ ในการวิเคราะห์เช่นเดียวโปรแกรม MIKE 21) การพิจารณาแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ โดยเปรียบเทียบความเหมือนและ แตกต่างของแบบจำลอง MIKE21 กับ AQUASEA ดังสรุปไว้ในตารางที่ 3.2.4-7 ซึ่งพบว่าแบบจำลองทั้งสองมี ความแตกต่างกันในด้านการแสดงผลการวิเคราะห์ ด้วย Graphic โดยแบบจำลอง MIKE21 สามารถแสดงการ เคลื่อนไหวของกระแสน้ำ ( Animation) ที่อยู่ในแบบจำลองได้ ส่วนแบบจำลอง AUQASEA ต้องใช้ Program เสริมอื่นช่วย ส่วนผลวิเคราะห์ที่สำคัญต่างๆ ในเชิงตัวเลขที่ได้นั้นมีความใกล้เคียงกัน โดยแบบจำลอง AQUASEA ถู กพั ฒ นาขึ ้ น โดย Vatnaskil Consulting Engineering ประเทศไอส์ แลนด์ โดยมี ป ระเทศสหรั ฐ อเมริ กาเป็น ตัวแทนจำหน่าย เป็นแบบจำลองเพื่อการพัฒนาเพื่อการเผยแพร่ความรู้เชิงวิชาการ บุคคลทั่วไปสามารถนำมาใช้ได้ และมีการใช้กันแพร่หลายในหลายประเทศ ขั้นตอนของการดำเนินการศึกษา วิเคราะห์แบบจำลอง AQUASEA แสดงรายละเอียดไว้ในรูปที่ 3.2.4-6 สามารถสรุปได้ดังนี้ - ทำการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย แผนที่ความลึกท้องน้ำ ข้อมูล ระดับน้ำ และสภาพกายภาพของพื้นที่โครงการ - สำรวจเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยทำการตรวจวัดความเร็วกระแสน้ำ ทิศทางการไหล และระดับน้ำขึ้นลง อย่างต่อเนื่องทุกๆ 1 ชั่วโมง รวมไม่น้อยกว่า 3 วัน รวมทั้งเก็บตะกอนดินพื้นท้องน้ำ - ปรับแก้แบบจำลอง โดยทำการเปรียบเทียบผลการตรวจวัดที่ได้กั บผลจากการ คำนวณ โดยพิจารณาค่า Correlation Coefficient ให้ได้ไม่ต่ำกว่า 0.80 - วิเคราะห์การไหลเวียนของกระแสน้ำ - วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำจากกิจกรรมก่อสร้างสะพานข้ามเกาะลันตา โดยพิจารณาสภาพก่อนและหลังมีโครงการ เพื่อประเมินผลความแตกต่างที่อาจส่งผลกระทบกับพื้นที่ข้างเคียง - วิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนแขวนลอยจากกิจกรรมงานตอกเสาเข็ม - สรุป ประเมินผล และข้อเสนอแนะ กรมทางหลวงชนบท 3-103 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.4-7 ความเหมือนและแตกต่างของแบบจำลอง MIKE21 กับ AQUASEA รายละเอียด MIKE21 AQUASEA 1) ความสามารถในการวิเคราะห์ ปากแม่น้ำ แม่น้ำ   ทะเล ที่มีผลกระทบต่อระดับน้ำขึ้นน้ำลง 2) การนำเข้าเขตข้อมูล • ความลึกน้ำ   • ค่าความเสียดทานของท้องน้ำ   • ระดับน้ำขึ้นลง   • ความเร็วลมและทิศทาง   • สัมประสิทธิ์การแพร่กระจาย   • แผนที่เชื่อมต่อระบบ GIS   3) ระบบการวิเคราะห์ของแบบจำลอง Finite Different Method Finite Element method 4) การทดสอบความแม่นยำของแบบจำลอง   5) การแสดงผลลัพธ์ • แสดงผลเชิงตัวเลข   • การแสดง Graphic  ต้องเชื่อมกับ Program อื่น • การแสดงการเคลื่อนไหว (Animation)   ข) รายละเอียดแบบจำลอง AQUASEA - สมมุติฐานเบื้องต้นสำหรับจำลอง มีดังนี้ • ค่าความเสียดทานของท้องน้ำคงที่ (Bed Resistance Coefficients ) • การไหลของกระแสน้ำไม่คำนึงถึงความเร็วลม • กระแสน้ำแปรเปลี่ยนไปตามระดับน้ำขึ้นน้ำลง (Tidal Variation) • ลักษณะการไหลของกระแสน้ำชนิด Steady flow • ความเร็วกระแสน้ำพิจารณาที่ความลึกเฉลี่ย - สมการที่ใช้ในแบบจำลองการไหลเวียนของกระแสน้ำ (Hydrodynamic Model) • สมการต่อเนื่อง (Continuity Equation) สามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้    (uH ) + (vH ) + =Q x y t (1) H = h + (2) กรมทางหลวงชนบท 3-104 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน การรวบรวมข้อมูล แผนที่ความลึกท้องน้ำ สถานีวัดระดับน้ำอย่างน้อย 2 สถานี สภาพกายภาพของพื้นที่โครงการ การสำรวจและเก็บข้อมูลในภาคสนาม ความเร็วกระแสน้ำและทิศทางการไหล ระดับน้ำ เก็บตัวอย่างตะกอนดินพื้นท้องน้ำ การวิเคราะห์แบบจำลอง AQUASEA กำหนด Boundary Condition ขอบเขตพื้นที่โครงการ ไม่ถูกต้อง Calibration Model ผลการตรวจวัด ถูกต้อง การไหลเวียนของกระแสน้ำ การแพร่กระจายของ ตะกอนแขวนลอย วิเคราะห์การไหลเวียนของกระแสน้ำ ประเมินผลกระทบ ก่อนมีโครงการ หลังมีโครงการ มาตรการป้องกัน เปรียบเทียบผลต่าง ประเมินผลกระทบ สรุปและเสนอแนะ รูปที่ 3.2.4-6 ขั้นตอนและวิธีการศึกษาแบบจำลอง AQUASEA กรมทางหลวงชนบท 3-105 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน เมื่อ h = ความลึกน้ำเฉลี่ย (ม.) = การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำ (ม.) H= ความลึกน้ำ (ม.) u = ความเร็วกระแสน้ำในทิศทางแกน x (ม./วินาที) v = ความเร็วกระแสน้ำในทิศทางแกน y (ม./วินาที) t = ระยะเวลา (วินาที) Q = ปริมาณน้ำ (ลบ.ม./วินาที) • สมการโมเมนต์ตัม (Momentum Equation) การเปลี ่ ย นแปลงความดั น hydrostatic pressure ในแนวดิ ่ ง เขี ย นเป็ น สมการโมเมนต์ตัมในทิศทางแกน x และแกน y ได้ดังนี้ u u u  g k Q +u +v = −g + fv − (u 2 + v 2 )1 / 2 u + Wx W − (u − u0 ) (3) t x y x HC 2 H H u v v  g k Q + u + v = −g − fu − (u 2 + v 2 )1 / 2 v + Wy W − (v − v0 ) (4) t x y y HC 2 H H ค่า Coriolis พารามิเตอร์ f , สามารถอธิบายได้ดังนี้ f = 2 sin  (5) เมื่อ  เป็นค่าละติจูด (Latitude) และ  เป็นอัตราการหมุนของโลกมีค่าเท่ากับ = 7.2722 x 10-5 (วินาที)-1 (6) สำหรับค่าแรงลมเค้นเนื่องจากแรงเฉือน (Shear stress) พารามิเตอร์, k สามารถ หาได้ดังนี้  aCD k=  (7) เมื่อ h = Mean water depth, m  = Change water level, m H = Total water depth, m u = Velocity component in X direction, m/s v = Velocity component in Y direction, m/s T = Time, second g = Acceleration of gravity, m/s2  = The Earth’s rate of rotation, s-1 = 7.272210-5  = Latitude, degree C = Chezy bottom friction coefficient, m1/2/s กรมทางหลวงชนบท 3-106 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน a = Density of air, kg/m3 CD = Wind drop coefficient  = Fluid density, kg/m3 Wx = Wind velocity in x - direction, m/s (ไม่นำมาพิจารณา) Wy = Wind velocity in y - direction, m/s (ไม่นำมาพิจารณา) W= Wind Speed, m/s (ไม่นำมาพิจารณา) uo = Velocity of discharge action in x - direction, m/s vo = Velocity of discharge action in y - direction, m/s • สมการการเคลื่อนที่ของตะกอน (The Transport Equation)   C    C  c C  HDx  +  HDy  − Hu = H + S − Q( Co − C) (8) x  x  y  y  x t เมื่อ Dx = Longitudinal dispersion coefficient, m2/s Dy = Transversal dispersion coefficient, m2/s H = Total water depth, m S = Mass flux term, kg/m3 Q = Discharge water, m3/s Co = Sediment concentration C = Suspended sediment - ข้อมูลในการนำเข้าแบบจำลอง (Data Input) ข้อมูลที่ใช้ในการนำเข้าแบบจำลอง AQUASEA ประกอบด้วย • ข้อมูลความลึกท้องน้ำ (Bathymetry) แผนที่ร่องน้ำเดินเรือ โดยกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ระวางที่ 308 ปี พ.ศ. 2534 ดังแสดงในรูปที่ 3.2.4-7 • Boundary condition สถานี ร ะดั บ น้ ำ เพื่ อกำหนดเป็ น Boundary condition 2 สถานี เป็ น สถานี ของ กรมเจ้าท่า ประกอบด้วย สถานีด้านทิศเหนือ คือสถานีวัดระดับน้ำกระบี่ และสถานีทางทิศใต้ คือ สถานีวัดระดับน้ำ หาดเจ้าไหม ซึ่งเป็นสถานีที่ดำเนินการเก็บข้อมูลระดับน้ำเป็นรายชั่วโมง เนื่องจากพื้นที่โครงการตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ การสำรวจเก็บข้อมูลจำเป็นต้อง ได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถดำเนินการได้ ดังนั้นในเบื้องต้นกลุ่มบริษัทที่ปรึกษาจึงได้รวบรวมผลการศึกษาใน บริเวณใกล้เ คียงพื้นที่โครงการมาประกอบการศึกษา และปรับแก้แบบจำลอง คือ โครงการศึกษาผลกระทบ สิ่งแวดล้อมและสำรวจออกแบบปรับปรุงท่าเรือปากเมง อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ของกรมเจ้าท่า ซึ่งดำเนินการ เมื่อปี พ.ศ. 2558 พร้อมทั้งใช้ข้อมูลการสำรวจวัดความเร็วกระแสน้ำและระดับน้ำ ในช่วงระหว่างวันที่ 25-30 พฤศจิกายน 2558 เป็นตัวแทน สำหรับใช้ในการปรับเทียบกับแบบจำลอง แต่อย่างไรก็ตาม หลังจากที่กรมอุทยาน แห่งชาติอนุญาตให้เข้าสำรวจในพื้นที่ได้แล้ว กลุ่มบริษัทที่ปรึกษาจะเร่งดำเนินการสำรวจ เพื่อยืนยันความถูกต้อง ของแบบจำลองต่อไป (Verified model) กรมทางหลวงชนบท 3-107 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.4-7 แผนที่ร่องน้ำเดินเรือ ระวาง 308 ของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ในการศึกษาครั้งนี้ กำหนดให้สถานีวัดระดับน้ำกระบี่ เป็น Upper Stream Boundary และสถานีหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง เป็น Down Stream Boundary ดังแสดงในรูปที่ 3.2.4-8 โดยการศึกษา จะแบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 กำหนดให้พื้นที่ขนาดใหญ่ (AREA 1) มีขนาด 90X83 กิโลเมตร เพื่อใช้ ปรั บ แก้ แบบจำลอง สำหรั บ ส่ วนที่ 2 ได้ กำหนดเป็ นพื้ นที่ ศึกษาการเปลี่ ยนแปลงของกระแสน้ ำจากกิ จกรรม ของสะพานข้ามเกาะลันตา (AREA 2) มีขนาด 4X12 กิโลเมตร รายละเอียดของแผนที่ความลึกท้องทะเลในพื้นที่ 1 (AREA 1) และพื้นที่ 2 (AREA 1) แสดงไว้ในรูปที่ 3.2.4-9 และรูปที่ 3.2.4-10 ตามลำดับ กรมทางหลวงชนบท 3-108 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Upper Stream Boundary condition AREA 1 พื้นที่โครงการ AREA 2 สถานีปากเมง สถานีวัดน้ำกระบี่ สถานีวัดน้ำหาดเจ้าไหม โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสำรวจออกแบบ ปรับปรุงท่าเรือปากเมง อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง Down Stream Boundary condition ที่มา : กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ้ ยแบบจำลอง รูปที่ 3.2.4-8 แผนที่แสดงขอบเขตของการศึกษาวิเคราะห์ดว กรมทางหลวงชนบท 3-109 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.4-9 แผนที่แสดงความลึกท้องทะเลในพื้นที่ 1 (AREA 1) กรมทางหลวงชนบท 3-110 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.4-10 แผนที่แสดงความลึกท้องทะเลในพื้นที่ 2 (AREA 2) - การปรับแก้แบบจำลองการเปลีย ่ นแปลงกระแสน้ำ (Calibrate) • ข้อมูลที่ใช้ในการปรับแก้แบบจำลองคณิตศาสตร์ ค่า Bottom friction จาก Chezy coefficient หรือ Manning coefficient • ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยันความถูกต้องของแบบจำลองคณิตศาสตร์ ค) การปรับเทียบแบบจำลอง การปรับเทียบแบบจำลองในครั้งนี้ที่ปรึกษาได้ทำการตรวจวัดระดับน้ำ ความเร็ว กระแสน้ำและทิศทางการไหลของกระแสน้ำรายชั่วโมงจำนวน 3 วันต่อเนื่อง ในพื้นที่โครงการกลางคลองตำแหน่ง จุดตรวจวัด ดังแสดงรูปที่ 3.2.4-11 โดยในบริเวณพื้นที่สำรวจตั้งอยู่ในเขตอนุรักษ์ฯ ก่อนการดำเนินการสำรวจที่ ปรึกษาได้ทำการขออนุญาตเข้าสำรวจในพื้นที่แล้ว การสำรวจดำเนินการเริ่มตั้งแต่เวลา 8.00 น. ของวันที่ 15 มกราคม 2564 ถึงเวลา 9.00 น. ของวันที่ 19 มกราคม 2564 อุปกรณ์ที่ใช้ตรวจวัดค่าระดับน้ำ และกระแสน้ำ เป็นเครื่องวัดกระแสน้ำรุ่น Valeport 106 ตรวจวัดกระแสน้ำที่พิกัด U.T.M. 849 539 N และ 511 013 (ละติจูด 7º 41’ 8.0628” N ลองติจูด 99º 05’ 59.503” E) ทำการวัดทุกต้นชั่วโมงที่ระดับความลึก 0.50 เมตร ใต้ผิวน้ำ ระดับกึ่งกลางน้ำ และระดับความลึก 0.50 เมตร เหนือท้องน้ำ โดยวิธีการตรวจวัดกระแสน้ ำจะใช้เรือทิ้งสมอจอดที่กลางลำน้ำ จากนั้นทำการหย่อน เครื่องมือตรวจวัดกระแสน้ำทั้ง 3 ระดับ และทำการตรวจวัดทุกๆ ชั่วโมง ต่อเนื่อง 3 วัน และการตรวจวัดระดับน้ำ โดยการติดตั้งเครื่องมือวัดระดับน้ำอัตโนมัติที่บริเวณด้านข้างท่าเทียบเรือข้ามฝากไปเกาะลันตา ภาพแสดงการ ตรวจวัดกระแสน้ำและค่าระดับน้ำของโครงการ ดังแสดงรูปที่ 3.2.4-12 ซึ่งผลการตรวจวัดค่าระดับน้ำ และ กระแสน้ำดังแสดงไว้ ตารางที่ 3.2.4-8 และรูปที่ 3.2.4-13 ถึงรูปที่ 3.2.4-15 จากผลการวิเคราะห์ พบว่า ค่ าความถู กต้ อง ( Correlation Coefficient) ของค่ า ระดั บ น้ ำ ความเร็ ว กระแสน้ ำ และทิ ศ ทางการไหลจาก แบบจำลอง มีค่าเป็น 0.988, 0.905 และ 0.833 ตามลำดับ ซึ่งถือว่ามีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากมีค่ามากกว่า 0.80 กรมทางหลวงชนบท 3-111 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สรุปในบริเวณพื้นที่โครงการระดับน้ำมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ +2.425 ม.รทก. ความเร็ว กระแสน้ำเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ -0.044 เมตร/วินาที ในช่วงน้ำขึ้นทิศทางการไหลไปทางทิศตะวันออก (89.2 องศา) ความเร็วเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 0.220 เมตร/วินาที และสูงสุดเท่ากับ 0.450 เมตร/วินาที ส่วนในช่วงน้ำลงทิศทาง การไหลไปทางทิศตะวันตก (251.1 องศา) ความเร็วเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 0.280 เมตร/วินาที และสูงสุดเท่ากับ 0.464 เมตร/วินาที ส่วนผลการวิเคราะห์ความเร็วกระแสน้ำในช่วงน้ำขึ้นและน้ำลง ตามลำดับ รูปที่ 3.2.4-11 ตำแหน่งจุดติดตั้งเครื่องมือสำรวจความสูงคลื่น ความเร็วกระแสน้ำ และระดับน้ำ ง) การวิเคราะห์การไหลเวียนกระแสน้ำในสภาพกรณีไม่มีโครงการ จากการจำลองการไหลเวียนกระแสน้ำด้วยแบบจำลอง พบว่า ในบริเวณพื้นที่โครงการ ในช่วงน้ำขึ้น ทิศทางของกระแสน้ำมีทิศทางไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และช่วงน้ำลงมีทิศทางไหล ไปทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ดังแสดง รูปที่ 3.2.4-16 ถึงรูปที่ 3.2.4-18 การไหลเวียนของกระแสน้ำบริ เวณพื้นที่ โครงการในช่ วงชั่ วโมงต่างๆ พบว่ า การไหลเวียนของกระแสน้ำเปลี่ ยนไปตามการขึ้ น -ลงของระดับน้ำทะเล โดยในรอบ 12 ชั่วโมง มีน้ำขึ้นและน้ำลงวันละ 1 ครั้ง กรมทางหลวงชนบท 3-112 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน เครื่องมือตรวจวัดกระแสน้ำและการติดตั้ง เครื่องมือวัดระดับน้ำและการติดตั้ง รูปที่ 3.2.4-12 แสดงการตรวจวัดกระแสน้ำและค่าระดับน้ำของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-113 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 4.5 Corr. Coe. = 0.988 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0 15/01/2020 0:00 16/01/2020 0:00 17/01/2020 0:00 18/01/2020 0:00 19/01/2020 0:00 รูปที่ 3.2.4-13 ผลการเปรียบเทียบระดับน้ำจากการสำรวจกับจากแบบจำลอง 0.6 Corr. Coe. = 0.905 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 -0.6 15/01/2020 0:00 16/01/2020 0:00 17/01/2020 0:00 18/01/2020 0:00 19/01/2020 0:00 รูปที่ 3.2.4-14 ผลการเปรียบเทียบความเร็วกระแสน้ำจากการสำรวจกับจากแบบจำลอง 360 Corr. Coe. = 0.833 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2020 0:00 16/01/2020 0:00 17/01/2020 0:00 18/01/2020 0:00 19/01/2020 0:00 รูปที่ 3.2.4-15 ผลการเปรียบเทียบทิศทางการไหลของกระแสน้ำจากการสำรวจกับจากแบบจำลอง กรมทางหลวงชนบท 3-114 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.4-8 ผลการปรับเทียบค่าระดับน้ำ ความเร็วกระแสน้ำและทิศทางการไหลของกระแสน้ำ ของแบบจำลอง ช่วงระหว่างวันที่ 15-18 มกราคม 2564 ระดับน้ำ (ม.รทก.) ความเร็วกระแสน้ำ (ม./วิ.) ทิศงทางการไหล (องศาเหนือ) เวลา / วัน Model Observed Model Observed Model Observed 15/01/2020 9:00 2.078 2.000 0.213 0.220 68.5 69.0 15/01/2020 10:00 3.008 2.660 0.044 0.170 63.6 65.0 15/01/2020 11:00 3.640 3.220 0.062 0.050 97.7 95.2 15/01/2020 12:00 3.717 3.450 -0.211 -0.285 275.3 234.2 15/01/2020 13:00 3.579 3.370 -0.253 -0.371 239.2 233.2 15/01/2020 14:00 3.496 3.110 -0.357 -0.400 249.3 241.3 15/01/2020 15:00 3.173 2.630 -0.411 -0.335 249.5 265.8 15/01/2020 16:00 2.442 2.100 -0.271 -0.283 251.7 244.9 15/01/2020 17:00 1.747 1.570 -0.199 -0.146 253.9 239.6 15/01/2020 18:00 1.319 1.130 0.031 0.197 32.9 73.3 15/01/2020 19:00 1.039 1.130 0.411 0.394 66.6 90.4 15/01/2020 20:00 1.395 1.590 0.368 0.225 68.2 89.9 15/01/2020 21:00 2.208 2.220 0.268 0.195 68.0 71.8 15/01/2020 22:00 3.098 2.930 0.100 0.240 67.2 75.6 15/01/2020 23:00 3.934 3.530 0.025 0.162 35.0 109.4 16/01/2020 0:00 4.174 3.870 -0.145 -0.079 312.8 296.8 16/01/2020 1:00 4.046 3.910 -0.168 -0.079 261.3 248.7 16/01/2020 2:00 3.933 3.630 -0.347 -0.346 251.0 252.1 16/01/2020 3:00 3.451 3.040 -0.392 -0.430 250.1 259.3 16/01/2020 4:00 2.634 2.310 -0.343 -0.399 250.4 257.2 16/01/2020 5:00 1.905 1.630 -0.295 -0.351 251.2 255.8 16/01/2020 6:00 1.295 1.110 -0.225 0.087 254.3 42.5 16/01/2020 7:00 0.850 0.890 0.330 0.450 65.8 51.0 16/01/2020 8:00 0.920 1.150 0.396 0.350 68.4 82.1 16/01/2020 9:00 1.552 1.740 0.283 0.235 68.7 80.5 16/01/2020 10:00 2.447 2.330 0.119 0.150 72.0 64.6 16/01/2020 11:00 3.205 2.890 0.039 0.075 65.0 74.7 16/01/2020 12:00 3.758 3.340 -0.176 -0.028 260.7 249.6 16/01/2020 13:00 3.749 3.420 -0.196 -0.304 264.5 235.6 16/01/2020 14:00 3.459 3.270 -0.225 -0.408 255.4 252.5 16/01/2020 15:00 3.221 2.910 -0.283 -0.423 249.5 252.7 16/01/2020 16:00 2.780 2.390 -0.285 -0.305 250.4 244.5 16/01/2020 17:00 2.236 1.910 -0.334 -0.228 250.0 227.6 16/01/2020 18:00 1.699 1.460 -0.236 -0.046 253.6 195.9 16/01/2020 19:00 1.199 1.230 0.354 0.340 65.3 63.6 16/01/2020 20:00 1.298 1.420 0.365 0.350 67.7 68.1 16/01/2020 21:00 1.946 1.940 0.230 0.300 67.8 82.0 16/01/2020 22:00 2.680 2.530 0.129 0.205 67.7 85.4 16/01/2020 23:00 3.412 3.160 0.077 0.175 66.0 82.2 กรมทางหลวงชนบท 3-115 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.4-8 ผลการปรับเทียบค่าระดับน้ำ ความเร็วกระแสน้ำและทิศทางการไหลของกระแสน้ำ ของแบบจำลอง ช่วงระหว่างวันที่ 15-18 มกราคม 2564 (ต่อ) ระดับน้ำ (ม.รทก.) ความเร็วกระแสน้ำ (ม./วิ.) ทิศงทางการไหล (องศาเหนือ) เวลา / วัน Model Observed Model Observed Model Observed 17/01/2020 0:00 4.014 3.670 -0.151 0.155 280.6 141.7 17/01/2020 1:00 4.124 3.830 -0.195 -0.275 256.5 289.5 17/01/2020 2:00 3.916 3.730 -0.201 -0.425 254.7 248.0 17/01/2020 3:00 3.621 3.340 -0.295 -0.442 250.8 255.4 17/01/2020 4:00 3.128 2.680 -0.383 -0.340 249.7 252.5 17/01/2020 5:00 2.445 2.000 -0.364 -0.203 250.1 249.3 17/01/2020 6:00 1.744 1.440 -0.231 -0.041 253.7 245.1 17/01/2020 7:00 1.209 1.040 0.023 0.192 25.0 56.0 17/01/2020 8:00 0.934 1.080 0.419 0.436 66.3 61.6 17/01/2020 9:00 1.204 1.540 0.384 0.235 68.4 102.7 17/01/2020 10:00 2.043 2.060 0.215 0.130 68.1 112.7 17/01/2020 11:00 2.894 2.610 0.042 0.180 61.3 86.0 17/01/2020 12:00 3.490 3.130 -0.165 0.114 261.1 82.5 17/01/2020 13:00 3.728 3.410 -0.153 -0.182 277.2 237.3 17/01/2020 14:00 3.591 3.340 -0.182 -0.394 256.1 259.4 17/01/2020 15:00 3.352 3.120 -0.238 -0.401 250.5 269.6 17/01/2020 16:00 3.014 2.730 -0.292 -0.291 249.9 265.8 17/01/2020 17:00 2.493 2.240 -0.280 -0.289 250.9 278.0 17/01/2020 18:00 1.928 1.770 -0.236 -0.282 252.1 200.1 17/01/2020 19:00 1.480 1.410 0.080 0.146 59.4 163.8 17/01/2020 20:00 1.250 1.370 0.386 0.212 66.7 86.9 17/01/2020 21:00 1.622 1.730 0.293 0.329 67.8 94.0 17/01/2020 22:00 2.315 2.190 0.126 0.074 67.9 94.9 17/01/2020 23:00 2.951 2.720 0.055 0.085 65.1 80.6 18/01/2020 0:00 3.463 3.280 0.050 0.055 59.5 122.0 18/01/2020 1:00 3.772 3.570 0.022 -0.150 10.6 265.0 18/01/2020 2:00 3.876 3.600 -0.198 -0.317 253.7 252.0 18/01/2020 3:00 3.737 3.420 -0.255 -0.421 251.4 244.3 18/01/2020 4:00 3.353 2.950 -0.370 -0.464 250.0 264.6 18/01/2020 5:00 2.669 2.310 -0.347 -0.326 250.5 265.5 18/01/2020 6:00 1.954 1.710 -0.251 -0.224 251.7 275.5 18/01/2020 7:00 1.424 1.260 -0.167 -0.175 264.3 239.0 18/01/2020 8:00 1.061 1.150 0.328 0.375 65.6 98.9 18/01/2020 9:00 1.190 1.440 0.354 0.400 67.9 137.8 เฉลี่ย - 2.425 - -0.044 - 172.4 เฉลี่ยช่วงน้ำขึ้น - - - 0.220 - 89.2 เฉลี่ยช่วงน้ำลง - - - -0.280 - 251.1 สูงสุดช่วงน้ำขึ้น - - - 0.450 - - สูงสุดช่วงน้ำลง - - - -0.464 - - ที่มา : จากการวิเคราะห์ของกลุ่มบริษัทที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 3-116 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 854000 852000 850000 848000 FLOOD TIDE 502000 504000 506000 508000 510000 512000 514000 รูปที่ 3.2.4-16 ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำในช่วงน้ำขึ้นในสภาพไม่มีโครงการ 854000 852000 850000 848000 EBB TIDE 502000 504000 506000 508000 510000 512000 514000 รูปที่ 3.2.4-17 ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำในช่วงน้ำลงในสภาพไม่มีโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-117 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 1 hour 2 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 3 hour 4 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 5 hour 6 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 รูปที่ 3.2.4-18 การไหลเวียนของกระแสน้ำในพื้นที่โครงการในชั่วโมงต่างๆ ในสภาพไม่มีโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-118 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 7 hour 8 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 9 hour 10 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 11 hour 12 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 รูปที่ 3.2.4-18 การไหลเวียนของกระแสน้ำในพื้นที่โครงการในชั่วโมงต่างๆ ในสภาพไม่มีโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-119 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.2.5 อากาศและบรรยากาศ 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาข้อมูลอุตุนิยมวิทยาโดยทั่วไปและคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ศึกษาในปัจจุบัน (2) เพื่อศึกษาคุณภาพอากาศปัจจุบันก่อนการพัฒนาโครงการในบริเวณพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม หรื อพื้ น ที่ ที่ คาดว่ าจะได้ รับ ผลกระทบจากโครงการ ซึ่ ง เป็ นตั วแทนในพื้น ที่ ศึ กษา โดยนำไปเปรี ย บเทีย บกับ ค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (3) เพื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์และประเมินปริมาณมลพิษทางอากาศที่ปล่อยออกมาจากแหล่งกำเนิด ต่างๆ จากกิจกรรมของโครงการ และปริมาณมลพิษทางอากาศสืบเนื่องจากโครงการ ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ โดยการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ 2) วิธีการศึกษา (1) รวบรวมข้อมูลสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ศึกษาโดยใช้ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาจากสถานีตรวจวัด อากาศในคาบ 30 ปี ของสถานีตรวจอากาศในเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นสถานีที่อยู่ใกล้กับพื้นที่โครงการ มากที่สุด โดยข้อมูลที่รวบรวมประกอบด้วยอุณหภูมิ ปริมาณน้ำฝน ความชื้นสัมพัทธ์ อัตราการระเหยของน้ำ ทิศทาง และความเร็วลม และอื่นๆ (2) รวบรวมข้อมูลคุณภาพอากาศจากการตรวจวัดของหน่วยงานต่างๆ ในบริเวณแนวเส้นทางโครงการ และบริเวณใกล้เคียง (3) วิเคราะห์ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา อาทิ ความถี่ของความเร็วและทิศทางลม เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการคาดการณ์ระดับของสารมลพิษทางอากาศในอนาคต (4) ทำการตรวจวัดคุณภาพอากาศ เป็นเวลา 3 วันต่อเนื่อง จำนวน 2 ครั้ง (ครอบคลุมในวันทำการ 2 วัน และวันหยุด 1 วัน) โดยพิจารณาจากพื้นที่อ่อนไหวในพื้นที่ศึกษาโครงการที่ตั ้งอยู ่ในพื้นที่ ศึกษา ระยะ 500 เมตร ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากการดำเนินโครงการ ทั้งในระยะก่อสร้า งและระยะดำเนินการ ซึ่งจาก การสำรวจพื้นที่ศึกษาโครงการ พบพื้นที่อ่อนไหว จำนวน 4 แห่ง โดยบริเวณจุดสิ้นสุดโครงการไม่มีพื้นที่อ่อนไหว พื้นที่ชุมชนและระบบไฟฟ้า จึงเลือกชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงจุดสิ้นสุดโครงการเป็นจุดตรวจวัด แสดงดังรูปที่ 3.2.5-1 แสดงดังตารางที่ 3.2.5-1 ดังนั้น การตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่โครงการครั้งนี้ จึงได้วางกรอบแนวทาง ในการพิจารณาคัดเลือกสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ คือ เป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการ และคาดว่า จะได้รับผลกระทบจากกิจกรรมการพัฒนาโครงการ โดยเป็นจุดที่มีกิจกรรมของโครงการที่จะก่อให้เกิดผลกระทบ มากที่สุด เพื่อเป็นตัวแทนของพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในบริเวณต่างๆ ในกรณีเลวร้ายสุด ( Worst Case) ซึ่งในการ พิจารณาคัดเลือกสถานที่ติดตั้งจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศจะต้องเป็นพื้นที่เปิดหรือค่อนข้างโล่งและมีบริเวณพื้นที่ เพียงพอที่สามารถติดตั้งอุปกรณ์ได้ สถานที่ติดตั้งจุดตรวจวัดดังกล่าวจะต้องได้รับความร่วมมือจากเจ้าของพื้นที่ นั้นๆ กรมทางหลวงชนบท 3-120 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.2.5-1 จุดสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน กรมทางหลวงชนบท 3-121 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-1 จุดตรวจวัดด้านคุณภาพอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน ระยะห่าง จากจุด ตำแหน่งจาก ลำดับ จุดตรวจวัด ประเภท ตำบล อำเภอ จังหวัด กึ่งกลาง แนวเส้นทาง โครงการ (เมตร) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 1 ชุมชน เกาะกลาง เกาะลันตา กระบี่ 199 ขวา (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 2 ชุมชน เกาะกลาง เกาะลันตา กระบี่ 25 ซ้าย (บ้านท่าเรือ) 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน เกาะลันตาน้อย เกาะลันตา กระบี่ 683 ซ้าย 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศานสถาน เกาะลันตาน้อย เกาะลันตา กระบี่ 962 ซ้าย (5) ดัชนีตรวจวัดคุณภาพอากาศ วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ แสดงดัง ตารางที่ 3.2.5-2 การตรวจวัดมลสารและวิธีวิเคราะห์ดังกล่าวจะใช้วิธีที่รับรองโดยกรมควบคุมมลพิษและสำนักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 3.2.5-2 ดัชนีตรวจวัดคุณภาพอากาศของโครงการ ดัชนีตรวจวัด วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ 1. ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) High Volume Air Sampler Gravimetric 2. ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) High Volume PM-10 Air Sampler Gravimetric 3. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) CO Analyzer Non-Dispersive Infrared Photometric Method 4. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) NO2 Analyzer Chemiluminescence Method 5. ความเร็วและทิศทางลม Wind Speed & Wind Direction Wind Speed & (Wind Speed & Wind Direct) Sensor Wind Direction Sensor หมายเหตุ : ดัชนีคุณภาพอากาศที่ตรวจวัด วิธีการเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์ ดำเนินการตามข้อกำหนด ของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) /กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) (6) นำผลที่ได้จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศไปเปรียบเทียบกับอ้างอิงเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป แสดงดังตารางที่ 3.2.5-3 ส่วนความเร็วลมนำไปเปรียบเทียบกับอ้างอิงเกณฑ์ ความเร็วลมที่ระดับสูงมาตรฐาน 10 เมตร เหนือพื้นดินในบริเวณที่โล่งแจ้ง ของกรมอุตุนิยมวิทยา (2554) แสดงดัง ตารางที่ 3.2.5-4 กรมทางหลวงชนบท 3-122 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-3 มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ค่าเฉลี่ยความ สารมลพิษ ค่ามาตรฐาน ที่มา เข้มข้นในเวลา 1. ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 100 ไมครอน 24 ชม. ไม่เกิน 0.33 มก./ลบ.ม. 1,2 (TSP) 1 ปี ไม่เกิน 0.10 มก./ลบ.ม. 2. ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน 24 ชม. ไม่เกิน 0.12 มก./ลบ.ม. 1,2 (PM10) 3. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) 1 ชม. ไม่เกิน 30 ppm. (34.2 มก./ลบ.ม.) 1 8 ชม. ไม่เกิน 9 ppm. (10.26 มก./ลบ.ม) 4. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) 1 ชม. ไม่เกิน 0.17 ppm. (0.32 มก./ลบ.ม.) 1,3,4 1 ปี ไม่เกิน 0.03 ppm. (0.057 มก./ลบ.ม.) ที่มา : ดัดแปลงจาก 1. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2538) เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศใน บรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 52ง. วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 2. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพอากา ศใน บรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 121 ตอนพิเศษ 104 ง. วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2547 3. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 28 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศใน บรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 58ง วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 4. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2552) เรื่อง กำหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนได ออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 114ง วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552 5. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 36 (พ.ศ. 2553) เรื่อง กำหนดมาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ์ในบรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 37ง วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2553 หมายเหตุ : 1. มาตรฐานค่าเฉลี่ยระยะสั้น (1 , 8 และ 24 ชั่วโมง) กำหนดขึ้นเพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยอย่างเฉียบพลัน (acute effect) 2. มาตรฐานค่าเฉลี่ยระยะยาว (1 เดือน และ 1 ปี) กำหนดขึ้นเพื่อป้องกันผลกระทบยาวหรือผลกระทบเรื้อรังที่อาจเกิดขึ้นต่อ สุขภาพอนามัย (chronic effect) กรมทางหลวงชนบท 3-123 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-4 เกณฑ์ความเร็วลมที่ระดับสูงมาตรฐาน 10 เมตร เหนือพื้นดินในบริเวณที่โล่งแจ้ง นอต กม./ชม. เมตร/วินาที ขนาดของลม สัญญลักษณ์ที่แสดงบนบก (knots) (km./hr.) (m/s) ลมสงบ CALM ลมเงียบ ควันลอยขึ้นตรงๆ น้อยกว่า 1 น้อยกว่า 1 น้อยกว่า 0.28 ลมเบา LIGHT AIR ควันลอยตามลม แต่ศรลมไม่หันไปตามทิศลม 1-3 1-5 0.3 - 1.4 ลมอ่อน LIGHT BREEZE รู้สึกลมพัดที่ใบหน้า ใบไม้แกว่งไกว 4-6 6 - 11 1.7 - 3.2.2 ศรลมหันไปตามทิศทางลม ลมโชย GENTLE BREEZE ใบไม้และกิ่งไม้เล็กๆ กระดิก ธงปลิว 7 - 10 12 - 19 3.3 - 5.3 ลมปานกลาง MODERATE BREEZE มีฝุ่นตลบ กระดาษปลิว กิ่งไม้เล็กขยับเขยื้อน 11 - 16 20 - 28 5.6 - 7.8 ลมแรง FRESH BREEZE ต้นไม้เล็กแกว่งไกวไปมา มีระลอกน้ำ 17 - 21 29 - 38 8.1 - 10.6 ลมจัด STRONG BREEZE กิ่งไม้ใหญ่ขยับเขยื้อน ได้ยินเสียงหวีดหวิว 22 - 27 39 - 49 10.8 - 13.6 ใช้ร่มลำบาก พายุเกลอ่อน NEAR GALE ต้นไม้ใหญ่ทั้งต้นแกว่งไกว เดินทวนลม ไม่สะดวก 28 - 33 50 - 61 13.9 - 16.9 พายุเกล GALE กิ่งไม้หัก ลมต้านการเดิน 34 - 40 62 - 74 17.2 - 20.6 พายุเกลแรง STRONG GALE อาคารที่ไม่มั่นคงหักพัง หลังคาปลิว 41 - 47 75 - 88 20.8 - 24.4 พายุ STORM ต้นไม้ถอนรากล้ม เกิดความเสียหายมาก 48 - 55 89 - 102 24.7 - 28.3 (ไม่ปรากฏบ่อยนัก) พายุใหญ่ VIOLENT STORM 56 - 63 103 - 117 28.6 - 32.5 พายุไต้ฝุ่น TYPHOON or เกิดความเสียหายทั่วไป (ไม่ค่อยปรากฏ) มากกว่า มากกว่า มากกว่า หรือเฮอร์ริเคน HURRICANE 63 117 32.5 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา, 2554 3) ผลการศึกษา (1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ สภาพภูมิ อากาศ จากการศึ กษาและรวบรวมข้อมูลสภาพภูมิ อากาศและอุ ตุนิ ยมวิทยาของ สถานีตรวจวัดอากาศเกาะลันตา กรมอุตุนิยมวิทยา ย้อนหลัง 30 ปี (พ.ศ. 2533-2562) (ตารางที่ 3.2.5-5) สรุปลักษณะภูมิอากาศที่สำคัญได้ดังนี้ - สภาพอุตุนิยมวิทยา ลักษณะภูมิอากาศ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน แบ่งออกเป็น 2 ฤดู คือ ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนถึงเดือนธันวาคม รวมระยะเวลา 7-9 เดือน ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ จะมีฝนตกอย่างสม่ำเสมอ และฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่มกราคมไปจนถึงกลางเดือนเมษายน จังหวัดกระบี่ เป็นจังหวัดที่มีฝนตกชุกในฤดูฝน เนื่องจากจังหวัดกระบี่เป็นจังหวัดที่อยู่ใกล้ทะเล อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีมีค่าคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก เพราะอยู่ทางด้านรับลม จึงได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ มตะวันตกเฉียงใต้ ซึ ่งพัด ผ่ า น มหาสมุทรอินเดียอย่างเต็มที่ แสดงดังรูปที่ 3.2.5-2 - ความกดอากาศ ความกดอากาศที่สถานีตรวจวัดอากาศเกาะลันตา ซึ่งมีระดับความสูง 2 ม.รทก. มีค่าเฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ 1,009.8 เฮคโตปาสคาล ในเดือนมีนาคม พบว่า มีค่าความกดอากาศเฉลี่ยสูงที่สุด อยู่ที่ 1,019.8 เฮคโตปาสคาล และในเดือนตุลาคมมีค่าความกดอากาศเฉลี่ยต่ำ สุดที่ 999.4 เฮคโตปาสคาล - อุณหภูมิ ในคาบ 30 ปี ของสถานีตรวจวัดอากาศเกาะลันตาแสดงอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 28.1 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 32.2 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุดอยู่ที่ 24.7 องศาเซลเซียส - ความชื้นสัมพัทธ์ ในคาบ 30 ปี ของสถานีตรวจวั ดอากาศเกาะลันตา แสดงค่าเฉลี่ยทั้งปี ของความชื้นสัมพัทธ์เท่ากับ 81.2 เปอร์เซ็นต์ ค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ที่ 91.3 เปอร์เซ็นต์ และค่าเฉลี่ยต่ำสุด 68.9 เปอร์เซ็นต์ กรมทางหลวงชนบท 3-124 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-5 สถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2533-2562) ของสถานีตรวจอากาศเกาะลันตา สถานี เกาะลันตา ระดับของสถานีเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง 2 เมตร รหัสสถานี 48566 ความสูงของบาร์โรมิเตอร์เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง 5.5 เมตร ละติจูด 7° 32' 0.0" เหนือ ความสูงของเทอร์โมมิเตอร์เหนือพื้นดิน 1.8 เมตร ลองติจูด 99° 3' 0.0" ตะวันออก ความสูงของเครื่องวัดลมเหนือพื้นดิน 11.87 เมตร ความสูงของเครื่องวัดน้ำฝน 1 เมตร จำนวน ข้อมูล ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รายปี (ปี) เฉลี่ย 30 1,010.8 1,010.6 1,009.9 1,009.2 1,008.8 1,008.8 1,009.1 1,009.4 1,010 1,010.1 1,009.8 1,010.5 1,009.8 ความกดอากาศ พิสัยรายวันเฉลี่ย 30 4 4.2 4.3 4.2 3.6 3.1 3.1 3.2 3.7 4 4 3.9 3.78 (เฮคโตปาสคาล) สูงที่สุด 30 1,019.8 1,016.7 1,017.6 1,016.2 1,013.6 1,015.3 1,014.3 1,015.7 1,016.5 1,017.6 1,016.2 1,016.9 1,019.8 ต่ำที่สุด 30 999.4 1,004.2 1,003.3 1,003.4 1,003.4 1,003.7 1,003.4 1,004.1 1,004.1 1,003.9 1,002.8 1,004.3 999.4 เฉลี่ยสูงที่สุด 30 32.6 33.5 34 33.7 32.6 31.9 31.6 31.2 30.9 31.1 31.3 31.4 32.2 สูงที่สุด 30 35.9 37 38 38.5 38 35 35 34.5 34 35 34.7 35 38.5 อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) เฉลี่ยต่ำที่สุด 30 24.1 24.3 24.7 25.1 25.4 25.3 25.1 25.2 24.8 24.5 24.3 23.9 24.7 ต่ำที่สุด 30 19 18.9 20 21.5 22.2 22 21.5 0 21.7 21.2 21 19.5 0 เฉลี่ย 30 27.7 28.2 28.8 29 28.9 28.5 28.3 28.2 27.8 23 27.2 27.1 28.1 จุดน้ำค้าง (องศาเซลเซียส) เฉลี่ย 30 22.8 22.9 24 25 25.5 25.3 25 25 24.9 24.6 24.2 23.2 24.4 เฉลี่ย 30 76 74 77 80 83 83 83 83 85 86 84 80 81.2 เฉลี่ยสูงที่สุด 30 88 88 90 92 92 92 92 91 93 94 93 91 91.3 ความชื้นสัมพัทธ์ (ร้อยละ) เฉลี่ยต่ำที่สุด 30 60 58 61 66 72 73 73 75 76 75 72 67 68.9 ต่ำที่สุด 30 36 32 33 31 41 55 55 56 62 57 48 46 31 เฉลี่ย 30 9.8 9.7 9.8 10.1 10.4 10.1 9.9 10 10 10.1 10 9.8 10 ทัศนวิสัย (กิโลเมตร) เวลา 07.00 น. 30 9.7 9.6 9.6 10 10.3 10 9.8 9.8 10 10 9.9 9.6 9.9 ความครึ้มของเมฆ (1-10) เฉลี่ย 30 5.1 4.4 5.1 6.3 7.5 7.8 8 8 8.2 7.9 3 6.4 6.8 กรมทางหลวงชนบท 3-125 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-5 สถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2533-2562) ของสถานีตรวจอากาศเกาะลันตา (ต่อ) สถานี เกาะลันตา ระดับของสถานีเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง 2 เมตร รหัสสถานี 48566 ความสูงของบาร์โรมิเตอร์เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง 5.5 เมตร ละติจูด 7° 32' 0.0" เหนือ ความสูงของเทอร์โมมิเตอร์เหนือพื้นดิน 1.8 เมตร ลองติจูด 99° 3' 0.0" ตะวันออก ความสูงของเครื่องวัดลมเหนือพื้นดิน 11.87 เมตร ความสูงของเครื่องวัดน้ำฝน 1 เมตร จำนวน ข้อมูล ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รายปี (ปี) ทิศทางลม 29 NE NE E W W W W W W W NE,E NE - ลม (นอต) ความเร็วลมเฉลี่ย 30 3.8 3.7 3.1 2.9 4.8 5.7 6.3 7.5 6.1 3.9 2.7 3.2 4.5 ความเร็วลมสูงสุด 30 37 38 30 30 40 47 43 50 53 54 30 30 54 ปริมาณการระเหยน้ำ รวม 29 - - - - 21.4 556.4 281.4 65.6 - - - - 924.8 จากถาด (มม.) รวม 30 30.9 24.8 77.1 120.3 222.5 276.9 287.1 337.2 323.6 286.4 141 61.6 2,189.4 จำนวนวันที่ฝนตก 30 3.9 2.3 6.1 10.5 16.1 16.6 16.7 16.8 19 20.1 14.7 9.4 152.2 ปริมาณน้ำฝน (มิลลิเมตร) ฝนสูงสุดใน 24 30 98 87 91.3 97.2 99 241.6 208.4 159 235.1 173.1 99.2 77 241.6 ชั่วโมง ชั่วโมงที่มีแสงดแดด (ชั่วโมง) เฉลี่ย 7 - - - - - - - - - - - - 0 หมอก 30 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 เมฆหมอก 30 4.3 4.7 4.8 3.8 0.6 0.1 0.3 0.1 0.1 0.2 1.2 2.6 22.8 จำนวนวันที่เกิด (วัน) ลูกเห็บ 30 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ฟ้าคะนอง 30 0.2 0.2 1.8 3.8 3 2 1.6 1.8 1.3 2.2 1.5 0.6 20 พายุฝน 30 0 0 0 0.1 0 0 0 0 0 0 0 0 0.1 กรมทางหลวงชนบท 3-126 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่ตั้งโครงการ หมายเหตุ : 1. ร่องความกดอากาศต่ำอาจมีกำลังอ่อนและไม่ปรากฏชัดเจนหรืออาจมีตำแหน่งคลาดเคลื่อนไปจากนี้ได้ 2. ที่มา : เอกสาร "The Rainfal of Thailand", A Study by Lawrence Sternstein, supported by The U.S. Army Quartermaster Corps, Research and Engineering Command, Project No.7-83-01-006. รูปที่ 3.2.5-2 ตำแหน่งร่องความกดอากาศต่ำ ทิศทางลมมรสุม และทางเดินพายุหมุนเขตร้อน กรมทางหลวงชนบท 3-127 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ความเร็วและทิศทางลม ในคาบ 30 ปี ของสถานีตรวจวัดอากาศเกาะลันตา พบว่า ค่าความ เร็วลมเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.7-7.5 นอต โดยพบค่าความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 54 นอต ในเดือนตุลาคม - ปริมาณฝน ในคาบ 30 ปี ของสถานีตรวจวัดอากาศเกาะลันตา มีค่าเฉลี่ยรายเดือนอยู่ระหว่าง 24.8-337.2 มิลลิเมตร ค่าเฉลี่ยรายปี อยู่ที่ 2,189.4 มิลลิเมตร โดยในเดือนตุลาคมมีวันที่ฝนตกมากที่สุด 20.1 วัน ส่วนเดือนกุมภาพันธ์มีวันฝนตกน้อยที่สุด 2.3 วัน และปริมาณน้ำฝนสูงสุดใน 24 ชั่วโมง เท่ากับ 241.6 มิลลิเมตร ในเดือนสิงหาคม - ทัศนวิสัย ในคาบ 30 ปี ของสถานีตรวจวัดอากาศเกาะลันตา เดือนที่มีทัศนวิสัยดีที่สด ุ คือ เดือนพฤษภาคม มีทัศนวิสัยเฉลีย ่ 10.4 กิโลเมตร ส่วนเดือนที่มีทัศนวิสัยเลวที่สุด คือ เดือนกุมภาพันธ์ มีทัศนวิสัย เฉลี่ย 9.7 กิโลเมตร (2) การสำรวจภาคสนาม ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ครั้งที่ 1 ดำเนินการตรวจวัดคุ ณภาพอากาศในพื้นที่ ศึ กษาโครงการ จำนวน 4 สถานี ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม และมัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตรวจวั ด เป็ น เวลา 3 วั น ต่ อ เนื่ อ ง เมื่ อ วั น ที่ 3-6 ธั น วาคม พ.ศ. 2563 โดยผลการตรวจวั ด คุ ณ ภาพอากาศ สรุปได้ดังตารางที่ 3.2.5-6 และรูปที่ 3.2.5-3 (ภาคผนวก ช) มีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 3.2.5-6 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษาโครงการ (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) * TSP * PM10 ** CO ** NO2 สถานีตรวจวัด วันที่ตรวจวัด (mg/m3) (mg/m3) (ppm) (ppm) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 3-4 ธ.ค. 2563 0.034 0.023 0.3 0.0054 (ก่อนเข้าท่าเรือ) (ST1) 4-5 ธ.ค. 2563 0.032 0.022 0.4 0.0054 5-6 ธ.ค. 2563 0.035 0.024 0.4 0.0056 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 3-4 ธ.ค. 2563 0.040 0.026 0.4 0.0108 (บ้านท่าเรือ) (ST2) 4-5 ธ.ค. 2563 0.040 0.024 0.4 0.0090 5-6 ธ.ค. 2563 0.032 0.021 0.4 0.0141 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 3-4 ธ.ค. 2563 0.025 0.019 0.5 0.0087 (ST3) 4-5 ธ.ค. 2563 0.024 0.021 0.4 0.0091 5-6 ธ.ค. 2563 0.024 0.019 0.4 0.0088 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม 3-4 ธ.ค. 2563 0.024 0.019 0.3 0.0051 (ST4) 4-5 ธ.ค. 2563 0.029 0.021 0.3 0.0048 5-6 ธ.ค. 2563 0.026 0.018 0.4 0.0051 ค่ามาตรฐาน 0.33[1] 0.12[1] 30.0[2] 0.17[3] หมายเหตุ : * ค่าเฉลีย ่ 24 ชั่วโมง ** ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง มาตรฐาน [1] : มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 มาตรฐาน [2] : มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 1 ชั่วโมง ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 ่ ไปในเวลา 1 ชั่วโมง ประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มาตรฐาน [3] : มาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทัว ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 กรมทางหลวงชนบท 3-128 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.2.5-3 การตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษาโครงการ ครั้งที่ 1 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) ก) สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) - ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน ( PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.032-0.035 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.022-0.024 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 ที่กำหนดให้ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองรวม ( TSP) และฝุ่นละออง ขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มีค่าได้ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร - ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.3-0.4 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน ส่ ว นปริ มาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ( NO2 ) มี ค่ า ความเข้ มข้ นเฉลี่ ย 1 ชั่ ว โมง อยู่ ในช่ ว ง 0.0054-0.0056 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน กรมทางหลวงชนบท 3-129 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) - ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.032-0.040 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.021-0.026 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 ที่กำหนดให้ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองรวม ( TSP) และฝุ่นละออง ขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มีค่าได้ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร - ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง เท่ากับ 0.4 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน ส่วนปริมาณก๊าซ ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.0090-0.0141 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่า อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน ค) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม - ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.024-0.025 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.019-0.021 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 ที่กำหนดให้ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองรวม ( TSP) และฝุ่นละออง ขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มีค่าได้ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร - ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.4-0.5 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน ส่วนปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.0087-0.0091 ส่วนใน ล้ า นส่ วน ซึ ่ ง มี ค่ า อยู ่ ในเกณฑ์ม าตรฐานค่ าก๊ าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ในบรรยากาศโดยทั่ ว ไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน ง) สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม - ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.024-0.029 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.018-0.021 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 ที่กำหนดให้ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองรวม ( TSP) และฝุ่นละออง ขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มีค่าได้ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร - ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.3-0.4 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน ส่วนปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.0048-0.0051 ส่วนใน ล้ า นส่ วน ซึ ่ ง มี ค่ า อยู ่ ในเกณฑ์ม าตรฐานค่ าก๊ าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ในบรรยากาศโดยทั่ ว ไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน กรมทางหลวงชนบท 3-130 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สรุปผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ครั้งที่ 1 ทุ กๆ พารามิเตอร์ที่ทำการตรวจวัดมีค่ า อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ โดยทั่วไปที่กำหนด โดยมีค่าความเข้มข้นของปริมาณฝุ่นละอองรวม ( TSP) อยู่ในช่วง 0.024–0.040 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์เมตร ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน ( PM10) อยู่ในช่วง 0.018-0.026 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์ เมตร ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.3-0.5 ส่วนใน ล้านส่วน ส่วนปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ( NO2) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.0048- 0.0141 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งผลจากการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษาโครงการ จัดว่ามีคุณภาพอากาศใน เกณฑ์ที่ดี จ) ความเร็วและทิศทางลม (ภาคผนวก ช) (ก) สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณสถานี ตรวจวัดมาจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (NE) เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 34.72 ของช่วงเวลาที่ทำการตรวจวัด โดยมีความเร็วลมอยู่ในช่วง 1.1-3.1 เมตร/วินาที และเมื่อนำผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลมที่ได้ไป เปรียบเทียบกับเกณฑ์ความเร็วลมผิวพื้นของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณพื้นที่ตรวจวัดจัดเป็น ลมเบา ถึงลมอ่อน และโดยส่วนใหญ่จัดเป็นลมอ่อน คิดเป็นร้อยละ 18.06 ของช่วงที่ทำการตรวจวัด ดังตารางที่ 3.2.5-7 และรูปที่ 3.2.5-4 (ข) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณสถานีตรวจวัด มาจากทิศตะวันตก (W) เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 36.11 ของช่วงเวลาที่ทำการตรวจวัด โดยมีความเร็วลม อยู่ในช่วง 0.4-2.1 เมตร/วินาที และเมื่อนำผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลมที่ได้ไปเปรียบเทียบกั บ เกณฑ์ ความเร็ว ลมผิ วพื้น ของกรมอุ ตุนิย มวิ ทยา พบว่า ลมที่พัดผ่านบริ เวณพื้นที่ ตรวจวัดจั ด เป็ นลมเบา ถึงลมอ่อน และโดยส่วนใหญ่จัดเป็นลมเบา คิดเป็นร้อยละ 31.94 ของช่วงที่ทำการตรวจวัด โดยมีลมสงบ คิดเป็นร้อยละ 12.50 ดังตารางที่ 3.2.5-8 และรูปที่ 3.2.5-4 (ค) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณสถานีตรวจวัดมาจาก ทิศเหนือ (N) เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 84.72 ของช่วงเวลาที่ทำการตรวจวัด โดยมีความเร็วลมอยู่ในช่วง 0.4-3.1 เมตร/วินาที และเมื่อนำผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลมที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ความเร็วลมผิวพื้น ของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณพื้นที่ตรวจวัดจัดเป็นลมเบา ถึงลมอ่อน และโดยส่วนใหญ่ จัดเป็นลมอ่อน คิดเป็นร้อยละ 43.05 ของช่วงที่ทำการตรวจวัด ดังตารางที่ 3.2.5-9 และรูปที่ 3.2.5-4 (ง) สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณสถานีตรวจวัดมาจากทิศ ตะวันออก (E) เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 38.88 ของช่วงเวลาที่ทำการตรวจวัด โดยมีความเร็วลมอยู่ในช่วง 0.4-4.1 เมตร/วินาที และเมื่อนำผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลมที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ความเร็วลม ผิวพื้นของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณพื้นที่ตรวจวัดจัดเป็นลมเบา ถึงลมโชย และโดยส่วนใหญ่ จัดเป็นลมอ่อน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ของช่วงที่ทำการตรวจวัด ดังตารางที่ 3.2.5-10 และรูปที่ 3.2.5-4) กรมทางหลวงชนบท 3-131 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-7 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 1 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) (ST1) 3-4 ธ.ค. 2563 4-5 ธ.ค. 2563 5-6 ธ.ค. 2563 เวลา ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง 14:00 0.9 ENE 2.7 ENE 2.7 ENE 15:00 0.4 E 3.1 E 3.1 ENE 16:00 1.3 E 2.7 E 2.7 NE 17:00 0.9 NNE 1.8 E 2.2 ENE 18:00 2.7 NE 3.1 E 2.7 ENE 19:00 2.2 ENE 3.6 E 2.2 ENE 20:00 1.3 N 3.6 ENE 2.7 NE 21:00 1.8 NE 2.7 NE 2.7 NE 22:00 2.7 NE 3.6 NE 1.8 NE 23:00 2.7 NE 3.1 NE 0.9 NNE 0:00 1.3 NNE 3.1 NE 0.4 N 1:00 1.8 NE 2.7 ENE 0.9 N 2:00 1.8 NE 2.2 NE 0.9 N 3:00 1.8 NNE 2.2 N 0.9 N 4:00 1.8 NE 1.3 NNE 0.9 N 5:00 1.8 NE 1.3 NNE 1.3 NNW 6:00 2.7 NE 2.2 NNE 1.3 N 7:00 0.9 NNE 2.7 NE 0.9 N 8:00 1.8 NE 1.8 NE 0.9 N 9:00 2.2 ENE 2.7 NE 1.3 N 10:00 2.7 NE 4.0 NE 1.3 N 11:00 2.7 ENE 3.6 ENE 2.2 NE 12:00 3.1 E 3.6 E 1.8 ENE 13:00 3.6 E 3.6 ENE 1.8 E กรมทางหลวงชนบท 3-132 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.2.5-4 ผังแสดงทิศทางลมของแต่ละสถานีตรวจวัด ครั้งที่ 1 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) กรมทางหลวงชนบท 3-133 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-8 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 2 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) (ST2) 3-4 ธ.ค. 2563 4-5 ธ.ค. 2563 5-6 ธ.ค. 2563 เวลา ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง 13:00 0.4 SSW 0.9 W 1.3 W 14:00 <0.4 Calm 0.9 WNW 1.3 W 15:00 <0.4 Calm 1.3 SW 1.3 WSW 16:00 0.4 W 0.9 W 1.3 WNW 17:00 0.4 WNW 0.4 W 0.9 WNW 18:00 0.9 NW 0.4 WNW 0.9 W 19:00 0.9 SE 0.9 WNW 0.9 SW 20:00 0.4 W 0.9 W 0.4 NNW 21:00 0.4 W 0.9 N 0.9 W 22:00 0.9 W 0.9 SW 0.9 W 23:00 0.4 S 0.9 WSW 0.9 NW 0:00 0.4 NNW 0.9 W <0.4 Calm 1:00 0.4 W 0.9 W <0.4 Calm 2:00 0.4 SSW 0.9 W 0.4 WNW 3:00 0.9 SW 0.9 WNW <0.4 Calm 4:00 0.9 W 0.9 NW <0.4 Calm 5:00 0.9 W 0.9 WSW <0.4 Calm 6:00 0.9 S 0.4 N <0.4 Calm 7:00 0.4 SW 0.9 W 0.4 NW 8:00 0.4 NW 0.9 W <0.4 Calm 9:00 0.4 SW 0.9 NNW 0.4 NNW 10:00 0.4 SSE 0.9 W 0.4 NW 11:00 0.9 W 1.3 W 0.9 W 12:00 0.9 W 1.3 WSW 0.9 S กรมทางหลวงชนบท 3-134 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-9 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 3 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม (ST3) 3-4 ธ.ค. 2563 4-5 ธ.ค. 2563 5-6 ธ.ค. 2563 เวลา ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง 11:00 0.9 E 1.8 N 2.2 N 12:00 0.9 E 2.2 N 1.8 N 13:00 0.9 N 1.8 N 1.8 N 14:00 0.4 N 1.8 N 1.8 N 15:00 0.4 N 1.8 N 1.8 N 16:00 0.9 N 1.3 N 1.8 N 17:00 1.3 N 1.3 N 1.8 N 18:00 1.8 N 2.2 N 1.8 N 19:00 1.8 N 2.2 N 1.3 N 20:00 0.9 NNE 2.2 ENE 1.8 N 21:00 1.3 N 1.8 NE 1.3 N 22:00 1.8 N 1.3 NE 0.9 N 23:00 1.8 N 1.3 NE 0.9 N 0:00 0.9 N 1.8 N 0.9 N 1:00 0.9 N 1.3 N 0.9 N 2:00 0.9 N 1.3 N 0.9 N 3:00 0.9 N 0.9 N 0.9 N 4:00 0.9 N 0.9 NNE 0.9 N 5:00 0.9 N 0.9 NNE 0.9 N 6:00 0.9 N 0.9 NNE 1.3 N 7:00 0.4 N 1.3 N 0.9 N 8:00 0.9 N 1.3 NE 0.9 N 9:00 0.9 N 1.8 N 1.3 N 10:00 1.3 N 2.2 N 1.3 N กรมทางหลวงชนบท 3-135 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-10 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 4 (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม (ST4) 3-4 ธ.ค. 2563 4-5 ธ.ค. 2563 5-6 ธ.ค. 2563 เวลา ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง 12:00 1.8 ESE 2.7 ESE 2.7 ESE 13:00 1.3 ESE 2.7 E 3.6 ESE 14:00 0.9 ESE 2.7 E 2.7 E 15:00 0.4 E 3.1 E 2.7 ESE 16:00 0.9 E 2.2 E 2.7 E 17:00 1.3 E 1.8 ESE 2.2 E 18:00 1.8 ENE 3.1 ESE 1.8 ESE 19:00 1.8 E 3.1 ESE 1.8 E 20:00 1.3 E 2.7 E 1.3 E 21:00 1.8 NNE 2.2 E 1.3 NNE 22:00 1.8 N 1.8 E 1.3 NE 23:00 1.3 ENE 1.8 E 0.9 NNE 0:00 0.9 E 1.8 E 0.9 NNE 1:00 0.9 N 2.2 E 1.3 N 2:00 0.9 N 2.2 E 0.9 N 3:00 1.3 NNE 1.3 E 0.4 NNE 4:00 1.3 NNE 0.9 NE 0.4 NE 5:00 1.3 N 0.9 ENE 0.9 N 6:00 0.9 N 1.3 E 0.9 NNE 7:00 0.9 N 1.3 E 0.9 N 8:00 0.9 NNE 1.3 ENE 1.3 NNE 9:00 1.3 E 1.8 NE 1.3 N 10:00 1.3 ENE 2.7 E 1.8 N 11:00 2.2 ESE 2.7 E 1.8 ENE กรมทางหลวงชนบท 3-136 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ครั้งที่ 2 ดำเนินการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษาโครงการ จำนวน 4 สถานี ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้าน หัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม และมัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตรวจวัดเป็นเวลา 3 วันต่อเนื่อง เมื่อวันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 โดยผลการตรวจวัด คุ ณ ภาพอากาศ สรุปได้ดังตารางที่ 3.2.5-11 และรูปที่ 3.2.5-5 (ภาคผนวก ช) มีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 3.2.5-11 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษาโครงการ (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) * TSP * PM10 ** CO ** NO2 สถานีตรวจวัด วันที่ตรวจวัด (mg/m3) (mg/m3) (ppm) (ppm) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 7-8 ก.พ. 2564 0.038 0.026 0.4 0.0042 (ก่อนเข้าท่าเรือ) (ST1) 8-9 ก.พ. 2564 0.024 0.017 0.3 0.0045 9-10 ก.พ. 2564 0.025 0.015 0.5 0.0045 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 7-8 ก.พ. 2564 0.038 0.027 0.5 0.0090 (บ้านท่าเรือ) (ST2) 8-9 ก.พ. 2564 0.025 0.018 0.5 0.0103 9-10 ก.พ. 2564 0.023 0.016 0.5 0.0102 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 7-8 ก.พ. 2564 0.034 0.023 0.4 0.0035 (ST3) 8-9 ก.พ. 2564 0.023 0.014 0.4 0.0033 9-10 ก.พ. 2564 0.025 0.015 0.3 0.0041 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม 7-8 ก.พ. 2564 0.039 0.024 0.4 0.0047 (ST4) 8-9 ก.พ. 2564 0.024 0.015 0.3 0.0044 9-10 ก.พ. 2564 0.026 0.015 0.3 0.0057 ค่ามาตรฐาน 0.33[1] 0.12[1] 30.0[2] 0.17[3] หมายเหตุ : * ค่าเฉลีย ่ 24 ชั่วโมง ** ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง มาตรฐาน [1] : มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 มาตรฐาน [2] : มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 1 ชั่วโมง ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 ่ ไปในเวลา 1 ชั่วโมง ประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มาตรฐาน [3] : มาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทัว ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 กรมทางหลวงชนบท 3-137 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.2.5-5 การตรวจวัดคุณภาพอากาศ ครั้งที่ 2 ในพื้นที่ศึกษาโครงการ (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) ก) สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) - ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน ( PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.024-0.038 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.015-0.026 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 ที่กำหนดให้ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองรวม ( TSP) และฝุ่นละออง ขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มีค่าได้ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร - ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.3-0.5 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน ส่วนปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.0042-0.0045 ส่วน ในล้านส่วน ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน กรมทางหลวงชนบท 3-138 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) - ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.023-0.038 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.016-0.027 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 ที่กำหนดให้ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองรวม ( TSP) และฝุ่นละออง ขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มีค่าได้ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร - ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ ที่ 0.5 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน ส่วนปริมาณก๊าซ ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.0090-0.0103 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่า อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน ค) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม - ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.023-0.034 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.014-0.023 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 ที่กำหนดให้ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองรวม ( TSP) และฝุ่นละออง ขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มีค่าได้ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร - ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.3-0.4 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน ส่วนปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.0033-0.0041 ส่วนใน ล้ า นส่ วน ซึ ่ ง มี ค่ า อยู ่ ในเกณฑ์ม าตรฐานค่ าก๊ าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ในบรรยากาศโดยทั่ ว ไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน ง) สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม - ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.024-0.039 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.015-0.024 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 ที่กำหนดให้ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองรวม ( TSP) และฝุ่นละออง ขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มีค่าได้ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร และ 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร - ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.3-0.4 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน ส่วนปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.0044-0.0057 ส่วนใน ล้ า นส่ วน ซึ ่ ง มี ค่ า อยู ่ ในเกณฑ์ม าตรฐานค่ าก๊ าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ในบรรยากาศโดยทั่ ว ไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 ที่กำหนดให้มีค่าได้ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน กรมทางหลวงชนบท 3-139 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สรุปผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ครั้งที่ 2 ทุกๆ พารามิเตอร์ที่ทำการตรวจวัดมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ โดยทั่วไปที่กำหนด โดยมีค่าความเข้มข้นของปริมาณฝุ่นละอองรวม ( TSP) อยู่ในช่วง 0.023–0.039 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์เมตร ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) อยู่ในช่วง 0.014-0.027 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.3-0.5 ส่วนในล้านส่วน ส่วนปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ( NO2) มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.0033-0.0103 ส่วน ในล้านส่วน ซึ่งผลจากการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษาโครงการ จัดว่ามีคุณภาพอากาศในเกณฑ์ที่ดี จ) ความเร็วและทิศทางลม (ภาคผนวก ช) (ก) สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณสถานี ตรวจวัดมาจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ค่อนไปทางตะวันออก (ESE) เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 48.61 ของช่วงเวลา ที่ทำการตรวจวัด โดยมีความเร็วลมอยู่ในช่วง 0.4-4.1 เมตร/วินาที และเมื่อนำผลการตรวจวัดความเร็วและ ทิศทางลมที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ความเร็วลมผิวพื้นของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณ พื้นที่ตรวจวัดจัดเป็น ลมเบา ถึงลมโชย และโดยส่วนใหญ่จัดเป็นลมอ่อน คิดเป็นร้อยละ 15.28 ของช่วงที่ทำการ ตรวจวัด โดยมีลมสงบ คิดเป็นร้อยละ 2.78 ดังตารางที่ 3.2.5-12 และรูปที่ 3.2.5-6 (ช) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณสถานีตรวจวัด มาจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ค่อนไปทางใต้ ( SSE) เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 23.61 ของช่วงเวลาที่ทำการ ตรวจวัด โดยมีความเร็วลมอยู่ในช่วง 0.4-2.1 เมตร/วินาที และเมื่อนำผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลมที่ได้ ไปเปรียบเทียบกั บ เกณฑ์ ความเร็ ว ลมผิ ว พื้ น ของกรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา พบว่ า ลมที่ พั ด ผ่ า นบริ เวณพื้ น ที่ ต รวจวั ด จัดเป็นลมเบา ถึงลมอ่อน และโดยส่วนใหญ่จัดเป็นลมเบา คิดเป็นร้อยละ 19.44 ของช่วงที่ทำการตรวจวัด โดยมี ลมสงบ คิดเป็นร้อยละ 31.94 ดังตารางที่ 3.2.5-13 และรูปที่ 3.2.5-6 (ค) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณสถานีตรวจวัดมาจาก ทิศตะวันออกเฉียงใต้ค่อนไปทางตะวันออก (ESE) เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 55.56 ของช่วงเวลาที่ทำการตรวจวัด โดยมีความเร็วลมอยู่ในช่วง 0.4-3.1 เมตร/วินาที และเมื่อนำผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลมที่ได้ไป เปรียบเทียบกับเกณฑ์ความเร็วลมผิวพื้นของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณพื้นที่ตรวจวัดจัดเป็น ลมเบา ถึงลมอ่อน และโดยส่วนใหญ่จั ดเป็นลมเบา คิดเป็นร้อยละ 33.33 ของช่วงที่ทำการตรวจวัด โดยมีลมสงบ คิดเป็นร้อยละ 1.39 ดังตารางที่ 3.2.5-14 และรูปที่ 3.2.5-6 (ง) สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณสถานีตรวจวัดมาจากทิศ ตะวันออก (E) เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 70.83 ของช่วงเวลาที่ทำการตรวจวัด โดยมีความเร็วลมอยู่ในช่วง 0.4-4.1 เมตร/วินาที และเมื่อนำผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลมที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ความเร็วลม ผิวพื้นของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า ลมที่พัดผ่านบริเวณพื้นที่ตรวจวัดจัดเป็ นลมเบา ถึงลมโชย และโดยส่วนใหญ่ จัดเป็นลมเบา คิดเป็นร้อยละ 50.00 ของช่วงที่ทำการตรวจวัด โดยมีลมสงบ คิดเป็นร้อยละ 4.17 ดังตารางที่ 3.2.6-15 และรูปที่ 3.2.6-6 กรมทางหลวงชนบท 3-140 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-12 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 1 (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) (ST1) 7-8 ก.พ. 2564 8-9 ก.พ. 2564 9-10 ก.พ. 2564 เวลา ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง 10:00 2.7 ESE 1.3 SSE 1.8 ESE 11:00 2.2 ESE 1.3 SSE 1.8 SE 12:00 2.2 ESE 1.8 SSE 1.3 SSE 13:00 2.7 ESE 1.8 ESE 1.3 SSE 14:00 3.1 ESE 2.2 ESE 1.3 SSE 15:00 2.7 ESE 1.8 SE 1.8 W 16:00 3.1 ESE 1.3 NNW 1.8 W 17:00 3.1 ESE 1.3 NW 1.3 W 18:00 4.0 ESE 1.8 ESE 1.3 NW 19:00 3.1 ESE 2.2 ESE 0.9 NW 20:00 4.0 ESE 1.8 ESE 0.4 NW 21:00 4.0 ESE 1.8 E <0.4 Calm 22:00 3.6 ESE 0.9 ESE <0.4 Calm 23:00 3.1 ESE 0.9 E 1.3 ESE 0:00 3.1 E 0.4 NE 0.9 ESE 1:00 2.2 ESE 0.4 NNE 0.9 ESE 2:00 2.7 E 0.4 ENE 0.4 E 3:00 2.2 ESE 0.9 N 0.4 NE 4:00 2.2 E 0.9 NE 0.9 ENE 5:00 1.3 E 1.3 ESE 0.9 ENE 6:00 0.9 N 0.9 ESE 0.4 ENE 7:00 1.3 E 1.8 ESE 0.9 ESE 8:00 2.2 ESE 1.3 ESE 0.9 NNE 9:00 1.8 ESE 1.8 ESE 1.8 ESE กรมทางหลวงชนบท 3-141 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.2.5-6 ผังแสดงทิศทางลมของแต่ละสถานีตรวจวัด ครั้งที่ 2 (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) กรมทางหลวงชนบท 3-142 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-13 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 2 (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) (ST2) 7-8 ก.พ. 2564 8-9 ก.พ. 2564 9-10 ก.พ. 2564 เวลา ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง 9:00 0.9 SSE 0.4 E 0.9 E 10:00 0.9 E 0.4 ENE 0.4 ESE 11:00 0.9 E 0.4 ENE 0.9 E 12:00 1.3 E 0.9 E 0.4 E 13:00 1.3 E 0.9 ENE 0.9 ENE 14:00 1.3 E 1.3 E 0.9 ENE 15:00 1.3 E 0.9 E 1.3 SSE 16:00 1.3 E 0.9 ENE 1.3 SSE 17:00 1.3 E 0.9 SSE 1.3 SSE 18:00 0.9 S 0.4 SSE 0.9 SE 19:00 0.9 SSE 0.4 SSE 0.4 S 20:00 0.9 S 0.4 S <0.4 Calm 21:00 0.9 SSE 0.4 SSE <0.4 Calm 22:00 0.9 SSE <0.4 Calm <0.4 Calm 23:00 0.9 SSE <0.4 Calm <0.4 Calm 0:00 0.9 SSE <0.4 Calm <0.4 Calm 1:00 0.9 SE <0.4 Calm <0.4 Calm 2:00 0.4 S <0.4 Calm <0.4 Calm 3:00 0.9 SSE 0.4 SW <0.4 Calm 4:00 0.4 S <0.4 Calm <0.4 Calm 5:00 0.4 SSE <0.4 Calm <0.4 Calm 6:00 0.4 SSE <0.4 Calm <0.4 Calm 7:00 0.4 S <0.4 Calm <0.4 Calm 8:00 0.9 SSE <0.4 Calm <0.4 Calm กรมทางหลวงชนบท 3-143 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-14 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 3 (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม (ST3) 7-8 ก.พ. 2564 8-9 ก.พ. 2564 9-10 ก.พ. 2564 เวลา ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง 8:00 1.3 ESE 1.3 ESE 0.9 ESE 9:00 1.3 ESE 0.9 ESE 1.3 ESE 10:00 1.8 SE 1.3 SE 1.8 ENE 11:00 1.8 SE 1.8 ESE 1.8 ESE 12:00 1.8 NE 1.8 ESE 1.3 ESE 13:00 1.8 ESE 1.8 ENE 1.3 ENE 14:00 1.8 ESE 1.8 NE 1.3 WSW 15:00 2.2 ESE 1.8 ESE 2.2 N 16:00 2.2 ESE 1.3 E 2.2 WNW 17:00 2.7 ESE 1.3 N 1.8 WNW 18:00 2.7 E 1.3 ESE 0.9 W 19:00 2.2 ESE 1.3 ESE 0.9 WNW 20:00 2.2 E 1.3 ESE 0.4 WNW 21:00 2.7 ESE 1.3 ENE <0.4 Calm 22:00 2.2 ESE 0.4 ESE 0.4 WNW 23:00 1.8 E 0.9 E 0.9 ESE 0:00 1.3 ESE 0.9 E 0.4 ESE 1:00 1.8 ESE 0.4 NNE 0.9 ESE 2:00 1.3 ESE 0.4 ESE 1.3 ESE 3:00 1.3 ESE 0.9 E 1.3 E 4:00 1.3 E 0.9 ESE 0.9 E 5:00 0.9 ENE 0.9 ESE 0.9 ESE 6:00 1.3 E 1.3 ESE 1.3 ESE 7:00 1.3 ESE 1.3 ESE 1.3 ESE กรมทางหลวงชนบท 3-144 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.5-15 ผลการตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม สถานีที่ 4 (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม (ST4) 7-8 ก.พ. 2564 8-9 ก.พ. 2564 9-10 ก.พ. 2564 เวลา ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง ความเร็ว ทิศทาง 8:00 1.3 E 1.8 E 1.8 E 9:00 2.2 E 1.3 E 1.8 E 10:00 2.7 E 1.3 E 2.2 E 11:00 2.7 E 1.8 E 1.8 E 12:00 2.2 ESE 1.8 E 1.3 E 13:00 2.7 E 1.8 E 1.3 E 14:00 3.1 E 1.8 E 1.3 E 15:00 3.1 ESE 2.2 E 2.2 NW 16:00 3.1 ESE 1.8 E 2.7 NW 17:00 3.1 ESE 1.8 NW 1.8 W 18:00 3.1 E 1.3 E 0.9 WNW 19:00 2.7 ESE 1.3 ESE 0.9 WNW 20:00 2.7 E 1.8 E 0.9 N 21:00 3.1 E 1.3 E <0.4 Calm 22:00 3.1 E 0.9 ENE <0.4 Calm 23:00 2.2 ESE 0.9 ENE 0.9 E 0:00 1.8 E 0.9 ENE 0.4 E 1:00 1.8 E <0.4 Calm 0.4 E 2:00 1.3 E 0.4 NE 1.3 E 3:00 1.8 E 1.3 E 1.3 E 4:00 1.3 E 1.3 E 1.3 E 5:00 1.3 E 1.3 E 0.9 E 6:00 1.3 E 1.3 E 1.3 E 7:00 1.3 E 1.8 E 1.3 E กรมทางหลวงชนบท 3-145 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.2.6 เสียง 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาสถานภาพระดับเสียงในบริเวณพื้นที่อ่อนไหวและชุมชนต่างๆ รอบพื้นที่โครงการ (2) เพื่อศึกษาระดับเสียงจากกิจกรรมที่ก่อให้เกิดเสียงดังในปัจจุบันบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ (3) เพื่อนำข้อมูลไปประเมินผลกระทบด้านเสียงที่จะเกิดขึ้นอันเนื่องจากการดำเนินโครงการ ทั้งใน ระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ 2) วิธีการศึกษา (1) รวบรวมและทบทวนข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานและเอกสารต่างๆ (2) ดำเนินการตรวจวัดระดับเสียงในสภาพแวดล้อมปัจจุบัน บริเวณพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากโครงการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อคาดการณ์ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีการก่อสร้างและดำเนินการโครงการ (3) การกำหนดสถานีตรวจวัดเสียงของโครงการครั้งนี้ เป็นจุดเดียวกับจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เนื่องจากเป็นสถานที่ที่มีความอ่อนไหวต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่มีความเหมาะสม ซึ่งมีโอกาสได้รับผลกระทบจาก การพัฒนาโครงการ จำนวน 3 สถานี (4) ทำการตรวจวัดระดับเสียงเป็นเวลา 3 วันต่อเนื่อง จำนวน 2 ครั้ง (ครอบคลุมวันทำการ 2 วัน และ วันหยุด 1 วัน) โดยวิธีการในการตรวจวัดระดับเสียงดำเนินการตามข้อเสนอแนะของ ISO 1996/1 (International Standard for Organization 1996/1) (5) ดัชนีตรวจวัดระดับเสียง วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ และมาตรฐานวิธีการวิเคราะห์ แสดงดังตารางที่ 3.2.6-1 โดยผลจากการตรวจวัดเสียงในพื้นที่ จะนำมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับเสียง โดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 แสดงดังตารางที่ 3.2.6-2 ตารางที่ 3.2.6-1 ดัชนีตรวจวัดระดับเสียง วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ และมาตรฐานวิธีการวิเคราะห์ ดัชนีตรวจวัด วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ มาตรฐานวิธีวิเคราะห์ 1. ระดับเสียงเฉลี่ย 1 ชั่วโมง (Leq 1 hr) 2. ระดับเสียงสูงสุด (Lmax) Integrated Sound Integrated Sound 3. ระดับเสียงเปอร์เซนไทล์ที่ 90 (L90) ISO และ JIS Level Meter Level Meter 4. ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) 5. ระดับเสียงเฉลี่ยกลางวัน-กลางคืน (Ldn) หมายเหตุ : ดำเนินการตามมาตรฐานของ ISO (International Organization for Standardization (1996/2)) และ JIS (Japanese Industrial Standard) Z 8731 กรมทางหลวงชนบท 3-146 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.6-2 ค่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ค่ามาตรฐานระดับเสียง การตรวจวัดระดับเสียงโดยทั่วไป 1. ค่าระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน 1. การตรวจวัดค่าระดับเสียงสูงสุด ให้ใช้มาตรระดับเสียงตรวจวัดระดับเสียงในบริเวณที่มีคน 115 เดซิเบล (เอ) อยู่หรืออาศัยอยู่ 2. ค่าระดับเสียงเฉลีย ่ 24 ชั่วโมง 2. การตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ให้ใช้มาตรระดับเสียงตรวจวัดระดับเสียงอย่าง ไม่เกิน 70 เดซิเบล(เอ) ต่อเนื่องตลอดเวลา 24 ชั่วโมง 3. การตั้งไมโครโฟนของมาตรระดับเสียงที่บริเวณภายนอกอาคารให้ตั้งสูงจากพื้นไม่น้อยกว่ า 1.20 เมตร โดยในรัศมี 3.50 เมตร ตามแนวราบรอบไมโครโฟน ต้องไม่มีกำแพงหรือ สิ่ง อื่นใดที่มีคุณสมบัติในการสะท้อนเสียงกีดขวางอยู่ 4. การตั้งไมโครโฟนของมาตรระดับเสียงที่บริเวณภายในอาคารให้ตั้งสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร โดยในรัศมี 1.00 เมตร ตามแนวราบรอบไมโครโฟน ต้องไม่มีกำแพงสิ่งอื่นใดที่ มีคุณสมบัติในการสะท้อนเสียงกีดขวางอยู่และต้องห่างจากช่องหน้าต่างหรือช่องทางที่ เปิดออกนอกอาคารอย่างน้อย 1.50 เมตร ที่มา : ดัดแปลงจาก 1. ประกาศคณะกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) เรื่อง กำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป มาตรา 32 (5) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ณ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2540 2. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีการตรวจวัดระดับเสียงพื้นฐาน ระดับเสียงขณะไม่มีการรบกวน การตรวจวัดและคำนวณระดับเสียงขณะมีการรบกวน การคำนวณค่าระดับการบกวน และแบบบันทึกการตรวจวัดเสียงรบกวน ประกาศ ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2550 3. ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง การคำนวนค่าระดับเสียง ประกาศ ณ วันที่ 11 สิงหาคม 2540 3) ผลการศึกษา ผลการตรวจวัดเสียง ครั้งที่ 1 การตรวจวัดเสียงในพื้นที่โครงการ จำนวน 4 สถานี ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้ า นหั ว หิ น (บ้ า นท่ า เรื อ ) หมู่ ที่ 2 บ้ า นทุ่ ง โต๊ ะ หยุ ม และมั ส ยิ ด บ้ า นทุ่ ง โต๊ ะ หยุ ม ซึ่ ง เป็ น สถานีเดียวกับสถานี ตรวจวัดอากาศ โดยผลการศึกษาแสดงดังตารางที่ 3.2.6-3 และรูปที่ 3.2.6-1 (ภาคผนวก ช) ดังนี้ (1) สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) พบว่า ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ( Leq 24 hr) และค่าระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มีค่าอยู่ในช่วง 61.1-62.3 เดซิเบล (เอ) และ 49.1-51.0 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ ส่วนค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) และค่าระดับเสียงเฉลี่ยรายกลางวัน -กลางคืน (Ldn) มีค่าอยู่ในช่วง 91.0-95.0 และ 64.9-66.0 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ เมื่อนำผลการตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 พบว่า มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด สำหรับ ค่าระดับเสียงเฉลี่ยรายกลางวัน -กลางคืน (Ldn) และระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มาตรฐานดังกล่าวไม่ได้ กำหนดค่าไว้เพื่อควบคุม กรมทางหลวงชนบท 3-147 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.6-3 ผลการตรวจวัดระดับเสียงในพื้นที่โครงการ (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) ผลการตรวจวัด (dB(A)) สถานีตรวจวัด วันที่ตรวจวัด Leq (24 hr.) Lmax (1 hr.) Ldn L90 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 3-4 ธ.ค. 2563 62.3 94.4 66.0 50.8 (ก่อนเข้าท่าเรือ) (ST1) 4-5 ธ.ค. 2563 61.6 91.0 64.9 51.0 5-6 ธ.ค. 2563 61.1 95.0 65.4 49.1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 3-4 ธ.ค. 2563 57.8 97.6 60.0 46.6 (บ้านท่าเรือ) (ST2) 4-5 ธ.ค. 2563 60.7 95.8 62.7 48.3 5-6 ธ.ค. 2563 61.8 96.5 63.7 47.6 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 3-4 ธ.ค. 2563 60.5 89.3 70.0 52.5 (ST2) 4-5 ธ.ค. 2563 61.1 91.8 69.4 53.2 5-6 ธ.ค. 2563 58.5 85.4 66.8 52.8 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม 3-4 ธ.ค. 2563 60.6 90.3 70.1 52.5 (ST3) 4-5 ธ.ค. 2563 61.1 91.8 69.4 53.2 5-6 ธ.ค. 2563 58.5 86.4 66.8 52.8 ค่ามาตรฐาน 70 115 - - หมายเหตุ : ค่ามาตรฐาน ตามประกาศคณะกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) เรื่อง กำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป มาตรา 32 (5) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ณ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2540 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.2.6-1 การติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดเสียงบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 3-6 ธันวาคม 2563 กรมทางหลวงชนบท 3-148 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (2) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) พบว่า ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) และค่าระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 (L90) มีค่าอยู่ในช่วง 57.8-61.8 เดซิเบล (เอ) และ 46.6-47.6 เดซิเบล (เอ) ตามลำดั บ ส่ ว นค่ า ระดั บ เสี ยงสูง สุ ด ( Lmax) และค่ า ระดั บเสี ย งเฉลี่ ย รายกลางวั น -กลางคื น ( Ldn) มี ค่ า อยู่ ในช่วง 95.8-97.6 และ 60.0-63.7 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ เมื่อนำผลการตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และค่าระดับเสียงสูงสุด (Lmax) มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 พบว่า มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด สำหรับ ค่าระดับเสียง เฉลี่ยรายกลางวัน-กลางคืน (Ldn) และระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มาตรฐานดังกล่าวไม่ได้กำหนดค่าไว้ เพื่อควบคุม (3) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) และค่า ระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มีค่าอยู่ในช่วง 58.5-61.1 เดซิเบล (เอ) และ 52.5-53.2 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ ส่วนค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) และค่าระดับเสียงเฉลี่ยรายกลางวั น-กลางคืน (Ldn) มีค่าอยู่ในช่วง 85.4-91.8 และ 66.8-70.0 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ เมื่อนำผลการตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และค่า ระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 พบว่า มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด สำหรับค่าระดับเสียงเฉลี่ย รายกลางวัน-กลางคืน (Ldn) และระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มาตรฐานดังกล่าวไม่ได้กำหนดค่าไว้เพื่อ ควบคุม (4) สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) และค่า ระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มีค่าอยู่ในช่วง 58.5-61.1 เดซิเบล (เอ) และ 52.5-53.2 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ ส่วนค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) และค่าระดับเสียงเฉลี่ยรายกลางวัน -กลางคืน (Ldn) มีค่าอยู่ในช่วง 86.4-91.8 และ 66.8-70.1 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ เมื่อนำผลการตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และ ค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 พบว่า มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด สำหรับค่า ระดับเสียงเฉลี่ย รายกลางวัน -กลางคืน ( Ldn) และระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90 ) มาตรฐานดังกล่ าวไม่ ได้ กำหนดค่าไว้ เพื่อควบคุม ผลการตรวจวัดเสียง ครั้งที่ 2 การตรวจวัดเสียงในพื้นที่โครงการ จำนวน 4 สถานี ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม และมัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ซึ่งเป็นสถานีเดียวกับ สถานีตรวจวัดอากาศ โดยผลการศึกษาแสดงดัง ตารางที่ 3.2.6-4 และรูปที่ 3.2.6-2 (ภาคผนวก ช) ดังนี้ (1) สถานี ที่ 1 หมู่ ที่ 8 บ้ า นหั ว หิ น (ก่ อนเข้ า ท่ า เรื อ ) พบว่ า ค่ า ระดั บ เสี ย งเฉลี่ ย 24 ชั่ ว โมง (Leq 24 hr) และค่าระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 (L90) มีค่าอยู่ในช่วง 60.5-60.8 เดซิเบล (เอ) และ 43.0-44.8 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ ส่วนค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) และค่าระดับเสียงเฉลี่ยรายกลางวัน -กลางคืน (Ldn) มีค่าอยู่ในช่วง 95.2-96.0 และ 63.6-64.2 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ เมื่อนำผลการตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 พบว่า มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด สำหรับ ค่าระดับเสียงเฉลี่ยรายกลางวัน-กลางคืน (Ldn) และระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มาตรฐานดังกล่าวไม่ได้ กำหนดค่าไว้เพื่อควบคุม กรมทางหลวงชนบท 3-149 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.6-4 ผลการตรวจวัดระดับเสียงในพื้นที่โครงการ (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564) ผลการตรวจวัด (dB(A)) สถานีตรวจวัด วันที่ตรวจวัด Leq (24hr.) Lmax (1hr.) Ldn L90 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 7-8 ก.พ. 2564 60.5 96.0 63.6 44.8 (ก่อนเข้าท่าเรือ) (ST1) 8-9 ก.พ. 2564 60.8 95.8 64.2 43.0 9-10 ก.พ. 2564 60.5 95.2 63.8 43.1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 7-8 ก.พ. 2564 61.8 99.3 63.0 44.7 (บ้านท่าเรือ) (ST2) 8-9 ก.พ. 2564 61.0 97.5 62.6 43.4 9-10 ก.พ. 2564 60.6 96.1 62.1 44.8 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 7-8 ก.พ. 2564 53.8 91.4 58.4 44.1 (ST3) 8-9 ก.พ. 2564 55.4 91.8 60.1 44.6 9-10 ก.พ. 2564 55.6 90.3 62.9 44.4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม 7-8 ก.พ. 2564 55.1 90.9 59.7 36.3 (ST4) 8-9 ก.พ. 2564 56.9 87.8 61.8 38.1 9-10 ก.พ. 2564 55.0 85.4 38.0 61.8 ค่ามาตรฐาน 70 115 - - หมายเหตุ : ค่ามาตรฐาน ตามประกาศคณะกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) เรื่อง กำหนดมาตรฐานระดับเสียง โดยทั่วไป มาตรา 32 (5) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ณ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2540 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.2.6-2 การติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดเสียงบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-150 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (2) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) พบว่า ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) และค่าระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มีค่าอยู่ในช่วง 60.6-61.8 เดซิเบล (เอ) และ 43.4-44.8 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ ส่วนค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) และค่าระดับเสียงเฉลี่ยรายกลางวัน -กลางคืน (Ldn) มีค่าอยู่ ในช่วง 96.1-99.3 และ 62.1-63.0 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ เมื่อนำผลการตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และ ค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 พบว่า มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด สำหรับ ค่าระดับเสียง เฉลี่ยรายกลางวัน-กลางคืน (Ldn) และระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มาตรฐานดังกล่าวไม่ได้กำหนดค่าไว้ เพื่อควบคุม (3) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ( Leq 24 hr) และ ค่าระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มีค่าอยู่ในช่วง 53.8-55.6 เดซิเบล (เอ) และ 44.1-44.6 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ ส่วนค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) และค่าระดับเสียงเฉลี่ยรายกลางวัน -กลางคืน (Ldn) มีค่าอยู่ในช่วง 90.3-91.8 และ 58.4-62.9 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ เมื่อนำผลการตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และค่า ระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 พบว่า มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด สำหรับค่า ระดับเสียงเฉลี่ย รายกลางวัน-กลางคืน (Ldn) และระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มาตรฐานดังกล่าวไม่ได้กำหนดค่าไว้เพื่อ ควบคุม (4) สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ( Leq 24 hr) และ ค่าระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90) มีค่าอยู่ในช่วง 55.0-56.9 เดซิเบล (เอ) และ 36.3-61.8 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ ส่วนค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) และค่าระดับเสียงเฉลี่ยรายกลางวัน -กลางคืน (Ldn) มีค่าอยู่ในช่วง 85.4-90.9 และ 38.0-61.8 เดซิเบล (เอ) ตามลำดับ เมื่ อนำผลการตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และ ค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 พบว่า มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด สำหรับค่าระดับเสียงเฉลี่ย รายกลางวั น-กลางคืน ( Ldn) และระดับเสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ( L90 ) มาตรฐานดังกล่ าวไม่ ได้ กำหนดค่าไว้ เพื่อควบคุม กรมทางหลวงชนบท 3-151 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.2.7 ความสั่นสะเทือน 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาระดับความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความสั่นสะเทือนในสภาพปัจจุบัน บริเวณพื้นที่ศึกษาของโครงการ (2) เพื่อศึกษาสถานภาพความสั่นสะเทือน โดยนำไปเปรียบเทียบมาตรฐานกำหนดระดับความ สั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพประชาชนและการรับรู้ ( Reiher and Meister) และตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2553) เรื่อง กำหนดมาตรฐานความสั่นสะเทือน เพื่อป้องกัน ผลกระทบต่ออาคาร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 69 ง วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 (3) เพื่ อนำข้อมู ลไปคาดการณ์ และประเมิ นผลกระทบระดับความสั่นสะเทื อนที่ จะเกิดขึ้นจาก การดำเนินกิจกรรมของโครงการ ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ 2) วิธีการศึกษา (1) รวบรวมและทบทวนข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวกับการสั่นสะเทือนตามแนวเส้นทางโครงการและ บริเวณใกล้เคียง จากหน่วยงานและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (2) เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าจะเกิดผลกระทบด้านความสั่นสะเทือนต่อแหล่งพื้นที่อ่อนไหวด้าน สิ่งแวดล้อมที่อยู่ใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการหรือไม่อย่างไร จึงต้องทำการตรวจวัดความสั่นสะเทือนเพื่อใช้เป็น ข้อมูลในการศึกษาแบบจำลองทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อคาดการณ์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีการก่อสร้างและ ดำเนินการโครงการ (3) การกำหนดจุดตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนในสภาพแวดล้อมปัจจุบันที่เป็นตัวแทนจุดรับ ความสั่นสะเทือน โดยพิจารณาพื้นที่ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากโครงการบริเวณแนวถนนโครงการ ซึ่ง เป็นจุด ตรวจวัดเดียวกับจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศและเสียง จำนวน 4 สถานี (4) ดำเนินการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนโดยใช้อุปกรณ์ Velocity Transducer ซึ่งแสดง ระดับความสั่นสะเทือน ณ จุดตรวจวัดในแนวนอนและแนวดิ่ง โดยมีค่าความสั่นสะเทือนเป็น มิลลิเมตร/วินาที ณ จุดตรวจวัด ทำการตรวจวัดความสั่นสะเทือนเป็นเวลา 3 วันต่อเนื่อง จำนวน 2 ครั้ง (ครอบคลุมวันทำการ 2 วัน และวันหยุด 1 วัน) โดยมีดัชนีตรวจวัดความสั่นสะเทือน วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ และมาตรฐานวิธีการ วิเคราะห์ แสดงดังตารางที่ 3.2.7-1 ตารางที่ 3.2.7-1 ดัชนีตรวจวัดความสั่นสะเทือน วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ และมาตรฐาน วิธีการวิเคราะห์ ดัชนีตรวจวัด วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ มาตรฐานวิธีการวิเคราะห์ 1. ความสั่นสะเทือน (mm/sec) - Reiher and Meister1/ 2. ความถี่ (Hz) Ground Vibration - ประกาศคณะกรรมการ Vibration Meter Method สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2553)2/ หมายเหตุ : 1/ มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพประชาชนและการรับรู้ (Reiher and Meister) 2/ ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2553) เรื่อง กำหนดมาตรฐานความสั่นสะเทือน เพื่อป้องกัน ผลกระทบต่ออาคาร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 69 ง วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 กรมทางหลวงชนบท 3-152 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (5) นำผลการตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดระดับความ สั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนและการรับรู้ (Reiher and Meister) ดังตารางที่ 3.2.7-2 และนำไปเปรี ย บเที ย บกั บ ค่ า มาตรฐานกำหนดระดั บ ความสั่ น สะเทื อ นเพื่ อ ป้ อ งกั น ผลกระทบต่ อ อาคาร ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2553) เรื่อง กำหนดมาตรฐานความสั่นสะเทือน เพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 69 ง วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 แสดงดังตารางที่ 3.2.7-3 ตารางที่ 3.2.7-2 มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน และการรับรู้ ระดับความสั่นสะเทือน ความเร็วอนุภาคสูงสุด (มม./วินาที) ผลกระทบต่อปฏิกิริยาของมนุษย์ ระดับที่ 1 0.00-0.14 ไม่สามารถรับรู้ได้ ระดับที่ 2 0.15-1.99 รู้สึกได้เพียงเล็กน้อย ระดับที่ 3 2.00-2.49 สามารถรับรู้ได้โดยง่าย ระดับที่ 4 2.50-4.99 มีความรู้สึกรำคาญ ระดับที่ 5 5.00-9.99 รู้สึกไม่สบายและถูกรบกวน ระดับที่ 6 10.00-15.00 รู้สึกเจ็บปวด ที่มา : Reiher and Meister หมายเหตุ : ค่าความเร็วอนุภาคของแต่ละระดับความสั่นสะเทือนเป็นค่าต่ำสุด (Minimum) ของระดับความสั่นสะเทือนนั้นๆ ตารางที่ 3.2.7-3 ค่ามาตรฐานความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร อาคาร ความถี่ ความเร็วของอนุภาคสูงสุดไม่เกิน (มิลลิเมตรต่อวินาที) จุดตรวจวัด ประเภทที่ (เฮิรตซ์)) ความสั่นสะเทือน กรณีที่ 1 ความสั่นสะเทือน กรณีที่ 2 1 1.1 ฐานรากหรือชั้นล่างของอาคาร f ≤ 10 20 10 ≤ f < 50 0.5 f + 15 - 50 ≤ f < 100 0.2 f + 30 f > 100 50 1.2 ชั้นบนสุดของอาคาร ทุกความถี่ 40* 10* 1.3 พื้นอาคารในแต่ละชั้น ทุกความถี่ 20** 10** 2 2.1 ฐานรากหรือชั้นล่างของอาคาร f ≤ 10 5 10 ≤ f < 50 0.25 f + 2.5 - 50 ≤ f < 100 0.1 f + 10 f > 100 20 2.2 ชั้นบนสุดของอาคาร ทุกความถี่ 15* 5* 2.3 พื้นอาคารในแต่ละชั้น ทุกความถี่ 20** 10** 3 3.1 ฐานรากหรือชั้นล่างของอาคาร f ≤ 10 3 10 ≤ f < 50 0.125 f + 1.75 - 50 ≤ f < 100 0.04 f + 6 f > 100 10 3.2 ชั้นบนสุดของอาคาร ทุกความถี่ 8* 2.5* 3.3 พื้นอาคารในแต่ละชั้น ทุกความถี่ 20** 10** ที่มา : ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2553) เรื่อง กำหนดมาตรฐานความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบ ต่ออาคาร ลงวันที่ 26 เมษายน 2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนพิเศษ 69ง วันที่ 2 มิถุนายน 2553 กรมทางหลวงชนบท 3-153 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน หมายเหตุ : อาคารประเภทที่ 1 ได้แก่ 1) อาคารที่ใช้เป็นโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน 2) อาคารพาณิชย์ อาคารสำนักงาน อาคารคลังสินค้า อาคารพิเศษ อาคารขนาดใหญ่ตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมอาคาร 3) อาคารอื่นใดที่มก ี ารใช้ประโยชน์ในอาคารเช่นเดียวกันกับอาคารตาม 1) และ 2) อาคารประเภทที่ 2 ได้แก่ 1) อาคารอยูอ ่ าศัย อาคารอยู่อาศัยรวม ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว บ้านแฝด ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร 2) อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด 3) หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก 4) อาคารที่ใช้เป็นสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล และอาคารที่ใช้เป็นโรงพยาบาลของทางราชการ 5) อาคารที่ใช้เป็นสถานที่ศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน อาคารที่ใช้เป็นโรงเรียนของทางราชการ อาคารที่ใช้เป็น สถานที่ศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาของเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน และอาคารที่ใช้เป็นสถานที่ศึกษา ของสถาบันอุดมศึกษาของทางราชการ 6) อาคารที่ใช้ประโยชน์เพือ ่ กิจกรรมทางศาสนา 7) อาคารอื่นใดที่มีลักษณะของการใช้ประโยชน์ในอาคารเช่นเดียวกันกับอาคารตาม 1) 2) 3) 4) 5) และ 6) อาคารประเภทที่ 3 ได้แก่ 1) โบราณสถานตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพธ ิ ภัณฑสถานแห่งชาติ 2) อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างในลักษณะอื่นใดที่มีลักษณะไม่มั่นคงแข็งแรงแต่มีคุณค่าทางวัฒนธรรม ความสั่นสะเทือนกรณีที่ 1 คือ ความสั่นสะเทือนที่ไม่ทำให้เกิดการล้าและการสัน ่ พ้องของโครงสร้างอาคาร ความสั่นสะเทือนกรณีที่ 2 คือ ความสั่นสะเทือนที่ทำให้เกิดการล้าหรือการสั่นพ้องของโครงสร้างอาคาร f = ความถี่ของความสั่นสะเทือน ณ เวลาทีม ่ ีความเร็วอนุภาคสูงสุดมีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ * = กำหนดมาตรฐานไว้เฉพาะค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดในแกนนอน ** = กำหนดมาตรฐานไว้เฉพาะค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดในแกนตั้ง ทั้งนี้ การวัดค่าความสั่นสะเทือนสูงสุดสำหรับความสั่นสะเทือนกรณีที่ 2 ตามข้อ 1.2, 2.2 และ 3.2 ให้วัดที่ชั้นบนสุดของ อาคารหรือชั้นอื่นซึ่งมีค่าความสั่นสะเทือนสูงสุด และการวัดค่าความสั่นสะเทือนที่พื้นอาคารในแต่ละชั้นตามข้อ 1.3, 2.3 และ 3.3 ให้ยกเว้นการวัดที่ฐานรากหรือชั้นล่างของอาคาร 3) ผลการศึกษา ผลการตรวจวัดความสั่นสะเทือน ครั้งที่ 1 นการตรวจวั ด ความสั่ น สะเทื อ นในพื้ น ที่ โครงการ จำนวน 4 สถานี ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม และมัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ซึ่งเป็นสถานี เดี ย วกั บ สถานี ต รวจวั ด อากาศ และเสี ย ง โดยผลการศึ ก ษาแสดงดั ง ตารางที่ 3.2.7-4 และ รู ป ที่ 3.2.7-1 (ภาคผนวก ช) ดังนี้ (1) สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) พบว่า ระดับความสั่นสะเทือนที่ตรวจวัดได้ มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด ( PPV) เท่ากับ <0.300 มิลลิเมตรต่อวินาที เมื่อนำค่าผลการตรวจวัดระดับความ สั่นสะเทือนไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของ ประชาชนและการรับรู้ ( Reiher and Meister) พบว่า ส่วนใหญ่มีค่าอยู่ ในระดับที่ไม่สามารถรับรู้ได้ และเมื่อ เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร (อาคารประเภทที่ 2) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 พบว่า ผลการตรวจวัดในช่วงเวลาดังกล่าว อยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบต่ออาคารแต่อย่างใด กรมทางหลวงชนบท 3-154 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.7-4 ผลการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนในพื้นที่โครงการ (วันที่ 3-6 ธันวาคม 2563) ระยะห่างจาก ผลการตรวจวัด มาตรฐาน สถานีตรวจวัด กึ่งกลางแนวเส้นทาง วันที่ เวลา ความเร็วอนุภาคสูงสุด ความถี่ ผลกระทบ ผลกระทบ โครงการ (น.) (mm/s) (Hz) ต่อปฏิกิริยาของมนุษย์1 ต่อสิ่งก่อสร้าง2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อน 199 เมตร 3-4 ธ.ค. 2563 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร เข้าท่าเรือ) (ST1) (ทล.4206) 4-5 ธ.ค. 2563 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร 5-6 ธ.ค. 2563 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้าน 25 เมตร 3-4 ธ.ค. 2563 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร ท่าเรือ) (ST2) (ทล.4206) 4-5 ธ.ค. 2563 12:00-13:00 น. 0.552 (Vert) 1.3 รู้สึกได้เพียงเล็กน้อย ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร 5-6 ธ.ค. 2563 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 683 เมตร 3-4 ธ.ค. 2563 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร (ST3) (กบ.5035) 4-5 ธ.ค. 2563 19:00-20:00 น. 0.386 (Vert) 47 รู้สึกได้เพียงเล็กน้อย ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร 5-6 ธ.ค. 2563 05:00-06:00 น. 0.662 (Long) 18 รู้สึกได้เพียงเล็กน้อย ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม 962 เมตร 3-4 ธ.ค. 2563 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร (ST4) (กบ.5035) 4-5 ธ.ค. 2563 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร 5-6 ธ.ค. 2563 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร ่ สะเทือนในแนวแกนขวาง (Transverse) และ Long คือ แรงสั่นสะเทือนในแนวแกนยาว (Longitudinal) หมายเหตุ : Tran คือ แรงสัน 1 มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนทีก ่ ่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนและการรับรู้ (Reiher and Meister) 2 มาตรฐานกำหนดความสั่นสะเทือนเพือ ่ ป้องกันผลกระทบต่ออาคาร (อาคารประเภทที่ 2) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 กรมทางหลวงชนบท 3-155 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.2.7-1 การติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดความสั่นสะเทือนบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 3-6 ธันวาคม 2563 (2) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) พบว่า ระดับความสั่นสะเทือนที่ตรวจวัดได้มีค่า ความเร็วอนุภาคสูงสุด ( PPV) อยู่ในช่วง <0.300 – 0.552 มิลลิเมตรต่อวินาที และมีค่าความถี่ที่ตรวจวัดได้ 1.3 Hz ค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดส่วนใหญ่อยู่ในแนวแกนตั้ง ( Vertical) เมื่อนำค่าผลการตรวจวัดระดับความ สั่นสะเทือนไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ของประชาชนและการรับรู้ (Reiher and Meister) พบว่า ส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในระดับที่รู้สึกได้เพียงเล็กน้อย และ เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร (อาคารประเภทที่ 2) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 พบว่า ผลการตรวจวัดในช่วงเวลาดังกล่าว อยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบต่ออาคารแต่อย่างใด (3) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ระดับความสั่นสะเทือนที่ตรวจวัดได้มีค่ าความเร็ว อนุ ภ าคสู ง สุ ด ( PPV) อยู่ ในช่ ว ง <0.300 – 0.662 มิ ล ลิ เมตรต่ อวิ นาที และมี ค่ า ความถี่ ที่ ตรวจวัด ได้ 18 Hz ค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดส่วนใหญ่อยู่ในแนวแกนยาว (Longitudinal) เมื่อนำค่าผลการตรวจวัดระดับความ สั่นสะเทือนไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ของประชาชนและการรับรู้ ( Reiher and Meister ) พบว่ า ส่ ว นใหญ่มีค่าอยู่ในระดับที่รู้สึ กได้ เพียงเล็กน้อย และเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร (อาคาร ประเภทที่ 2) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 พบว่า ผลการตรวจวัด ในช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบต่ออาคารแต่อย่างใด กรมทางหลวงชนบท 3-156 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (4) สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ระดับความสั่นสะเทือนที่ตรวจวัดได้มีค่า ความเร็ว อนุภาคสูงสุด ( PPV) เท่ากับ <0.300 มิลลิเมตรต่อวินาที เมื่อนำค่าผลการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนไป เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุ ขภาพของประชาชนและ การรับรู้ (Reiher and Meister) พบว่า ส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในระดับที่ไม่สามารถรับรู้ได้ และเมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร (อาคารประเภทที่ 2) ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 พบว่า ผลการตรวจวัดในช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในระดับ ที่ไม่มีผลกระทบต่ออาคารแต่อย่างใด ผลการตรวจวัดความสั่นสะเทือน ครั้งที่ 2 การตรวจวัดความสั่นสะเทือนในพื้นที่ โครงการ จำนวน 4 สถานี ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อน เข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม และมัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ซึ่ ง เป็ น สถานี เดี ย วกั บ สถานี ต รวจวั ด อากาศ และเสี ย ง โดยผลการศึ ก ษาแสดงดั ง ตารางที่ 3.2.7-5 และ รู ป ที่ 3.2.7-2 (ภาคผนวก ช) ดังนี้ (1) สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) พบว่า ระดับความสั่นสะเทือนที่ตรวจวัดได้ มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด ( PPV) เท่ากับ <0.300 มิลลิเมตรต่อวินาที เมื่อนำค่าผลการตรวจวัดระดับความ สั่นสะเทือนไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอั นตรายต่อสุขภาพของ ประชาชนและการรับรู้ ( Reiher and Meister) พบว่า ส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในระดับที่ไม่สามารถรับรู้ได้ และเมื่อ เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร (อาคารประเภทที่ 2) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 พบว่า ผลการตรวจวัดในช่วงเวลาดังกล่าว อยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบต่ออาคารแต่อย่างใด (2) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) พบว่า ระดับความสั่นสะเทือนที่ตรวจวัดได้มีค่า ความเร็วอนุภาคสูงสุด ( PPV) อยู่ในช่วง <0.300 – 0.418 มิลลิเมตรต่อวินาที และมีค่าความถี่ที่ตรวจวัดได้ 28 Hz ค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดส่วนใหญ่อยู่ในแนวแกนตั้ง ( Vertical) เมื่อนำค่าผลการตรวจวัดระดับความ สั่นสะเทือนไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ของประชาชนและการรับรู้ ( Reiher and Meister) พบว่า ส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในระดับที่รู้สึกได้เพียงเล็กน้อย และ เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร (อาคารประเภทที่ 2) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 พบว่า ผลการตรวจวัดในช่วงเวลาดังกล่าว อยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบต่ออาคารแต่อย่างใด (3) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ระดับความสั่นสะเทือนที่ตรวจวัดได้มีค่ าความเร็ว อนุ ภ าคสู ง สุ ด ( PPV) อยู่ ในช่ ว ง <0. 300 – 0.6 23 มิ ล ลิ เมตรต่ อวิ น าที และมี ค่ า ความถี่ ที่ ต รวจวัด ได้ 64 Hz ค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดส่วนใหญ่อยู่ในแนวแกนยาว (Longitudinal) เมื่อนำค่าผลการตรวจวัดระดับความ สั่นสะเทือนไปเปรีย บเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ของประชาชนและการรับรู้ ( Reiher and Meister ) พบว่ า ส่ ว นใหญ่มีค่าอยู่ในระดับที่รู้สึ กได้ เพียงเล็กน้อย และเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร (อาคาร ประเภทที่ 2) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 พบว่า ผลการตรวจวัด ในช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบต่ออาคารแต่อย่างใด กรมทางหลวงชนบท 3-157 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.2.7-5 ผลการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนในพื้นที่โครงการ (วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564) ระยะห่างจาก ผลการตรวจวัด มาตรฐาน สถานีตรวจวัด กึ่งกลางแนว วันที่ เวลา ความเร็วอนุภาค ความถี่ ผลกระทบ ผลกระทบ เส้นทางโครงการ (น.) สูงสุด (mm/s) (Hz) ต่อปฏิกิริยาของมนุษย์ 1 ต่อสิ่งก่อสร้าง2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 199 เมตร 7-8 ก.พ. 2564 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร (ก่อนเข้าท่าเรือ) (ST1) (ทล.4206) 8-9 ก.พ. 2564 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร 9-10 ก.พ. 2564 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 25 เมตร 7-8 ก.พ. 2564 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร (บ้านท่าเรือ) (ST2) (ทล.4206) 8-9 ก.พ. 2564 12:00-13:00 น. 0.418 (Vert) 28 รู้สึกได้เพียงเล็กน้อย ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร 9-10 ก.พ. 2564 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 683 เมตร 7-8 ก.พ. 2564 17:00-18:00 น. 0.623 (Long) 64 รู้สึกได้เพียงเล็กน้อย ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร (ST3) (กบ.5035) 8-9 ก.พ. 2564 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร 9-10 ก.พ. 2564 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม 962 เมตร 7-8 ก.พ. 2564 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร (ST4) (กบ.5035) 8-9 ก.พ. 2564 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร 9-10 ก.พ. 2564 - <0.300 N/A ไม่สามารถรับรู้ได้ ไม่มีผลกระทบต่ออาคาร หมายเหตุ : Tran คือ แรงสั่นสะเทือนในแนวแกนขวาง (Transverse) และ Long คือ แรงสั่นสะเทือนในแนวแกนยาว (Longitudinal) 1 มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนและการรับรู้ ( Reiher and Meister) 2 มาตรฐานกำหนดความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร (อาคารประเภทที่ 2) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 กรมทางหลวงชนบท 3-158 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.2.7-2 การติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดความสั่นสะเทือนบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2564 (4) สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม พบว่า ระดับความสั่นสะเทือนที่ตรวจวัดได้มีค่าความเร็ว อนุภาคสูงสุด ( PPV) เท่ากับ <0.300 มิลลิเมตรต่อวินาที เมื่อนำค่าผลการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนไป เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนและ การรับรู้ (Reiher and Meister) พบว่า ส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในระดับที่ไม่สามารถรับรู้ได้ และเมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร (อาคารประเภทที่ 2) ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 พบว่า ผลการตรวจวัดในช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในระดับ ที่ไม่มีผลกระทบต่ออาคารแต่อย่างใด กรมทางหลวงชนบท 3-159 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3 .3 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ 3.3.1 ระบบนิเวศ 3.3.1.1 ระบบนิเวศบก 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อตรวจสอบขอบเขตพื้นที่ อนุรักษ์ที ่สำคัญและสำรวจสภาพพื ้นที่อนุ รั กษ์ใน พื้นที ่ศึ กษา โครงการและบริเวณใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการ ได้แก่ พื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่า พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ และ พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ (2) เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านระบบนิเวศที่เกิดขึ้น ทั้งทางตรงและ ทางอ้อม เพื่อกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) วิธีการศึกษา ตรวจสอบขอบเขตพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆ ที่แนวเส้นทางของโครงการตัดผ่าน ได้แก่ แผนที่เขตห้ามล่า แผนที่ป่าสงวนแห่งชาติ และแผนที่พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ ร่วมกับการสำรวจภาคสนาม 3) ผลการศึกษา พื้นที่ศึกษาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ครอบคลุมพื้นที่ในเขตทางและระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการเป็นอย่างน้อย หรือมากกว่าขึ้นกับประเด็นการศึกษา โดยมีจุดเริ่มต้นโครงการที่ กม.0+000 เชื่อมต่อกลับทางหลวงหมายเลข 4206 (กม.26+620) บริเวณบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และจุดสิ้นสุดโครงการ ที่ กม.2+527 เชื่อมต่อกับทางหลวงชนบท กบ.5035 บริเวณบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยผลจากการตรวจสอบพื้นที่อนุรักษ์ในบริเวณพื้นที่ดำเนินการและพื้นที่ศึกษาระย 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ สรุปได้ดังนี้ (1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ก) พื ้ น ที ่ เ ขตห้ า มล่ า สั ต ว์ ป ่ า ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการสงวนและคุ ้ ม ครองสั ต ว์ ป่ า การตรวจสอบพื ้ นที ่ ดำเนิ นการโครงการพบว่ าตั ดผ่ านพื ้ นที ่ เขตห้ ามล่ าสั ตว์ ป ่ าตามกฎหมายว่ าด้ วยการสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า โดยตัดผ่านพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล ช่วง กม.0+922 – กม.1+369 ระยะทางประมาณ 0.447 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 4.0 ไร่ (รูปที่ 3.3.1.1-1) โดยเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเลเป็นพื้นที่ป่าเสม็ด ผื น ใหญ่ เ นื ้ อ ที ่ ห ลายพั น ไร่ ผื น เดี ย วในประเทศไทย และเป็ น พื ้ น ที ่ ที ่ มี สั ง คมพรรณพืชที่เชื่อมต่ อ ระหว่ า ง ป่าชายหาด-ป่าเสม็ด และป่าชายเลนที่คงความบริสุทธิ์มากที่สุด นอกจากนี้ยังเป็นที่อาศัยของสัตว์ป่าคุ้มครอง ซึ่งการเข้าไปกระทำการศึกษาในพื้นที่ดังกล่าว จะต้องดำเนินการยื่นคำขออนุญาตเข้ากระทำการศึกษาหรือวิจัย ทางวิ ชาการในเขตพื ้ นที่ อุ ทยานแห่ งชาติ ตามแนวทางและขั ้ นตอนตามระเบี ยบกรมอุ ทยานแห่ งชาติ สั ตว์ป่า และพันธุ์พืช ว่าด้วยการอนุญาตเข้าไปทำการศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่า สัตว์ป่า ซึ่งผลการขออนุญาตฯ ได้รับหนังสืออนุญาตเข้าไปทำการศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการ ตามหนังสือเลขที่ ทส 0909.204/27279 ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2563 (ภาคผนวก ข) กรมทางหลวงชนบท 3-160 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.1-1 พื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเลในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-161 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) พื้นที่ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี ผลการตรวจสอบพื้นที่ดำเนินการโครงการตัดผ่าน เฉพาะพื้นที่ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และ 14 ตุลาคม 2543 (ไม่ อยู่ในเขต ป่าชายเลนในเขตป่าสงวนแห่งชาติ) ช่วง กม.1+828-กม.1+957 ระยะทางประมาณ 0.129 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ ประมาณ 1.2 ไร่ (รูปที่ 3.3.1.1-2) ค) พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ แนวเส้นทางโครงการตัดผ่านพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 1 แห่ง คือ ป่าสงวนแห่งชาติป่าหลังสอด/ป่าควนบากันเกาะ ช่วง กม.1+958-กม.2+527 ระยะทาง 0.569 กิโลเมตร คิดเป็น พื้นที่ประมาณ 4.0 ไร่ (รูปที่ 3.3.1.1-3) การเข้าไปศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติต้องขอ อนุญาตต่อกรมป่าไม้ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 17 แห่งพระราชบั ญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ซึ่งผลการ ขออนุญาตฯ ได้รับหนังสืออนุญาตเข้าไปทำการศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการ ตามหนังสือเลขที่ ทส 1635.4/2613 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 (ภาคผนวก ค) ง) พื ้ นที ่ ช ั ้ นคุ ณ ภาพลุ ่ มน้ ำ การตรวจสอบพื้ นที ่ชั้ นคุณภาพลุ่ มน้ำในพื ้นที ่ศึ กษาโครงการ กับสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร-ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ตามหนังสือเลขที่ ทส 1009.6/1528 ลงวั นที่ 3 กุ ม ภาพั นธ์ 2564 พบว่ า พื้นที่ดำเนินโครงการตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำที่ 5 ทั้งหมด มีขนาด พื้นที่ประมาณ 13 ไร่ แสดงดังรูปที่ 3.3.1.1-4 โดยพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้นที่ 5 มติคณะรัฐมนตรีกำหนดให้ใช้ พื้นที่ได้ทุกกิจกรรม (2) การสำรวจภาคสนาม ก) ทางหลวงหมายเลข 4206 และทางหลวงหมายเลข กบ.5035 เป็นพื้นที่ระยะสำรวจ ในบริ เวณพื ้ นที ่ ดำเนิ นการก่ อสร้ างถนนโครงการบนพื ้ นที ่ ฝ ั ่ งตำบลเกาะกลาง (ทล.4206) และพื ้ นที ฝ ั ่ งตำบล เกาะลันตาน้อย (กบ.5035) จัดเป็นเส้นทางเคลื่อนย้าย (corridor) ในพื้นที่นิเวศภูมิทัศน์ เป็นพื้นที่เพื่อการเคลื่อนที่ ตามวัตถุประสงค์ที่หลากหลายของการพัฒนา เป็นการออกแบบและเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อการสัญจร (เคลื่อนที่) และเพื่อการขนส่ง (เช่นเดียวกับสัตว์) จัดเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่เปิดโล่งเป็นทางยาว (open linear infrastructure) โดยสภาพพื้นที่ทั่วไปและเส้นทางคมนาคมในพื้นที่โครงการ แสดงดังรูปที่ 3.3.1.1-5 มีองค์ประกอบดังนี้ • ช่ องจราจรและไหล่ท างเป็ นแนวยาวเปิด โล่ ง ( open surface linear area) โดยมี ยานพาหนะขนาดและประเภทต่างๆ ที่เคลื่อนที่บนพื้นผิวถนน และสภาพจราจรที่หนาแน่นคับคั่ง ที่มีความ แตกต่ า งในรอบวัน รอบสั ป ดาห์ และตามฤดู กาล สภาวะอากาศเฉพาะที่ ( microclimate) ที่ พื้ น ผิ ว ถนนดำ (แอสฟัลต์) ของทางหลวง จะดูดซับรังสีความร้อน และในบางช่วงเวลาของรอบวันที่สภาพแวดล้อมของพื้นที่ โครงการมีอุณหภูมิลดลงโดยเฉพาะในช่วงเวลากลางคืน ดังนั้นจึงสำรวจ พบว่า บริเวณไหล่ทางในบางช่วงทาง หลวงที่ยังไม่มีการพัฒนาของสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่สองข้างทางจะเป็นแหล่ง ใช้ประโยชน์ของสัต ว์สะเทิ น น้ ำ สะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานกลุ่มงูและกลุ่มกิ้งก่า ที่คาดว่ามารับรังสีความร้อนจากถนน การสำรวจภาคสนาม จะพบกิ้งก่าหัวแดง เหี้ย ซากสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและซากงูบริเวณไหล่ทางช่วงดังกล่าว ด้วยเหตุผลอธิบาย คือ สภาวะอากาศเฉพาะที่เป็นขอบเขตกว้างจะรวมตัวใน zone แคบๆ ของ road corridor โดยปัจจัยดังกล่าวทำให้เกิด microhabitat ที่หลากหลายสำหรับสัตว์ กรมทางหลวงชนบท 3-162 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.1-2 พื้นที่ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรีในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-163 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.1-3 พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-164 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.1-4 พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-165 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.1-5 สภาพื้นที่ทั่วไปและแนวเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-166 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • พื้นที่ริมไหล่ทาง (Roadside verge) มีสภาพแวดล้อมแตกต่างตามช่วงระยะทาง ในระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ อาจเป็นคูน้ำ/ท้องร่อง บริเวณเปิดโล่งของเส้นทางสัญจรของ ยานพาหนะ สิ่งปลูกสร้าง บ้านเรือนที่อยู่อาศัยของชุมชน พบว่าโดยทั่วไปพื้นที่ในชุมชนปลูกต้นไม้ชนิดพันธุ์ต่างๆ ไว้ทั้งไม้ใหญ่ ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก และยังคงมีสภาพหย่อมต้นไม้และพรรณพืชธรรมชาติ วัชพืชใบแคบ -ใบกว้าง ประเภทและชนิดต่างๆ หลากหลายขึ้นเติบโตปะปนกัน โดยขอบเขตพื้นที่ดังกล่าวมีทั้งขอบเขตกว้างและพื้นที่ ขนาดเล็ก อาจเป็นที่ลุ่ม รกร้าง บางบริเวณมีชนิดพันธุ์ต้นไม้ป่าชายเลนในสภาพเป็นกลุ่มกระจัดกระจายแยกเป็น ช่วงๆ และ/หรือต่อเนื่องกันไปตามความยาวของทางหลวง สัตว์ป่ าที่แพร่กระจายอยู่ส่วนมากเป็นนกประเภทหา กินตามพุ่มไม้ เรือนยอดต้นไม้ เช่น นกกระจิบธรรมดา นกอีแพรดแถบอกดำ นกอีเสือสีน้ำตาล เป็นต้น ประเภท หากินบนพื้นดินในพื้นที่กึ่งเปิดโล่งบริเวณไหล่ทางที่มีกลุ่ม/แนวพรรณพืชเป็นหย่อมๆ เช่น นกยางกรอกพันธุ์จีน เป็นต้น อนึ่งพื้นที่ ริมไหล่ทางบริเวณที่มีชนิดพันธุ์ต้นไม้ของป่าชายเลนขึ้นเติบโต จึงเป็นบริเวณใช้ประโยชน์ของนก ที่ผูกพันกับที่ชุ่มน้ำเพื่อใช้เกาะพักที่กิ่งไม้หรือเกาะมองหาเหยื่อที่เป็นสัตว์น้ำ และเมื่อระดับน้ำในลำคลองลดต่ำลง จนเห็นดินเลนชายคลองทำให้นกเดินลุยน้ำลุยเลนหากินอาหารประเภทสัตว์น้ำ สำรวจพบนกน้ำบางชนิดใน สภาพถิ่นอาศัยเฉพาะที่ (microhabitat) ดังกล่าว เช่น นกกินเปี้ยว นกยางกรอกพันธุ์จีน นกยางเปีย นกยางเขียว นอกจากนี้ในเรือนยอดต้ น ไม้ ยั ง เป็ น แหล่ ง หากิ น แมลงของนกบางชนิ ด เช่ น นกอี แพรดแถบอกดำ ในสภาพ หย่อมต้นไม้เป็นแถบยาวตามแนวริมชายคลองยังเป็นชายขอบเส้นทางที่ตัวเหี้ยเคลื่อนที่ไปตามพื้นผิวดินเลน • สิ่งก่อสร้างในแนวเขตทาง องค์ประกอบ เช่น เสาไฟ สายส่งไฟฟ้าและโคมไฟส่อง สว่าง โครงและแผงป้ายโลหะระบุทิศทางและตำแหน่งที่ตั้งชุมชน เป็นต้น สิ่งก่อสร้างลักษณะต่างๆ ในแนวเขต ทางหลวงดังกล่าว มีมิติโครงสร้างที่เป็นชิ้นงานมาประกอบ จึงมีขนาดความสูง ความกว้าง ความยาว และช่องว่าง รอยต่อ โครงสร้างลักษณะนี้จึงเป็นที่ใช้ประโยชน์ด้านเกาะพัก (roosting site) และที่สร้างรังวางไข่ เลี้ยงดูลูกอ่อน ของสั ต ว์ ป ่ า หลากชนิ ด ที ่ ม ี ข นาดตั ว เล็ ก และปรั บ ตั ว คุ ้ น เคย และทนทานต่ อ สิ ่ ง รบกวนลั ก ษณะต่ า งๆ อย่างต่อเนื่อง ส่วนมากเป็นสัตว์ป่าชั้นนก โคมไฟส่องสว่าง และสายส่งไฟฟ้า พบนกหลากชนิดใช้ประโยชน์เป็นที่ เกาะพัก สัตว์ป่าส่วนน้อยที่กระจายอยู่เป็นสัตว์ป่าชั้นอื่นๆ ที่อาศัยหลบซ่อนตัวตามช่องว่างรอยต่อของโครงสร้าง ได้แก่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกที่สำรวจพบ ได้แก่ คางคกบ้าน อึ่งอ่างบ้าน ปาดบ้าน เป็นต้น สัตว์เลื้อยคลาน ได้แก่ จิ้งจกหางหนาม กิ้งก่าหัวสีแดง เป็นต้น งูเขียวพระอินทร์มีอุปนิสัยอาศัยตามเรือนยอดจะเลื้อยเคลื่อนที่ไ ปยัง ระดับสูงของโครงสร้าง เช่น ลูกถ้วยด้านบนของเสาสายส่งไฟฟ้า เพื่อยกระดับอุณหภูมิร่างกายเพื่อให้ร่างกาย สามารถดำรงกิจกรรมที่สังคมพรรณพืชสิ่งก่อสร้างระดับพื้นต่อไป แสงไฟในเวลากลางคืนจากแนวทางหลวง อาจดึงดูดแมลงหรือไม่ดึงดูดแล้วแต่ประเภทหลอดไฟ ทำให้ค้างคาวบางชนิดมากินแมลง จากสภาพนิเวศปัจจุบันในช่วงเวลาสำรวจของพื้นที่เขตทาง และสภาพสัญจรไป-มาของ ยานพาหนะทั ้ ง ประเภทและขนาด รวมทั ้ ง เสี ย งจากเครื ่ อ งยนต์ เสี ย งแตร และเสี ย งล้ อ ยางรถยนต์ การสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่ของยานพาหนะ กระแสลม มวลความร้อน แสงไฟส่องสว่างเวลากลางคืนและ มลพิษจากยานพาหนะประเภทต่างๆ และการจัดการดูแลรักษาจากกิจกรรมการแผ้วถางพรรณพืชและตัดฟันต้นไม้ เป็นต้น จึงมีสภาพนิเวศด้านถิ่นอาศัยสัตว์ป่าที่มีขนาดและคุณภาพต่ำ สัตว์ป่าที่สำรวจพบที่อาศัยและเคลื่อนย้าย เข้ามาใช้ประโยชน์ในบริเวณเขตทางหลวง จึงมีความหลากชนิดและประชากรน้อย และเป็นประเภทปรับตัว คุ้นเคยกับการถูกรบกวนและทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม และมีขนาดตัวเล็ก หลบเลี่ยงซ่อนตัว และมักจะมีประสิทธิภาพการเคลื่อนที่สูง สัตว์ป่าส่วนมากสามารถปรับตัวอาศัยในที่เปิดโล่ง การปรับตัวของ สัตว์ป่าที่อาศัยและเข้ามาใช้ประโยชน์ยังขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพระบบประสาทรับสัมผัส โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการรับภาพ (visualized sensory reception) และการรับคลื่นเสียง (acoustic sensory reception) พฤติกรรม และประสิทธิภาพสัณฐานเชิงนิเวศด้านการเคลื่อนที่และหลีกเลี่ยงยานพาหนะ รวมทั้งหลีกเลี่ยงการเคลื่ อนที่ บนพื้นผิวถนน เป็นต้น สัตว์ป่าที่อาศัยต้องการการปกป้องภัยจากสิ่งแวดล้อมโดยรอบสัตว์ผู้ล่า และเพื่อการหากิน กรมทางหลวงชนบท 3-167 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน และเป็นประเภทปรับตัวคุ้นเคยกับการถู กรบกวนและทนทานต่ อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้ อม และมี ขนาดตัวเล็ก หลบเลี่ยงซ่อนตัว อย่างไรก็ตามข้อมูลจากการสำรวจภาคสนามส่วนมากเป็นสัตว์ป่าชั้นนก (Class Aves) ที่เคลื่อนที่ด้วยการโบกปีกบินในอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอันดับนกเกาะคอน (Order Passeriformes) ที่มีนิ้วตีนช่วยเกาะพักที่ส่วนโครงสร้างต่างๆ ขององค์ประกอบของแนวเขตทาง และตามเรือนยอดต้นไม้และ พุ่มพรรณพืช และส่วนน้อยเป็นสัตว์ป่าชั้นอื่น นกที่พบในหย่อมพรรณพืชริมไหล่ทาง ได้แก่ นกอีแพรดแถบอกดำ นกจาบคา นกยางกรอก นกแซงแซวหางปลา เป็นต้น ข) พื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหิน เป็นพื้นที่ดำเนินการก่อสร้างเชิงลาดสะพานของโครงการหรือ บริเวณช่วงต้นถนนโครงการ การศึกษาในด้านสภาพแวดล้อมนั้น มีองค์ประกอบเชิงมิติกายภาพพื้นที่มีสิ่งก่อสร้าง ที่มีความหลากหลาย รูปทรง ขนาดและโครงสร้าง และสิ่งปลูกสร้าง พบว่าพื้นที่ในชุมชนทั่วไปปลูกต้นไม้ชนิดพันธุ์ ต่างๆ ไว้ทั้งไม้ใหญ่ ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก และยังคงมีสภาพหย่อมต้นไม้และพรรณพืชธรรมชาติ วัชพืชใบแคบ- ใบกว้าง ประเภท และชนิดต่างๆ หลากหลายขึ้นเติบโตปะปนกัน รวมทั้งที่เป็นชนิดพันธุ์ของป่าชายเลน ที่รกร้าง ที่ลุ่ม ที่เปิดโล่ง และบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำปะปนอยู่ในพื้นที่ เมื่อพิจารณาสภาพนิเวศของพื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหินในปัจจุบัน (จุดบริการแพขยานยนต์) ในด้านเป็นพื้นที่อาศัยของสัตว์ป่า กล่าวได้ว่าส่วนมากเป็นนกเข้ามาใช้ประโยชน์ เป็น ส่วนมากหรือเกือบทั้งหมด ซึ่งเป็นชนิดที่ปรับตัวคุ้นเคยกับการถูก รบกวนอย่างต่อเนื่องกับกิจกรรมของมนุษย์และ ความพลุกพล่านของการจราจรบนพื้นผิวถนนในพื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหิน เช่น นกนางแอ่นแปซิฟิค เป็นต้น ส่วนน้อย เป็นสัตว์ป่ามีกระดูกสันหลังชั้นอื่น โดยพบลิงแสมเข้ามาหาอาหารบริเวณกองขยะ • อาคารและสิ่งก่อสร้างในพื้นที่ชุมชน พื้นที่มีลักษณะนิเวศดังกล่าวนี้มีสัตว์ป่าเข้ามาใช้ ประโยชน์แต่ต้องเป็นชนิดที่ปรับตัวคุ้นเคยหรือทนทานต่อการถูกรบกวนได้ดี สำหรับสัตว์ป่าชั้นนกโดยใช้ประโยชน์ ในลักษณะเป็นที่มองหาเหยื่อเป็นที่เกาะพัก เป็นที่หลบซ่อนตัว เป็นที่หลับนอน และเป็นที่ทำรังวางไข่ ชนิดนก ที่เข้ามาใช้ประโยชน์ เช่น นกตะขาบทุ่ง นกนางแอ่นแปซิฟิค เป็นต้น • บริเวณกองขยะ เป็นแหล่งอาศัยและผสมพันธุ์ของแมลงนานาชนิด จึงเป็น สิ่งดึงดูด ให้นกประเภทกินแมลงเข้ามาใช้เป็นแหล่งหากิน และนกที่กินเศษอาหารในกองพักขยะ เช่น อีกา นกเหล่านี้มี ศักยภาพที่จะรวมฝูงถ้ามีอาหารอุดมสมบูรณ์ • บ่อเลี้ยงสัตว์น้ำอยู่ใกล้เคียงพื้นที่ถูกพัฒนาเปลี่ยนเป็นอาคารและสิ่งก่อสร้างลักษณะ ต่างๆ ตามแนวเส้นทางโครงการ สำรวจพบการหากินอาหารของนกน้ำ เช่น นกกระเต็นอกขาว นกยางกรอกพันธุ์ จีน รวมทั้งนกชายเลน เช่น นกเด้ าดิน เป็นต้น ค) ชายฝั่งทะเลน้ำตื้น คลองช่องลาด เกาะปลิง แนวเส้นทางโครงช่วงตัดผ่านพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลน้ำตื้น คลองช่องลาด เกาะปลิง ที่จะก่อสร้างสะพานคานขึง สะพานคานยื่นสมดุล มีสภาพเป็นส่วนหนึ่ง ของสังคมป่าชายเลนที่มีสภาพพื้นที่เป็นแนวยาวต่อเนื่อ งกันตามแนวเปิดโล่งชายฝั่งน้ำตื้นบริเวณคลองช่องลาด เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล สัตว์ป่าที่อาศัยและใช้ประโยชน์ ส่วนมากเป็นนก รวมทั้งเป็นสภาพนิเวศของนกน้ำและ นกชายเลนอพยพ กอปรกับเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งการแพร่กระจายของสมาชิกบางตัวของนากใหญ่ขนเรียบที่สำรวจพบ อนึ่งเกาะปลิงเป็นเขาหินปูนขนาดพื้นที่ไม่มากมีแถบป่าชายเลนล้อมรอบ พบชนิ ดพันธุ์ ดั้ งเดิม ของป่ าดิบชื้นขึ้น เติบโต สัตว์ป่าที่อาศัยและใช้ประโยชน์มีประชากรต่ำ ส่วนมากเป็นนก รวมทั้งเป็นสภาพนิเวศของนกน้ำและ นกชายเลนอพยพ สำรวจพบนกกินแมลงอพยพที่มีขนาดตัวเล็ก คือนกกระจิ๊ด รวมทั้งนกประจำถิ่นขนาดเล็ก คือ นกกินปลีอกเหลือง ง) พื้นทีศ ่ ึกษาระยะ 500 เมตร สำหรับพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ มีสภาพเป็นพื้นที่มนุษย์ใช้ประโยชน์ พื้นที่ธรรมชาติ (ส่วนหนึ่งของสังคมป่าชายเลน ด้านทิศตะวันออกของเขต ห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล และสภาพต่อเนื่องห่างออกไปยังแนวชายฝั่งทะเลน้ำตื้นเปิดโล่ง มีขนาดพื้นที่เป็นขอบเขต กว้าง) โดยเป็นบริเวณแถบพื้นที่ของป่าชายเลนจัดอยู่ในเขตน้ำทะเลขึ้น -ลง (intertidal zone) ที่เป็นชายหาดเลน กรมทางหลวงชนบท 3-168 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน นอกจากนี้ในระยะ 500 เมตร มีสภาพเป็นสิ่งปลูกสร้าง สังคมป่าชายเลนมีชนิดพันธุ์ไม้ ได้แก่ โกงกาง ต้นแสม ต้นจาก ปรงทะเล เหงือกปลาหมอ ฝาด โปรง กะพ้อ เตยทะเล ปรงหนู พังกาหัวสุม ขลู่ โดยมีวัชพืชใบกว้าง ใบแคบหลากชนิดเจริญเติบโตปะปนกัน ในช่วงเวลาน้ำลง จะมีสภาพเป็นลานดินเลน ทราย กรวด โดยมีสภาพ เป็นหาดที่เปิดโล่งขอบเขตกว้างทั้งลักษณะพื้นที่ต่อเนื่องออกจากแนวชายป่าชายเลนและเป็นแนวยาว กล่าวได้ว่าสัตว์ป่ามีกระดูกสันหลังที่ผูกพันกับพื้นที่ชุ่มน้ำลักษณะดังกล่าวข้างต้นที่เข้ามาใช้ ประโยชน์เป็นส่วนมาก กล่าวคือ สัตว์เ ลื้อยคลาน ได้แก่ เหี้ย ( varanus salvator) งูปากกว้างน้ำเค็ม (Cerberus rynchops) เป็นต้น ประชากรสัตว์ป่าส่วนใหญ่บริเวณพื้นที่โดยรอบนี้ ในช่วงเวลาสำรวจตัวแทนเป็นนกในอันดับ นกชายเลนที่มีสถานภาพอพยพเป็นส่วนใหญ่ ด้วยสภาพลานชายหาดที่เปิดโล่งในช่วงน้ำลง คาดว่าจะมีเหล่านก ชายเลนมีพฤติกรรมการหากินอาหารและพักอยู่รวมกันเป็นฝูง ด้วยสาเหตุที่นกชายเลน/นกน้ำ มีสัณฐานโครงสร้าง ร่างกายเชิงนิเวศ โดยเฉพาะที่เ กี่ยวข้องกับการกินอาหาร ได้แก่ ลักษณะและขนาดของจะงอยปาก ขา และตีน ที่สอดคล้องกับการหากินอาหารบริเวณหาดเลนทั้งช่วงเวลากลางวันและกลางคืนตามรอบการขึ้นลงของน้ำทะเล จึงเอื้อต่อการเดินหากินอาหารทั้งเหยียบเลนลักษณะต่างๆ และลุยน้ำที่ระดับต่างๆ ลักษณะต่างๆ สัมพันธ์ กับ โครงสร้างสัณฐานด้านการหากินอาหาร ได้แก่ ขนาดและรูปทรงจะงอยปาก ความยาวขา เช่น นกหัวโตสีเทา นกอีก๋อยใหญ่ (Numenius arquata) นกทะเลขาแดง (Tringa tetanus) และนกน้ำในอันดับอื่นๆ ได้แก่ อันดับ นกยาง เช่น นกยางกรอกพันธุ์จีน นกยางเปีย นกยางโทนใหญ่ นกยางเขียว นกยางทะเล เป็นต้น คาดว่าจะเป็นที่ หากินของนกน้ำอันดับนกนางนวลหลากชนิดที่จะบินในอากาศมองหาเหยื่อที่เป็นสัตว์น้ำที่มีพื้นผิวผืนน้ำเปิดโล่ง ของคลองช่องลาด สำรวจพบนกที่ผูกพันกับเรือนยอดไม้ป่าชายเลนสภาพนิเวศลักษณะนี้ คือ นกน้ำ เช่น นกกินเปี้ยว นกน้ำที่เกาะรากค้ำจุนของโกงกางเพื่อจ้องมองหาเหยื่อที่เป็นสัตว์น้ำในร่องน้ำ และ/หรือบนผืนดินเลน เช่น นกยาง เขียว รวมทั้งเกาะพักขณะน้ำทะเลหนุนสูงขึ้นท่วมท้นหาด เช่น นกอีก๋อยใหญ่ นกอีก๋อยเล็ก นกหัวโตสีเทา นกทะเล ขาแดง เป็นต้น นกล่าเหยื่อที่บินมองหาเหยื่อจากในอากาศ คือ เหยี่ยวแดง เป็นต้น จ) ป่าชายเลน ป่าชายเลนที่อยู่ใกล้เคียงท่าเทียบเรือฯ มีโครงสร้างของป่าสภาพหนาแน่น ต้นไม้ และเป็นป่าชายเลนที่มีระยะกว้างไม่มากนัก กระจายอยู่เฉพาะแนวชายฝั่งทะเลน้ำตื้นและแนวฝั่งคลอง ช่ อ งลาด สั ตว์ ป ่ า ที ่ พบในป่ าชายเลน เช่ น งู ปล้ องทอง ( Boiga dendrophila) นกยางทะเล ( Egretta sacra) นกกระจิบหัวแดง (Orthotomus sepium) นากใหญ่ขนเรียบ เป็นต้น และสัตว์ป่าที่พบในป่าชายเลนข้างเคียงท่า เที ยบเรื อฯ เช่ น เหี ้ ย ( Varanus salvator) งู ป ากกว้ า งน้ ำ เค็ ม ( Cerberus rynchops) นกยางเปี ย ( Egretta garzetts) นกกะปูดใหญ่ (Centropus sinemnsis) นกกินเปี้ยว (Todiramphus chloris) นกกระจ้อยป่าโกงกาง (Gerygone sulphurea) นกอีแพรดแถบอกดำ (Rhipidura javanica) เป็นอาทิ อนึ่งบริเวณใกล้เคียงป่าชายเลน และผืนน้ำชายฝั่งทะเลน้ำตื้นเปิดโล่งมีภูเขาหินปูนกระจายอยู่ และภูเขาบางลูกอยู่ในขอบเขตของระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเส้นทางโครงการ บนภูเขาหินปูนมีต้นไม้ขึ้นปกคลุมเป็นผืนป่าและเป็นเขตป่าอนุรักษ์ สำรวจพบสัตว์ป่า ประเภทอาศัยอยู่ป่า เช่น นกคัคคูสีทองแดง นกพญาไฟสีเทา นกหัวขวานด่างแคระ นกกระจิบหัวแดง เป็นต้น ระบบนิเวศป่าชายเลน ( Mangrove Ecosystem) เป็นระบบนิเวศที่อยู่ในแนวเชื่อมต่อ (ecotone) ระหว่างผืนแผ่นดินกับพื้นน้ำทะเลในเขตร้อน ( tropical region) และกึ่งร้อน (subtropical region) เป็นระบบที่นำเอาทรัพยากรน้ำ ดิน และแร่ธาตุต่างๆ จากบกและทะเลมาปรุงแต่งให้เป็นแหล่งทรัพยากรที่มีความ หลากหลายทางชีวภาพและคุณค่าสูง ขณะเดียวกันตัวเองจะทำหน้าที่เป็นป้อมปราการที่คอยปกป้องและรักษาไว้ ซึ่งความสมดุลของสิ่งแวดล้อมให้เอื้ออำนวยต่ อการเป็นแหล่งกำเนิดห่วงโซ่อาหาร ( food chain) กลุ่มสังคมพืชที่ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิดที่ไม่ผลัดใบหรือมีใบเขียวชอุ่มตลอดปี ( evergreen species) มีลักษณะทางสรีระ และความต้องการสิ่งแวดล้อมที่คล้ายกัน พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ ไม้สกุลโกงกาง ( Rhizophora) อย่างไรก็ตาม ป่าชายเลนเป็นระบบนิเวศที่ค่อนข้างจะมีลักษณะเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว กล่าวคือป่าประเภทนี้ขึ้นอยู่เฉพาะ ในแถบร้อนและอยู่ตามชายฝั่งทะเลระหว่างบริเวณที่น้ำทะเลขึ้นสูงสุดและลงต่ำสุด องค์ประกอบและกิจกรรม กรมทางหลวงชนบท 3-169 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระบบนิเวศป่าชายเลนประกอบด้วยส่วนที่ เป็นโครงสร้างของระบบนิเวศและส่วนที่เป็นหน้าที่ หรือกิจกรรมของระบบนิเวศ ดังนั้น ระบบนิเวศในป่าชายเลนนั้นเป็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ 1) สิ่งไม่มีชีวิต ประกอบไปด้วย พวกธาตุอาหาร เกลือแร่ น้ำ พวกซากพืช ซากสัตว์ และยังรวมไปถึงสภาพ ภูมิอากาศ เช่น อุณหภูมิ แสง ฝน ความชื้น เป็นต้น และ 2) สิ่งมีชีวิต ประกอบด้วย ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อย สลาย ผู้ผลิต ในที่นี้หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่สามารถสังเคราะห์แสงเองได้ ได้แก่ พืชพันธุ์ไม้ต่างๆ ในป่าชายเลน รวมไป ถึงไดอะตอมแพลงตอนพืชและสาหร่าย ผู้บริโภค คือ สิ่งมีชีวิ ตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ต้องพึ่งพาอาศัย พวกอื่น ได้แก่ พวกสัตว์หน้าดินขนาดเล็ก เช่น แพลงตอนสัตว์ ปู ไส้เดือนทะเล และสัตว์ชนิดอื่นๆ เช่น ปลา กุ้ง ปู รวมไปถึง นก สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งบางชนิดเป็นพวกกินอินทรีย์สาร บางชนิดเป็นพวก กิ น พื ช บางชนิ ด เป็ น พวกกิ น สั ต ว์ และบางชนิ ด เป็ น พวกกิ น ทั ้ ง พื ช และสั ต ว์ ส่ ว นผู ้ ย ่ อยสลาย ซึ ่ ง หมายถึ ง พวกจุลินทรีย์ทั้งหลายที่ช่วยในการทำลายหรือย่อยสลายซากพืชและซากสัตว์ให้เน่าเปื่อยผุพัง จนในที่สุดสลายตัว เป็นธาตุอาหารและปุ๋ย ซึ่งสะสมเป็นแหล่งอาหารในดินเพื่อประโยชน์ต่อผู้ผลิตต่อไป ง) สวนปาล์มน้ำมัน สวนยางพารา สวนทั้งสองประเภทมีศักยภาพในด้านเป็นที่อยู่อาศัย ของสัตว์ป่าในระดับใกล้เคียงกันเพราะโดยทั่วไปพื้นล่างของสวนปาล์มน้ำมันและของสวนยางพาราที่มีอายุมาก จะมีสภาพโล่ง เนื่องจากพรรณพืชที่ขึ้นปกคลุมอยู่ได้ถูกตัดฟันให้สั้นอยู่เสมอทำให้แหล่งอาหารโดยตรงของสัตว์ป่า คือ พรรณพืชอาหารมีความหลากหลายต่ำ รวมทั้งส่งผลให้แหล่งอาหารโดยอ้อม คือ แมลงและสัตว์ประเภทต่างๆ มีปริมาณน้อยเช่นเดียวกัน เมื่อผนวกกับกิจกรรมที่มีอยู่อย่างต่อเนื่องในสวนทั้งสองประเภท จึงมีส่วนร่วมให้ สัตว์ป่าเข้ามาใช้ประโยชน์น้อยลงเพราะถูกรบกวน แต่สวนที่มีอายุน้อยที่ต้นปาล์มน้ำมัน/ต้นยางพารายังมี ขนาดเล็กจะเป็นสวนที่มีสภาพค่อนข้างเปิดโล่งและทำให้สภาพนิเวศมีความหลากหลายมากขึ้น จึงมีสัตว์ป่าประเภท อาศัยในที่เปิดโล่งเข้ามาใช้ประโยชน์ในความหลากชนิดเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นบริเวณรอยต่อของสวนทั้งสองประเภท แต่ละแห่งส่วนใหญ่มีกลุ่มต้นไม้ชนิดพันธุ์ต่างๆ ตามธรรมชาติเติบโตปะปนกัน รวมทั้งหลายชนิดเป็นพืชอาหาร สัตว์ป่า จึงเป็นบริเวณที่มีสัตว์ป่าเข้ามาใช้ประโยชน์มากกว่าพื้นที่ส่วนอื่นเพราะมีแหล่งอาหารและมีที่หลบภัย สัตว์ป่าที่พบในสวนทั้งสองประเภทส่วนใหญ่ เป็นความหลากชนิดคล้ายคลึงกัน ตัวอย่าง เช่น คางคกบ้าน ( Bufo melanostictus) กบหนอง ( Limnonectes limnocharis) ตุ ๊ กแกบ้ าน (Gekko gecko) กิ ้ งก่ าหั วแดง (Calotes versicolor) นกสีชมพูสวน (Dicaeum cruentatum) เป็นต้น อนึ่งบริเวณใกล้เคียงสวนปาล์มน้ำมัน สวนยางพารา ในระยะศึกษา 500 เมตร บางแห่งมีหย่อมป่าดิบชื้นรุ่นสอง พบเป็นที่อาศัยของสัตว์ป่าที่ส่วนมากเป็นนก เช่น นกคัคคู สีทองแดง นกพญาไฟสีเทา นกหัวขวานด่างแคระ นกกระจิบหัวแดง เป็นต้น ฉ) พื้นที่ไม้ผล มีเนื้อที่เป็นสัดส่วนไม่มากและส่วนมากอยู่ใกล้เคียงกับที่ตั้งชุมชนหรือที่ตั้ง บ้านเรือน ส่วนใหญ่เป็นไม้ผลที่ปลูกไม้ผลหลากหลายชนิดปะปนกันโดยมะพร้าวมีปริมาณมากที่สุด นอกจากพันธุ์ ไม้ผลแล้วยังมีชนิดพันธุ์ไม้ธรรมชาติดั้งเดิมเติบโตปะปนอยู่ด้วย ทำให้เป็นบริเวณที่มีความหลากหลายของพรรณพืช และทำให้มีศักยภาพในด้านเป็นที่อยู่อาศัยสูงกว่าสวนปาล์มน้ำมันและสวนยางพารา แต่สัตว์ป่าที่อาศัยหรือเข้ามา ใช้ประโยชน์ต้องปรับตัวให้คุ้นเคยกับการถูกรบกวนที่มีอยู่อย่างต่อเนื่องในสวนผลไม้ ชนิดของสัตว์ป่าที่พบ เช่น คางคกบ้าน (Bufo melanostictus) กบหนอง (Limnonectes limnocharis) จิ้งจกหางหนาม (Hemidactylus frenatus) จิ้งเหลนบ้าน (Mabuya multifasciata) นกจาบคาหัวสีส้ม (Merops leschenaulti) นกปรอดสวน (Pycnonotus blanfordi) นกกระจี๊ดขั้วโลกเหนือ (Phylloscopus borealis) เป็นอาทิ กรมทางหลวงชนบท 3-170 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ช) ที่รกร้าง เป็นบริเวณที่มีต้นไม้ชนิดพันธุ์ ต่างๆ เติบโตปะปนกันกระจายเป็นหย่อม แต่ไม่มี ความต่อเนื่องเป็นผืน พื้นที่บริเวณนี้หลายแห่งถูกใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อปลูกพืชเกษตร แต่พื้นที่ส่วนหนึ่งถูกปล่อย ทิ้งร้างทำให้มีสภาพเป็นที่เปิดโล่งของพื้นดินแห้งหรือเป็นที่รกร้างที่มีหญ้าและวัชพืชใบกว้างนานาชนิดเติบโต ปะปนกัน ในขณะที่อีกหลายแห่งยังคงถูกใช้ประโยชน์ที่ดินในปัจจุบันโดยเป็นนาข้าวแคบๆ และรวมทั้งมีคน ู ้ำและ บ่อน้ำกระจายอยู่ด้วย ด้วยเหตุนี้พื้นที่บริเวณนี้จึงมีความหลากหลายของระบบนิเวศและทำให้มีสัตว์ป่าเข้ามาใช้ ประโยชน์ในความหลากชนิด ค่อนข้ างมาก ชนิ ด สัต ว์ ป่ าที่ พบ เช่ น กบหนอง ( Limnonectes limnocharis) จิ ้ ง จกหางหนาม (Hemidactylus frenatus) จิ ้ งเหลนหลากหลาย (Mabuya macularia) นกยางเปี ย (Egretta garzetta) นกแซงแซวหางปลา (Dicrurus macrocercus) นกยอดข้างหางแพนลาย (Cisticola juncidis) นกอีแพรด แถบอกดำ (Rhipidura javanica) เป็นต้น 3.3.1.2 นิเวศวิทยาทางน้ำ 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาสภาพระบบนิเวศวิทยาทางน้ำในปัจจุบันที่แนวเส้นทางโครงการตัดผ่าน (2) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลนิเวศวิทยา เพื่อนำข้อมูลของสภาพแวดล้อมปัจจุบันของนิเวศวิท ยา ทางน้ำในพื้นที่ตามแนวเส้นทางโครงการ ซึ่งข้อมูลที่ได้มาทั้งหมดจะนำมาใช้ประกอบการพิจารณาเพื่อประเมิน ผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาทางน้ำ เช่น ชนิด ประเภท ความหลากหลายทางชีวภาพ จากการพัฒนาโครงการ ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ (3) เพื่อเสนอแนะมาตรการป้ องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้ อม รวมทั้งมาตรการติ ด ตาม ตรวจสอบผลกระทบที่เกิดขึ้น 2) วิธีการศึกษา (1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ การรวบรวมข้อมูลด้านนิเวศวิทยาทางน้ำ จากรายงานการศึกษา ที่เกี่ยวข้อง (2) ทำการเก็บตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในน้ำ ประกอบด้วย แพลงก์ตอนพืชและสัตว์ สัตว์น้ำวัยอ่อน สัตว์หน้าดิน และปลา ในบริเวณเดียวกับจุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำ ดังนี้ ก) สถานีเก็บตัวอย่าง : สถานีเก็บตัวอย่างสิ่งมีชีวิตทางน้ำจะต้องสอดคล้องกับสถานีเก็บตัวอย่าง คุณภาพน้ำทะเลและสามารถเป็นตัวแทนของแหล่งน้ำ โดยมีสถานีเก็บตัวอย่าง จำนวน 3 สถานี ได้แก่สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะ ลันตาน้อย แสดงดังรูปที่ 3.3.1.2-1 ข) เครื่องมือเก็บตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในน้ำ ใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ - ถุงเก็บแพลงก์ตอนพืชและสัตว์ ขนาดช่องตาข่าย 20 และ 330 ไมโครเมตร - ถุงเก็บสัตว์น้ำวัยอ่อน ประกอบด้วยขนาดตา 2 ขนาดภายในถุงเดียว คือ ส่วนบน ขนาดตา 550 ไมโครเมตร และส่วนปลาย 330 ไมโครเมตร - เครื่องเก็บตัวอย่างสัตว์หน้าดิน Ekman Dredge พื้นที่ 0.25 ตารางฟุต และตะแกรงร่อน - อวนลากปลา ขนาดช่องตา 1.0-5.0 เซนติเมตร ความยาว 5-20 เมตร ค) สำรวจและรวบรวมข้อมูลสัตว์น้ำจากกลุ่มประมงพื้นบ้าน และตลาดสัตว์น้ำในท้องถิ่น รวมทั้งสอบถามข้อมูลจากชาวประมงในบริเวณพื้นที่โครงการ ร่วมกับการสอบถามข้อมูลจากหน่วยงานท้องถิ่น และราษฎรในท้องถิ่น กรมทางหลวงชนบท 3-171 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.2-1 ตำแหน่งจุดเก็บตัวอย่างน้ำทะเลและนิเวศวิทยาทางน้ำ กรมทางหลวงชนบท 3-172 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ง) ดัชนีที่จะทำการวิเคราะห์ ได้แก่ - แพลงก์ตอนพืชและสัตว์ ชนิดหรือกลุ่ม ความหลากหลาย ความชุกชุม ความหนาแน่น ลักษณะทั่วไป และลักษณะเด่น - สัตว์น้ำวัยอ่อน ชนิดหรือกลุ่ม ความหลากหลาย ความชุกชุม ความหนาแน่น ลักษณะ ทั่วไป และลักษณะเด่น - สัตว์หน้าดิน ชนิดหรือกลุ่ม ความหลากหลาย ความชุกชุม ความหนาแน่น ลักษณะ ทั่วไป และลักษณะเด่น - ปลา ชนิ ด หรื อ กลุ ่ ม ความหลากหลายพั น ธุ ์ ความชุ ก ชุ ม ขนาด สถานภาพทาง นิเวศวิทยา สายพันธุ์ที่สำคัญหรือมีลักษณะเด่น จ) คำนวณหาค่าดัชนีความหลากหลาย (Diversity Index) โดยวิธีการของ Shannon-Weiner Index ดังสมการ H = - ∑ =()( ) โดยที่ H = ดัชนีความหลากหลาย S = จำนวนชนิด Pi = สัดส่วนของจำนวนสิ่งมีชีวิตชนิดที่ i/จำนวนทั้งหมดในตัวอย่าง ทำการพิจารณาค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตทางน้ำ และนำค่าที่ได้มาเทียบ กับดัชนีความหลากหลายของ Wilhm and Dorris (ค.ศ. 1968) กำหนดไว้ดังนี้ H < 1.0 = แหล่งน้ำไม่เหมาะสมสำหรับการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต (มีความหลากหลายต่ำ) H = 1.0-3.0 = แหล่งน้ำนั้นมีคุณสมบัติที่สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ได้ (มีความหลากหลายปานกลาง) H > 3.0 = สิ่งแวดล้อมเหมาะสำหรับการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต (มีความหลากหลายสูง) ฉ) ประเมินผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำและสภาพทางนิเวศวิทยาทางน้ำจากกิจกรรมโครงการ โดยดำเนินการร่วมกับการประเมินผลกระทบต่อคุณภาพน้ำ 3) ผลการศึกษา (1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ผลการทบทวนข้อมูลรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมระดับละเอียด ( EIA) โครงการก่อสร้าง สะพานเชื่อมเกาะลันตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 พบว่า ผลการสำรวจและเก็บตัวอย่างนิเวศวิทยาทางน้ำ ได้แก่ แพลงก์ต อนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ และสัตว์หน้าดิน จำนวน 3 สถานี ได้แก่ สถานีที่ 1 คลองลัดบ่อแหนบริเวณแนวถนนหน้าที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา สถานีที่ 2 คลองลั ด บ่ อแหนบริเวณแนวกึ่ งกลางแพขนานยนต์ และสถานีท ี่ 3 คลองลั ด บ่ อแหนบริเวณแนวคลองด้าน ทิศตะวันออก แพลงก์ตอนรวมในทั้ง 3 สถานีนั้นมีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 1 ,914,886-5,802,302 เซลล์/ ลูกบาศก์เมตร โดยพบความหนาแน่นสูงสุดที่สถานีที่ 1 และต่ำสุดที่สถานีที่ 3 โดยจำแนกเป็นแพลงก์ตอนพืช กรมทางหลวงชนบท 3-173 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 4 ไฟลัม ครอบคลุม 36 สกุล รวม 51 ชนิด พบว่า มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 1 ,745,923-5,403,301 เซลล์/ ลูกบาศก์เมตร และสำรวจพบแพลงก์ตอนสัตว์ 5 ไฟลัม 17 สกุล รวม 20 ชนิด โดยมีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 168,963-399,001 เซลล์/ลูกบาศก์เมตร แสดงดังตารางที่ 3.3.1.2-1 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ก) แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนพืชในกลุ่มไดอะตอมมากที่สุด โดยพบ Bacteriastrum sp. ซึ่งบริเวณสถานีที่ 1 พบมากถึงร้อยละ 50 (2 ,681,000 เซลล์/ลูกบาศก์เมตร) และ Chaetoceros lorenzianus กลุ่มที่พบรองลงมา คือ ไดโนเฟตเจลเลต ชนิดเด่นที่พบ คือ Protoperidinium sp. กลุ่มสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน ในทั้ง 3 สถานี พบเพียง 1 ชนิด คือ Oscillatoria sp. และกลุ่มสาหร่ายสีน้ำตาล พบเพียงสถานีที่ 1 เท่านั้น คือ Dictyocha fibula และจากค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชที่คำนวณได้อยู่ระหว่าง 1.73-2.54 บ่งบอกถึงสภาพการกระจายตัวของแพลงก์ตอนพืชในแหล่งน้ำในพื้นที่โครงการว่าอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี ข) แพลงตอนสัตว์ แพลงก์ตอนสัตว์ในคลองลัดบ่อแหน พบแพลงก์ตอนสัตว์หนาแน่นที่สุด บริเวณสถานีที่ 1 คลองลัดบ่อแหน บริเวณแนวถนนหน้าที่ทำการอำเภอเกาะลันตา รองลงมา คือ สถานีที่ 2 คลองลัดบ่อแหน บริเวณแนวกึ่งกลางแพขนานยนต์ และหนาแน่นน้อยที่สุดที่สถานีที่ 3 คลองลัดบ่อแหน บริเวณ แนวคลองด้านตะวันออก ซึ่งพบแพลงก์ตอนสัตว์เพียง 2 กลุ่มเท่านั้น คือ กลุ่มโปรโตซัว และกลุ่มอาร์โทรปอด ซึ่งทั้ง 2 กลุ่มนี้ พบในทุกสถานี โดยโปรโตซัว ชนิดเด่นที่พบ คือ Tintinnopsis tubulosa และ Tintinnopsis turgida กลุ่มที่พบ รองลงมา คือ อาร์โทรปอด ชนิดเด่นที่พบทุกสถานี คือ Nauplius รองลงมา คือ กลุ่มมอลลัสกา พบตัวอ่อนหอย 2 ชนิด ส่วนกลุ่มแอนนิลิด และคอร์ดาต้า พบเพียงกลุ่มละ 1 ชนิดเท่ากัน เมื่อพิจารณาค่าดัชนี ความหลากหลายของแพลงก์ตอนสัตว์ มีค่าอยู่ระหว่าง 1.76-1.95 ซึ่งเป็นค่าปานกลางที่พบโดยทั่วไป ค) สัตว์หน้าดิน ผลการสำรวจพบสัตว์หน้าดินในพื้นท้องน้ำของคลองลัดบ่อแหนบริเวณ พื้นที่โครงการทั้ง 3 สถานีนั้น พบสัตว์หน้าดินจำนวนเล็กน้อยเพียง 3 ไฟลัม ครอบคลุม 3 ครอบครัว รวม 3 ชนิด มีปริมาณความหนาแน่น 4-13 ตัว/ตารางเมตร สถานีที่ 1 พบจำนวน 4 ตัว/ตารางเมตร และพบหนาแน่นสูงสุด ที่สถานีที่ 3 บริเวณคลองลัดบ่อแหน บริเวณแนวคลองด้านตะวันออก จำนวน 13 ตัว/ตารางเมตร ส่วนสถานีที่ 2 บริเวณคลองลัดบ่อแหน บริเวณแนวกึ่งกลางแพขนานยนต์ ในการสำรวจครั้งนี้สุ่มเก็บตัวอย่างตะกอนพื้นท้องน้ำ แล้วไม่พบสัตว์หน้าดินเลย โดยแต่ละสถานีสำรวจมีชนิ ดและความชุกชุมของสัตว์หน้าดินดังนี้ สถานีที่ 1 หน้า ที่ทำการอำเภอเกาะลันตาพบสัตว์หน้าดินเพียง 1 ชนิด ได้แก่ ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Glyceridae จำนวน 4 ตัว/ ตารางเมตร ส่วนสถานีที่ 3 เหนือน้ำด้านตะวันออก พบอยู่ 2 ชนิด รวมจำนวนทั้งสิ้น 13 ตัว/ตารางเมตร ได้แก่ กลุ่มแอมฟิปอด ในครอบครัว Gammaridae จำนวน 4 ตัว/ตารางเมตร และหอยฝาเดียวในครอบครัว Trochidae ชนิด Umbonium sp. จำนวน 9 ตัว/ตารางเมตร ไส้เดือนทะเลจะพบในบริเวณปลายคลอง ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก น้ำทะเลรุกตัวจากปากคลอง ซึ่งน้ำเค็มจะรุกตัวเข้ามาที่ระดับพื้นท้องน้ำทำให้มีสัตว์ทะเลเข้ามาแพร่พันธุ์อยู่ใน บริเวณคลองลัดบ่อแหน เมื่อพิจารณาค่าดัชนีความหลากหลาย พบว่า สถานีที่ 1 พบสัตว์หน้าดินเพียงชนิดเดียว ไม่สามารถคำนวณค่าดังกล่าวได้ บริเวณสถานีที่ 3 มีค่าเท่ากับ 0.62 บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์และการ แพร่กระจายตัวของสัตว์หน้าดินในสถานีนี้ว่าอยู่ในระดับต่ำ ง) ปลาที่มีถิ่นอาศัยในทะเล ตามแนวชายฝั่งทะเลของเกาะลันตาและเกาะรอก ซึ่งประกอบ ไปด้วย แนวปะการังและหาดหิน พบว่า มีปลาทะเลอาศัยอยู่อย่างน้อย 61 ชนิด ดังแสดงใน ตารางที่ 3.3.1.2-2 ส่วนหนึ่งเป็นปลาที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจต่อประชาชนในท้องถิ่นจากการตรวจสอบสถานภาพของสัตว์ป่าที่พบ ในเกาะลันตา โดยใช้เกณฑ์การจำแนกสถานภาพของสัตว์ป่าในประเทศไทย ของ Humphrey & Bain (1990), IUCN (1990), TISTR (1991) และ National Biodiversity Unit (1992) พบว่า มีสัตว์ป่า จำนวน 20 ชนิด ที่เข้าเกณฑ์ การจำแนกดังกล่าว โดยมีสถานภาพแตกต่างกัน กรมทางหลวงชนบท 3-174 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 5.2.3-1 ชนิดและปริมาณของแพลงก์ ตอน (เซลล์ /ลูกบาศก์ เมตร) ในพื้นทีโ ่ ครงการ ตัวด (เก็บชนิ ตารางที่ 3.3.1.2-1 อย่ างเมื่อวั และปริ มน ที่ 18 พฤษภาคม าณของแพลงก์ 2551) ตอน (cell/cm3) วันที่ 18 พฤษภาคม 2551 สถานีเก็บตัวอย่าง ไฟลัม / ชนิดของแพลงก์ ตอน 1 2 3 Phytoplankton Cyanophyta (blue green algae) Oscillatoria sp. 378,000 50,240 91,520 Bacillariophyta (diatom) Actinoptychus splendens 7,000 7,040 Amphora sp. 7,000 56,520 21,120 Anomoeneis sp. 12,560 Asterionella glacilis 7,000 Asteromphalus flabellatus 7,000 Bacillaria paxillifer 62,800 56,320 Bacteriastrum sp. 2,681,000 847,800 281,600 Biddulphia pulchella 6,280 Chaetoceros compressus 490,000 339,120 42,240 Chaetoceros laevis 14,000 6,280 Chaetoceros lorenzianus 1,134,000 609,160 147,840 Climacadium frauenfeldianum 7,000 Climacosphenia moniligera 14,000 25,120 14,080 Coscinodiscus sp. 41,300 709,640 485,760 Ditylum sol 7,000 Entomoneis gigantea 7,040 Entomoneis robusta 6,280 7,040 Guinardia flaccida 6,280 Hemiaulus sinensis 14,080 Mastogloia smithii 7,000 25,120 21,120 Navicula lyra 6,280 Nitzschia longissima 50,240 28,160 Nitzschia pungens 14,080 Nitzschia sigma 7,000 42,240 Odontella aurita 7,000 37,680 Odontella sinensis 14,000 25,120 Paralia sulcata 7,000 37,680 21,120 Pleurosigma sp. 84,000 307,720 161,920 Pinnularia brevicostata 6,280 Rhizosolenia alata 21,000 6,280 กรมทางหลวงชนบท 3-175 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 5.2.3-1 (ต่ อ) ตารางที่ 3.3.1.2-1 ชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 18 พฤษภาคม 2551 (ต่อ) สถานีเก็บตัวอย่าง ไฟลัม / ชนิดของแพลงก์ ตอน 1 2 3 Rhizosolenia calcar-avis 14,000 7,040 Rhizosolenia deliculata 6,280 14,080 Rhizosolenia fragillissima 6,280 Rhizosolenia setigera 7,000 Rhizosolenia stolterfohtii 7,000 Stephanopyxis palmeriana 14,080 Streptotheca thamesis 14,000 12,560 Thalassionema nitzschioides 42,000 213,520 70,400 Thalassiosira subtilis 14,000 6,280 Thalassiothrix frauenfeldii 98,000 169,560 91,520 Chrysophyta (yellow brown algae) Dictyocha fibula 7,000 Pyrrophyta (dinoflagellate) Ceratium extensum 12,560 Ceratium furca 21,000 7,040 Ceratium fusus 28,000 12,560 14,080 Ceratium trichoceros 21,000 Ceratium tripos 28,000 14,080 Dinophysis amygdala 7,040 Noctiluca scintillans 7,000 Prorocentrum lebourae 7,040 Protoperidinium sp. 154,000 50,240 35,200 Zooplankton Protozoa Acinosphaerium eichhorni 7,000 Amphorellopsis acuata 7,000 Codonellopsis ostenfeldi 14,000 Dictyocysta spinosa 6,280 Dileptus sp. 7,000 Leprotintinnus sp. 14,000 Stenosemella nivalis 7,000 7,040 Strombidiopsis sp. 6,280 Tintinnopsis cylindrica 28,160 กรมทางหลวงชนบท 3-176 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 5.2.3-1 (ต่ อ) ตารางที่ 3.3.1.2-1 ชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 18 พฤษภาคม 2551 (ต่อ) สถานีเก็บตัวอย่าง ไฟลัม / ชนิดของแพลงก์ ตอน 1 2 3 Tintinnopsis tocantinensis 7,000 18,840 35,200 Tintinnopsis tubulosa 168,000 43,960 14,080 Tintinnopsis turgida 21,000 50,240 49,280 Annelida *Trochophore larvae 21,000 Arthropoda Calanus sp. 6,280 Microsetella rosea 7,000 6,280 *Nauplius 70,000 37,680 28,160 *Order Cyclopoida 7,000 7,040 Mollusca *Gastropods larvae 6,280 *Pelecypods larvae 42,000 Chordata Oikopleura sp. 6,280 รวมแพลงก์ ตอนพืช (เซลล์ /ลูกบาศก์ เมตร) 5,403,301 3,730,322 1,745,923 รวมแพลงก์ ตอนสั ตว์ (เซลล์ /ลูกบาศก์ เมตร) 399,001 188,402 168,963 รวมทั้งหมด (เซลล์ /ลูกบาศก์ เมตร) 5,802,302 3,918,724 1,914,886 รวมชนิดแพลงก์ ตอนพืช 34 31 29 รวมชนิดแพลงก์ ตอนสั ตว์ 14 10 7 ค่ าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ ตอนพืช 1.73 2.36 2.54 ค่ าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ ตอนสั ตว์ 1.95 1.92 1.76 หมายเหตุ ที : * อ=สร้า ่มา : โครงการก่ ไม่ สามารถแยกชนิ งสะพานเชื ดได้ ่อมเกาะลั นตาน้อย-เกาะลันตาใหญ่ อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 หมายเหตุ : สถานี * = ที่ 1 = สามารถแยกชนิ ไม่คลองลั ดได้ เวณแนวถนนหน้าที่ทาการอาเภอเกาะลันตา ดบ่อแหนบริ สถานีที่ 1 = คลองลัดบ่อแหนบริเวณแนวถนนหน้าที่ทำการอำเภอเกาะลันตา สถานีที่ 2 = คลองลัดบ่อแหนบริ เวณแนวกึ่งกลางแพขนานยนต์ สถานีที่ 2 = คลองลัดบ่อแหนบริเวณแนวกึ่งกลางแพขนานยนต์ สถานี ที่ ี่ 3 สถานีท 3== คลองลั ดบ่ คลองลั ดอ บ่แหนบริ อแหนบริเวณแนวคลองด้ เวณแนวคลองด้าานตะวั นออก นตะวัน ออก กรมทางหลวงชนบท 3-177 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ่ 3.3.1.2รายชื ตารางที่ 5.2.2-6 ตารางที ส ่ อปลาทะเลที -2 รายชื ่ ารวจพบในเขตอุ ่อปลาทะเลที ทยานแห่ งชาติท ่สำรวจพบในเขตอุ หยานแห่ ตา มู่เกาะลันง ด่เ จังหวั ชาติ หมู กระบี กาะลั่ นตา จังหวัดกระบี่ ลาดับที่ ชื่ อไทย ชื่ อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ความชุ กชุ ม สถานะ 1 ปลาตาเหลือกสั้น Megalops cyprinoides Megalopidae 3 2 ปลาโทง Tylosurus crocodylus Belonidae 3,E 3 ปลาหลดหิ น Gymnothorax melanospilus Muraenidae 2 4 ปลาปากคม Synodus variegatus Synodontidae 3 5 ปลาดุกทะเล Plotosus lineatus Plotosidae 2,E 6 ปลาข้าวเม่าน้ าลึก Sargocentron rubrum Holocentridae 3 7 ปลากะบอกขาว Valamugil seheli Mugilidae 3,E 8 ปลากะบอกหูดา Liza waigiensis 3,E 9 ปลากะบอกดา Liza subviridis 3,E 10 ปลาข้างตะเภา Therapon Jarbua Theraponidae 4 11 ปลาตีน Periophthalmus sp. Gobiidae 3 12 ปลาแล่นลม Trachinotus blochi Carangidae 2 13 ปลากะพงหิ น Kyphosus cinerascens Lutijanidae 3 14 ปลากะพงเขียว Aprion virescens 3,E 15 ปลากะพงแดงสี เลือดนก Lutjanus gibbus 3,E 16 ปลากะพงแดงจุดขาว L. rivulatus 2 17 ปลากะพงข้านปาน L. johni 3,E 18 ปลากะพงแดง L. monostigma 3,E 19 ปลากะพงเหลือง L. lutjanus 3 20 ปลากะพงแถบฟ้า L. quinqueradiatus 3 21 ปลาเหลืองโพรง Caesio teres 3,E 22 ปลากะรังลายเส้นขาว Anyperodon leucogramicus Serranidae 3 23 ปลากะรัง Plectopoma maculata 3,E 24 ปลากะรังแดงจุดฟ้า Cephalopholis miniatus 3 25 ปลากะรังลายน้ าเงิน C. formosus 4 26 ปลาเก๋ า Epinephelus coioides 4,E 27 ปลากะรังลายจุดขาว E. ongus 3 28 ปลากะรังหน้าหนู E. coralicola 3,E 29 ปลากะรังลายรังผึ้ง E.faviatus 2 30 ปลาผีเสื้ อครี บยาว Chaetodon auriga Chaetodontidae 2 31 ปลาผีเสื้ อพระจันทร์ C.lunula 2 32 ปลาผีเสื้ อหางเหลี่ยม C. triangulum 2 33 ปลาผีเสื้ อคอขาว C. collare 2 34 ปลาผีเสื้ อปานขาว C. trifasciatus 3 35 ปลาผีเสื้ อลายทะแยง C. vegabundus 2 36 ปลาโนรี Heniochus acuminatus 3 37 ปลากระจิบ Forcipiger longirostris 2 38 ปลาสิ นสมุทร Pomacanthus semicirculatus Pomacanthidae 2 39 ปลาสิ นสมุทร P. imperator 2 กรมทางหลวงชนบท 3-178 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ่ 3.3.1.2(-ต่2อ)รายชื่อปลาทะเลที่สำรวจพบในเขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (ต่อ) ตารางที่ 5.2.2-6 ตารางที ลาดับที่ ชื่ อไทย ชื่ อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ความชุ กชุ ม สถานะ 40 ปลาดอกหมาก Gerres sp. Gerreidae 4 41 ปลาแป้ น Leiognthus blochi Leioghathidae 4 42 ปลาเห็ดโคน Sillago sihama Silaginidae 4,E 43 ปลาทรายขาว Scolosis taeniopterus Nemipteridae 4 44 ปลาแพะ Upeneus tragula Mullidae 4 45 ปลาหมูสี Lethrinus lentjan Lethrinidae 4,E 46 ปลาหมูสี L. ornatus 4,E 47 ปลาหมูสี L. olivaceus 2 48 ปลาสาก Sphyraena baracuda Sphyraenidae 2,E 49 ปลาสลิดหิ น Siganus canaliculatus Siganidae 4,E 50 ปลาสลิดหิ นลายเส้น S. javus 3,E 51 ปลาสลิดหิ น Pomacentrus spp. Pomacentridae 3 52 ปลาคะกรับลาย Abudefduf vaigiensis 3 53 ปลาคะกรับเหลือง Amblyglyphidodon aureus 2 54 ปลาการ์ ตูนอินเดียนแดง Amphiprion perideraion 2 55 ปลาการ์ ตูนลายปล้อง A. ocellalis 2 56 ปลาสิ งโต Pterois volitans Scorpaenidae 2 57 ปลาสิ งโต Pterois radiata 2 58 ปลากล่อง Ostracion nasus Ostraciidae 2 59 ปลาปั กเป้ าหนามทุเรี ยน Diodon histrix Diodontidae 1 60 ปลาปั กเป้ าหนามสั้น D. liturosus. 2 61 ปลาปั กเป้ าหน้าหมา Arothron nigropunctatus Triodontidae 3 ่ า : ศูนย์ชีววิทยาเชิ งอนุรักษ์ธรรมชาติ (2539) ทีม หมายเหตุ : 1 หมายถึง ปลาที่หายากพบได้นอ ้ ย (Rare) 2 หมายถึง ปลาที่พบเห็นได้ค่อนข้างยาก (Uncommon) 3 หมายถึง ปลาที่พบเห็นได้ง่าย (Common) 4 หมายถึง ปลาที่พบได้ง่ายพบได้ทว ั่ ไป (Abundance) E หมายถึง ปลาเศรษฐกิจ กรมทางหลวงชนบท 3-179 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (2) การสำรวจภาคสนาม ทำการศึกษาและสำรวจนิเวศวิทยาทางน้ำ จำนวน 3 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2564 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2564 มีรายละเอียดดังนี้ ก) ผลการศึกษา ครั้งที่ 1 ผลการสำรวจและเก็บตัวอย่างนิเวศวิทยาทางน้ำ จากการดำเนินการเก็บตัวอย่างนิเวศวิทยา ทางน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2564 จำนวน 3 สถานี ได้แก่ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย แสดงดัง รูปที่ 3.3.1.2-2 ซึ่งเป็นบริเวณเดียวกับสถานีเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง โดยเก็บตัวอย่างทั้งแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์ สัตว์น้ำวัยอ่อน สัตว์หน้าดิน ปลา และพืชน้ำ โดยมีผลการศึกษาดังนี้ (ก) แพลงก์ ตอน บริ เวณพื ้ นที ่ โครงการ (ตั ้ งแต่ สถานี ท ี ่ 1-3) พบแพลงก์ ตอนมี ความ หนาแน่นรวมทั้งหมด 6,838,020-10,060,680 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร (ตารางที่ 3.3.1.2-3) แสดงถึงบริเวณพื้นที่ โครงการมีความอุดมสมบูรณ์ของแพลงก์ตอนอยู่ในเกณฑ์สูง ค่าความหนาแน่นต่ำสุดและสูงสุดพบในสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย และสถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง ตามลำดับ โดยมีความหลากหลาย ชนิดอยู่ในเกณฑ์ระดับปานกลาง โดยพบแพลงก์ตอนพืชในแต่ละสถานีมีแพลงก์ตอนพืชอยู่ระหว่าง 27-34 ชนิด ส่วนปริมาณแพลงก์ตอนพืชมีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 6,521,760-9,756,300 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ค่าความ หนาแน่นต่ำสุดและสูงสุดพบในสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย และสถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง ตามลำดับ ดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง คือ มีค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนพืช อยู่ระหว่าง 2.07-2.39 และพบแพลงก์ตอนสัตว์ในแต่ละสถานีมีแพลงก์สัตว์อยู่ระหว่ าง 11-16 ชนิด ส่วนปริมาณ แพลงก์ตอนสัตว์มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 304,380-403,200 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ค่าความหนาแน่นต่ำสุด และสูงสุดพบในสถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ตามลำดับสำหรับ ค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง คือ มีค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนสัตว์อยู่ระหว่าง 1.48- 2.54 โดยมีรายละเอียดของการแพร่กระจายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ในแต่ละสถานีสำรวจ ดังนี้ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พบจำนวนชนิดของแพลงก์ตอน 38 ชนิด โดยมีจำนวนชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ 27 และ 11 ชนิด ตามลำดับ แพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์ชนิดเด่น คือ ไดอะตอม ชนิด Guinardia flaccida และอาร์โทรปอด ชนิด Lucifer sp. ตามลำดับ และมีปริมาณความหนาแน่นของแพลงก์ตอน 8,290,520 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ส่วนความหนาแน่น ของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 7 ,887,320 และ 403,200 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 2.07 และ 1.48 ตามลำดับ โดยค่าดัชนีความหลากหลายดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง - สถานี ท ี ่ 2 ชายฝั ่ ง เกาะปลิ ง พบจำนวนชนิ ด ของแพลงก์ ต อน 44 ชนิ ด โดยมีจำนวนชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ 33 และ 11 ชนิด ตามลำดับ แพลงก์ตอนพืช และ แพลงก์ ต อนสั ต ว์ ช นิ ด เด่ น คื อ ไดอะตอม ชนิ ด Guinardia flaccida และอาร์ โ ทรปอด ชนิ ด Lucifer sp. ตามลำดับ และมีปริมาณความหนาแน่นของแพลงก์ตอน 10,060,680 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ส่วนความหนาแน่น ของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 9 ,756,300 และ 304,380 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 2.08 และ 2.15 ต ามลำดับ โดยค่าดัชนีความหลากหลายดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 3-180 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - สถานี ท ี ่ 3 ชายฝั ่ ง บ้ า นทุ ่ง โต๊ ะหยุ ม ตำบลเกาะลั นตาน้อย พบจำนวนชนิด ของแพลงก์ตอน 50 ชนิด โดยมีจำนวนชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ 34 และ 16 ชนิด ตามลำดับ แพลงก์ ต อนพืช และแพลงก์ ตอนสั ตว์ ชนิ ด เด่ น คื อ ไดอะตอม ชนิ ด Guinardia flaccida และอาร์ โ ทรปอด ชนิด Lucifer sp. ตามลำดับ และมีปริมาณความหนาแน่นของแพลงก์ตอน 6,838,020 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ส่วนความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 6,521,760 และ 316,260 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 2.39 และ 2.54 ตามลำดับ โดยค่าดัชนีความหลากหลายดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย รูปที่ 3.3.1.2-2 การเก็บตัวอย่างนิเวศวิทยาทางน้ำ (วันที่ 16 มกราคม 2564) กรมทางหลวงชนบท 3-181 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-3 แสดงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 16 มกราคม 2564 สถานี ไฟลัม / ชนิดของแพลงก์ตอน 1 2 3 Phytoplankton Cyanophyta (blue green algae) Oscillatoria erythraea 9,520 15,300 30,240 Bacillariophyta (diatom) Amphora sp. 45,900 Bacteriastrum sp. 171,360 122,400 226,800 Chaetoceros aequatorialis 10,200 40,320 Chaetoceros affinis 337,960 550,800 226,800 Chaetoceros dicipiens 42,840 45,900 90,720 Chaetoceros denticulatus 14,280 10,200 30,240 Chaetoceros laevis 42,840 61,200 45,360 Climacodium frauenfeldianum 9,520 71,400 30,240 Coscinodiscus sp. 299,880 321,300 811,440 Dactylosolen phuketensis 385,560 229,500 206,640 Ditylum sol 514,080 275,400 362,880 Entomoneis gigantea 10,080 Guinardia flaccida 2,099,160 2,820,300 1,542,240 Hemiaulus hauckii 10,080 Hemiaulus sinensis 114,240 596,700 292,320 Lauderia annulata 2,013,480 2,590,800 1,496,880 Odontella rhombus 5,100 Odontella sinensis 85,680 76,500 75,600 Palmeria ostenfeldii 14,280 15,300 45,360 Paralia sulcata 9,520 15,300 15,120 Pleurosigma sp. 9,520 15,300 30,240 Pseudo-nitzschia pungens 9,520 15,120 Rhizosolenia acuminata 5,040 Rhizosolenia alata 9,520 10,200 10,080 Rhizosolenia calcar-avis 28,560 61,200 20,160 Rhizosolenia clevei 5,100 Rhizosolenia hebetata 10,200 25,200 Rhizosolenia hyalina 40,800 30,240 Rhizosolenia imbricata 14,280 45,900 Rhizosolenia robusta 114,240 61,200 15,120 Rhizosolenia striata 1,456,560 1,560,600 604,800 Rhizosolenia styliformis 25,500 Stephanopyxis palmeriana 10,080 Surirella ovalis 10,200 10,080 Thalassiothrix longissima 9,520 10,200 10,080 กรมทางหลวงชนบท 3-182 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-3 แสดงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 16 มกราคม 2564 (ต่อ) สถานี ไฟลัม / ชนิดของแพลงก์ตอน 1 2 3 Pyrrophyta (dinoflagellate) Ceratium furca 9,520 Ceratium fusus 4,760 Ceratium trichoceros 40,320 Ceratium tripos 5,100 Dinophysis caudata 75,600 Protoperidinium sp. 57,120 15,300 30,240 Zooplankton Protozoa Leprotintinnus sp. 10,040 Tintinnopsis cylindrica 10,680 30,120 Tintinnopsis mortensii Tintinnopsis tubulosa Annelida *Metatrochophore larvae 10,040 Chaetognatha Sagitta sp. 10,680 10,040 Arthropoda Corycaeus sp. 11,200 Lucifer sp. 252,000 74,760 55,220 Pseudevadne sp. 5,020 *Brachyuran larvae 22,400 10,680 30,120 *Calanoid copepod 33,600 21,360 30,120 *Caridean zoea 11,200 32,040 10,040 *Cyclopoid copepod 11,200 10,680 10,040 *Harpacticoid copepod 5,020 *Nauplius 22,400 53,400 40,160 *Penaeid mysis 10,680 10,040 Mollusca *Gastropods larvae 10,040 *Pelecypods larvae 11,200 Echinodermata *Ophiopluteus larvae 5,600 กรมทางหลวงชนบท 3-183 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-3 แสดงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 16 มกราคม 2564 (ต่อ) สถานี ไฟลัม / ชนิดของแพลงก์ตอน 1 2 3 Chordata Fritillaria sp. 11,200 42,720 20,080 Oikopleura sp. 11,200 26,700 30,120 รวมแพลงก์ตอนพืช 7,887,320 9,756,300 6,521,760 รวมแพลงก์ตอนสัตว์ 403,200 304,380 316,260 รวมทั้งหมด 8,290,520 10,060,680 6,838,020 รวมชนิดแพลงก์ตอนพืช 27 33 34 รวมชนิดแพลงก์ตอนสัตว์ 11 11 16 ค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนพืช 2.07 2.08 2.39 ค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนสัตว์ 1.48 2.15 2.54 หมายเหตุ : * = ไม่สามารถแยกชนิดได้ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย (ข) สัตว์หน้าดิน ชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์หน้าดินในพื้นที่โครงการ พบว่า อยู่ใน เกณฑ์ความอุดมสมบูรณ์ต่ำถึงปานกลาง โดยพบจำนวนชนิดในแต่ละสถานีอยู่ในช่วง 3-5 ชนิด (ตารางที่ 3.3.1.2-4) และมีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 91-166 ตัวต่อตารางเมตร ค่าความหนาแน่นต่ำสุดและสูง สุดพบในสถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย ตามลำดับ ซึ่งมีกลุ่มชนิด และความ อุดมสมบูรณ์ไม่ต่างกันนัก ชนิดส่วนใหญ่ที่พบเป็นพวกไส้เดือนทะเล กุ้งเต้น และดาวเปราะ เป็นต้น โดยมีดัชนี ความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.05-1.35) โดยการแพร่กระจายของสัตว์หน้าดินในแต่ละสถานีสำรวจ รายละเอียดมีดังนี้ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พบสัตว์หน้าดิน มีจำนวน 3 ชนิด ความหนาแน่นเท่ากับ 106 ตัวต่อตารางเมตร โดยชนิดของสัตว์หน้าดินส่วนใหญ่ที่พบเป็นพวกไส้เดือนทะเล ในครอบครัว Nereididae กลุ่มกุ้งเต้นในครอบครัว Gammaridae และไส้เดือนทะเลในครอบครัว Glyceridae ความหนาแน่นเท่ากับ 46, 39 และ 21 ตัวต่อตารางเมตร ตามลำดับ และมีค่าดัชนีความหลากหลายเท่ากับ 1.05 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง พบสัตว์หน้าดิน มีจำนวน 4 ชนิด ความหนาแน่น เท่ากับ 91 ตัวต่อตารางเมตร โดยชนิดของสัตว์หน้าดินที่พบเป็นพวกไส้เดือนทะเลในครอบครัว Nereididae กลุ่มกุ้งเต้นในครอบครัว Gammaridae กลุ่มกุ้งกระดูกในครอบครัว Caprellidae และดาวเปราะ (Amphiodia sp.) มีความหนาแน่นเท่ากับ 28, 28, 21 และ 14 ตัวต่อตารางเมตร ตามลำดับ และมีค่าดัชนีความหลากหลายเท่ากับ 1.35 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง - สถานี ท ี ่ 3 ชายฝั ่ งบ้ านทุ ่ งโต๊ ะหยุ ม ตำบลเกาะลั นตาน้ อย พบสั ตว์ หน้ าดิ น มีจำนวน 5 ชนิด ความหนาแน่นเท่ากับ 166 ตัวต่อตารางเมตร โดยชนิดของสัตว์หน้าดินที่พบเป็นพวกไส้เดือนทะเล ในครอบครัว Glyceridae กลุ่มกุ้งเต้นในครอบครัว Gammaridae และไส้เดือนทะเลในครอบครัว Nereididae มี ความหนาแน่ น เท่ า กั บ 75, 42 และ 35 ตั วต่ อตารางเมตร ตามลำดั บ รองลงมาพบปู ลม ( Ocypode sp.) และดาวเปราะ (Amphiodia sp.) มีความหนาแน่นเท่ากัน คือ 7 ตัวต่อตารางเมตร และมีค่าดัชนีความหลากหลาย เท่ากับ 1.30 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 3-184 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-4 แสดงชนิดและปริมาณของสัตว์หน้าดิน (ตัว/ตารางเมตร) วันที่ 16 มกราคม 2564 สถานี กลุ่ม / ชนิดของสัตว์หน้าดิน 1 2 3 PHYLUM ANNELIDA Class Polychaeta (ไส้เดือนทะเล) Order Phyllodocida Family Glyceridae 21 75 Family Nereididae 46 28 35 PHYLUM ARTHROPODA Class Malacostraca Order Amphipoda Family Caprellidae (กลุ่มกุ้งกระดูก) 21 Family Gammaridae (กลุ่มกุ้งเต้น) 39 28 42 Order Decapoda Family Ocypodidae Ocypode sp. (ปูลม) 7 PHYLUM ECHINODERMATA Class Ophiuroidea Order Ophiurida Family Amphiuridae Amphiodia sp. (ดาวเปราะ) 14 7 รวม (ตัวต่อตารางเมตร) 106 91 166 รวมชนิด 3 4 5 ค่าดัชนีความหลากหลาย 1.05 1.35 1.30 หมายเหตุ : สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย (ค) สัตว์น้ำวัยอ่อน ในส่วนของไข่ปลาที่สำรวจพบในแต่ละสถานี มีจำนวนอยู่ระหว่าง 64-588 ฟองต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร สถานีที่พบไข่ปลาต่ำสุด และสูงสุด คือ สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานี ที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย ตามลำดับ ส่วนสถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สุ่มสำรวจปริมาณไข่ปลา พบว่า ไม่พบไข่ปลาในการสำรวจครั้งนี้ สำหรับการสำรวจชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของ ลูกปลาวัยอ่อนในพื้นที่โครงการนั้น พบว่าอยู่ในเกณฑ์ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ โดยพบจำนวนชนิดในแต่ละสถานี อยู่ในช่วง 2-4 ครอบครัว (ตารางที่ 3.3.1.2-5) และมีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 15-24 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร โดยค่าความหนาแน่นต่ำสุดพบในสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย และค่าความหนาแน่น สูงสุดพบในสถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ซึ่งมีกลุ่มชนิดและความอุดมสมบูรณ์ไม่ต่างกันนัก ชนิด ส่วนใหญ่ที่พบเป็นกลุ่มปลาหัวตะกั่ว ( Silverhead) ครอบครัว Atherinidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 5-12 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และกลุ่มปลาตีนแถบ ( Blenny) ครอบครัว Blenniidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 5-10 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร รองลงมาเป็นกลุ่มปลาจิ้มฟันจระเข้ ( Pipefish) ครอบครัว Syngnathidae มีความหนาแน่นอยู ่ในช่วง 6 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาบู่ ( Goby) ครอบครัว Gobiidae มีความ หนาแน่นอยู่ในช่วง 6 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาข้าวเม่า ( Glassy perchlet) ครอบครัว Ambassidae กรมทางหลวงชนบท 3-185 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 5 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาวัวหางพัด (Monacanthidae) มีความหนาแน่น อยู่ในช่วง 5 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร โดยมีดัชนีความหลากหลายของลูกปลาอยู่ในระดับต่ำไปจนถึงระดับ ปานกลาง (0.6365-1.3863) โดยการแพร่กระจายของไข่ปลากั บลูกปลาในแต่ละสถานีสำรวจ รายละเอียดมี ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 3.3.1.2-5 การแพร่กระจายของกลุ่มลูกปลาวัยอ่อนที่รวบรวมได้ วันที่ 16 มกราคม 2564 ลำ กลุ่มลูกปลาวัยอ่อน สถานี Common name ชื่อไทย ดับ Unit : inds./1,000 m3 1 2 3 Phylum Chordata Subphylum Vertebrata Class Actinopterygii Subclass Neopterygii Order Atheriniformes 1 Family Atherinidae Silverhead หัวตะกั่ว 12 5 Order Gasterostiformes 2 Family Syngnathidae Pipefish จิ้มฟันจระเข้ 6 Order Perciformes Suborder Percoidei 3 Family Ambassidae Glassy perchlet ข้าวเม่า 5 5 Suborder Gobioidei 4 Family Gobiidae Goby บู่ 6 Suborder Blennioidei 5 Family Blenniidae Blenny ตีนแถบ 5 10 Order Tetraodontiformes 6 Family Monacanthidae Leather jacket วัวหางพัด 5 Total fish larvae 24 20 15 Eggs 0 64 588 Diversity index 1.0397 1.3863 0.6365 หมายเหตุ : สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สุ่มสำรวจ ไม่พบไข่ปลา และ สุ่มสำรวจพบลูกปลาวัยอ่ อน ในจำนวน 3 ครอบครัว ความหนาแน่นเท่ากับ 24 ตั ว ต่อ 1,000 ลู กบาศก์เมตร และมีค่าดัชนี ความหลากหลายเท่ากับ 1.0397 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง โดยชนิดของลูกปลา วัยอ่อนที่พบเป็นกลุ่มปลาหัวตะกั่ว ส่วนกลุ่มปลาจิ้มฟันจระเข้ และกลุ่มปลาบู่ มีความหนาแน่นเท่ากัน คือ 12, 6 และ 6 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สุ่มสำรวจปริมาณไข่ปลาที่พบ มีจำนวน 64 ฟองต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และสุ่มสำรวจพบลูกปลาวัยอ่อน ในจำนวน 4 ครอบครัว ความหนาแน่นเท่ากับ 20 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และมีค่าดัชนีความหลากหลายเท่ากับ 1.3863 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง โดยชนิดของลูกปลาวัยอ่อนที่พบเป็นกลุ่มปลาหัวตะกั่ว กลุ่มปลาข้าวเม่า กลุ่มปลาตีนแถบ และกลุ่มปลาวัวหางพัด โดยมีความหนาแน่นเท่ากัน คือ 5 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตรในทุกกลุ่ม กรมทางหลวงชนบท 3-186 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย สุ่มสำรวจปริมาณไข่ ปลาที่พบ มีจำนวน 588 ฟองต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และสุ่มสำรวจพบลูกปลาวัยอ่อน ในจำนวน 2 ครอบครัว ความหนาแน่นเท่ากับ 15 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และมีค่าดัชนีความหลากหลายเท่ากับ 0.6365 ซึ่งค่าความ หลากหลายอยู่ในระดับ โดยชนิดของลูกปลาวัยอ่อนที่พบเป็นกลุ่มปลาตีนแถบ และกลุ่ มปลาข้าวเม่า มีความ หนาแน่นเท่ากับ 10 และ 5 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ (ง) ปลา ผลการสำรวจทรัพยากรปลาในพื้นที่โครงการ 2 สถานี จากสถานีสำรวจที่ใกล้ริมฝั่ง พบปลารวม 13 วงศ์ รวม 18 สกุล 21 ชนิด แสดงดังตารางที่ 3.3.1.2-6 และรูปที่ 3.3.1.2-3 โดยพบปลาในกลุ่ม ปลาบู่ (ครอบครัว Gobiidae) จำนวน 3 ชนิด ได้แก่ ปลาบู่เกล็ดแข็ง ปลาบู่จุด และปลาจุมพรวด กลุ่มปลากระบอก (ครอบครัว Mugilidae) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ ปลากระบอกเทา และปลากระบอกท่อนใต้ กลุ่มปลาปลาเห็ดโคน (ครอบครั ว Sillaginidae) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ ปลาเห็ดโคนลาย และปลาเห็ดโคนขาว กลุ่มปลาดอกหมาก (ครอบครัว Gerreidae) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ ปลาดอกหมาก และปลาดอกหมากเงิน ส่วนกลุ่มปลาในครอบครัว อื่ น อี ก 9 ครอบครั ว นั้ น พบครอบครัว ละชนิดเท่านั้น คือ ปลาเข็มน้ำกร่อย ปลาจิ้มฟันจระเข้ ปลาเกล็ดข้าวเม่า หัวหนาม ปลากะรังจุดน้ำตาล ปลาแป้นยาว ปลากะพงข้างปาน ปลาข้างลาย ปลาตีนแถบ และปลาสลิดหินแขก ตามลำดับ โดยพบปลา 1 ชนิด ที่ติดสถานภาพปลาที่ถูกคุกคามของประเทศไทย (สผ., 2560) โดยรายละเอียดมีดังนี้ ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพสูญพันธุ์ (extinct) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพสูญพันธุ์ในธรรมชาติ (extinct in the wild) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง (critically endangered) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ (endangered) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (vulnerable) ▪ พบปลาที่อยู่ในสถานภาพ ใกล้ถูกคุกคาม (near threatened) จำนวน 1 ชนิด คือ ปลากะรังจุดน้ำตาล (Epinephelus coioides) ซึ่งพบในสถานีที่ 1 สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ (data deficient) เมื่อพิจารณาปลาที่สำรวจในแต่ละสถานี พบว่า มีจำนวนชนิด 7-12 ชนิด สำหรับ ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) ในแต่ละสถานีนั้นพบอยู่ในระดับต่ำ โดยพบอยู่ระหว่าง 0.80-0.81 กิโลกรัม/ไร่ และมีค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.6750-1.9401) โดยเป็นปลาที่พบได้ทั่วไป และส่วนใหญ่ไม่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ โดยมีรายละเอียดในแต่ละสถานีดังนี้ - สถานี ที่ 1 ชายฝั่ ง บ้า นหั วหิ น ตำบลเกาะกลาง พบปลารวม 7 วงศ์ 7 สกุล 7 ชนิ ด มีจำนวนรวม 17 ตัว (ตารางที่ 3.3.1.2-7) โดยชนิดของปลาที่พบเป็นปลาที่พบได้ทั่วไปบริเวณที่ เป็น แหล่งน้ำทะเลชายฝั่ง ปลาชนิดที่สำรวจพบมาก คือ ปลากะพงข้างปาน ปลาเข็มน้ำกร่อย ปลาบู่เกล็ดแข็ง และ ปลาสลิดหินแขก ตามลำดับ ส่วนชนิดที่พบรองลงมา คือ ปลาจิ้มฟันจระเข้ ปลาเกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม และ ปลากะรังจุดน้ำตาล ตามลำดับ โดยมีปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) เท่ากับ 0.81 กิโลกรัม/ไร่ และมี ค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดั บปานกลาง (1.6750) - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง พบปลารวม 6 วงศ์ 8 สกุล 8 ชนิด มีจำนวนรวม 32 ตัว (ตารางที่ 3.3.1.2-8) โดยชนิดของปลาที่พบเป็นปลาที่พบได้ทั่วไปบริเวณที่เป็นแหล่งน้ำทะเลชายฝั่ง ปลาชนิดที่สำรวจพบมาก คือ ปลาเกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม ส่วนชนิดที่พบรองลงมาคือ ปลาบู่เกล็ดแข็ง โดยมีปริมาณ ปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) เท่ากับ 0.44 กก./ไร่ และมีค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.1091) กรมทางหลวงชนบท 3-187 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย พบปลารวม 8 วงศ์ 10 สกุล 12 ชนิด มีจำนวนรวม 90 ตัว (ตารางที่ 3.3.1.2-9) โดยชนิดของปลาที่พบเป็นปลาที่พบได้ทั่วไปบริเวณ ที่เป็นแหล่งน้ำทะเลชายฝั่ง ปลาชนิดที่สำรวจพบมาก คือ ปลากระบอกท่อนใต้ ปลาเห็ดโคนขาว ปลาเห็ดโคนลาย และปลาดอกหมากเงิ น ตามลำดั บ ส่ ว นชนิ ด ที่ พ บรองลงมา คื อ ปลาบู่ จุ ด ปลาจุ ม พรวด ปลากระบอกเทา ปลาเกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม ปลาแป้นยาว ปลาดอกหมาก ปลาข้างลาย และปลาตีนแถบ ตามลำดับ โดยมีปริมาณ ปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) เท่ากับ 0.80 กิโลกรัม/ไร่ และมีค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.9401) ตารางที่ 3.3.1.2-6 การแพร่กระจายของชนิดปลาที่รวบรวมได้ วันที่ 16 มกราคม 2564 สถานี วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย สถานภาพปลา1 1 2 3 Mugilidae Planiliza subviridis กระบอกเทา - X Ellochelon vaigiensis กระบอกท่อนใต้ - X X Hemiramphidae Zenarchopterus dunckeri เข็มน้ำกร่อย - X Synganthidae Hippichthys spicifer จิ้มฟันจระเข้ - X Microphis brachyurus จิ้มฟันจระเข้ - X Ambasseidae Ambassis gymnocephalus เกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม - X X X Sillaginidae Sillago aeolus เห็ดโคนลาย - X Sillago sihama เห็ดโคนขาว - X Serranidae Epinephelus coioides กะรังจุดน้ำตาล near threatened X Leiognathidae Equulites elongatus แป้นยาว - X X Lutjanidae Lutjanus falviflamma กะพงข้างปาน - X Gerreidae Gerres abbreviatus ดอกหมาก - X Gerres oyena ดอกหมากเงิน - X Teraponidae Terapon jarbua ข้างลาย, ออดแอด - X Blennidae Alloblennius sp. ตีนแถบ - X Omobranchus ferox ตีนแถบ - X Salarias fasciatus ตีนแถบลาย - X Gobiidae Exyrias puntang บู่เกล็ดแข็ง - X X Favonigobius aliceae บู่จุด - X Periophthalmodon schlosseri จุมพรวด - X X Siganidae Siganus javus สลิดหินแขก - X รวม 13 วงศ์ รวม 18 สกุล 21 ชนิด 7 8 12 หมายเหตุ : -1 = สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2560. สรุปชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 112 หน้า. สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-188 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.3.1.2-3 ชนิดปลาที่สำรวจได้ในพื้นที่โครงการ (วันที่ 16 มกราคม 2564) ตารางที่ 3.3.1.2-7 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 1 วันที่ 16 มกราคม 2564 ช่วงความยาว น้ำหนัก วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย จำนวน (ตัว) (ซม.) (กรัม) Hemiramphidae Zenarchopterus dunckeri เข็มน้ำกร่อย 3 8.2-9.8 4.28 Synganthidae Hippichthys spicifer จิ้มฟันจระเข้ 1 5.6 0.13 Ambasseidae Ambassis gymnocephalus เกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม 1 8.6 3.86 Serranidae Epinephelus coioides กะรังจุดน้ำตาล 1 11.2 13.14 Lutjanidae Lutjanus falviflamma กะพงข้างปาน 7 2.4-7.6 26.21 Gobiidae Exyrias puntang บู่เกล็ดแข็ง 2 3.5-5.1 1.77 Siganidae Siganus javus สลิดหินแขก 2 3.2-4.2 0.98 รวม 7 วงศ์ รวม 7 สกุล 7 ชนิด 17 50.37 หมายเหตุ : ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) = 0.81 กิโลกรัมต่อไร่ ค่าดัชนีความหลากหลาย = 1.6750 กรมทางหลวงชนบท 3-189 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-8 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 2 วันที่ 16 มกราคม 2564 ช่วงความยาว น้ำหนัก วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย จำนวน (ตัว) (ซม) (กรัม) Mugilidae Ellochelon vaigiensis กระบอกท่อนใต้ 1 4.2 0.76 Synganthidae Microphis brachyurus จิ้มฟันจระเข้ 1 8.7 0.64 Ambasseidae Ambassis gymnocephalus เกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม 23 1.1-4.2 9.66 Leiognathidae Equulites elongatus แป้นยาว 1 3.7 0.35 Blennidae Alloblennius sp. ตีนแถบ 1 8.8 6.32 Salarias fasciatus ตีนแถบลาย 1 5.7 1.20 Gobiidae Exyrias puntang บู่เกล็ดแข็ง 3 3.6-6.3 3.50 Periophthalmodon schlosseri จุมพรวด 1 9.2 4.93 รวม 6 วงศ์ รวม 8 สกุล 8 ชนิด 32 27.36 หมายเหตุ : ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) = 0.44 กิโลกรัมต่อไร่ ค่าดัชนีความหลากหลาย = 1.1091 ตารางที่ 3.3.1.2-9 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 3 วันที่ 16 มกราคม 2564 จำนวน ช่วงความยาว น้ำหนัก วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย (ตัว) (ซม.) (กรัม) Mugilidae Planiliza subviridis กระบอกเทา 3 9.2-10.2 32.42 Ellochelon vaigiensis กระบอกท่อนใต้ 23 2.6-9.0 76.91 Ambasseidae Ambassis gymnocephalus เกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม 2 2.1-3.6 0.67 Sillaginidae Sillago aeolus เห็ดโคนลาย 19 3.8-7.3 30.29 Sillago sihama เห็ดโคนขาว 20 3.8-9.1 39.18 Leiognathidae Equulites elongatus แป้นยาว 1 3.8 0.76 Gerreidae Gerres abbreviatus ดอกหมาก 1 5.2 1.82 Gerres oyena ดอกหมากเงิน 11 2.0-2.5 1.32 Teraponidae Terapon jarbua ข้างลาย, ออดแอด 1 6.7 5.04 Blennidae Omobranchus ferox ตีนแถบ 1 4.7 0.80 Gobiidae Favonigobius aliceae บู่จุด 5 4.5-6.3 7.49 Periophthalmodon schlosseri จุมพรวด 3 5.1-7.1-3.5 3.80 รวม 8 วงศ์ รวม 10 สกุล 12 ชนิด 90 200.50 หมายเหตุ : ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) = 0.80 กิโลกรัมต่อไร่ ค่าดัชนีความหลากหลาย = 1.9401 กรมทางหลวงชนบท 3-190 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (จ) พืชน้ำ จากการสำรวจพืชน้ำในบริเวณพื้นที่โครงการ ทั้ง 3 สถานี พบพืชน้ำรวมทั้งสิ้น รวม 8 วงศ์ 9 สกุล 11 ชนิด ซึ่งเป็นพืชชายน้ำทั้งหมด ได้แก่ เป้งทะเล แสมทะเล ฝาดดอกขาว ตาตุ่มทะเล ปอทะเล ตะบูนขาว พังกาหัวสุมดอกแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ลำแพนหิน และลำพู ทั้งหมด แสดงดังตารางที่ 3.3.1.2-10 โดยมีการแพร่กระจายของพืชน้ำในแต่ละสถานีดังนี้ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พบพืชน้ำรวม 2 ชนิด ประกอบด้วย ปอทะเลและลำพู - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง พบพืชน้ำรวม 10 ชนิด ได้แก่ เป้งทะเล แสมทะเล ฝาดดอกขาว ตาตุ่มทะเล ปอทะเล ตะบูนขาว พังกาหัวสุมดอกแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ และลำแพนหิน - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย พบพืชน้ำรวม 7 ชนิด ประกอบด้วย แสมทะเล ตาตุ่มทะเล ปอทะเล โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ลำแพนหิน และลำพู ตารางที่ 3.3.1.2-10 แสดงชนิดพืชน้ำที่พบบริเวณพื้นที่โครงการ วันที่ 16 มกราคม 2564 สถานี ที่ วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย ประเภท 1 2 3 1 Arecaceae Phoenix paludosa เป้งทะเล ชายน้ำ x 2 Avicenniaceae Avicennia marina แสมทะเล ชายน้ำ x x 3 Combretaceae Lumnitzera racemosa ฝาดดอกขาว ชายน้ำ x 4 Euphorbiaceae Excoecaria agallocha ตาตุ่มทะเล ชายน้ำ x x 5 Malvaceae Hibiscus tiliaceus ปอทะเล ชายน้ำ x x x 6 Meliaceae Xylocarpus granatum ตะบูนขาว ชายน้ำ x 7 Rhizophoraceae Bruguiera gymnorrhiza พังกาหัวสุมดอกแดง, ปะสัก ชายน้ำ x 8 Rhizophoraceae Rhizophora apiculata โกงกางใบเล็ก ชายน้ำ x x 9 Rhizophoraceae Rhizophora mucronata โกงกางใบใหญ่ ชายน้ำ x x 10 Sonneratiaceae Sonneratia alba ลำแพนหิน, ลำแพนทะเล ชายน้ำ x x 11 Sonneratiaceae Sonneratia caseolaris ลำพู ชายน้ำ x x รวมจำนวนที่พบ 11 ชนิด 2 10 7 หมายเหตุ : สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-191 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) ผลการศึกษา ครั้งที่ 2 ดำเนินการสำรวจและเก็บตัวอย่างนิเวศวิทยาทางน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 3 สถานี ได้แก่ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย แสดงดังรูปที่ 3.3.1.2-4 ซึ่งเป็นบริเวณเดียวกับสถานี เก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง โดยเก็บตัวอย่างทั้งแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ สัตว์น้ำวัยอ่อน สัตว์หน้าดิน ปลา และพืชน้ำ โดยมีผลการศึกษาดังนี้ (ก) แพลงก์ ตอน บริ เวณพื ้ นที ่ โครงการ (ตั ้ งแต่ สถานี ท ี ่ 1-3) พบแพลงก์ ตอนมี ความ หนาแน่นรวมทั้งหมด 4,972,800-5,870,340 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร (ตารางที่ 3.3.1.2-11) แสดงถึงบริเวณพื้นที่ โครงการมีความอุดมสมบูรณ์ของแพลงก์ตอนอยู่ในเกณฑ์ปานกลางถึงสูง ค่าความหนาแน่นต่ำสุดและสูงสุดพบ ในสถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย ตามลำดั บ โดยมี ความหลากหลายชนิดอยู ่ ในเกณฑ์ ระดั บปานกลาง โดยพบแพลงก์ ตอนพื ชในแต่ ละสถานีมี แพลงก์ตอนพืชอยู่ระหว่าง 34-37 ชนิด ส่วนปริมาณแพลงก์ตอนพืชมีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 4,695,040- 5,484,780 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ค่าความหนาแน่นต่ำสุดและสูงสุดพบในสถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบล เกาะกลาง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย ตามลำดับ ดัชนีความหลากหลายอยู่ใน ระดับปานกลาง คือ มีค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนพืชอยู่ระหว่าง 2. 21-2.89 และพบแพลงก์ตอนสัตว์ ในแต่ละสถานีมีแพลงก์ตอนสัตว์อยู่ระหว่าง 6-8 ชนิด ส่วนปริมาณแพลงก์ตอนสัตว์มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 199,520-385,560 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ค่าความหนาแน่นต่ำสุดและสูงสุดพบในสถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ใน ระดับปานกลาง คือ มีค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนสัตว์อยู่ระหว่าง 1.11-1.33โดยมี ร ายละเอี ย ดของการ แพร่กระจายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ในแต่ละสถานีสำรวจ ดังนี้ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พบจำนวนชนิดของแพลงก์ตอน 40 ชนิด โดยมีจำนวนชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ 34 และ 6 ชนิด ตามลำดับ แพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์ชนิดเด่น คือ ไดอะตอม ชนิด Rhizosolenia striata และอาร์โทรปอด กลุ่มตัวอ่อนกุ้งหรือปู ( Nauplius) ตามลำดั บ และมี ป ริ ม าณความหนาแน่ น ของแพลงก์ ต อน 4 ,972 ,800 เซลล์ ต่ อลู กบาศก์ เมตร ส่วนความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 4,695,040 และ 277,760 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 2. 21 และ 1.26 ตามลำดับ โดยค่าดัชนีความหลากหลายดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง พบจำนวนชนิดของแพลงก์ตอน 4 3 ชนิด โดยมี จำนวนชนิ ด ของแพลงก์ ต อนพื ช และแพลงก์ ต อนสั ต ว์ 3 7 และ 6 ชนิ ด ตามลำดั บ แพลงก์ ต อนพื ช และ แพลงก์ ต อนสั ต ว์ ชนิดเด่น คือ ไดอะตอม ชนิด Guinardia flaccida และอาร์โทรปอด กลุ่มตัวอ่อนกุ้ งหรื อปู (Nauplius) ตามลำดับ และมีปริมาณความหนาแน่นของแพลงก์ตอน 5,029,760 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ส่วนความ หนาแน่นของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 4 ,830,240 และ 199,520 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ เท่ากับ 2. 76 และ 1.33 ตามลำดับ โดยค่าดัชนีความหลากหลายดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 3-192 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย พบจำนวนชนิดของ แพลงก์ตอน 45 ชนิด โดยมีจำนวนชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ 37 และ 8 ชนิด ตามลำดับ แพลงก์ ต อนพื ช และแพลงก์ ต อนสั ต ว์ ชนิ ด เด่ น คื อ ไดอะตอม 2 ชนิ ด ที ่ พ บในปริ ม าณสู งเท่ ากั น คื อ ชนิ ด Rhizosolenia striata กั บ ชนิ ด Guinardia flaccida และอาร์ โ ทรปอด กลุ ่ ม ตั ว อ่ อ นกุ ้ ง หรื อ ปู ( Nauplius) ตามลำดับ และมีปริมาณความหนาแน่นของแพลงก์ตอน 5 ,870,340 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ส่วนความหนาแน่น ของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 5 ,484,780 และ 385,560 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ ตอนสั ตว์ เท่ากับ 2.89 และ 1.11 ตามลำดับ โดยค่าดัชนีความหลากหลายดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย รูปที่ 3.3.1.2-4 การเก็บตัวอย่างน้ำนิเวศวิทยาทางน้ำ (วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564) กรมทางหลวงชนบท 3-193 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-11 แสดงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 สถานี ไฟลัม / ชนิดของแพลงก์ตอน 1 2 3 Phytoplankton Cyanophyta (blue green algae) Oscillatoria erythraea 26,880 69,600 45,360 Bacillariophyta (diatom) Amphora sp. 45,360 Asteromphalus flabellatus 4,480 Bacteriastrum sp. 55,680 Chaetoceros aequatorialis 13,440 55,680 56,700 Chaetoceros affinis 362,880 668,160 359,100 Chaetoceros dicipiens 241,920 208,800 170,100 Chaetoceros denticulatus 13,440 Chaetoceros laevis 228,480 111,360 166,320 Climacodium frauenfeldianum 27,840 18,900 Cocconeis sp. 15,120 Corethron hystrix 27,840 Coscinodiscus sp. 67,200 292,320 170,100 Cyclotella sp. 107,520 111,360 272,160 Dactylosolen phuketensis 103,040 83,520 154,980 Ditylum brightwellii 62,720 Ditylum sol 80,640 69,600 22,680 Guinardia flaccida 201,600 914,080 744,660 Hemiaulus hauckii 7,560 Hemiaulus sinensis 26,880 41,760 56,700 Lauderia annulata 17,920 41,760 86,940 Navicula sp. 8,960 Nitzschia longissima 3,780 Odontella rhombus 3,780 Odontella sinensis 318,080 626,400 544,320 Palmeria ostenfeldii 40,320 27,840 45,360 Paralia sulcata 7,560 Pleurosigma sp. 134,400 83,520 79,380 Pseudo-nitzschia pungens 8,960 Rhizosolenia alata 67,200 55,680 408,240 Rhizosolenia calcar-avis 188,160 190,240 646,380 Rhizosolenia clevei 9,280 Rhizosolenia hebetata 8,960 9,280 102,060 Rhizosolenia hyalina 9,280 Rhizosolenia imbricata 22,400 9,280 34,020 Rhizosolenia robusta 23,200 56,700 Rhizosolenia striata 2,195,200 542,880 744,660 Rhizosolenia styliformis 26,880 23,200 34,020 Streptotheca thamesis 83,520 154,980 Thalassionema nitzschioides 22,400 13,920 34,020 กรมทางหลวงชนบท 3-194 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-11 แสดงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 (ต่อ) สถานี ไฟลัม / ชนิดของแพลงก์ตอน 1 2 3 Thalassiothrix frauenfeldii 8,960 41,760 22,680 Thalassiothrix longissima 8,960 9,280 11,340 Chrysophyta (yellow brown algae) Dictyocha fibula 8,960 27,840 56,700 Pyrrophyta (dinoflagellate) Ceratium furca 8,960 9,280 Ceratium fusus 8,960 9,280 18,900 Ceratium trichoceros 8,960 9,280 34,020 Ceratium tripos 9,280 Protoperidinium sp. 40,320 227,360 49,140 Zooplankton Protozoa Leprotintinnus sp. 3,780 Tintinnopsis cylindrica 23,200 Tintinnopsis tocantinensis 3,780 Tintinnopsis tubulosa 8,960 55,680 34,020 Tintinnopsis turgida 4,640 Arthropoda *Calanoid copepod 40,320 34,020 *Cyclopoid copepod 26,880 *Harpacticoid copepod 18,900 *Nauplius 161,280 97,440 268,380 *Porcellanid larvae 3,780 Mollusca *Gastropods larvae 4,480 9,280 *Pelecypods larvae 35,840 9,280 18,900 รวมแพลงก์ตอนพืช 4,695,040 4,830,240 5,484,780 รวมแพลงก์ตอนสัตว์ 277,760 199,520 385,560 รวมทั้งหมด 4,972,800 5,029,760 5,870,340 รวมชนิดแพลงก์ตอนพืช 34 37 37 รวมชนิดแพลงก์ตอนสัตว์ 6 6 8 ค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนพืช 2.21 2.76 2.89 ค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนสัตว์ 1.26 1.33 1.11 หมายเหตุ : * = ไม่สามารถแยกชนิดได้ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-195 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ข) สัตว์หน้าดิน ชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์หน้าดินในพื้นที่โครงการ พบว่าอยู่ ในเกณฑ์ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง โดยพบจำนวนชนิดในแต่ละสถานีอยู่ในช่วง 6-8 ชนิด (ตารางที่ 3.3.1.2-12) และมีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 151-280 ตัวต่อตารางเมตร ค่าความหนาแน่นต่ำสุดและสูงสุดพบในสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย และสถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ตามลำดับ ซึ่งมี กลุ่มชนิดและความอุดมสมบูรณ์ไม่ต่างกันนัก ชนิดส่วนใหญ่ที่พบเป็นพวกไส้เดือนทะเล กุ้งเต้น กุ้งดีดขัน ปูใบ้ และ ดาวเปราะ เป็นต้น โดยมีดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.53-1.70) โดยการแพร่กระจายของสัตว์ หน้าดินในแต่ละสถานีสำรวจ รายละเอียดมีดังนี้ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พบสัตว์หน้าดิน มีจำนวน 8 ชนิด ความหนาแน่นเท่ากับ 280 ตัวต่อตารางเมตร โดยชนิดของสัตว์หน้าดินส่วนใหญ่ที่พบเป็นพวกกลุ่มกุ้งเต้นใน ครอบครัว Gammaridae ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Glyceridae กุ้งดีดขัน และกุ้งทะเล (Metapenaeopsis sp.) ความหนาแน่นเท่ากับ 126, 42, 28 และ 28 ตัวต่อตารางเมตร ตามลำดับ ชนิดที่เหลือมีจำนวนน้อย และมีค่าดัชนี ความหลากหลายเท่ากับ 1.70 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง พบสัตว์หน้าดิน มีจำนวน 6 ชนิด ความหนาแน่น เท่ากับ 217 ตัวต่อตารางเมตร โดยชนิดของสัตว์หน้าดินที่พบเป็นพวกกลุ่มกุ้งเต้นในครอบครัว Gammaridae ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Nereididae ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Oweniidae และปูใบ้ มีความหนาแน่นเท่ากับ 77, 63, 35 และ 21 ตัวต่อตารางเมตร ตามลำดับ ชนิดที่เหลือมีจำนวนน้อย และมีค่าดัชนีความหลากหลายเท่ากับ 1.53 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง - สถานี ที่ 3 ชายฝั่ ง บ้า นทุ่ง โต๊ ะหยุ ม ตำบลเกาะลั นตาน้ อย พบสั ตว์หน้าดิน มีจำนวน 6 ชนิด ความหนาแน่นเท่ากับ 151 ตัวต่อตารางเมตร โดยชนิดของสัตว์หน้าดินที่พบเป็นพวกกลุ่มกุ้งเต้น ในครอบครัว Gammaridae ดาวเปราะ (Amphiodia sp.) ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Nephtyidae และไส้เดือน ทะเลในครอบครัว Nereididae มีความหนาแน่นเท่ากับ 49, 35, 21 และ 21 ตัวต่อตารางเมตร ตามลำดับ ชนิดที่ เหลือมีจำนวนน้อย และมีค่าดัชนีความหลากหลายเท่ากับ 1.65 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (ค) สัตว์น้ำวัยอ่อน ในส่วนของไข่ปลาที่สำรวจพบในแต่ละสถานี พบว่า ผลการสุ่มสำรวจ ปริมาณไข่ปลาทั้ง 3 สถานีไม่พบไข่ปลาในการสำรวจครั้งนี้ สำหรับการสำรวจชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของลูก ปลาวัยอ่อนในพื้นที่โครงการนั้น พบว่าอยู่ในเกณฑ์ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ โดยพบจำนวนชนิดในแต่ละสถานีอยู่ในช่วง 4-8 ครอบครัว (ตารางที่ 3.3.1.2-13) และมีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 40-439 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร โดยค่า ความหนาแน่นต่ำสุดพบในสถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง และค่าความหนาแน่นสูงสุดพบใน สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย ซึ่งมีกลุ่ มชนิดและความอุดมสมบูรณ์ไม่ต่างกันนัก ชนิด ส่วนใหญ่ที่พบเป็นกลุ่มปลาบู่ ( Goby) ครอบครัว Gobiidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 5-264 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาหลังเขียว (Herring) ครอบครัว Clupeidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 10-99 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาข้าวเม่า (Glassy perchlet) ครอบครัว Ambassidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 10-33 ตัว ต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาตีนแถบ (Blenny) ครอบครัว Blenniidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 14-19 ตัว ต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตรกลุ่มปลากระบอก (Mullet) ครอบครัว Mugilidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 15 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาสีกุน ( Travelly) ครอบครัว Carangidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 14 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาแป้น (Pony fish) ครอบครัว Leiognathidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 5-9 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาดอกหมาก (Mojarras) ครอบครัว Gerreidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 9 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาหัวตะกั่ว (Silverhead) ครอบครัว Atherinidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 5 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาอีคุด (Sea bream) ครอบครัว Sparidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 5 ตัวต่อ 1,000 กรมทางหลวงชนบท 3-196 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลามังกรน้อย (Dragonets) ครอบครัว Callionymidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 5 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร โดยมีดัชนีความหลากหลายของลูกปลาอยู่ในระดับปานกลาง (1.1840-1.8303) โดยการ แพร่กระจายของไข่ปลากับลูกปลาในแต่ละสถานีสำรวจ รายละเอียดมีดังต่อไปนี้ ตารางที่ 3.3.1.2-12 แสดงชนิดและปริมาณของสัตว์หน้าดิน (ตัว/ตารางเมตร) วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 สถานี กลุ่ม / ชนิดของสัตว์หน้าดิน 1 2 3 PHYLUM ANNELIDA Class Polychaeta (ไส้เดือนทะเล) Order Phyllodocida Family Glyceridae 42 18 Family Nephtyidae 21 Family Nereididae 14 63 21 Order Sabellida Family Oweniidae 35 7 Order Terebellida Family Sternaspidae 14 PHYLUM ARTHROPODA Class Malacostraca Order Amphipoda Family Caprellidae (กลุ่มกุ้งกระดูก) Family Gammaridae (กลุ่มกุ้งเต้น) 126 77 49 Order Decapoda Family Alpheidae Alpheus sp. (กุ้งดีดขัน) 28 7 Family Carpiliidae Eucrate sp. (ปูใบ้) 14 21 Family Penaeidae Metapenaeopsis sp. (กุ้งทะเล) 28 Family Portunidae Charybdis sp. (ปูหิน) 14 PHYLUM ECHINODERMATA Class Ophiuroidea Order Ophiurida Family Amphiuridae Amphiodia sp. (ดาวเปราะ) 14 35 รวม (ตัวต่อตารางเมตร) 280 217 151 รวมชนิด 8 6 6 ค่าดัชนีความหลากหลาย 1.70 1.53 1.65 หมายเหตุ : สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-197 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-13 การแพร่กระจายของกลุ่มลูกปลาวัยอ่อนที่รวบรวมได้ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 กลุ่มลูกปลาวัยอ่อน สถานี ที่ Common name ชื่อไทย Unit: inds./1,000 m3 1 2 3 Phylum Chordata Subphylum Vertebrata Class Actinopterygii Subclass Neopterygii Order Clupeiformes 1 Family Clupeidae Herring หลังเขียว 10 24 99 Order Atheriniformes 2 Family Atherinidae Selverside หัวตะกั่ว 5 Order Mugiliformes 3 Family Mugilidae Mullet กระบอก 15 Order Perciformes Suborder Percoidei 4 Family Ambassidae Glassy perchlet ข้าวเม่า 10 42 33 5 Family Carangidae Travelly สีกุน 14 6 Family Gerreidae Mojarras ดอกหมาก 9 7 Family Leiognathidae Pony fish แป้น 9 5 8 Family Sparidae Sea bream อีคลุด 5 Suborder Gobioidei 9 Family Gobiidae Goby บู่ 5 14 264 Suborder Blennioidei 10 Family Blenniidae Blenny ตีนแถบ 14 19 Suborder Callionymoidei 11 Family Callionymidae Dragonets มังกรน้อย 5 Total fish larvae 40 122 439 Eggs 0 0 0 Diversity index 1.3209 1.8303 1.1840 หมายเหตุ :สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-198 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สุ่มสำรวจไม่พบไข่ปลา และ สุ่มสำรวจพบลูกปลาวัยอ่อน ในจำนวน 4 ครอบครัว ความหนาแน่นเท่ากับ 40 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และมี ค่ าดั ชนี ความหลากหลายเท่า กับ 1.3209 ซึ่ ง ค่ า ความหลากหลายอยู่ ในระดั บปานกลาง โดยชนิดของ ลูกปลาวัยอ่อนที่พบเป็นกลุ่มปลากระบอก กลุ่มปลาหลังเขียว กลุ่มปลาข้าวเม่า และกลุ่มปลาบู่ มีความหนาแน่น เท่ากับ 15, 10, 10 และ 5 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สุ่มสำรวจไม่พบไข่ปลา และสุ่มสำรวจพบลูกปลา วัยอ่อน ในจำนวน 8 ครอบครัว ความหนาแน่นเท่ากับ 122 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และมีค่าดัชนีความ หลากหลายเท่ากับ 1.8303 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง โดยชนิดของลูกปลาวัยอ่อนที่พบเป็น กลุ่มปลาข้าวเม่า กลุ่มปลาหลั งเขียว กลุ่มปลาบู่ และกลุ่มปลาตีนแถบ มีความหนาแน่นเท่ากับ 42, 24, 14 และ 14 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ที่พบรองลงมาคือกลุ่มปลาดอกหมาก และกลุ่มปลาแป้น โดยมีความ หนาแน่นเท่ากัน คือ 9 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และกลุ่มปลาหัวตะกั่ว และกลุ่มปลาอีคุด โดยมี ความ หนาแน่นเท่ากัน คือ 5 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย สุ่มสำรวจไม่พบไข่ปลา และสุ่มสำรวจพบลูกปลาวัยอ่อน ในจำนวน 7 ครอบครัว ความหนาแน่นเท่ากับ 439 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และมี ค ่ าดั ชนี ความหลากหลายเท่ ากั บ 1.1840 ซึ ่ งค่ าความหลากหลายอยู ่ ในระดั บปานกลาง โดยชนิ ดของ ลูกปลาวัยอ่อนที่พบเป็นกลุ่มปลาบู่ กลุ่มปลาหลังเขียว กลุ่มปลาข้าวเม่า และกลุ่มปลาตีนแถบ มีความหนาแน่น เท่ากับ 264, 99, 33 และ 19 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ที่พบรองลงมาคือกลุ่มปลาสีกุน กลุ่มปลาแป้น และกลุ่มปลามังกรน้อย มีความหนาแน่นเท่ากับ 14, 9 และ 5 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ (ง) ปลา ผลการสำรวจทรัพยากรปลาในพื้นที่โครงการ 2 สถานี จากสถานีสำรวจที่ใกล้ริมฝั่ง พบปลารวม 16 วงศ์ รวม 22 สกุล 25 ชนิด แสดงดังตารางที่ 3.3.1.2-14 และรูปที่ 3.3.1.2-5 โดยพบปลาในกลุ่ม ปลาบู่ (ครอบครัว Gobiidae) จำนวน 4 ชนิด ได้แก่ ปลาบู่เกล็ดแข็ง ปลาบู่จุด ปลาบู่ลายจุด และปลาจุมพรวด กลุ่มปลากระบอก (ครอบครัว Mugilidae) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ ปลากระบอกท่อนใต้ และปลากระบอก กลุ่มปลาเข็ม (ครอบครัว Hemiramphidae) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ ปลาเข็มตับเต่า และปลาเข็มน้ำกร่อย กลุ่มปลาปลาเห็ดโคน (ครอบครัว Sillaginidae) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ ปลาเห็ดโคนลาย และปลาเห็ดโคนขาว กลุ่มปลาเกล็ดข้าวเม่า (ครอบครั ว Ambasseidae) จำนวน 2 ชนิ ด ได้ แก่ ปลาเกล็ด ข้าวเม่าหัวหนาม และปลาขี้ จีน ส่ วนกลุ่มปลา ในครอบครั วอื่นอีก 8 ครอบครัวนั้น พบครอบครัวละชนิ ดเท่านั้น คื อ ปลาหัวตะกั่ วทะเล ปลาจิ้มฟันจระเข้ ปลาอมไข่น้ำกร่อย ปลาดอกหมากเงิน ปลาแพะลาย ปลาใบปอ ปลาตีนแถบ และปลาปักเป้าลาย ตามลำดับ โดยไม่พบปลาที่ติดสถานภาพปลาที่ถูกคุกคามของประเทศไทย (สผ., 2560) โดยรายละเอียดมีดังนี้ ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพสูญพันธุ์ (extinct) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพสูญพันธุ์ในธรรมชาติ (extinct in the wild) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง (critically endangered) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ (endangered) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (vulnerable) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพ ใกล้ถูกคุกคาม (near threatened) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ (data deficient) เมื่อพิจารณาปลาที่สำรวจในแต่ละสถานี พบว่า มีจำนวนชนิด 6-17 ชนิด สำหรับ ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) ในแต่ละสถานีนั้นพบอยู่ในระดับต่ำ โดยพบอยู่ระหว่าง 0.84-1.34 กิโลกรัม/ไร่ และมีค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.6300-2.3510) โดยเป็นปลาที่พบได้ ทั่วไป และส่วนใหญ่ไม่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ โดยมีรายละเอียดในแต่ละสถานีดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 3-199 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-14 การแพร่กระจายของชนิดปลาที่รวบรวมได้จากพื้นที่โครงการ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 สถานี วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย สถานภาพปลา1 1 2 3 Mugilidae Ellochelon vaigiensis กระบอกท่อนใต้ - X Osteomugil cunnesius กระบอก - X Planiliza subviridis กระบอกเทา - X Hemiramphidae Hemiramphus far กระทุงเหวแม่หม้าย - X Zenarchopterus buffonis เข็มตับเต่า - X X X Zenarchopterus dunckeri เข็มน้ำกร่อย - X Atherinidae Atherinomorus duodecimalis หัวตะกั่วทะเล - X Synganthidae Microphis brachyurus จิ้มฟันจระเข้ - X Ambasseidae Ambassis gymnocephalus เกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม - X X Ambassis kopsii ขี้จีน - X Sillaginidae Sillago aeolus เห็ดโคนลาย - X Sillago sihama เห็ดโคนขาว - X X Serranidae Epinephelus heniochus กะรังลื่น data deficient X Apogonidae Yarica hyalosoma อมไข่น้ำกร่อย - X X Gerreidae Gerres oyena ดอกหมากเงิน - X X Mullidae Upeneus tragula แพะลาย - X Drepanidae Drepane longimana ใบปอ - X Labridae Halichoeres bicolor นกขุนทอง - X Blennidae Omobranchus ferox ตีนแถบ - X X Eleotridae Butis butis บู่จาก - X Gobiidae Exyrias puntang บู่เกล็ดแข็ง - X X X Favonigobius aliceae บู่จุด - X Istigobius decoratus บู่ลายจุด - X Periophthalmodon schlosseri จุมพรวด - X Tetraodontidae Takifugu oblongus ปักเป้าลาย - X รวม 16 วงศ์ รวม 22 สกุล 25 ชนิด 6 11 17 หมายเหตุ : -1 = สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2560. สรุปชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม ของประเทศไทย: สัตว์มีกระดูกสันหลัง. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 112 หน้า. สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-200 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.3.1.2-5 ชนิดปลาที่สำรวจได้ในพื้นที่โครงการ (วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564) - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พบปลารวม 6 วงศ์ 6 สกุล 6 ชนิด มีจำนวนรวม 18 ตัว (ตารางที่ 3.3.1.2-15) โดยชนิดของปลาที่พบเป็นปลาที่พบได้ทั่วไปบริเวณที่เป็นแหล่ง น้ำทะเลชายฝั่ง ปลาชนิดที่สำรวจพบมาก คือ ปลาเกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม และปลาบู่จุด ตามลำดับ ส่วนชนิดที่พบ รองลงมา คือ ปลาเข็มตับเต่า ปลาอมไข่น้ำกร่อย ปลาแพะลาย และปลาบู่เกล็ดแข็ง ตามลำดับ โดยมีปริมาณปลา ้ ที่ (Standing Crop) เท่ากับ 0.84 กก./ไร่ และมีค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.6300) ต่อพืน - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง พบปลารวม 10 วงศ์ 11 สกุล 11 ชนิด มีจำนวนรวม 100 ตัว (ตารางที่ 3.3.1.2-16) โดยชนิดของปลาที่พบเป็นปลาที่พบได้ทั่วไปบริเวณที่เป็นแหล่งน้ำทะเลชายฝั่ง ปลา ชนิดที่สำรวจพบมาก คือ ปลากระบอกเทา ส่วนชนิดที่พบรองลงมาคือ ปลาเข็มตับเต่า ปลาบู่เกล็ดแข็ง และ ดอกหมากเงิน ตามลำดับ โดยมีปริมาณปลาต่อพื้นที่ ( Standing Crop) เท่ากับ 0.86 กก./ไร่ และมีค่าดัชนีความ หลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.2176) - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย พบปลารวม 11 วงศ์ 14 สกุล 17 ชนิด มีจำนวนรวม 61 ตัว (ตารางที่ 3.3.1.2-17) โดยชนิดของปลาที่พบเป็นปลาที่พบได้ทั่วไปบริเวณที่ เป็นแหล่งน้ำทะเลชายฝั่ง ปลาชนิดที่สำรวจพบมาก คือ ปลาเห็ดโคนขาว ปลาเห็ดโคนลาย ปลาขี้จีน ปลาเข็มน้ำ กร่อย และปลาเกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม ตามลำดับ ส่วนชนิดที่พบรองลงมา คือ ปลาจุมพรวด ปลาดอกหมากเงิน ปลาตีนแถบ ปลาบู่ลายจุด ปลากระบอกท่อนใต้ ปลากระบอก ปลาเข็มตับเต่า ปลาหัวตะกั่วทะเล ปลาจิ้มฟันจระเข้ ปลาใบปอ ปลาบู่เกล็ดแข็ง และปลาปักเป้าลาย ตามลำดับ โดยมีปริมาณปลาต่อพื้นที่ ( Standing Crop) เท่ากับ 1.34 กิโลกรัม/ไร่ และมีค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (2.3510) กรมทางหลวงชนบท 3-201 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-15 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 1 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน ช่วงความยาว น้ำหนัก วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย (ตัว) (ซม.) (กรัม) Hemiramphidae Zenarchopterus buffonis เข็มตับเต่า 3 5.5-6.9 4.94 Ambasseidae Ambassis gymnocephalus เกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม 5 3.1-5.5 4.42 Apogonidae Yarica hyalosoma อมไข่น้ำกร่อย 3 8.7-9.4 39.8 Mullidae Upeneus tragula แพะลาย 1 3.5 0.89 Gobiidae Exyrias puntang บู่เกล็ดแข็ง 1 4.3 1.33 Favonigobius aliceae บู่จุด 5 1.8-2.8 1.25 รวม 6 วงศ์ รวม 6 สกุล 6 ชนิด 18 52.63 หมายเหตุ : ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) = 0.84 กิโลกรัมต่อไร่ ค่าดัชนีความหลากหลาย = 1.6300 ตารางที่ 3.3.1.2-16 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 2 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ช่วงความยาว วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย จำนวน (ตัว) น้ำหนัก (กรัม) (ซม) Mugilidae Planiliza subviridis กระบอกเทา 70 1.2-2.3 0.61 Hemiramphidae Hemiramphus far กระทุงเหวแม่หม้าย 3 3.6-4.7 0.97 Zenarchopterus buffonis เข็มตับเต่า 7 4.3-5.6 4.48 Sillaginidae Sillago sihama เห็ดโคนขาว 1 5.6 4.82 Serranidae Epinephelus heniochus กะรังลื่น 1 6.8 4.11 Apogonidae Yarica hyalosoma อมไข่น้ำกร่อย 2 7.6-9.6 20.04 Gerreidae Gerres oyena ดอกหมากเงิน 5 1.5-3.6 1.46 Labridae Halichoeres bicolor นกขุนทอง 1 9.1 9.64 Blennidae Omobranchus ferox ตีนแถบ 2 3.8-4.1 0.81 Eleotridae Butis butis บู่จาก 1 5.1 1.34 Gobiidae Exyrias puntang บู่เกล็ดแข็ง 7 3.3-5.1 5.75 รวม 10 วงศ์ รวม 11 สกุล 11 ชนิด 100 54.03 หมายเหตุ : ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) = 0.86 กิโลกรัมต่อไร่ ค่าดัชนีความหลากหลาย = 1.2176 (จ) พืชน้ำ จากการสำรวจพืชน้ำในบริเวณพื้นที่โครงการ ทั้ง 3 สถานี พบพืชน้ำรวมทั้งสิ้น รวม 8 วงศ์ 9 สกุล 11 ชนิด ซึ่งเป็นพืชชายน้ำทั้งหมด ได้แก่ เป้งทะเล แสมทะเล ฝาดดอกขาว ตาตุ่มทะเล ปอทะเล ตะบูนขาว พังกาหัวสุมดอกแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ลำแพนหิน และลำพู ทั้งหมด ดั งแสดงในตารางที่ 3.3.1.2-18 โดยมีการแพร่กระจายของพืชน้ำในแต่ละสถานี ดังนี้ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พบพืชน้ำรวม 2 ชนิด ได้แก่ ปอทะเล และลำพู - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง พบพืชน้ำรวม 10 ชนิด ได้แก่ เป้งทะเล แสมทะเล ฝาดดอกขาว ตาตุ่มทะเล ปอทะเล ตะบูนขาว พังกาหัวสุมดอกแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ และลำแพนหิน - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย พบพืชน้ำรวม 7 ชนิด ได้แก่ แสมทะเล ตาตุ่มทะเล ปอทะเล โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ลำแพนหิน และลำพู กรมทางหลวงชนบท 3-202 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-17 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 3 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน ช่วงความยาว น้ำหนัก วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย (ตัว) (ซม.) (กรัม) Mugilidae Ellochelon vaigiensis กระบอกท่อนใต้ 1 7.1 5.84 Osteomugil cunnesius กระบอก 1 10.7 14.40 Hemiramphidae Zenarchopterus buffonis เข็มตับเต่า 1 5.8 1.05 Zenarchopterus dunckeri เข็มน้ำกร่อย 6 2.1-5.7 3.75 Atherinidae Atherinomorus duodecimalis หัวตะกั่วทะเล 1 4 0.60 Synganthidae Microphis brachyurus จิ้มฟันจระเข้ 1 7.2 0.44 Ambasseidae Ambassis gymnocephalus เกล็ดข้าวเม่าหัวหนาม 6 1.6-2.2 1.10 Ambassis kopsii ขี้จีน 7 1.6-6.5 8.68 Sillaginidae Sillago aeolus เห็ดโคนลาย 8 4.2-6.8 9.3 Sillago sihama เห็ดโคนขาว 17 3.6-7.6 19.77 Gerreidae Gerres oyena ดอกหมากเงิน 2 3.1-3.4 0.77 Drepanidae Drepane longimana ใบปอ 1 5.1 3.94 Blennidae Omobranchus ferox ตีนแถบ 2 4.4-4.8 1.45 Gobiidae Exyrias puntang บู่เกล็ดแข็ง 1 4.2 1.24 Istigobius decoratus บู่ลายจุด 2 2.2-4.5 0.91 Periophthalmodon schlosseri จุมพรวด 3 4.6-8.8 9.91 Tetraodontidae Takifugu oblongus ปักเป้าลาย 1 2.5 0.51 รวม 11 วงศ์ รวม 14 สกุล 17 ชนิด 61 83.66 หมายเหตุ : ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) = 1.34 กิโลกรัมต่อไร่ ค่าดัชนีความหลากหลาย = 2.3510 ตารางที่ 3.3.1.2-18 แสดงชนิดพืชน้ำที่พบบริเวณพื้นที่โครงการ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 สถานี ที่ วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย ประเภท 1 2 3 1 Arecaceae Phoenix paludosa เป้งทะเล ชายน้ำ x 2 Avicenniaceae Avicennia marina แสมทะเล ชายน้ำ x x 3 Combretaceae Lumnitzera racemosa ฝาดดอกขาว ชายน้ำ x 4 Euphorbiaceae Excoecaria agallocha ตาตุ่มทะเล ชายน้ำ x x 5 Malvaceae Hibiscus tiliaceus ปอทะเล ชายน้ำ x x x 6 Meliaceae Xylocarpus granatum ตะบูนขาว ชายน้ำ x 7 Rhizophoraceae Bruguiera gymnorrhiza พังกาหัวสุมดอกแดง, ปะสัก ชายน้ำ x 8 Rhizophoraceae Rhizophora apiculata โกงกางใบเล็ก ชายน้ำ x x 9 Rhizophoraceae Rhizophora mucronata โกงกางใบใหญ่ ชายน้ำ x x 10 Sonneratiaceae Sonneratia alba ลำแพนหิน, ลำแพนทะเล ชายน้ำ x x 11 Sonneratiaceae Sonneratia caseolaris ลำพู ชายน้ำ x x รวมจำนวนที่พบ 11 ชนิด 2 10 7 หมายเหตุ : สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-203 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ค) ผลการศึกษา ครั้งที่ 3 ดำเนินการสำรวจและเก็บตัวอย่างนิ เวศวิทยาทางน้ำ จากการดำเนินการเก็บตัวอย่ าง นิเวศวิทยาทางน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2564 จำนวน 3 สถานี ได้แก่ สถานีที่ 1 ชายฝั่ง บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย แสดงดังรูปที่ 3.3.1.2-6 ซึ่งเป็นบริเวณเดียวกับสถานีเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง โดยเก็บตัวอย่าง ทั้งแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ สัตว์น้ำวัยอ่อน สัตว์หน้าดิน ปลา ปลา และพืชน้ำ โดยมีผลการศึกษาดังนี้ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย รูปที่ 3.3.1.2-6 การเก็บตัวอย่างน้ำนิเวศวิทยาทางน้ำ (วันที่ 17 มิถุนายน 2564) กรมทางหลวงชนบท 3-204 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ก) แพลงก์ ตอน บริ เวณพื ้ นที ่ โครงการ (ตั ้ งแต่ สถานี ท ี ่ 1-3) พบแพลงก์ ตอนมี ความ หนาแน่นรวมทั้งหมด 1,186,640-3,239,460 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ( ตารางที่ 3.3.1.2-19) แสดงถึงบริเวณ พื้นที่โครงการมีความอุดมสมบูรณ์ ของแพลงก์ตอนอยู่ ในเกณฑ์ปานกลาง ค่าความหนาแน่นต่ำสุดและสู งสุ ด พบในสถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย ตามลำดับ โดยมี ความหลากหลายชนิดอยู่ในเกณฑ์ระดับปานกลาง โดยพบแพลงก์ตอนพืชในแต่ละสถานีมีแพลงก์ตอนพืชอยู่ระหว่าง 34-37 ชนิด ส่วนปริมาณแพลงก์ตอนพืชมีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 1,099,280-2,955,960 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ค่าความหนาแน่นต่ำสุดและสูงสุดพบในสถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบล เกาะลันตาน้อย ตามลำดับ ดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง คือ มีค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนพืช อยู่ระหว่าง 1.89-2.30 และพบแพลงก์ตอนสัตว์ในแต่ละสถานีมีแพลงก์สัตว์อยู่ระหว่าง 6-9 ชนิด ส่วนปริมาณ แพลงก์ตอนสัตว์มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 87,360-283,500 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ค่าความหนาแน่นต่ำสุด และสู ง สุ ด พบในสถานี ที่ 2 ชายฝั่ ง เกาะปลิ ง และสถานี ที่ 3 ชายฝั่ ง บ้ า นทุ่ ง โต๊ ะ หยุ ม ตำบลเกาะลันตาน้อย ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง คือ มีค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนสัตว์ อยู่ระหว่าง 1.39-1.63 โดยมีรายละเอียดของการแพร่กระจายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ในแต่ละ สถานีสำรวจ ดังนี้ - สถานี ท ี ่ 1 ชายฝั ่ ง บ้ า นหั ว หิ น ตำบลเกาะกลาง พบจำนวนชนิ ด ของ แพลงก์ตอน 24 ชนิด โดยมีจำนวนชนิดของแพลงก์ ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ 18 และ 6 ชนิด ตามลำดับ แพลงก์ ต อนพื ช และแพลงก์ ต อนสั ต ว์ ช นิ ด เด่ น คื อ ไดอะตอม ชนิ ด Coscinodiscus sp. และอาร์ โ ทรปอด กลุ่มตัวอ่อนกุ้งหรือปู ( Nauplius) ตามลำดับ และมีปริมาณความหนาแน่นของแพลงก์ตอน 1 ,603,440 เซลล์ต่อ ลูกบาศก์เมตร ส่วนความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 1 ,415,760 และ 187,680 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 1.89 และ 1.63 ตามลำดับ โดยค่าดัชนีความหลากหลายดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง - สถานี ท ี ่ 2 ชายฝั ่ ง เกาะปลิ ง พบจำนวนชนิ ด ของแพลงก์ ต อน 26 ชนิ ด โดยมีจ ำนวนชนิ ดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ 20 และ 6 ชนิ ด ตามลำดับ แพลงก์ตอนพืช และ แพลงก์ ต อนสั ต ว์ ชนิดเด่ น คื อ ไดอะตอม ชนิ ด Coscinodiscus sp. และอาร์ โทรปอด กลุ ่ มตั วอ่อนกุ้ งหรือปู (Nauplius) ตามลำดับ และมีปริมาณความหนาแน่นของแพลงก์ตอน 1,186,640 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ส่วนความ หนาแน่ นของแพลงก์ ตอนพื ช และแพลงก์ตอนสั ตว์เท่ากั บ 1 ,099,280 และ 87 ,360 เซลล์ ต ่อลู กบาศก์เมตร ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ ตอนพืชและแพลงก์ ตอนสัตว์เท่ากับ 2.18 และ 1.47 ตามลำดับ โดยค่าดัชนีความหลากหลายดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย พบจำนวนชนิดของ แพลงก์ตอน 39 ชนิ ด โดยมีจำนวนชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ 30 และ 9 ชนิด ตามลำดับ แพลงก์ ต อนพื ช และแพลงก์ ต อนสั ต ว์ ช นิ ด เด่ น คื อ ไดอะตอม ชนิ ด Coscinodiscus sp. และอาร์ โ ทรปอด กลุ่มตัวอ่อนกุ้งหรือปู ( Nauplius) ตามลำดับ และมีปริมาณความหนาแน่นของแพลงก์ตอน 3 ,239,460 เซลล์ต่อ ลูกบาศก์เมตร ส่วนความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 2,955,960 และ 283,500 เซลล์ ต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 2.30 และ 1.39 ตามลำดับ โดยค่าดัชนีความหลากหลายดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 3-205 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-19 แสดงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 17 มิถุนายน 2564 สถานี ไฟลัม / ชนิดของแพลงก์ตอน 1 2 3 Phytoplankton Cyanophyta (blue green algae) Oscillatoria erythraea 8,160 43,680 68,040 Bacillariophyta (diatom) Amphora sp. 8,160 Bacteriastrum sp. 7,560 Chaetoceros aequatorialis 7,560 Chaetoceros dicipiens 40,800 76,440 207,900 Chaetoceros laevis 3,780 Chaetoceros peruvianus 3,780 Cocconeis scutellum 7,560 Coscinodiscus sp. 640,560 465,920 1,107,540 Cyclotella sp. 130,560 29,120 102,060 Dactyliosolen phuketensis 4,080 14,560 41,580 Ditylum brightwellii 3,780 Ditylum sol 4,080 14,560 102,060 Eucampia cornuta 7,560 Guinardia flaccida 244,800 101,920 359,100 Lauderia annulata 57,120 80,080 234,360 Odontella sinensis 73,440 36,400 185,220 Palmeria ostenfeldii 7,560 Pleurosigma sp. 8,160 18,200 71,820 Rhizosolenia calcar-avis 65,280 29,120 90,720 Rhizosolenia deliculata 7,280 7,560 Rhizosolenia hebetata 7,280 7,560 Rhizosolenia imbricata 65,280 65,520 162,540 Rhizosolenia styliformis 30,240 Thalassionema nitzschioides 16,320 36,400 7,560 Thalassiothrix frauenfeldii 8,160 7,280 7,560 Chrysophyta (yellow brown algae) Dictyocha fibula 3,780 Pyrrophyta (dinoflagellate) Ceratium furca 7,280 Ceratium fusus 16,320 7,280 41,580 Ceratium trichocros 11,340 Ceratium tripos 8,160 7,280 7,560 Protoperidinium sp. 16,320 43,680 49,140 กรมทางหลวงชนบท 3-206 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-19 แสดงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน (cell/cm3) วันที่ 17 มิถุนายน 2564 (ต่อ) สถานี ไฟลัม / ชนิดของแพลงก์ตอน 1 2 3 Zooplankton Protozoa Amphorellopsis acuata 14,560 Tintinnopsis meunieri 16,320 Tintinnopsis tocantinensis 15,120 Tintinnopsis tubulosa 3,780 Arthropoda *Calanoid copepod 24,480 7,280 26,460 *Cyclopoid copepod 32,640 7,280 15,120 *Harpacticoid copepod 16,320 7,280 7,560 *Nauplius 73,440 43,680 177,660 Mollusca *Pelecypods larvae 18,900 Chordata Fritillaria sp. 24,480 7,280 11,340 Oikopleura sp. 7,560 รวมแพลงก์ตอนพืช 1,415,760 1,099,280 2,955,960 รวมแพลงก์ตอนสัตว์ 187,680 87,360 283,500 รวมทั้งหมด 1,603,440 1,186,640 3,239,460 รวมชนิดแพลงก์ตอนพืช 18 20 30 รวมชนิดแพลงก์ตอนสัตว์ 6 6 9 ค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนพืช 1.89 2.18 2.30 ค่าดัชนีความหลากหลายแพลงก์ตอนสัตว์ 1.63 1.47 1.39 หมายเหตุ : * = ไม่สามารถแยกชนิดได้ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย (ข) สัตว์หน้าดิน ชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์หน้าดินในพื้นที่โครงการ พบว่า อยู่ในเกณฑ์ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง โดยพบจำนวนชนิดในแต่ละสถานีอยู่ในช่วง 5-6 ชนิด (ตารางที่ 3.3.1.2-20) และมีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 182-278 ตัวต่อตารางเมตร ค่าความหนาแน่นต่ำสุดและสูงสุดพบในสถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ตามลำดับ ซึ่งมีกลุ่มชนิดและความอุดม สมบูรณ์ไม่ต่างกันนัก ชนิดส่วนใหญ่ที่พบเป็นพวกไส้เดือนทะเล กุ้งเต้น กุ้งดีดขัน ปูใบ้ และดาวเปราะ เป็นต้น โดย มีดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับต่ำไปจนถึงระดับปานกลาง (0.55-1.17) โดยการแพร่กระจายของสัตว์หน้าดิน ในแต่ละสถานีสำรวจ รายละเอียดมีดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 3-207 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-20 แสดงชนิดและปริมาณของสัตว์หน้าดิน (ตัว/ตร.ม.) วันที่ 17 มิถุนายน 2564 สถานี กลุ่ม / ชนิดของสัตว์หน้าดิน 1 2 3 PHYLUM ANNELIDA Class Polychaeta (ไส้เดือนทะเล) Order Phyllodocida Family Glyceridae 14 Family Nephtyidae 14 Family Nereididae 14 21 21 Order Sabellida Family Oweniidae 14 Order Scolecida Family Cossuridae 21 Order Terebellida Family Cirratulidae 7 PHYLUM NEMERTEA Class Enopla Order Heteronemertea (ริบบิ้น) 7 PHYLUM ARTHROPODA Class Malacostraca Order Amphipoda Family Gammaridae (กลุ่มกุ้งเต้น) 243 119 168 Order Decapoda Family Alpheidae Alpheus sp. (กุ้งดีดขัน) 7 Family Carpiliidae Eucrate sp. (ปูใบ้) 7 Family Penaeidae Metapenaeopsis sp. (กุ้งทะเล) 7 PHYLUM ECHINODERMATA Class Ophiuroidea Order Ophiurida Family Amphiuridae Amphiodia sp. (ดาวเปราะ) 7 7 รวม (ตัวต่อตารางเมตร) 278 182 238 รวมชนิด 5 6 6 ค่าดัชนีความหลากหลาย 0.55 1.17 1.05 หมายเหตุ : สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-208 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พบสัตว์หน้าดิน มีจำนวน 5 ชนิด ความหนาแน่นเท่ ากั บ 278 ตั วต่ อตารางเมตร โดยชนิ ดของสั ตว์หน้าดิ นส่วนใหญ่ ที ่ พบเป็ นพวกกลุ่ มกุ้ งเต้น ในครอบครัว Gammaridae และไส้เดือนทะเลในครอบครัว Nereididae ความหนาแน่นเท่ากับ 243 และ 14 ตัวต่อตารางเมตร ตามลำดับ ชนิดที่เหลือคือ ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Cirratulidae กุ้งดีดขัน และดาวเปราะ (Amphiodia sp.) ความหนาแน่นเท่ากัน คือ 7 ตัวต่อตารางเมตร และมีค่าดัชนีความหลากหลายเท่ากับ 0.55 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับต่ำ - สถานีที่ 2 ชาย ฝั่ง เกาะปลิง พบสัตว์หน้าดิน มีจำนวน 6 ชนิด ความหนาแน่น เท่ากับ 182 ตัวต่อตารางเมตร โดยชนิดของสัตว์หน้าดินที่พบเป็นพวกกลุ่มกุ้งเต้นในครอบครัว Gammaridae และ ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Nereididae มีความหนาแน่นเท่ากับ 119 และ 21 ตัวต่อตารางเมตร ตามลำดับ ชนิดที่ เหลือ คือ ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Nephtyidae ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Oweniidae ริบบิ้น และดาวเปราะ (Amphiodia sp.) มีความหนาแน่นเท่ากับ 14, 14, 7 และ 7 ตัวต่อตารางเมตร ตามลำดับ และมีค่าดัชนีความ หลากหลายเท่ากับ 1.17 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง - สถานี ที่ 3 ชายฝั่ ง บ้า นทุ่ง โต๊ ะหยุ ม ตำบลเกาะลั นตาน้ อย พบสั ตว์หน้าดิน มีจำนวน 6 ชนิด ความหนาแน่นเท่ากับ 238 ตัวต่อตารางเมตร โดยชนิดของสัตว์หน้าดินที่พบเป็นพวกกลุ่มกุ้งเต้น ในครอบครัว Gammaridae ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Nereididae และไส้เดือนทะเลในครอบครัว Cossuridae มีความหนาแน่นเท่ากับ 168, 21 และ 21 ตัวต่อตารางเมตร ตามลำดับ ชนิดที่เหลือ คือ ไส้เดือนทะเลในครอบครัว Glyceridae และกุ ้ งทะเล ( Metapenaeopsis sp.) มี ความหนาแน่ นเท่ ากั บ 14, 7 และ 7 ตั วต่ อตารางเมตร ตามลำดับ และมีค่าดัชนีความหลากหลายเท่ากับ 1.05 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (ค) สัตว์น้ำวัยอ่อน ในส่วนของไข่ปลาที่สำรวจพบในแต่ละสถานี พบว่า ผลการสุ่มสำรวจ ปริมาณไข่ปลามี 2 สถานีที่พบไข่ปลาในการสำรวจครั้งนี้ (ยกเว้นสถานีที่ 2 ที่สุ่มสำรวจไม่พบ) สำหรับการสำรวจ ชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของลูกปลาวัยอ่อนในพื้นที่โครงการนั้น พบว่าอยู่ในเกณฑ์ความอุดมสมบูรณ์ ต่ ำ โดยพบจำนวนชนิดในแต่ละสถานีอยู่ในช่วง 4-6 ครอบครัว (ตารางที่ 3.3.1.2-21) และมีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 46-111 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร โดยค่าความหนาแน่นต่ำสุดพบในสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบล เกาะลันตาน้อย และค่าความหนาแน่นสูงสุดพบในสถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง ซึ่งมีกลุ่มชนิดและความอุดมสมบูรณ์ ไม่ ต ่ า งกั น นั ก ชนิ ด ส่ ว นใหญ่ ท ี ่ พ บเป็ น กลุ ่ ม ปลาข้ า วเม่ า ( Glassy perchlet) ครอบครั ว Ambassidae มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 4-47 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาบู่ ( Goby) ครอบครัว Gobiidae มีความ หนาแน่นอยู่ในช่วง 12-36 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาตีนแถบ (Blenny) ครอบครัว Blenniidae มีความ หนาแน่นอยู่ในช่วง 15-32 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาสีกุน (Travelly) ครอบครัว Carangidae กับกลุ่ม ปลาวั วหางพั ด ( Leather jacket) ครอบครั ว Monacanthidae มี ความหนาแน่ นเท่ ากั น คื อ 7 ตั วต่ อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กลุ่มปลาหัวตะกั่ว ( Silverhead) ครอบครัว Belonidae กลุ่มปลาแป้น ( Pony fish) ครอบครัว Leiognathidae และกลุ่มปลาตะกรับ ( Scat) ครอบครัว Scatophagidae มีความหนาแน่นเท่ากัน คือ 4 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร โดยมี ดัชนีความหลากหลายของลูกปลาอยู่ในระดับต่ำไปจนถึงระดับปานกลาง (0.8933- 1.5278) โดยการแพร่กระจายของไข่ปลากับลูกปลาในแต่ละสถานีสำรวจ รายละเอียดมีดังต่อไปนี้ กรมทางหลวงชนบท 3-209 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-21 การแพร่กระจายของกลุ่มลูกปลาวัยอ่อนที่รวบรวมได้ วันที่ 17 มิถุนายน 2564 กลุ่มลูกปลาวัยอ่อน สถานี ที่ Common name ชื่อไทย Unit: inds./1,000 m3 1 2 3 Phylum Chordata Subphylum Vertebrata Class Actinopterygii Subclass Neopterygii Order Beloniformes 1 Family Belonidae Silverhead ่ หัวตะกัว 4 4 Order Perciformes Suborder Percoidei 2 Family Ambassidae Glassy perchlet ข้าวเม่า 47 25 4 3 Family Carangidae Travelly สีกุน 7 4 Family Leiognathidae Ponyfish แป้น 4 Suborder Gobioidei 5 Family Gobiidae Goby บู่ 12 36 23 Suborder Blennioidei 6 Family Blenniidae Blenny ตีนแถบ 32 15 Suborder Acanthuroidei 7 Family Scatophagidae Scat ตะกรับ 4 Order Tetraodontiformes 8 Family Monacanthidae Leather jacket วัวหางพัด 7 Total fish larvae 67 111 46 Eggs 12 0 2 Diversity index 0.8933 1.5278 1.1367 หมายเหตุ : สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย - สถานี ท ี ่ 1 ชายฝั ่ ง บ้ า นหั ว หิ น ตำบลเกาะกลาง สุ ่ ม สำรวจพบไข่ ป ลา ความหนาแน่นเท่ากับ 12 ใบต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และสุ่มสำรวจพบลูกปลาวัยอ่อน ในจำนวน 4 ครอบครัว ความหนาแน่นเท่ากับ 67 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และมีค่าดัชนีความหลากหลายเท่ากับ 0.8933 ซึ่งค่า ความหลากหลายอยู่ ใ นระดั บ ปานกลาง โดยชนิ ด ของลู ก ปลาวัยอ่อนที่พบเป็นกลุ่มปลาข้าวเม่า กลุ่มปลาบู่ กลุ่มปลาหัวตะกั่ว และกลุ่มปลาตะกรับ มีความหนาแน่นเท่ากับ 44, 12, 4 และ 4 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สุ่มสำรวจไม่พบไข่ปลา และสุ่มสำรวจพบลูกปลา วัยอ่อน ในจำนวน 6 ครอบครัว ความหนาแน่นเท่ากับ 111 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และมีค่าดัชนีความ หลากหลายเท่ า กั บ 1.5278 ซึ ่ ง ค่ า ความหลากหลายอยู ่ ใ นระดั บ ปานกลาง โดยชนิ ด ของลู ก ปลาวั ย อ่ อ น ที่พบเป็นกลุ่มปลาบู่ กลุ่มปลาตีนแถบ และกลุ่มปลาข้าวเม่า มีความหนาแน่นเท่ากับ 36, 32 และ 25 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ที่พบรองลงมาคือกลุ่มปลาสีกุน และกลุ่มปลาวัวหางพัด โดยมีความหนาแน่น เท่ากัน คือ 7 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และกลุ่มปลาหัวตะกั่ว โดยมีความหนาแน่นเท่ากับ 4 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร กรมทางหลวงชนบท 3-210 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย สุ่มสำรวจพบไข่ปลา ความหนาแน่นเท่ากับ 2 ใบต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร และสุ่มสำรวจพบลูกปลาวัยอ่อน ในจำนวน 4 ครอบครัว ความหนาแน่ น เท่ า กั บ 46 ตั ว ต่ อ 1,000 ลู กบาศก์ เมตร และมี ค ่ า ดั ช นี ความหลากหลายเท่ า กั บ 1.1367 ซึ่งค่าความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง โดยชนิดของลูกปลาวัยอ่อนที่พบเป็นกลุ่มปลาบู่ และกลุ่มปลาตีนแถบ มีความหนาแน่นเท่ากับ 23 และ 15 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ที่พบรองลงมาคือ กลุ่มปลาข้าวเม่า และกลุ่มปลาแป้น มีความหนาแน่นเท่ากัน คือ 4 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร (ง) ปลา ผลการสำรวจทรัพยากรปลาในพื้นที่โครงการ 3 สถานี จากสถานีสำรวจ พบปลารวม 12 วงศ์ รวม 15 สกุล 19 ชนิด แสดงดังตารางที่ 3.3.1.2-22 และรูปที่ 3.3.1.2-7 โดยพบปลาในกลุ่มปลาบู่ (ครอบครัว Gobiidae) จำนวน 4 ชนิ ด ได้ แก่ ปลาบู่จุดฟ้า ปลาบู่จุดเขียว ปลาบู่ลายจุ ด และปลาจุมพรวด กลุ่ ม ปลาเข็ม (ครอบครั ว Hemiramphidae) จำนวน 2 ชนิ ด ได้ แก่ ปลาเข็ม ตั บเต่ า และปลาเข็ม น้ำกร่อย กลุ่มปลาปลาเห็ดโคน (ครอบครัว Sillaginidae) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ ปลาเห็ดโคนลาย และปลาเห็ดโคนขาว กลุ่มปลาดอกหมาก (ครอบครัว Gerreidae) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ ปลาดอกหมากกระโดง และปลาดอกหมากเงิน กลุ่มปลาปักเป้า (ครอบครัว Ambasseidae) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ ปลาปักเป้าจุด และปลาปักเป้าซีลอน ส่วนกลุ่ม ปลาในครอบครัวอื่นอีก 7 ครอบครัวนั้น พบครอบครัวละชนิดเท่านั้น คือ ปลากระบอกเทา ปลาจิ้มฟันจระเข้ ปลาเกล็ดข้าวเม่า ปลากะพงข้างปาน ปลาแพะลาย ปลาตีนแถบ และปลาบู่จากหัวแบน ตามลำดับ โดยไม่พบปลา ที่ติดสถานภาพปลาที่ถูกคุกคามของประเทศไทย (สผ., 2560) โดยรายละเอียดมีดังนี้ ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพสูญพันธุ์ (extinct) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพสูญพันธุ์ในธรรมชาติ (extinct in the wild) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง (critically endangered) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ (endangered) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (vulnerable) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพ ใกล้ถูกคุกคาม (near threatened) ▪ ไม่พบปลาที่อยู่ในสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ เมื่อพิจารณาปลาที่สำรวจในแต่ละสถานี พบว่า มีจำนวนชนิด 6-13 ชนิด สำหรับ ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) ในแต่ละสถานีนั้นพบอยู่ในระดับต่ำ โดยพบอยู่ระหว่าง 0.76-0.80 กิโลกรัม/ไร่ และมีค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.2082-2.2082) โดยเป็นปลาที่พบได้ทั่วไป และส่วนใหญ่ไม่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ โดยมีรายละเอียดในแต่ละสถานีดังนี้ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พบปลารวม 6 วงศ์ 6 สกุล 6 ชนิด มีจำนวนรวม 46 ตัว (ตารางที่ 3.3.1.2-23) โดยชนิดของปลาที่พบเป็นปลาที่พบได้ทั่วไปบริเวณที่เป็นแหล่งน้ำ ทะเลชายฝั่ง ปลาชนิดที่สำรวจพบมาก คือ ปลากะพงข้างปาน และปลาเข็มตับเต่า ตามลำดับ ส่วนชนิดที่พบ รองลงมา คือ ปลาบู่จากหัวแบน ปลาปักเป้าซีลอน ปลาดอกหมากเงิน และปลาบู่จุดเขียว ตามลำดับ โดยมี ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) เท่ากับ 0.76 กก./ไร่ และมีค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.2082) กรมทางหลวงชนบท 3-211 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม รูปที่ 3.3.1.2-7 ชนิดปลาที่สำรวจได้ในพื้นที่โครงการ (วันที่ 17 มิถุนายน 2564) กรมทางหลวงชนบท 3-212 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.2-22 การแพร่กระจายของชนิดปลาที่รวบรวมได้ วันที่ 17 มิถุนายน 2564 สถานี วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย สถานภาพปลา1 1 2 3 Mugilidae Planiliza subviridis กระบอกเทา - X X Hemiramphidae Zenarchopterus buffonis เข็มตับเต่า - X Zenarchopterus dunckeri เข็มน้ำกร่อย - X X Synganthidae Trachyrhamphus bicoarctatus จิ้มฟันจระเข้ - X X Ambasseidae Ambassis burunensis เกล็ดข้าวเม่า - X X Sillaginidae Sillago aeolus เห็ดโคนลาย - X X Sillago sihama เห็ดโคนขาว - X X Lutjanidae Lutjanus russellii กะพงข้างปาน - X Gerreidae Gerres filamentosus ดอกหมากกระโดง - X X Gerres oyena ดอกหมากเงิน - X Mullidae Upeneus tragula แพะลาย - X X Blennidae Omobranchus ferox ตีนแถบ - X X Eleotridae Butis amboinensis บู่จากหัวแบน - X Gobiidae Acentrogobius caninus บู่จุดฟ้า - X X Acentrogobius viridipunctatus บู่จุดเขียว - X Istigobius decoratus บู่ลายจุด - X X Periophthalmodon schlosseri จุมพรวด - X X Tetraodontidae Arothron hispidus ปักเป้าจุด - X X Tetraodon biocellatus ปักเป้าซีลอน - X รวม 12 วงศ์ รวม 15 สกุล 19 ชนิด 6 13 13 หมายเหตุ : -1 = สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2560. สรุปชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม ของประเทศไทย: สัตว์มีกระดูกสันหลัง. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 112 หน้า. สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย ตารางที่ 3.3.1.2-23 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 1 วันที่ 17 มิถุนายน 2564 จำนวน ช่วงความยาว น้ำหนัก วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย (ตัว) (ซม.) (กรัม) Hemiramphidae Zenarchopterus buffonis เข็มตับเต่า 19 2.0-8.5 (4.8) 13.81 Lutjanidae Lutjanus russellii กะพงข้างปาน 20 2.5-4.8 (3.8) 18.36 Gerreidae Gerres oyena ดอกหมากเงิน 1 3.4 0.46 Eleotridae Butis amboinensis บู่จากหัวแบน 3 4.4-5.4 (4.8) 3.16 Acentrogobius Gobiidae viridipunctatus บู่จุดเขียว 1 5.4 2.82 Tetraodontidae Tetraodon biocellatus ปักเป้าซีลอน 2 3.8-5.4 8.81 รวม 6 วงศ์ รวม 6 สกุล 6 ชนิด 46 47.42 หมายเหตุ : ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) = 0.76 กิโลกรัมต่อไร่ ค่าดัชนีความหลากหลาย = 1.2082 กรมทางหลวงชนบท 3-213 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง พบปลารวม 10 วงศ์ 12 สกุล 13 ชนิด มีจำนวนรวม 47 ตัว (ตารางที่ 3.3.1.2-24) โดยชนิดของปลาที่พบเป็นปลาที่พบได้ทั่วไปบริเวณที่เป็นแหล่งน้ำทะเลชายฝั่ง ปลา ชนิดที่สำรวจพบมาก คือ ปลาเกล็ดข้าวเม่า ปลาเห็ดโคนขาว ปลาบู่จุดฟ้า ปลาเข็ม น้ำกร่อย และปลาจุ่มพรวด ตามลำดับ ส่วนชนิดที่พบรองลงมา คือ ปลาขี้จีน และหัวหนาม ปลาเห็ดโคนลายปลาจุมพรวด ปลาดอกหมากเงิน ปลาตีนแถบ ปลากระบอกท่อนใต้ ปลากระบอก ปลาเข็มตับเต่า ปลาหัวตะกั่วทะเล ปลาจิ้มฟันจระเข้ ปลาใบปอ ปลาบู่เกล็ดแข็ง และปลาปักเป้าลาย ตามลำดับ โดยมีปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) เท่ากับ 1.34 กิโลกรัม/ไร่ และมีค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (2.3510) ตารางที่ 3.3.1.2-24 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 2 วันที่ 17 มิถุนายน 2564 จำนวน ช่วงความยาว น้ำหนัก วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย (ตัว) (ซม.) (กรัม) Mugilidae Planiliza subviridis กระบอกเทา 1 4.1 1.64 Hemiramphidae Zenarchopterus dunckeri เข็มน้ำกร่อย 4 4.4-6.2 (5.2) 3.96 Synganthidae Trachyrhamphus bicoarctatus จิ้มฟันจระเข้ 1 8.5 0.57 Ambasseidae Ambassis burunensis เกล็ดข้าวเม่า 15 1.7-6.1 (3.9) 18.25 Sillaginidae Sillago aeolus เห็ดโคนลาย 1 3.3 0.96 Sillago sihama เห็ดโคนขาว 5 3.2-8.3 (6.6) 13.31 Gerreidae Gerres filamentosus ดอกหมากกระโดง 3 2.3-3.9(2.9) 1.18 Mullidae Upeneus tragula แพะลาย 1 3.3 0.47 Blennidae Omobranchus ferox ตีนแถบ 2 4.5-6.0 2.81 Gobiidae Acentrogobius caninus บู่จุดฟ้า 5 2.2-3.7 (2.8) 1.72 Istigobius decoratus บู่ลายจุด 3 4.2-5.3 (4.6) 3.57 Periophthalmodon schlosseri จุมพรวด 4 2.5-4.4 (3.1) 1.07 Tetraodontidae Arothron hispidus ปักเป้าจุด 2 1.1-1.5 0.21 รวม 10 วงศ์ รวม 12 สกุล 13 ชนิด 47 49.72 หมายเหตุ : ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) = 0.80 กิโลกรัมต่อไร่ ค่าดัชนีความหลากหลาย = 2.2082 - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย พบปลารวม 10 วงศ์ 12 สกุล 13 ชนิด มีจำนวนรวม 47 ตัว (ตารางที่ 3.3.1.2-25) โดยชนิดของปลาที่พบเป็นปลาที่พบได้ทั่วไปบริเวณ ที่เป็นแหล่งน้ำทะเลชายฝั่ง ปลาชนิดที่สำรวจพบมาก คือ ปลาเกล็ดข้าวเม่า ปลาเห็ดโคนขาว ปลาบู่จุดฟ้า ปลา เข็มน้ำกร่อย และปลาจุ่มพรวด ตามลำดับ ส่วนชนิดที่พบรองลงมา คือ ปลาขี้จีน และหัวหนาม ปลาเห็ดโคนลาย ปลาจุมพรวด ปลาดอกหมากเงิน ปลาตีนแถบ ปลากระบอกท่อนใต้ ปลากระบอก ปลาเข็มตับเต่า ปลาหัวตะกั่ว ทะเล ปลาจิ้มฟันจระเข้ ปลาใบปอ ปลาบู่เกล็ดแข็ง และปลาปักเป้าลาย ตามลำดับ โดยมีปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) เท่ากับ 1.34 กิโลกรัม/ไร่ และมีค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (2.3510) (จ) พืชน้ำ จากการสำรวจพืชน้ำในบริเวณพื้นที่โครงการ ทั้ง 3 สถานี พบพืชน้ำรวมทั้งสิ้น รวม 8 วงศ์ 9 สกุล 11 ชนิด ซึ่งเป็นพืชชายน้ำทั้งหมด ได้แก่ เป้งทะเล แสมทะเล ฝาดดอกขาว ตาตุ่มทะเล ปอทะเล ตะบูนขาว พังกาหัวสุมดอกแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ลำแพนหิน และลำพู ทั้งหมด ดังแสดงในตารางที่ 3.3.1.2-26 โดยมีการแพร่กระจายของพืชน้ำในแต่ละสถานี ดังนี้ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พบพืชน้ำรวม 2 ชนิด ได้แก่ ปอ ทะเลและลำพู กรมทางหลวงชนบท 3-214 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง พบพืชน้ำรวม 10 ชนิด ได้แก่ เป้งทะเล แสมทะเล ฝาดดอกขาว ตาตุ่มทะเล ปอทะเล ตะบูนขาว พังกาหัวสุมดอกแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ และลำแพนหิน - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย พบพืชน้ำรวม 7 ชนิด ได้แก่ แสมทะเล ตาตุ่มทะเล ปอทะเล โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ลำแพนหิน และลำพู ตารางที่ 3.3.1.2-25 ชนิดและปริมาณปลาที่รวบรวมได้จาก สถานีที่ 3 วันที่ 17 มิถุนายน 2564 จำนวน ช่วงความยาว น้ำหนัก วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย (ตัว) (ซม.) (กรัม) Mugilidae Planiliza subviridis กระบอกเทา 1 4.1 1.64 Hemiramphidae Zenarchopterus dunckeri เข็มน้ำกร่อย 4 4.4-6.2 (5.2) 3.96 Synganthidae Trachyrhamphus bicoarctatus จิ้มฟันจระเข้ 1 8.5 0.57 Ambasseidae Ambassis burunensis เกล็ดข้าวเม่า 15 1.7-6.1 (3.9) 18.25 Sillaginidae Sillago aeolus เห็ดโคนลาย 1 3.3 0.96 Sillago sihama เห็ดโคนขาว 5 3.2-8.3 (6.6) 13.31 Gerreidae Gerres filamentosus ดอกหมากกระโดง 3 2.3-3.9(2.9) 1.18 Mullidae Upeneus tragula แพะลาย 1 3.3 0.47 Blennidae Omobranchus ferox ตีนแถบ 2 4.5-6.0 2.81 Gobiidae Acentrogobius caninus บู่จุดฟ้า 5 2.2-3.7 (2.8) 1.72 Istigobius decoratus บู่ลายจุด 3 4.2-5.3 (4.6) 3.57 Periophthalmodon schlosseri จุมพรวด 4 2.5-4.4 (3.1) 1.07 Tetraodontidae Arothron hispidus ปักเป้าจุด 2 1.1-1.5 0.21 รวม 10 วงศ์ รวม 12 สกุล 13 ชนิด 47 49.72 หมายเหตุ : ปริมาณปลาต่อพื้นที่ (Standing Crop) = 0.80 กิโลกรัมต่อไร่ ค่าดัชนีความหลากหลาย = 2.2082 ตารางที่ 3.3.1.2-26 แสดงชนิดพืชน้ำที่พบบริเวณพื้นที่โครงการ วันที่ 17 มิถุนายน 2564 สถานี ที่ วงศ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย ประเภท 1 2 3 1 Arecaceae Phoenix paludosa เป้งทะเล ชายน้ำ x 2 Avicenniaceae Avicennia marina แสมทะเล ชายน้ำ x x 3 Combretaceae Lumnitzera racemosa ฝาดดอกขาว ชายน้ำ x 4 Euphorbiaceae Excoecaria agallocha ตาตุ่มทะเล ชายน้ำ x x 5 Malvaceae Hibiscus tiliaceus ปอทะเล ชายน้ำ x x x 6 Meliaceae Xylocarpus granatum ตะบูนขาว ชายน้ำ x 7 Rhizophoraceae Bruguiera gymnorrhiza พังกาหัวสุมดอกแดง, ปะสัก ชายน้ำ x 8 Rhizophoraceae Rhizophora apiculata โกงกางใบเล็ก ชายน้ำ x x 9 Rhizophoraceae Rhizophora mucronata โกงกางใบใหญ่ ชายน้ำ x x 10 Sonneratiaceae Sonneratia alba ลำแพนหิน, ลำแพนทะเล ชายน้ำ x x 11 Sonneratiaceae Sonneratia caseolaris ลำพู ชายน้ำ x x รวมจำนวนที่พบ 11 ชนิด 2 10 7 หมายเหตุ : สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-215 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.3.1.3 ป่าชายเลน 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อตรวจสอบขอบเขตพื้นที่ป่าชายเลน (2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของพื้นที่ป่าชายเลนในพื้นที่โครงการ และพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ (3) เพื ่ อใช้ เป็ น ข้ อมู ล ในการประเมิ น ผลกระทบต่ อ ป่ า ชายเลนที่ อาจเกิ ด ขึ ้ น และการกำหนด มาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) วิธีการศึกษา (1) ตรวจสอบขอบเขตพื้นที่ป่าชายเลนในพื้นที่โครงการกับฐานข้อมูลของกรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง พบว่า แนวเส้นทางโครงการตัดผ่านเฉพาะพื้นที่ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 14 ตุลาคม 2543 (ไม่อยู่ในเขตป่าชายเลนในเขตป่าสงวนแห่งชาติ) ช่วง กม.1+828-กม.1+957 ระยะทางประมาณ 0.129 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 1.2 ไร่ (รูปที่ 3.3.1.3-1) (2) วิธีการสำรวจป่าชายเลน ก) สำรวจทรัพยากรป่าชายเลนในพื้นที่ที่คงมีสภาพทางนิเวศป่าชายเลนในปัจจุบัน โดยทำการ ตรวจสอบสภาพทางนิเวศ การบุกรุกทำลายพื้นที่ป่า ชนิดพรรณพืชที่พบรวมถึงพรรณพืชชนิดเด่น ( Dominant species) เพื่อทราบถึงสถานภาพโดยรวมของป่าชายเลนในขณะทำการศึกษา โดยแบ่งพื้นที่สำรวจได้ 3 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 บริเวณเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ตามแนวทางหลวงหมายเลข 4206 ช่วงที่ 2 บริเวณเกาะปลิง และช่วงที่ 3 บริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย ตามแนวทางหลวง หมายเลข กบ.5035 โดยช่วงที่ 1 แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ตามพื้นที่และสภาพของป่าชายเลน ได้แก่ พื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ (ป่าเลนคลองราปู แปลง 1 และแปลง 2 เขตเศรษฐกิจ) พื้นที่ 1.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ (ป่าเกาะกลาง เขตเศรษฐกิจ) และพื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ และช่วงที่ 3 แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ พื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ (ป่าหลังสอด ป่าควน- บากันเกาะ เขตเศรษฐกิจ) พื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ (ป่าหลังสอด ป่ า ควนบากันเกาะ เขตเศรษฐกิจ) และพื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือ (รูปที่ 3.3.1.3-2 และรูปที่ 3.3.1.3-3) ข) การสำรวจแต่ละบริเวณจะประยุกต์ใช้วิธีการสำรวจแบบ Line Plot System การวาง แปลงสำรวจจะวางแนวตั้งฉากกับแนว Base Line หรือแนวเส้นทางของโครงการทั้งสองข้าง ทำการสุ่มวางแปลง ขนาด 10×10 เมตร โดยวางแนวสำรวจตามระยะทางของโครงการ กำหนดให้แปลงแรกอยู่ติดกับแนวเส้นทางถนน หรือสะพานและวางแปลงถัดไปให้ตั้งฉากกับแนวเส้นทางดังกล่าว โดยมีระยะห่างระหว่างแปลง 20 เมตร ลึกเข้า ไปในพื้นที่ป่าไม่น้อยกว่าด้านละ 500 เมตร หรือจนสุดเขตป่าชายเลน แนวสำรวจแต่ละแนววางห่างกัน 100-200 เมตร คิดเป็นอัตราการสุ่มตัวอย่างสำรวจประมาณร้อยละ 3 ของพื้นที่ประชากรป่าชายเลนที่ศึกษา ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ สภาพพื้นที่และการกระจายของสังคมพืช สำหรับรูปแบบและขนาดของแปลงที่ใช้ในการสำรวจเป็นแปลงแบบ สี่เหลี่ยมจัตุรัส (quadrate) ซ้อนกัน 3 แปลงย่อย ประกอบด้วย แปลงขนาด 10×10 เมตร โดยแบ่งเป็นแปลงย่อย ขนาด 5×5 เมตร และ 1×1 เมตร ณ มุมด้านขวาแรกของแปลงใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 3-216 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-1 พื้นที่ป่าชายเลนมติคณะรัฐมนตรีในพื้นที่ดำเนินโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-217 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ่ ำรวจทรัพยากรป่าชายเลนในพื้นที่ศึกษาโครงการ รูปที่ 3.3.1.3-2 พื้นทีส กรมทางหลวงชนบท 3-218 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-3 จุดวางแปลงสำรวจสังคมพืชป่าชายเลนในระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-219 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน เพื่อสำรวจแจงนับพันธุ์ไม้ใหญ่ ไม้รุ่น และลูกไม้ ตามลำดับ ในการคำนวณหาจำนวนหน่วยแปลง ตัวอย่าง ควรมีค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ (Allowance of Error : AE) โดยมีค่าน้อยที่สุดและยอมรับได้ โดยส่ ว นมากค่ า AE จะกำหนดให้ ไ ม่ เกิ น 10% ตามขนาดของป่ า ที่ ต้ อ งการหาจำนวนหน่ ว ยแปลงตั ว อย่ า ง หากต้องการให้มีความคลาดเคลื่อนน้อย และมีความถูกต้องสูง ควรจะใช้ค่า AE ที่ 5% (รูปที่ 3.3.1.3-4) รูปที่ 3.3.1.3-4 วิธีการสำรวจแบบ Line Plot System และขนาดแปลงสำรวจสังคมพืชป่าชายเลน ค) ในการบันทึกข้อมูลชนิดพันธุ์ไม้ที่ปรากฏในแปลงตัวอย่างทุกชนิด ดำเนินการโดยจำแนก สังคมพืชออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ - ไม้ใหญ่ (tree) หมายถึง ไม้ยืนต้นที่มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก หรือที่ระดับ 1.3 เมตร ( Diameter at breast height : Dbh) สำหรับไม้โกงกางวัดที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือ คอราก (D0.2r) ตั้งแต่ 4 เซนติเมตรขึ้นไป ทำการบันทึกชนิด ขนาดความโต (Dbh หรือ D0.2r) และความสูงทั้งหมด (Height : Ht) ของต้นไม้ทุกต้นในแปลงขนาด 10 ×10 เมตร เพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางนิเวศวิทยาและมูลค่าทาง เศรษฐกิจของป่าไม้จำนวนแปลงขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ขนาดพื้นที่ทำการศึกษา ประเภทของป่าไม้ ความหนาแน่น ไม้เด่น การใช้ที่ดินประเภทอื่น และความสม่ำเสมอของประเภทของป่า เป็นต้น กรมทางหลวงชนบท 3-220 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ไม้ รุ ่ น ( sapling) หมายถึ ง ไม้ ย ื น ต้ น ที ่ ม ี ขนาด Dbh หรื อ D0.2 r น้ อยกว่ า 4 เซนติเมตร สูงตั้งแต่ 1.3 เมตรขึ้นไป ทำการบันทึกชนิดและนับจำนวนต้นที่ปรากฏในแปลงขนาด 4×4 เมตร - ลูกไม้ (seedling) หมายถึง ไม้ยืนต้นที่มีความสูงน้อยกว่า 1.3 เมตร ทำการบันทึก ชนิดและนับจำนวนต้นที่ปรากฏในแปลงขนาด 1×1 เมตร - พืชพื้นล่าง (undergrowth) หมายรวมถึง ไม้ล้มลุก เถาวัลย์ และหญ้าชนิดต่าง ๆ ในแปลงขนาด 1×1 เมตร ในกรณีที่ไม่สามารถจำแนกชนิดพรรณไม้ในแปลงตัวอย่าง จะเก็บตัวอย่างพันธุ์ไม้เพื่อ อัดแห้ง แล้วนำไปเปรียบเทียบกับตัวอย่างพรรณไม้ พร้อมกับตรวจสอบชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ และจัดทำบัญชี รายชื่อของพรรณไม้ต่อไป ง) ประเมินสภาพความสมบูรณ์ของป่าธรรมชาติ รวมถึงพื้นที่ที่มีการปลูกป่า โดยจัดทำ บั ญ ชี รายชื ่ อชนิ ดพรรณไม้ คำนวณหาค่ าลั กษณะสั งคมพื ช ได้ แก่ ค่ าความหนาแน่ น ( density) ค่ าความเด่ น (dominant) ค่าความถี่ (frequency) ค่าดัชนีความสำคัญของชนิดไม้ ( important value index) ค่าดัชนีความ หลากหลายทางชีวภาพ ( diversity index) ค่าผลผลิตเนื้อไม้ ( wood production) การทดแทนของสังคมพืช (natural regeneration) จากปริมาณไม้ใหญ่ ไม้รุ่นและลูกไม้ และค่าการเก็บกักคาร์บอน (carbon sequestration) ของป่าชายเลน จ) สำรวจการบุกรุกทำลายป่าและความเสียหายของป่าชายเลน ในพื้นที่สำรวจโดยศึกษา ขอบเขตและความเสียหายจากการบุ กรุกทำลาย ในกรณีของป่าที่ขึ้นกระจายเป็นหย่อมเล็กหย่อมน้อย เช่น ป่ า ชายเลนบริเวณที่มีการแปรสภาพเป็นพื้นที่นากุ้งและแหล่งชุมชน ดำเนินการสำรวจแบบ Modified Random Sampling โดยสุ่มวางแปลงตัวอย่างแบบ quadrate ในบริเวณที่มีสภาพเป็นพื้นที่ป่า รูปแบบและขนาดของแปลง ตัวอย่างทำเช่นเดียวกับที่ได้กล่าวข้างต้น โดยมีจำนวนแปลงในแต่ประเภทของป่าขึ้นอยู่กับการกระจายและขนาด ของผืนป่า ฉ) การศึกษาความเปลี่ยนแปลงทางนิเวศของป่าชายเลน โดยพิจารณาจากความเสียหาย ของป่าชายเลนที่เกิดจากการบุกรุกทำลายป่าเปรียบเทียบกับป่าสมบูรณ์ในพื้นที่ศึกษาหรือแ หล่งข้อมูลที่มี การศึกษาไว้ก่อนหน้า ช) การประเมินผลกระทบต่อทรัพยากรป่าชายเลนจากกิจกรรมโครงการที่มีต่อความ สมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพ ความเสียหายที่เกิดจากการตัดฟันต้นไม้ พืชคลุมดิน การเคลื่อนย้าย หน้าดิน และการทำลายพืชพรรณธรรมชาติ ทั้งในกรณีมีและไม่มีโครงการ ซ) เสนอมาตรการแก้ไขและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม หากมีผลกระทบต่อทรัพยากร ป่าชายเลนที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการ ต้องมีการเสนอมาตรการแก้ไขและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้ง มีมาตรการติดตามและตรวจสอบทั้งในระยะก่อสร้างและระยะดำเนินการ ฌ) การวิเคราะห์ข้อมูลป่าชายเลน เพื่อนำข้อมูลของสภาพแวดล้อมปัจจุบันในพื้นที่ตาม แนวเส้นทางโครงการ ซึ่งข้อมูลที่ได้มาทั้งหมดจะนำมาใช้ประกอบการพิจารณาเพื่อประเมินผลกระทบต่อสภาพ ป่าชายเลน กรมทางหลวงชนบท 3-221 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (2) การสำรวจภาคสนาม การสำรวจภาคสนามพื้นที่ป่าชายเลน สถานภาพปัจจุบันลักษณะสังคมพืชของป่าชายเลนใน พื้นที่ดำเนินการก่อสร้างถนนโครงการและพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ เมื่อวันที่ 18-22 มกราคม 2564 ซึ่งในการศึกษาสำรวจทรัพยากรป่าชายเลนในพื้นที่ศึกษาโครงการครั้งนี้ แบ่งพื้นที่ศึกษาหลัก ออกเป็น 2 พื้นที่ ได้แก่ ก) พื้นที่ดำเนินโครงการ ผลการสำรวจด้านทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ดำเนินการก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พบต้นไม้ใหญ่จำนวนรวม 40 ต้น ได้แก่ ไม้บก 2 ชนิด จำนวน 3 ต้น และไม้ชายเลน 6 ชนิด จำนวน 37 ต้น ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ ฝั่งเกาะลันตาน้อย ซึ่งอยู่ในเฉพาะเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าหลังสอด/ ป่าควนบากันเกาะเท่านั้น และผลจากการตรวจสอบชนิดไม้ในพื้นที่ดำเนินการครั้งนี้ ไม่พบไม้ที่มีสถานภาพเพื่อ การอนุรักษ์ของกรมอุทยาน สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP 2017) และของ IUCN (2020) แต่อย่างใด ซึ่งพบชนิดไม้ หวงห้ามประเภท ก. (ไม้หวงห้ามธรรมดา) จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata Blume.) ตะบู นขาว (Xylocarpus granatum Koen) ตะบู นดำ (Xylocarpus moluccensis (Lam.)) โปรงแดง (Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob.) และส้านใหญ่ (Dillenia obovata (Blume) Hoogland) โดยชนิดไม้หรือต้นไม้ดังกล่าว ไม่เป็นไม้ที่มีค่าหรือไม้หายาก แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-1 และรูปที่ 3.3.1.3-5 ตารางที่ 3.3.1.3-1 ต้นไม้ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ พิกัดตำแหน่ง ขนาด ลำดับ ชื่อไทย ชื่อพฤกษศาสตร์ เส้นผ่า สูง หมายเหตุ ที่ X Y ศูนย์กลาง (ซม.) (ม.) ประเภทไม้ชายเลน 1 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511943 849502 5.8 3.5 2.1 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511943 849503 7.7 5.5 สองนาง 2.2 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511943 849503 8.7 6.5 สองนาง 3 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511943 849505 8.3 5 ต้นเอน 4 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511944 849504 6.7 4 ต้นเอน 5 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511945 849488 19.9 12 6 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511945 849509 5.5 3.5 7 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511945 849512 7.7 4 8 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511945 849513 11.1 5.5 ต้นเอน 10 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511946 849499 12.3 4.5 ต้นเอน 11 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511946 849503 9.7 7 ต้นเอน 12 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849509 6.4 4 13 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849510 6.8 4 14 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849511 5.6 5 15 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849512 5 2.7 ต้นเอน 16 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849513 4.8 2.8 ต้นเอน 17.1 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849517 6 4 สี่นาง 17.2 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849517 8.3 4 สี่นาง 17.3 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849517 5.5 3.7 สี่นาง 17.4 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849517 6.4 4 สี่นาง กรมทางหลวงชนบท 3-222 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-1 ต้นไม้ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ (ต่อ) พิกัดตำแหน่ง ขนาด ลำดับที่ ชื่อไทย ชื่อพฤกษศาสตร์ เส้นผ่า สูง หมายเหตุ X Y ศูนย์กลาง (ซม.) (ม.) ประเภทไม้ชายเลน (ต่อ) 18 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511950 849513 5.4 4.5 19 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511951 849510 5.3 5 20 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511951 849510 7.2 5 21.1 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511951 849514 7.7 3.2 สามนาง 21.2 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511951 849514 6.8 4.3 สามนาง 21.3 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511951 849514 8 4 สามนาง 22 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849499 5.4 4 23 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849508 7 5.5 24.1 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849510 12.9 7 สองนาง 24.2 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849510 8.9 6 สองนาง 25 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849511 7.1 5 26 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849521 9.1 3.2 27 ตะบูนขาว* Xylocarpus granatum Koen 511948 849488 8.7 5.5 28 ตะบูนขาว* Xylocarpus granatum Koen 511951 849489 7.5 5 29 ตะบูนขาว* Xylocarpus granatum Koen 511955 849482 8.1 4.5 30 ตะบูนดำ* Xylocarpus moluccensis (Lam.) 511949 849486 7 4 31.1 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511948 849494 10.4 7 สามนาง 31.2 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511948 849494 9.1 6 สามนาง 31.3 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511948 849494 7.8 8 สามนาง 32 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511949 849503 7.1 5 33.1 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511950 849504 5.9 2.5 สองนาง 33.2 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511950 849504 5.3 2 สองนาง 34.1 แสมขาว Avicennia alba Bl. 511945 849525 58.9 14 ห้านาง 34.2 แสมขาว Avicennia alba Bl. 511945 849525 23.2 11 ห้านาง 34.3 แสมขาว Avicennia alba Bl. 511945 849525 15.3 14 ห้านาง 34.4 แสมขาว Avicennia alba Bl. 511945 849525 10.3 6 ห้านาง 34.5 แสมขาว Avicennia alba Bl. 511945 849525 9.9 6 ห้านาง 35 แสมทะเล Avicennia marina (Forssk) Vierh. 511949 849508 8.2 6.5 36 แสมทะเล Avicennia marina (Forssk) Vierh. 511952 849511 7.1 4.5 37.1 แสมทะเล Avicennia marina (Forssk) Vierh. 511953 849519 12.3 6.5 สองนาง 37.2 แสมทะเล Avicennia marina (Forssk) Vierh. 511953 849519 10.8 4.5 สองนาง ประเภทไม้บก 1 สำโรง Sterculia foetida L. 511912 849330 31 13 2 ส้านใหญ่* Dillenia obovata (Blume) Hoogland 511941 849432 46.5 10 3 ส้านใหญ่* Dillenia obovata (Blume) Hoogland 511963 849446 44.59 10 หมายเหตุ : * ไม้หวงห้ามประเภท ก ไม้หวงห้ามธรรมดา ตามบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกากําหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2530 กรมป่าไม้ กรมทางหลวงชนบท 3-223 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-5 ต้นไม้ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-224 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) พื้นที่ศึกษาโครงการ การสำรวจทรัพยากรป่าชายเลนในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จาก แนวเส้นทางโครงการ แบ่งออกได้เป็น 3 พื้นที่หลัก (รูปที่ 3.3.1.3-6) ได้แก่ (ก) พื้นที่บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ตามแนวทางหลวง หมายเลข 4206 โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน - พื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางโครงการ ป่าชายเลนบริเวณนี้อยู่ทางฝั่งซ้ายของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะโดยอยู่ด้านหลังของเนินเขาและท่าเรือข้ามฟาก บ้านหัวหิน สภาพพื้นที่ใกล้กับเนินเขามีดินเป็นทรายปนหิน ห่างออกไปเป็นดินเลนปนทราย พบพรรณไม้ท้ง ั หมด 14 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก ตาตุ่มทะเล ปอทะเล สีง้ำ โพทะเล ตะบูนดำ ฝาดดอกขาว โปรงแดง ตะบูนขาว สนทะเล ถั่วขาว หยีทะเล และแสมทะเล รวม 1,427 ต้นต่อไร่ แบ่งเป็นไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ 241, 333 และ 853 ต้นต่อไร่ ตามลำดับ ในภาพรวมการมีจำนวนกล้าไม้มากกว่าไม้รุ่นและมีไม้รุ่นมากกว่าไม้ต้น แสดง ถึงศักยภาพที่ดีใ นการทดแทนตามธรรมชาติของป่า อย่างไรก็ตามไม้ต้นที่พบจำนวนมาก คือ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก และตาตุ่มทะเล ไม่ได้มีสัดส่วนของไม้ขนาดต่างๆ ที่เป็นเช่นนั้น ขณะที่ไม้รุ่นที่พบจำนวนมาก คือ โกงกางใบเล็ก โปรงแดง และแสมทะเล ส่วนกล้าไม้ที่พบจำนวนมาก คือ ตะบูนขาว โกงกางใบเล็ก และโกงกาง ใบใหญ่ ซึ่งแสดงถึงการทดแทนที่ไม่ดีเท่าที่ควร แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-2 และรูปที่ 3.3.1.3-7 สำหรับค่าดัชนี ความหลากหลายทางชนิด คำนวณโดยสูตร Shannon-Wiener diversity index (H’) มีค่าเท่ากับ 1.391 (เฉพาะ ไม้ต้น) และเท่ากับ 1.506 (รวมไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้) ซึ่งจากการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสำคัญ ( Important Value Index: IVI) ของพรรณไม้ป่าชายเลนในบริเวณนี้ พบว่า โกงกางใบใหญ่มีค่าดัชนีความสำคัญสู งที ่ สุ ด 104.65 รองลงมา ได้แก่ โกงกางใบเล็ก ตาตุ่ ม ทะเล ปอทะเล และสี ง้ ำ มี ค่ า ดั ช นี ความสำคั ญ เท่ า กั บ 95.11, 30.95, 17.77 และ 13.71 ตามลำดั บ ส่วนพรรณไม้ที่มีค่าดัชนีความสำคัญน้อย ได้แก่ โพทะเล ฝาดดอกขาว ตะบูนดำ ถั่วขาว ตะบูนขาว หยีทะเล และโปรงแดง ซึ่งมีค่า IVI น้อยกว่า 5 แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-3 ผลผลิตเนื้อไม้ของป่าชายเลนบริเวณนี้ประเมินได้จากจำนวนและขนาดความโต ของไม้ต้นที่พบในแปลงสำรวจ ซึ่งมีอยู่ 241 ต้นต่อไร่ ขนาดแตกต่างกันไปตามชนิดของพรรณไม้ในภาพรวม มีผลผลิตคิดเป็นปริมาตรเนื้อไม้ได้ประมาณ 11.70 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้นมีค่าประมาณ 6,445.54 ตันต่อไร่ โกงกางใบใหญ่ พบมากที่สุด 100 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 10.8 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 6.3 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้มากที่สุด 4.57 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 2.556 ตันต่อไร่ โกงกางใบเล็ก พบ 96 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 9.3 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 7.6 เมตร มี ปริมาตรเนื้อไม้มากที่สุด 4.71 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพลำต้น 2.842 ตันต่อไร่ รายละเอียดดังแสดงใน ตารางที่ 3.3.1.3-4 จากการประเมินความสมบูรณ์ของป่ายเลนตามหลักเกณฑ์ข องกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ง พบว่า ป่าชายเลนบริเวณนี้มีระดับความสมบูรณ์ปานกลาง มีพื้นที่หน้าตัดรวมของไม้ต้นทุกชนิด เท่ากับ 2.22 ตารางเมตรต่อไร่ ดัชนีมวลชีวภาพ ( Biomass Index : BI) เท่ากับ 0.37 ซึ่งจากการประเมินผลผลิตมวล ชีวภาพของพรรณไม้ป่าชายเลนในบริเวณนี้ พบว่า มีค่ามวลชีวภาพรวมประมาณ 23.515 ตันต่อไร่ คิดเป็นปริมาณ คาร์บอนที่กักเก็บไว้ (×0.47) ได้เท่ากับ 11.052 ตันต่อไร่ แบ่งเป็นมวลชีวภาพเหนือดิน 16.453 ตันต่อไร่ และมวล ชีวภาพใต้ดิน 7.061 ตันต่อไร่ ในทำนองเดียวกัน พบว่า โกงกางใบใหญ่และโกงกางใบเล็กมีค่ามวลชี วภาพสูงสุด สองลำดับแรก คือ 10.339 และ 8.434 ตันต่อไร่ ตามลำดับ เป็นมวลชีวภาพเหนือดิน 7.182 และ 5.858 ตันต่อไร่ ตามลำดับ และมวลชีวภาพใต้ดิน 3.156 และ 2.575 ตันต่อไร่ ตามลำดับ แสดง ตารางที่ 3.3.1.3-5 อาจประเมิน ได้ว่าร้อยละ 80.00 ของมวลชีวภาพของป่าชายเลนบริเวณนี้ มาจากไม้เพียงสองชนิด คือ โกงกางใบใหญ่และ โกงกางใบเล็ก กรมทางหลวงชนบท 3-225 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-6 จุดสำรวจทรัพยากรป่าชายเลนในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-226 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-2 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณ จุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ลำดับ ชนิด ไม้ต้น ไม้รุ่น กล้าไม้ รวม 1 โกงกางใบใหญ่ 100 13 107 220 2 โกงกางใบเล็ก 96 240 107 443 3 ตาตุ่มทะเล 18 0 0 18 4 ปอทะเล 7 0 0 7 5 สีง้ำ 6 0 0 6 6 โพทะเล 3 0 0 3 7 ตะบูนดำ 2 0 0 2 8 ฝาดดอกขาว 2 0 0 2 9 โปรงแดง 1 40 0 41 10 ตะบูนแดง 1 7 533 541 11 สนทะเล 1 0 0 1 12 ถั่วขาว 1 0 0 1 13 หยีทะเล 1 0 0 1 14 แสมทะเล 0 33 107 140 รวม 241 333 853 1,427 ตารางที่ 3.3.1.3-3 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญของ พรรณไม้พื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ความหนาแน่น ลำดับที่ ชนิด ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ ดัชนีความสำคัญ สัมพัทธ์ 1 โกงกางใบใหญ่ 41.59 44.87 18.18 104.65 2 โกงกางใบเล็ก 39.82 34.07 21.21 95.11 3 ตาตุ่มทะเล 7.52 8.27 15.15 30.95 4 ปอทะเล 3.10 2.55 12.12 17.77 5 สีง้ำ 2.65 1.97 9.09 13.71 6 สนทะเล 0.44 6.21 3.03 9.68 7 โพทะเล 1.33 0.45 3.03 4.81 8 ฝาดดอกขาว 0.88 0.59 3.03 4.50 9 ตะบูนดำ 0.88 0.42 3.03 4.33 10 ถั่วขาว 0.44 0.17 3.03 3.64 11 ตะบูนขาว 0.44 0.16 3.03 3.63 12 หยีทะเล 0.44 0.14 3.03 3.62 13 โปรงแดง 0.44 0.11 3.03 3.59 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00 กรมทางหลวงชนบท 3-227 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-4 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออก เฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ขนาดเส้นผ่าน ลำดับ ความหนาแน่น ความสูงเฉลี่ย ปริมาตรไม้ น้ำหนักแห้ง ชนิด ศูนย์กลางเฉลี่ย ที่ (ต้น/ไร่) (ม.) (ลบ.ม./ไร่) ลำต้น (กก./ไร่) (ซม.) 1 โกงกางใบใหญ่ 100 10.8±3.2 6.3±1.1 4.57 2,555.55 2 โกงกางใบเล็ก 96 9.3±3.7 7.6±2.3 4.71 2,842.42 3 ตาตุ่มทะเล 18 10.9±3.4 6.0±1.6 0.85 308.91 4 ปอทะเล 7 9.2±3.9 5.1±0.9 0.22 79.71 5 สีง้ำ 6 8.9±2.9 4.0±0.6 0.13 55.94 6 โพทะเล 3 6.3±1.1 3.8±0.3 0.03 10.84 7 ฝาดดอกขาว 2 8.8±1.0 6.0±0.0 0.05 28.34 8 ตะบูนดำ 2 7.3±2.5 2.5±0.0 0.02 7.74 9 สนทะเล 1 40.6 11.0 1.06 529.65 10 โปรงแดง 1 5.5 7.0 0.01 8.11 11 ตะบูนขาว 1 6.5 5.0 0.01 5.73 12 ถั่วขาว 1 6.7 4.5 0.01 7.80 13 หยีทะเล 1 6.2 4.0 0.01 4.80 รวม 241 11.70 6,445.54 - พื้ น ที่ 1. 2 ป่ า ชายเลนด้ า นทิ ศตะวั นตกเฉี ยงใต้ ข องแนวเส้ นทางโครงการ ป่ า ชายเลนบริเวณนี้อยู่ทางฝั่งขวาของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะโดยอยู่ด้านหลังแนวป่าเสื่อมสภาพหลังการทำนากุ้ง รวมถึ ง ร้ า นค้ า บริ เวณท่ าเรื อข้ า มฝากบ้า นหั ว หิ น สภาพพื้ น ที่ อยู่ หลั ง แนวคั น นากุ้ ง ร้ า งมี ดิ นเป็ นเล นปนทราย ห่ า งออกไปเป็นดินเลน พบพรรณไม้ทั้งหมด 13 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ตาตุ่มทะเล โปรงแดง ถั่วขาว แสมทะเล ฝาดดอกแดง สีง้ำ ฝาดดอกขาว ตะบูนขาว ตะบูนดำ ลำแพนหิน และช้าเลือด รวม 801 ต้นต่อไร่ แบ่งเป็นไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ 226, 255 และ 320 ต้นต่อไร่ ตามลำดับ ในภาพรวมการมีจำนวนกล้าไม้มากกว่า ไม้รุ่นและมีไม้รุ่นมากกว่าไม้ต้นแสดงถึงศักยภาพที่ดีในการทดแทนตามธรรมชาติของป่า อย่างไรก็ตามไม้ต้นที่พบ จำนวนมาก คือ โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ และตาตุ่มทะเล ไม่ได้มีสัดส่วนของไม้ขนาดต่าง ๆ ที่เป็นเช่นนั้น ขณะที่ไม้รุ่นที่พบจำนวนมาก คือ โปรงแดง โกงกางใบเล็ก และโกงกางใบใหญ่ ส่วนกล้าไม้ที่พบมีเพียงสองชนิด เท่านั้น คือ โปรงแดงและถั่วขาว แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-6 และรูปที่ 3.3.1.3-8 ค่าดัชนีความหลากหลายทางชนิด คำนวณโดยสูตร Shannon-Wiener diversity index (H’) มีค่าเท่ากับ 1.609 (เฉพาะไม้ต้น) และเท่ากับ 1.727 (รวมไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้) กรมทางหลวงชนบท 3-228 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-7 พื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-229 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-5 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 1.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน มวลชีวภาพเหนือดิน มวลชีวภาพใต้ดิน มวลชีวภาพรวม ลำดับที่ ชนิด (กก./ไร่) (กก./ไร่) (กก./ไร่) 1 โกงกางใบใหญ่ 7,182.37 3,156.30 10,338.66 2 โกงกางใบเล็ก 5,858.09 2,575.81 8,433.91 3 สนทะเล 1,869.37 607.75 2,477.13 4 ตาตุ่มทะเล 871.98 397.83 1,269.81 5 ปอทะเล 253.27 117.85 371.12 6 สีง้ำ 209.40 99.56 308.96 7 ฝาดดอกขาว 70.83 34.29 105.12 8 ตะบูนดำ 41.09 20.75 61.84 9 โพทะเล 33.79 18.29 52.09 10 ถั่วขาว 21.54 10.98 32.52 11 หยีทะเล 14.12 7.51 21.63 12 ตะบูนขาว 14.08 7.49 21.57 13 โปรงแดง 13.14 7.04 20.18 รวม 16,453.08 7,061.47 23,514.55 ตารางที่ 3.3.1.3-6 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 1.2 ป่าชายเลน ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ลำดับที่ ชนิด ไม้ต้น ไม้รุ่น กล้าไม้ รวม 1 โกงกางใบเล็ก 104 55 0 159 2 โกงกางใบใหญ่ 52 45 0 97 3 ตาตุ่มทะเล 22 15 0 37 4 โปรงแดง 16 65 160 241 5 ถั่วขาว 14 40 160 214 6 แสมทะเล 6 5 0 11 7 ฝาดดอกแดง 4 5 0 9 8 สีง้ำ 2 10 0 12 9 ฝาดดอกขาว 2 5 0 7 10 ตะบูนขาว 2 0 0 2 11 ตะบูนดำ 1 0 0 1 12 ลำแพนหิน 1 0 0 1 13 ช้าเลือด 0 10 0 10 รวม 226 255 320 801 กรมทางหลวงชนบท 3-230 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-8 พื้นที่ 1.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณ จุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ค่ า ดั ช นี ความสำคั ญ ( Important Value Index: IVI) ของพรรณไม้ ป ่ า ชายเลนใน บริเวณนี้ จากการวิเคราะห์ พบว่า โกงกางใบเล็กมีค่าดัชนีความสำคัญสูงที่สุด 120.92 รองลงมา ได้แก่ โกงกางใบใหญ่ ตาตุ ่ ม ทะเล ถั ่ ว ขาว แสมทะเล และโปรงแดง มี ค่ า ดั ช นี ความสำคั ญ เท่ ากั บ 50.12, 30.60, 28.33, 26.39 และ 20.69 ตามลำดับ ส่วนพรรณไม้ที่มีค่าดัชนีความสำคัญน้อย ได้แก่ สีง้ำ ตะบาวขาว ฝาดดอกแดง ลำแพนหิน ฝาดดอกขาว และตะบูนดำ ซึ่งมีค่า IVI น้อยกว่า 6.5 แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-7 มีผลผลิตเนื้อไม้ของป่าชายเลน ประเมินจากจำนวนและขนาดความโตของไม้ต้นที่พบในแปลงสำรวจ ซึ่งมีอยู่ 226 ต้นต่อไร่ ขนาดแตกต่างกันไป ตามชนิด ของพรรณไม้ ในภาพรวม มี ผ ลผลิตคิดเป็นปริมาตรเนื้ อไม้ได้ประมาณ 14.18 ลู กบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้นมีค่าประมาณ 7.249 ตันต่อไร่ โกงกางใบเล็ก พบมากที่สุด 104 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโต ทางเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 10.5 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 7.9 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้มากที่สุด 8.00 ลู กบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 4.615 ตันต่อไร่โกงกางใบใหญ่ พบ 52 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 8.4 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 5.6 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 1.36 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.780 ตั น ต่ อไร่ สำหรั บแสมทะเล แม้ จ ะพบเพี ยง 6 ต้ น ต่อไร่ แต่เป็นต้นที่ขนาดใหญ่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่าน ศูนย์กลางเฉลี่ย 23.6 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 7.5 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 2.69 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของ ลำต้น 0.902 ตันต่อไร่ มากกว่าโกงกางใบใหญ่เล็กน้อย แสดงดั ง ตารางที่ 3.3.1.3-8 จากการประเมินความ สมบู รณ์ ของป่ า ชายเลนตามหลักเกณฑ์ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พบว่า ป่าชายเลนบริเวณนี้มี ระดับความสมบูรณ์ปานกลาง มีพื้นที่หน้าตัดรวมของไม้ต้นทุกชนิด เท่ากับ 2.24 ตารางเมตรต่อไร่ ดัชนีมวล ชีวภาพ (Biomass Index : BI) เท่ากับ 0.37 การประเมินผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้ป่าชายเลนในบริเวณนี้ พบว่ามีค่ามวล ชีวภาพรวมประมาณ 25.371 ตันต่อไร่ คิดเป็นปริมาณคาร์บอนที่กักเก็บไว้ เท่ากับ 11.924 ตันต่อไร่ แบ่งเป็นมวล ชีวภาพเหนือดิน 18.053 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 7.318 ตันต่อไร่ โกงกางใบเล็ก แสมทะเล และโกงกาง ใบใหญ่มี ค่ามวลชีวภาพสูงสุดสามลำดับแรก คื อ 14.053, 4.579 และ 3.298 ตั น ต่อไร่ ตามลำดับ เป็นมวล ชีวภาพเหนือดิน 9.969, 3.437 และ 2.272 ตันต่อไร่ ตามลำดับ และมวลชีวภาพใต้ดิน 4.083, 1.142 และ 1.026 ตันต่อไร่ ตามลำดับ แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-9 อาจประเมินได้ว่าร้อยละ 68.00 ของมวลชีวภาพของป่าชายเลน บริเวณนี้มาจากไม้โกงกางใบเล็กและโกงกางใบใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 3-231 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-7 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญ ของพรรณไม้พื้นที่ 1.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของแนวเส้นทาง เชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ความหนาแน่น ลำดับที่ ชนิด ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ ดัชนีความสำคัญ สัมพัทธ์ 1 โกงกางใบเล็ก 46.10 50.58 24.24 120.92 2 โกงกางใบใหญ่ 23.05 14.95 12.12 50.12 3 ตาตุ่มทะเล 9.93 7.04 13.64 30.60 4 ถั่วขาว 6.38 3.77 18.18 28.33 5 แสมทะเล 2.48 16.34 7.58 26.39 6 โปรงแดง 7.09 2.99 10.61 20.69 7 สีง้ำ 1.06 0.57 4.55 6.18 8 ตะบูนขาว 0.71 0.99 3.03 4.73 9 ฝาดดอกแดง 1.77 0.60 1.52 3.89 10 ลำแพนหิน 0.35 1.66 1.52 3.53 11 ฝาดดอกขาว 0.71 0.45 1.52 2.68 12 ตะบูนดำ 0.35 0.06 1.52 1.93 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00 ตารางที่ 3.3.1.3-8 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 1.2 ป่าชายเลนด้านทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ขนาดเส้นผ่าน ลำดับ ความหนาแน่น ความสูงเฉลี่ย ปริมาตรไม้ น้ำหนักแห้งลำ ชนิด ่ ศูนย์กลางเฉลีย ที่ (ต้น/ไร่) (ม.) (ลบ.ม./ไร่) ต้น (กก./ไร่) (ซม.) 1 โกงกางใบเล็ก 104 10.5±5.3 7.9±2.9 8.00 4,615.14 2 โกงกางใบใหญ่ 52 8.4±3.4 5.6±1.2 1.36 780.00 3 ตาตุ่มทะเล 22 8.3±4.7 5.8±2.0 0.86 304.42 4 โปรงแดง 16 6.9±2.6 5.7±1.6 0.30 185.07 5 ถั่วขาว 14 7.8±3.9 6.0±1.5 0.41 245.00 6 แสมทะเล 6 23.6±17.9 7.5±2.9 2.69 901.82 7 ฝาดดอกแดง 4 6.3±2.1 5.1±1.6 0.06 28.00 8 สีง้ำ 2 8.2±0.3 4.0±0.9 0.04 15.76 9 ตะบูนขาว 2 13.0±4.0 7.3±0.4 0.11 47.10 10 ฝาดดอกขาว 2 9.0±0.9 5.8±1.1 0.04 20.70 11 ลำแพนหิน 1 24.3 12.0 0.31 104.80 12 ตะบูนดำ 1 4.7 2.0 0.00 0.99 รวม 226 14.18 7,248.80 กรมทางหลวงชนบท 3-232 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-9 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 1.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ลำดับ มวลชีวภาพเหนือดิน มวลชีวภาพใต้ดิน มวลชีวภาพรวม ชนิด ที่ (กก./ไร่) (กก./ไร่) (กก./ไร่) 1 โกงกางใบเล็ก 9,969.33 4,083.86 14,053.19 2 แสมทะเล 3,437.05 1,141.99 4,579.04 3 โกงกางใบใหญ่ 2,272.35 1,025.96 3,298.32 4 ตาตุ่มทะเล 771.43 343.77 1,115.20 5 ถั่วขาว 616.48 275.24 891.72 6 โปรงแดง 430.10 205.32 635.42 7 ลำแพนหิน 250.25 96.80 347.06 8 ตะบูนขาว 127.86 56.09 183.94 9 ฝาดดอกแดง 63.00 32.13 95.13 10 สีง้ำ 55.07 27.72 82.79 11 ฝาดดอกขาว 55.29 26.67 81.96 12 ตะบูนดำ 4.75 2.74 7.49 รวม 18,052.96 7,318.28 25,371.25 - พื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางโครงการ ด้านทิศตะวันตก เฉียงใต้ พื้นที่ใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ที่อยู่ใกล้กับแนวเส้นทางมีสภาพเป็นป่าชายเลน เสื่อมสภาพที่เกิดจากการทำนากุ้งในอดีตและต่อมาปล่อยให้เป็นที่รกร้าง จากการสำรวจพบพรรณไม้ 6 ชนิด ได้แก่ แสมทะเล ตาตุ่มทะเล ช้าเลือด ขลู่ โกงกางใบเล็ก โปรงแดง และสีง้ำ โดยชนิดแรกพบขึ้นกระจายบริเวณ นากุ้งร้าง ส่วนชนิดอื่นพบขึ้นกระจายตามคันนากุ้งที่ถูกทิ้งให้รกร้าง ยกเว้นขลู่ที่พบขึ้นกระจายเป็นหย่อม ๆ บริเวณ ที่รกร้างว่างเปล่าผสมกับพืชพื้นล่างจำพวกปรงทะเล และถอบแถบน้ำ โดยรวมพบพืช จำนวน 4,404 ต้นต่อไร่ ส่วนใหญ่ (3,927 ต้นต่อไร่) เป็นกล้าไม้แสมทะเล แบ่งเป็นไม้ต้นและไม้รุ่นมีเพียง 41 และ 436 ต้นต่อไร่ ตามลำดับ นับว่าป่าบริเวณนี้มีศักยภาพที่จะทดแทนตามธรรมชาติได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะแสมทะเล ซึ่งเป็นไม้เบิกนำที่ มัก พบในพืชที่ป่าชายเลนหลังถูกรบกวนเป็นส่วนใหญ่ ขณะที่ไม้ชนิดอื่นยังไม่ประสบความสำเร็จในการทดแทน เท่าที่ควร เนื่องจากมีคันนากุ้งที่ปิดกั้นการแพร่การกระจายพันธุ์ของพรรณไม้ป่าชายเลน โดยเฉพาะโกงกางใบเล็ก และโกงกางใบใหญ่ ที่พบแม่ไม้เป็นจำนวนมากในพื้นที่ใกล้เคียง (1.2) นอกคันนากุ้ง รายละเอียดสังคมพืชบริเวณนี้ แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-10 และรูปที่ 3.3.1.3-9 ค่าดัชนีความหลากหลายทางชนิด คำนวณโดยสูตร Shannon- Wiener diversity index (H’) มีค่าเท่ากับ 0.823 (เฉพาะไม้ต้น) และเท่ากับ 0.153 (รวมไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้) ค่าดัชนีความสำคัญของพรรณไม้ป่าชายเลนในบริเวณนี้ จากการวิเคราะห์ พบว่า แสมทะเลมีค่าดัชนีความสำคัญสูงที่สุด 182.18 รองลงมา ได้แก่ ตาตุ่มทะเล และช้าเลือด มีค่าดัชนีความสำคัญ เท่ากับ 104.50 และ 13.32 ตามลำดับ ส่วนพรรณพืชพื้นล่างชนิดอื่นที่พบ ได้แก่ ขลู่ ปรงทะเล และถอบแถบน้ำ พบขึ้นกระจายเป็นหย่อม ๆ นอกแปลงสำรวจ แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-11 โดยผลผลิตเนื้อไม้ของป่าชายเลนที่ ประเมินจากจำนวนและขนาดความโตของไม้ต้น ทั้งสามชนิดที่พบในแปลงสำรวจ ซึ่งมีอยู่ 40 ต้นต่อไร่ มีค่า ค่อนข้างน้อย โดยมีผลผลิตคิดเป็นปริมาตรเนื้อไม้ได้ประมาณ 1.33 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้นมี ค่าประมาณ 0.522 ตันต่อไร่ แสมทะเล พบมากที่สุด 20 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 10.0 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 6.4 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้มากที่สุด 0.95 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.379 ตันต่อไร่ตาตุ่มทะเล พบ 19 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 7.3 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย กรมทางหลวงชนบท 3-233 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 5.9 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 0.37 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.141 ตันต่อไร่ สำหรับช้าเลือดซึ่ง เป็นพุ่มขนาดเล็กพบเพียง 1 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.0 เซนติเมตร สูง 4.5 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 0.01 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.002 ตันต่อไร่ แสดงดัง ตารางที่ 3.3.1.3-12 จากการประเมินความสมบูรณ์ของป่ายเลนตามหลักเกณฑ์ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พบว่าป่าชายเลน บริเวณนี้มีระดับความสมบูรณ์น้อย มีพื้นที่หน้าตัดรวมของไม้ต้นทุกชนิด เท่ากับ 0.31 ตารางเมตรต่อไร่ ดัช นี มวลชีวภาพ (Biomass Index: BI) เท่ากับ 0.02 ตารางที่ 3.3.1.3-10 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ บริเวณจุดเริ่มต้น โครงการฝั่งบ้านหัวหิน ลำดับที่ ชนิด ไม้ต้น ไม้รุ่น กล้าไม้ รวม 1 แสมทะเล 20 345 3,927 4,293 2 ตาตุ่มทะเล 19 18 0 37 3 ช้าเลือด 1 0 0 1 4 ขลู่ 0 45 0 45 5 โกงกางใบเล็ก 0 9 0 9 6 โปรงแดง 0 9 0 9 7 สีง้ำ 0 9 0 9 รวม 41 436 3,927 4,404 ตารางที่ 3.3.1.3-11 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญ ของพรรณไม้ พื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะ ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ดัชนี ลำดับที่ ชนิด ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ ความสำคัญ 1 แสมทะเล 50.00 68.55 63.64 182.18 2 ตาตุ่มทะเล 46.43 30.80 27.27 104.50 3 ช้าเลือด 3.57 0.66 9.09 13.32 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00 ตารางที่ 3.3.1.3-12 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้ แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ขนาดเส้นผ่าน ลำดับ ความหนาแน่น ความสูงเฉลี่ย ปริมาตรไม้ น้ำหนักแห้งลำต้น ชนิด ศูนย์กลางเฉลี่ย ที่ (ต้น/ไร่) (ม.) (ลบ.ม./ไร่) (กก./ไร่) (ซม.) 1 แสมทะเล 20 10.0±4.6 6.4±1.4 0.95 378.90 2 ตาตุ่มทะเล 19 7.3±2.1 5.9±1.0 0.37 141.10 3 ช้าเลือด 1 4.0 4.5 0.01 2.46 รวม 40 1.33 522.47 กรมทางหลวงชนบท 3-234 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-9 พื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ข้างแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-235 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน จากการประเมินผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้ป่าชายเลนในพื้นที่ป่าเสื่อมสภาพ บริเวณนี้ พบว่า มีค่ามวลชีวภาพรวมประมาณ 1.975 ตันต่อไร่ คิดเป็นปริมาณคาร์บอนที่กักเก็บไว้ เท่ากับ 0.928 ตันต่อไร่ แบ่งเป็นมวลชีวภาพเหนือดิน 1.351 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 0.625 ตันต่อ ไร่ แสมทะเล มีค่า มวลชีวภาพสูงสุด คือ 1.468 ตันต่อไร่ เป็นมวลชีวภาพเหนือดิน 1.014 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 0.454 ตันต่อไร่ แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-13 อาจประเมินได้ว่าร้อยละ 74 หรือประมาณสองในสามของมวลชีวภาพของ ป่าชายเลนบริเวณนี้มาจากไม้แสมทะเล ตารางที่ 3.3.1.3-13 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 1.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทาง เชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการฝั่งบ้านหัวหิน มวลชีวภาพเหนือดิน มวลชีวภาพใต้ดิน มวลชีวภาพรวม ลำดับที่ ชนิด (กก./ไร่) (กก./ไร่) (กก./ไร่) 1 แสมทะเล 1,014.05 453.65 1,467.70 2 ตาตุ่มทะเล 331.65 167.87 499.52 3 ช้าเลือด 4.99 3.04 8.03 รวม 1,350.68 624.56 1,975.25 (ข) พื้นทีบ่ ริเวณเกาะปลิง พื้นที่ป่าไม้บนเกาะปลิง ประกอบด้วยพื้นที่ป่าชายเลนและพื้นที่ป่าบก เกาะปลิงเป็น เกาะขนาดเล็กที่บริเวณริมชายฝั่งเป็นป่าชายเลน ซึ่งเป็นดินเลนปนทรายและมีโขนหินโผล่อยู่ทั่วไปมีป่าชายเลนขึ้น เป็นแถบแคบ ๆ ความกว้างตั้งแต่ 5 -30 เมตร พบพรรณไม้ทั้งหมด 12 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบใหญ่ โปรงแดง ประสักดอกแดง โกงกางใบเล็ก แสมทะเล หงอนไก่ทะเลใบใหญ่ ลำแพนหิน ตะบูนขาว ตะบูนดำ โพทะเล เล็บมือนาง และสี ง้ ำ แต่ พื้ น ที่ ต อนกลางเกาะเป็ น พื้ นที่ ย กตั ว สู ง ขึ้ น มา และเป็ น ที่ ราบ ทำให้ มี ต้ น ไม้ ขึ้ น หลากหลายชนิด พบพรรณไม้ทั้งหมด 4 ชนิด ได้แก่ หว้า จิกนม ส้านใบเล็ก นนทรี แต่ในการนี้พบการลักลอบปลูกปาล์มบนเกาะ และปัจจุบันพบร่องรอยการถางลูกไม้และกล้าไม้บริเวณบนเกาะด้วย แสดงดังรูปที่ 3.3.1.3-10 เกาะปลิงเป็นเกาะขนาดเล็กอยู่ประมาณกึ่งกลางของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะโดยมีแนว สายส่งระบบจําหน่ายไฟฟ้า 33 kV ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคพาดผ่านจากบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน เพื่อขึ้นสู่เกาะ ลันตาน้อย บนเกาะมีเสาส่งไฟฟ้าแรงสูงจำนวนหนึ่งเสาและมีพรรณไม้ป่าบกขึ้นปกคลุม ส่วนบริเวณโดยรอบเกาะ ซึ่งเป็นดินเลนปนทรายและมีโขนหินโผล่อยู่ทั่วไปมีป่าชายเลนขึ้นเป็นแถบแคบ ๆ ความกว้างตั้งแต่ 5-30 เมตร พบพรรณไม้ทั้งหมด 12 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบใหญ่ โปรงแดง ประสักดอกแดง โกงกางใบเล็ก แสมทะเล หงอนไก่ ทะเลใบใหญ่ ลำแพนหิน ตะบูนขาว ตะบูนดำ โพทะเล เล็บมือนาง และสีง้ำ รวม 3,587 ต้นต่อไร่ แบ่งเป็นไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ 267, 440 และ 2,880 ต้นต่อไร่ ตามลำดับ ในภาพรวม การมีจำนวนกล้าไม้มากกว่าไม้ร่น ุ และ มี ไม้รุ่นมากกว่าไม้ต้นแสดงถึงศักยภาพที่ดีในการทดแทนตามธรรมชาติของป่า โดยเฉพาะไม้โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก และโปรงแดงถือมีการทดแทนตามธรรมชาติที่ดี ขณะที่พรรณไม้ชนิดอื่นส่วนใหญ่พบเฉพาะไม้ต้น แต่ไม่พบไม้รุ่นและกล้าไม้แต่อย่างใด แสดงดังรูปที่ 3.3.1.3-11 และตารางที่ 3.3.1.3-14 กรมทางหลวงชนบท 3-236 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-10 สภาพพื้นที่ป่าชายเลนและพื้นที่ป่าบกบนเกาะปลิง กรมทางหลวงชนบท 3-237 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-11 พื้นที่ป่าชายเลนรอบเกาะปลิง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-238 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ค่าดัชนีความหลากหลายทางชนิด คำนวณโดยสูตร Shannon-Wiener diversity index (H’) มีค่าเท่ากับ 1.501 (เฉพาะไม้ต้น) และเท่ากับ 1.062 (รวมไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้) จากการวิเคราะห์ ค่าดัชนีความสำคัญของพรรณไม้ป่าชายเลนในบริเวณเกาะปลิง พบว่า โกงกางใบใหญ่มีค่าดัชนีความสำคัญสูง ที่สุด 131.86 รองลงมา ได้แก่ ประสักดอกแดง โปรงแดง โกงกางใบเล็ก ตะบูนขาว ลำแพนหิน และหงอนไก่ ทะเลใบใหญ่ มี ค่ า ดั ช นี ความสำคั ญ เท่ า กั บ 44.48, 35.44, 32.76, 12.26, 12.02 และ 10.26 ตามลำดั บ ส่ ว นพรรณไม้ชนิดอื่น ได้แก่ แสมทะเล โพทะเล สีง้ำ ตะบูนดำ และเล็บมือนาง มีค่าดัชนีความสำคัญน้อยกว่า 10 แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-15 ผลผลิตเนื้อไม้ของป่าชายเลนที่ประเมินจากจำนวนและขนาดความโตของไม้ต้นที่พบ ในแปลงสำรวจซึ่งมีอยู่ 267 ต้นต่อไร่ มีผลผลิตคิดเป็นปริมาตรเนื้อไม้ได้ประมาณ 13.80 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้นมีค่าประมาณ 7.254 ตันต่อไร่ โกงกางใบใหญ่พบมากที่สุด 147 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโต ทางเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 11.3 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 5.0 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้มากที่สุด 6.92 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 3.797 ตันต่อไร่ โปรงแดง พบ 35 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 8.8 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 5.9 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 1.07 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.647 ตันต่อไร่ สำหรับประสักดอกแดงพบ 32 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง 12.4 เซนติเมตร สูง 6.5 เมตร มี ปริมาตรเนื้อไม้ 2.59 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 1.360 ตันต่อไร่ โกงกางใบเล็ก พบ 32 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง 8.9 เซนติเมตร สูง 4.5 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 0.81 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.494 ตันต่อไร่ แสดงดังตารางที่ 3.3.1.3-16 จากการประเมินความสมบูรณ์ของป่าชายเลน ตามหลักเกณฑ์ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พบว่า ป่าชายเลนบริเวณนี้มีระดับความสมบูรณ์ปานกลาง มีพื้นที่หน้าตัดรวมของไม้ต้นทุกชนิด เท่ากับ 3.19 ตารางเมตรต่อไร่ ดัชนีมวลชีวภาพ ( Biomass Index : BI) เท่ากับ 0.61 ซึ่งจากการประเมินผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้ป่าชายเลนในบริเวณเกาะปลิง พบว่า มีค่ามวล ชีวภาพรวมประมาณ 36.347 ตันต่อไร่ คิดเป็นปริมาณคาร์บอนที่กักเก็บไว้ เท่ากับ 17.083 ตันต่อไร่ แบ่งเป็นมวล ชีวภาพเหนือดิน 25.816 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 10.531 ตันต่อไร่ โกงกางใบใหญ่ มีค่ามวลชีวภาพสูงสุด คือ 21.092 ตันต่อไร่ เป็นมวลชีวภาพเหนือดิน 14.966 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 6.126 ตันต่อไร่ รองลงมา ได้แก่ ประสักดอกแดง โปรงแดง ตะบูนขาว โกงกางใบเล็ก และหงอนไก่ทะเลใบใหญ่ มีค่ามวลชีวภาพรวม เท่ากับ 5.970, 2.532, 2.472, 2.229 และ 1.005 ตันต่อไร่ ตามลำดับ แสดงดัง ตารางที่ 3.3.1.3-17 อาจประเมินได้ว่า ร้อยละ 58 หรือมากกว่าครึ่งของมวลชีวภาพของป่าชายเลนบริเวณนี้มาจากไม้โกงกางใบใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 3-239 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-14 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ป่าชายเลน บริเวณเกาะปลิง ลำดับที่ ชนิด ไม้ต้น ไม้รุ่น กล้าไม้ รวม 1 โกงกางใบใหญ่ 147 320 800 1,267 2 โปรงแดง 35 70 1,760 1,865 3 ประสักดอกแดง 32 32 4 โกงกางใบเล็ก 26 30 320 376 5 แสมทะเล 6 20 26 6 หงอนไก่ทะเลใบใหญ่ 6 6 7 ลำแพนหิน 5 5 8 ตะบูนขาว 3 3 9 ตะบูนดำ 2 2 10 โพทะเล 2 2 11 เล็บมือนาง 2 2 12 สีง้ำ 2 2 รวม 267 440 2,880 3,587 ตารางที่ 3.3.1.3-15 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญ ของพรรณไม้พื้นป่าชายเลนบริเวณเกาะปลิง ความหนาแน่น ดัชนี ลำดับที่ ชนิด ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ สัมพัทธ์ ความสำคัญ 1 โกงกางใบใหญ่ 55.09 57.25 19.51 131.86 2 ประสักดอกแดง 11.98 15.43 17.07 44.48 3 โปรงแดง 13.17 7.63 14.63 35.44 4 โกงกางใบเล็ก 9.58 6.10 17.07 32.76 5 ตะบูนขาว 1.20 6.19 4.88 12.26 6 ลำแพนหิน 1.80 2.90 7.32 12.02 7 หงอนไก่ทะเลใบใหญ่ 2.40 2.99 4.88 10.26 8 แสมทะเล 2.40 0.75 4.88 8.02 9 โพทะเล 0.60 0.28 2.44 3.32 10 สีง้ำ 0.60 0.25 2.44 3.29 11 ตะบูนดำ 0.60 0.14 2.44 3.18 12 เล็บมือนาง 0.60 0.08 2.44 3.12 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00 กรมทางหลวงชนบท 3-240 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-16 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ป่าชายเลนบริเวณเกาะปลิง ความ ขนาดเส้นผ่าน น้ำหนักแห้ง ลำดับ ความสูงเฉลี่ย ปริมาตรไม้ ชนิด หนาแน่น ่ ศูนย์กลางเฉลีย ลำต้น ที่ (ม.) (ลบ.ม./ไร่) (ต้น/ไร่) (ซม.) (กก./ไร่) 1 โกงกางใบใหญ่ 147 11.3±5.5 5.0±1.2 6.92 3,796.50 2 โปรงแดง 35 8.8±3.2 5.9±1.5 1.07 647.24 3 ประสักดอกแดง 32 12.4±6.6 6.5±1.5 2.59 1,360.42 4 โกงกางใบเล็ก 26 8.9±4.4 4.5±1.7 0.81 493.68 5 หงอนไก่ทะเลใบใหญ่ 6 13.5±3.3 7.6±0.6 0.51 265.30 6 แสมทะเล 6 6.4±3.1 3.8±0.9 0.07 29.70 7 ลำแพนหิน 5 15.1±5.2 6.5±0.0 0.42 153.99 8 ตะบูนขาว 3 22.3±24.1 7.8±2.5 1.31 467.82 9 โพทะเล 2 8.5 8.5 0.05 19.79 10 สีง้ำ 2 8.0 4.0 0.02 9.95 11 ตะบูนดำ 2 6.0 5.0 0.02 7.44 12 เล็บมือนาง 2 4.5 3.0 0.01 2.58 รวม 267 13.80 7,254.41 ตารางที่ 3.3.1.3-17 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ป่าชายเลนบริเวณเกาะปลิง มวลชีวภาพเหนือดิน มวลชีวภาพใต้ดิน มวลชีวภาพรวม ลำดับที่ ชนิด (กก./ไร่) (กก./ไร่) (กก./ไร่) 1 โกงกางใบใหญ่ 14,965.76 6,125.81 21,091.57 2 ประสักดอกแดง 4,274.27 1,695.39 5,969.66 3 โปรงแดง 1,744.21 787.54 2,531.75 4 ตะบูนขาว 1,843.54 628.40 2,471.95 5 โกงกางใบเล็ก 1,557.56 671.16 2,228.71 6 หงอนไก่ทะเลใบใหญ่ 705.29 299.65 1,004.94 7 ลำแพนหิน 528.82 222.77 751.59 8 แสมทะเล 102.34 51.14 153.48 9 โพทะเล 34.71 17.57 52.28 10 สีง้ำ 34.15 17.31 51.46 11 ตะบูนดำ 17.41 9.45 26.86 12 เล็บมือนาง 8.20 4.80 13.00 รวม 25,816.26 10,530.99 36,347.24 กรมทางหลวงชนบท 3-241 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ค) พื้นที่บริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะยม ตำบลเกาะลันตาน้อย ตามแนวทางหลวง หมายเลข กบ.5035 โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ - พื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ พบป่าชายเลนขึ้นกระจายเป็นแถบกว้างประมาณ 75-250 เมตร ตามแนวชายฝั่ง โดยมีพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมและ พื้นที่ทำการเกษตรคั่นกลางระหว่างแนวเส้นทางเชื่อมเกาะกับป่าชาย สภาพทั่วไปของพื้นที่มีดินเป็นเลนปนทราย พบพรรณไม้ป่าชายเลน จำนวน 12 ชนิด ขึ้นกระจายทั่งทั้งพื้นที่ ประกอบด้วย ไม้ต้น 11 ชนิด รวมจำนวน 184 ต้นต่อไร่ ชนิดที่พบมากที่สุด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก โปรงแดง และตาตุ่มทะเล พบจำนวน 122, 22 และ 19 ต้นต่อไร่ ตามลำดับ ชนิดอื่น ได้แก่ แสมทะเล โกงกางใบใหญ่ แสมขาว ตะบูนดำ ตะบูนขาว ปอทะเล ลำแพนหิน และแสมดำ พบน้อยกว่า 10 ต้นต่อไร่ ไม้รุ่นที่พบมี 5 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก โปรงแดง ตาตุ่มทะเล ตะบูนดำ และถั่วขาว ส่วนกล้าไม้พบ 4 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก โปรงแดง และแสมทะเล โปรงแดงมีแนวโน้มการทดแทนตามธรรมชาติ ที่ดี โดยมีจำนวนไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้า เท่ากับ 22, 120 และ 1,040 ต้นต่อไร่ ตามลำดับ รายละเอียดดังแสดงใน ตารางที่ 3.3.1.3-18 และรูปที่ 3.3.1.3-12 ค่าดัชนีความหลากหลายทางชนิด คำนวณโดยสูตร Shannon Wiener diversity index (H’) มีค่าเท่ากับ 1.221 (เฉพาะไม้ต้น) และเท่ากับ 1.014 (รวมไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้) จาก การวิเคราะห์ค่าดัชนีความสำคัญของพรรณไม้ป่าชายเลนในบริเวณนี้ พบว่า โกงกางใบเล็กมีค่าดัชนีความสำคัญสูง ที่สุด 157.73 รองลงมา ได้แก่ โปรงแดง ตาตุ่มทะเล แสมทะเล และโกงกางใบใหญ่ มีค่าดัชนีความสำคัญเท่ากับ 46.42, 32.81, 16.18 และ 10.63 ตามลำดับ ส่วนพรรณไม้ชนิดอื่น ได้แก่ ตะบูนขาว ตะบูนดำแสมขาว ลำแพน หิน ปอทะเล และแสมดำ มีค่าดัชนีความสำคัญน้อยกว่า 10 รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 3.3.1.3-19 ผลผลิตเนื้อไม้ของป่าชายเลนที่ประเมินจากจำนวนและขนาดความโตของไม้ต้นที่ พบในแปลงสำรวจ ซึ่งมีอยู่ 184 ต้นต่อไร่ มีผลผลิตคิดเป็นปริมาตรเนื้อไม้ได้ประมาณ 23.14 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้นมีค่าประมาณ 11.928 ตันต่อไร่ โกงกางใบเล็กพบมากที่สุด 122 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโต ทางเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 12.2 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 8.9 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้มากที่สุด 14.58 ลูกบาศก์เมตร ต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 8.188 ตันต่อไร่ โปรงแดง พบ 22 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง เฉลี่ย 14.3 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 10.2 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 3.24 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 1.779 ตันต่อไร่ สำหรับตาตุ่มทะเล พบ 19 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง 11.9 เซนติเมตร สูง 8.9 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 1.71 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.591 ตันต่อไร่ แสมทะเล พบ 6 ต้ น ต่ อไร่ มี ขนาดความโตทางเส้ นผ่ า นศู น ย์ กลาง 21.8 เซนติ เมตร สู ง 10.1 เมตร มี ป ริ ม าตรเนื้ อไม้ 1.94 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.700 ตันต่อไร่ โกงกางใบใหญ่ พบ 4 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทาง เส้นผ่านศูนย์กลาง 14.1 เซนติเมตร สูง 6.6 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 0.35 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.190 ตันต่อไร่ รายละเอียดดังแสดงใน ตารางที่ 3.3.1.3-20 จากการประเมินความสมบูรณ์ของป่าชายเลนตาม หลักเกณฑ์ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พบว่า ป่าชายเลนบริเวณนี้มีระดับความสมบูรณ์ปานกลาง มี พื้นที่หน้าตัดรวมของไม้ต้นทุกชนิด เท่ากับ 3.00 ตารางเมตรต่อไร่ ดัชนีมวลชีวภาพ ( Biomass Index: BI) เท่ากับ 0.56 กรมทางหลวงชนบท 3-242 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-18 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุด โครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย ลำดับที่ ชนิด ไม้ต้น ไม้รุ่น กล้าไม้ รวม 1 โกงกางใบเล็ก 122 65 960 1,147 2 โปรงแดง 22 120 1,040 1,182 3 ตาตุ่มทะเล 19 75 0 94 4 แสมทะเล 6 0 80 86 5 โกงกางใบใหญ่ 4 0 0 4 6 แสมขาว 3 0 0 3 7 ตะบูนดำ 2 5 0 7 8 ตะบูนขาว 2 0 0 2 9 ปอทะเล 1 0 0 1 10 ลำแพนหิน 1 0 0 1 11 แสมดำ 1 0 0 1 12 ถั่วขาว 0 5 0 5 รวม 184 270 2,080 2,534 ตารางที่ 3.3.1.3-19 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญของ พรรณไม้พื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย ความหนาแน่น ลำดับที่ ชนิด ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ ดัชนีความสำคัญ สัมพัทธ์ 1 โกงกางใบเล็ก 66.09 58.99 32.65 157.73 2 โปรงแดง 12.17 13.84 20.41 46.42 3 ตาตุ่มทะเล 10.43 8.09 14.29 32.81 4 แสมทะเล 3.48 8.62 4.08 16.18 5 โกงกางใบใหญ่ 2.17 2.33 6.12 10.63 6 ตะบูนขาว 1.30 1.00 6.12 8.43 7 ตะบูนดำ 1.30 0.84 6.12 8.27 8 แสมขาว 1.74 1.50 4.08 7.32 9 ลำแพนหิน 0.43 3.35 2.04 5.83 10 ปอทะเล 0.43 1.01 2.04 3.49 11 แสมดำ 0.43 0.42 2.04 2.89 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00 กรมทางหลวงชนบท 3-243 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-12 พื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณจุดสิ้นสุดโครงการบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-244 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-20 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตก เฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย ขนาดเส้นผ่าน น้ำหนักแห้ง ลำดับ ความหนาแน่น ความสูงเฉลี่ย ปริมาตรไม้ ชนิด ่ ศูนย์กลางเฉลีย ลำต้น ที่ (ต้น/ไร่) (ม.) (ลบ.ม./ไร่) (ซม.) (กก./ไร่) 1 โกงกางใบเล็ก 122 12.2±6.1 8.9±3.8 14.58 8,187.82 2 โปรงแดง 22 14.3±5.6 10.2±2.8 3.24 1,779.13 3 ตาตุ่มทะเล 19 11.9±4.6 8.9±2.6 1.71 590.61 4 แสมทะเล 6 21.8±6.6 10.1±3.2 1.94 699.56 5 โกงกางใบใหญ่ 4 14.1±5.4 6.6±2.4 0.35 189.72 6 แสมขาว 3 12.1±6.7 6.3±2.2 0.24 91.90 7 ตะบูนดำ 2 11.3±6.8 8.0±3.5 0.22 87.86 8 ตะบูนขาว 2 10.7±5.4 8.7±2.1 0.18 71.06 9 ลำแพนหิน 1 40.0 6.5 0.46 150.25 10 ปอทะเล 1 22.0 7.0 0.15 49.18 11 แสมดำ 1 14.1 9.0 0.08 30.63 รวม 184 23.14 11,927.71 จากการประเมินผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้ป่าชายเลนในบริเวณนี้ พบว่า มี ค่ามวลชีวภาพรวมประมาณ 36.038 ตันต่อไร่ คิดเป็นปริมาณคาร์บอนที่กักเก็บไว้ เท่ากับ 16.938 ตันต่อไร่ แบ่งเป็นมวลชีวภาพเหนือดิน 25.799 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 10.238 ตันต่อไร่ โกงกางใบเล็ก มีค่ามวล ชีวภาพสูงสุด คือ 23.198 ตันต่อไร่ เป็นมวลชีวภาพเหนือดิน 16.614 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 6.585 ตันต่อไร่ รองลงมา ได้แก่ โปรงแดง แสมทะเล ตาตุ่มทะเล ลำแพนหิน มีค่ามวลชีวภาพรวม เท่ากับ 5.314, 2.570, 1.785 และ 1.156 ตันต่อไร่ ตามลำดับ รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 3.3.1.3-21 อาจประเมินได้ว่าร้อยละ 64 หรือมากกว่าครึ่งของมวลชีวภาพของป่าชายเลนบริเวณนี้มาจากไม้โกงกางใบเล็ก - พื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะ บริเวณด้าน ทิศตะวันออกของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการมีพื้นที่ป่าชายเลนเป็นแถบแคบ ๆ ไม่เกิน 100 เมตร ขึ้นกระจายอยู่บริเวณด้านซ้ายมือของถนนเข้าสู่บ้านแหลม เริ่มตั้งแต่โค้งจุดชมวิวบ้านคลองมากไล่ลงไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ มีสภาพเป็นป่าชายเลนใกล้กับเนินเขา ดินเป็นเลนปนทรายและมีหินโผล่กระจายอยู่ทั่วไปตาม แนวชายฝั่ง พบพรรณไม้ จำนวน 14 ชนิด ประกอบด้วย ไม้ต้น 11 ชนิด รวมจำนวน 153 ต้นต่อไร่ ชนิดที่พบมาก ที่สุด ได้แก่ แสมทะเล โกงกางใบเล็ก และโปรงแดง พบจำนวน 65 , 44, และ 16 ต้นต่อไร่ ตามลำดับ ชนิดอื่น ได้แก่ ลำแพนหิน ถั่วขาว ตาตุ่มทะเล แสมขาว โพทะเล ตะบูนขาว ปอทะเล และหยีทะเล ซึ่งพบน้อยกว่า 10 ต้นต่อไร่ ไม้รุ่นที่พบมี 6 ชนิด ได้แก่ แสมทะเล โกงกางใบเล็ก โปรงแดง ถั่วขาว โกงกางใบใหญ่ และสีง้ำ ส่วน กล้าไม้พบ 4 ชนิด ได้แก่ แสมทะเล โกงกางใบเล็ก โปรงแดง และหงอนไก่ทะเลใบใหญ่ ไม้ชนิดเด่นทั้งสามชนิด คือ แสมทะเล โกงกางใบเล็ก และโปรงแดง มีแนวโน้มการทดแทนตามธรรมชาติที่ดี โดยมีจำนวนไม้ ต้นน้อยกว่า ไม้รุ่นและไม้รุ่นน้อยกว่ากล้าไม้ ไม้ชนิดอื่น ๆ ส่วนใหญ่ไม่พบกล้าไม้ยกเว้น หงอนไก่ทะเลใบใหญ่ ที่มีเฉพาะกล้าไม้ แต่ไม่มีพบไม้ต้นและไม้รุ่น รายละเอียดดังแสดงใน ตารางที่ 3.3.1.3-22 และรูปที่ 3.3.1.3-13 ค่าดัชนีความ หลากหลายทางชนิด คำนวณโดยสูตร Shannon-Wiener diversity index (H’) มีค่าเท่ากับ 1.614 (เฉพาะไม้ต้น) และเท่ากับ 1.411 (รวมไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้) กรมทางหลวงชนบท 3-245 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-21 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 3.1 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ แนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย มวลชีวภาพเหนือดิน มวลชีวภาพใต้ดิน มวลชีวภาพรวม ลำดับที่ ชนิด (กก./ไร่) (กก./ไร่) (กก./ไร่) 1 โกงกางใบเล็ก 16,613.79 6,584.50 23,198.29 2 โปรงแดง 3,804.57 1,509.64 5,314.22 3 แสมทะเล 1,857.24 712.82 2,570.07 4 ตาตุ่มทะเล 1,241.44 543.51 1,784.95 5 ลำแพนหิน 861.36 294.16 1,155.51 6 โกงกางใบใหญ่ 574.53 235.93 810.46 7 แสมขาว 265.89 112.58 378.47 8 ตะบูนดำ 184.40 78.26 262.66 9 ปอทะเล 183.51 73.24 256.75 10 ตะบูนขาว 143.61 63.27 206.88 11 แสมดำ 69.06 30.42 99.48 รวม 25,799.41 10,238.33 36,037.74 ตารางที่ 3.3.1.3-22 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการ ฝั่งเกาะลันตาน้อย ลำดับที่ ชนิด ไม้ต้น ไม้รุ่น กล้าไม้ รวม 1 แสมทะเล 65 136 291 493 2 โกงกางใบเล็ก 44 318 436 798 3 โปรงแดง 16 55 582 652 4 ลำแพนหิน 7 0 0 7 5 ถั่วขาว 4 18 0 23 6 ตาตุ่มทะเล 4 0 0 4 7 แสมขาว 4 0 0 4 8 โพทะเล 3 0 0 3 9 ตะบูนขาว 1 0 0 1 10 ปอทะเล 1 0 0 1 11 หยีทะเล 1 0 0 1 12 โกงกางใบใหญ่ 0 9 0 9 13 สีง้ำ 0 9 0 9 14 หงอนไก่ทะเลใบใหญ่ 0 0 145 145 รวม 153 545 1,455 2,153 กรมทางหลวงชนบท 3-246 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-13 พื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณจุดชมวิว คลองหมากบ้านทุ่งโต๊ะยม ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-247 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน จากการวิ เคราะห์ ค่าดั ชนีความสำคัญ ของพรรณไม้ป่ าชายเลนในบริ เวณนี้ พบว่า แสมทะเล มีค่าดัชนีความสำคัญสูงที่สุด 108.29 รองลงมา ได้แก่ โกงกางใบเล็ก ลำแพนหิน โปรงแดง แสมขาว และตาตุ่มทะเล มีค่าดัชนีความสำคัญเท่ากับ 60.65, 30.60, 27.36, 27.25 และ 16.62 ตามลำดับ ส่วนพรรณไม้ ชนิดอื่น ได้แก่ โพทะเล ถั่วขาว หยีทะเล ปอทะเล และตะบูนขาว มีค่าดัชนีความสำคัญน้อยกว่า 10 รายละเอียด ดังแสดงในตารางที่ 3.3.1.3-23 ตารางที่ 3.3.1.3-23 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญของ พรรณไม้พื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออกของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณ สิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย ความหนาแน่น ลำดับที่ ชนิด ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ ดัชนีความสำคัญ สัมพัทธ์ 1 แสมทะเล 42.86 39.62 25.81 108.29 2 โกงกางใบเล็ก 28.57 15.95 16.13 60.65 3 ลำแพนหิน 4.76 9.71 16.13 30.60 4 โปรงแดง 10.48 3.98 12.90 27.36 5 แสมขาว 2.86 17.94 6.45 27.25 6 ตาตุ่มทะเล 2.86 7.31 6.45 16.62 7 โพทะเล 1.90 1.70 3.23 6.83 8 ถั่วขาว 2.86 0.33 3.23 6.41 9 หยีทะเล 0.95 1.75 3.23 5.92 10 ปอทะเล 0.95 1.27 3.23 5.45 11 ตะบูนขาว 0.95 0.44 3.23 4.62 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00 ผลผลิตเนื้อไม้ของป่าชายเลนที่ประเมินจากจำนวนและขนาดความโตของไม้ต้นที่พบ ในแปลงสำรวจ ซึ่งมีอยู่ 153 ต้นต่อไร่ มีผลผลิตคิดเป็นปริมาตรเนื้อไม้ได้ประมาณ 22.89 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้นมีค่าประมาณ 8.674 ตันต่อไร่ แสมทะเลพบมากที่สุด 65 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้น ผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 12.1 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 6.4 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้มากที่สุด 11.07 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 3.798 ตันต่อไร่ โกงกางใบเล็ก พบ 44 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง เฉลี่ย 11.9 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 7.6 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 2.83 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 1.706 ตันต่อไร่ สำหรับโปรงแดง พบ 16 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง 9.6 เซนติเมตร สูง 6.5 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 0.65 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.387 ตันต่อไร่ ลำแพนหิน พบ 7 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง 19.2 เซนติเมตร สูง 6.9 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 2.32 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.741 ตันต่อไร่ แสมขาว พบ 4 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง 38.6 เซนติเมตร สูง 8.3 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 3.86 ลู กบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 1.284 ตันต่อไร่ รายละเอียดดังแสดงใน ตารางที่ 3.3.1.3-24 จากการประเมินความสมบูรณ์ของป่าชายเลนตามหลักเกณฑ์ของ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พบว่า ป่าชายเลนบริเวณนี้มีระดับความสมบูรณ์ปานกลาง มีพื้นที่หน้าตัด รวมของไม้ต้นทุกชนิด เท่ากับ 3.31 ตารางเมตรต่อไร่ ดัชนีมวลชีวภาพ (Biomass Index : BI) เท่ากับ 0.65 กรมทางหลวงชนบท 3-248 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-24 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออก ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย ขนาดเส้นผ่าน ลำดับ ความหนาแน่น ความสูงเฉลี่ย ปริมาตรไม้ น้ำหนักแห้งลำต้น ชนิด ่ ศูนย์กลางเฉลีย ที่ (ต้น/ไร่) (ม.) (ลบ.ม./ไร่) (กก./ไร่) (ซม.) 1 แสมทะเล 65 12.1±10.5 6.4±3.3 11.07 3,798.11 2 โกงกางใบเล็ก 44 11.9±3.4 7.6±2.1 2.83 1,706.11 3 โปรงแดง 16 9.6±3.6 6.5±1.6 0.65 387.40 4 ลำแพนหิน 7 19.2±15.7 6.9±3.0 2.32 741.02 5 แสมขาว 4 38.6±19.2 8.3±1.4 3.86 1,283.82 6 ตาตุ่มทะเล 4 26.5±2.9 8.3±0.8 1.39 455.83 7 ถั่วขาว 4 5.6±0.4 5.2±0.8 0.04 26.01 8 โพทะเล 3 15.7 6.0 0.23 81.35 9 ปอทะเล 1 19.2 7.0 0.21 69.25 10 หยีทะเล 1 22.5 5.0 0.20 90.76 11 ตะบูนขาว 1 11.3 8.0 0.08 34.34 รวม 150 22.89 8,673.99 จากการประเมินผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้ป่าชายเลนในบริเวณนี้ พบว่า มี ค่ามวลชีวภาพรวมประมาณ 37.188 ตันต่อไร่ คิดเป็นปริมาณคาร์บอนที่กักเก็บไว้ เท่ากับ 17.478 ตันต่อไร่ แบ่งเป็นมวลชีวภาพเหนือดิน 27.199 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 9.989 ตันต่อไร่ แสมทะเล มีค่ามวลชีวภาพ สูงสุด คือ 14.163 ตันต่อไร่ เป็นมวลชีวภาพเหนือดิน 10.405 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 3.758 ตันต่อไร่ รองลงมา ได้แก่ แสมขาว โกงกางใบเล็ก ลำแพนหิน ตาตุ่มทะเล โปรงแดง หยีทะเล โพทะเล ปอทะเล ตะบูนขาว และถั่วขาว มีค่ามวลชีวภาพรวม เท่ากับ 7.942, 6.213, 3.587, 2.272, 1.410, 0.652, 0.415, 0.336, 0.111 และ 0.087 ตันต่อไร่ ตามลำดับ รายละเอียดดังแสดงใน ตารางที่ 3.3.1.3-25 อาจประเมินได้ว่าร้อยละ 59 หรือ มากกว่าครึ่งของมวลชีวภาพของป่าชายเลนบริเวณนี้มาจากไม้ในสกุลแสม คือ แสมทะเล และแสมขาว - พื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตก เฉียงเหนือ บริเวณด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการมีสภาพเป็น ป่าชายเลนเสื่อมสภาพที่เกิดจากการแผ้วถางพื้นที่เพื่อทำการเกษตร มีการถมที่เพื่อทำสวนมะพร้าวและสวนปาล์ม น้ำมันสลับกับที่รกร้างที่มีไม้พุ่มขนาดเล็กจำพวกขลู่ และโครงเครง ขึ้นกระจายเป็นหย่อม ๆ ก่อนถึงแนวป่าชายเลน ที่อยู่ห่างออกไปประมาณ 150 เมตร จากแนวเส้นทางเชื่อมเกาะที่เป็นบริเวณสิ้นสุดโครงการ พรรณไม้ที่พบในพื้นที่นี้ มี 7 ชนิด ประกอบด้วย ไม้ต้น 5 ชนิด รวมจำนวน 62 ต้นต่อไร่ ชนิดที่พบมากที่สุด ได้แก่ ตาตุ่มทะเล แสมทะเล ฝาดดอกแดง ปอทะเล และแสมดำ พบจำนวน 23, 23, 11, 2 และ 2 ต้นต่อไร่ ตามลำดับ ชนิดอื่น ได้แก่ โกงกาง ใบเล็ก และโปรงแดง พบเฉพาะไม้รุ่นเท่านั้น จำนวน 29 และ 14 ต้นต่อไร่ ตามลำดับ ไม้ชนิดเด่นทั้งสามชนิด คือ แสมทะเล และฝาดดอกแดง มีแนวโน้มการทดแทนตามธรรมชาติที่ดี โดยมีจำนวนไม้ต้นน้อยกว่าไม้รุ่นและไม้รุ่น น้อยกว่ากล้าไม้ ไม้ชนิดอื่น ส่วนใหญ่ไม่พบกล้าไม้ รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 3.3.1.3-26 และรูปที่ 3.3.1.3-14 ค่าดัชนีความหลากหลายทางชนิด คำนวณโดยสูตร Shannon-Wiener diversity index (H’) มีค่าเท่ากับ 1.291 (เฉพาะไม้ต้น) และเท่ากับ 0.819 (รวมไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้) กรมทางหลวงชนบท 3-249 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน จากการวิ เคราะห์ ค่าดั ชนีความสำคัญ ของพรรณไม้ป่ าชายเลนในบริ เวณนี้ พบว่า แสมทะเลมีค่าดัชนีความสำคัญสูงที่สุด 111.24 รองลงมา ได้แก่ ตาตุ่มทะเล ฝาดดอกแดง แสมดำ และปอทะเล มีคา่ ดัชนีความสำคัญเท่ากับ 110.01, 49.54, 14.86 และ 14.35 ตามลำดับ รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 3.3.1.3-27 ซึ่งสอดคล้องกับพื้นที่ป่าเสื่อมสภาพบริเวณใกล้แนวทางเชื่อมเกาะที่บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ที่มีแสมทะเลและ ตาตุ่มทะเลเป็นไม้ชนิดเด่นเช่นเดียวกัน ตารางที่ 3.3.1.3-25 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 3.2 ป่าชายเลนด้านทิศตะวันออก ของแนวเส้นทางเชื่อมเกาะบริเวณสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย มวลชีวภาพเหนือดิน มวลชีวภาพใต้ดิน มวลชีวภาพรวม ลำดับที่ ชนิด (กก./ไร่) (กก./ไร่) (กก./ไร่) 1 แสมทะเล 10,404.98 3,757.78 14,162.76 2 แสมขาว 6,015.02 1,926.98 7,942.00 3 โกงกางใบเล็ก 4,357.27 1,855.76 6,213.04 4 ลำแพนหิน 2,666.56 920.31 3,586.88 5 ตาตุ่มทะเล 1,647.64 623.91 2,271.56 6 โปรงแดง 976.34 433.69 1,410.03 7 หยีทะเล 470.78 181.48 652.26 8 โพทะเล 289.57 125.68 415.25 9 ปอทะเล 238.05 98.30 336.35 10 ตะบูนขาว 75.67 35.07 110.74 11 ถั่วขาว 56.77 30.23 87.00 รวม 27,198.66 9,989.20 37,187.86 ตารางที่ 3.3.1.3-26 ชนิดและความหนาแน่น (ต้นต่อไร่) ของไม้ต้น ไม้รุ่น และกล้าไม้ ในพื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ บริเวณสิ้นสุดโครงการ ลำดับที่ ชนิด ไม้ต้น ไม้รุ่น กล้าไม้ รวม 1 ตาตุ่มทะเล 23 343 229 594 2 แสมทะเล 23 114 229 366 3 ฝาดดอกแดง 11 871 1,829 2,711 4 ปอทะเล 2 0 0 2 5 แสมดำ 2 0 0 2 6 โกงกางใบเล็ก 0 29 0 29 7 โปรงแดง 0 14 0 14 รวม 62 1,371 2,286 3,719 กรมทางหลวงชนบท 3-250 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.3-14 พื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแนวเส้นทาง เชื่อมเกาะบริเวณจุดสิ้นสุดโครงการ บ้านทุ่งโต๊ะยม ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-251 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-27 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญของ พรรณไม้พื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตก เฉียงเหนือบริเวณสิ้นสุดโครงการ ความหนาแน่น ลำดับที่ ชนิด ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ ดัชนีความสำคัญ สัมพัทธ์ 1 แสมทะเล 37.04 51.12 23.08 111.24 2 ตาตุ่มทะเล 37.04 26.82 46.15 110.01 3 ฝาดดอกแดง 18.52 15.64 15.38 49.54 4 แสมดำ 3.70 3.47 7.69 14.86 5 ปอทะเล 3.70 2.95 7.69 14.35 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00 ผลผลิตเนื้อไม้ของป่าชายเลนที่ประเมินจากจำนวนและขนาดความโตของไม้ต้นที่พบ ในแปลงสำรวจซึ่ งมีอยู่ 62 ต้ น ต่อไร่ มี ผ ลผลิต คิ ดเป็นปริม าตรเนื้อไม้ได้ประมาณ 0.77 ลู กบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้นมีค่าประมาณ 0.333 ตันต่อไร่ ที่พบมากที่สุด คือ แสมทะเลและตาตุ่มทะเลมี จำนวนเท่ากัน ที่ 23 ต้นต่อไร่ แสมทะเลมีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 7.7 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 4.8 เมตร มีปริมาตร เนื้อไม้มากที่สุด 0.40 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.169 ตันต่อไร่ ตาตุ่มทะเลมีขนาดความโตทาง เส้ น ผ่ า นศู น ย์ กลางเฉลี่ ย 5.7 เซนติ เมตร สู ง เฉลี่ ย 5.6 เมตร มี ป ริ ม าตรเนื้ อไม้ 0.23 ลู กบาศก์ เมตรต่ อ ไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.092 ตันต่อไร่ ฝาดดอกแดง พบ 11 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง 6.0 เซนติเมตร สูง 4.3 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 0.10 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.054 ตันต่อไร่ แสมดำ พบ 2 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้นผ่านศูนย์กลาง 6.5 เซนติเมตร สูง 4.5 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 0.02 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.011 ตันต่อไร่ ปอทะเล พบ 2 ต้นต่อไร่ มีขนาดความโตทางเส้น ผ่านศูนย์กลาง 6.0 เซนติเมตร สูง 4.0 เมตร มีปริมาตรเนื้อไม้ 0.02 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มวลชีวภาพของลำต้น 0.007 ตันต่อไร่ รายละเอียดดังแสดงใน ตารางที่ 3.3.1.3-28 จากการประเมินความสมบูรณ์ของป่าชายเลนตาม หลั กเกณฑ์ ของกรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง พบว่ า ป่ า ชายเลนบริ เวณนี้ มี ระดั บ ความสมบู รณ์ น้อย มีพื้นที่หน้าตัดรวมของไม้ต้นทุกชนิด เท่ากับ 0.22 ตารางเมตรต่อไร่ ดัชนีมวลชีวภาพ ( Biomass Index : BI) เท่ากับ 0.01 จากการประเมินผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้ป่าชายเลนในบริเวณนี้ พบว่า มีค่า มวลชีวภาพรวมประมาณ 1.329 ตันต่อไร่ คิดเป็นปริมาณคาร์บอนที่กักเก็บไว้ เท่ากับ 0.625 ตันต่อไร่ แบ่งเป็น มวลชีวภาพเหนือดิน 0.875 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 0.454 ตันต่อไร่ แสมทะเล มีค่ามวลชีวภาพสูงสุด คือ 0.722 ตันต่อไร่ เป็นมวลชีวภาพเหนือดิน 0.482 ตันต่อไร่ และมวลชีวภาพใต้ดิน 0.241 ตันต่อไร่ รองลงมา ได้แก่ ตาตุ่มทะเล ฝาดดอกแดง แสมดำ และปอทะเล มีค่ามวลชีวภาพรวม เท่ากับ 0.299, 0.231, 0.044 และ 0.032 ตันต่อไร่ ตามลำดับ รายละเอียดดังแสดงใน ตารางที่ 3.3.1.3-29 และตารางที่ 3.3.1.3-30 อาจประเมินได้ว่า ร้อยละ 77 หรือมากกว่าสองในสามของมวลชีวภาพของป่าชายเลนบริเวณนี้มาจากไม้แสมทะเล และตาตุ่มทะเล กรมทางหลวงชนบท 3-252 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-28 ความหนาแน่น ความโต และผลผลิตเนื้อไม้ของพื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้ แนวเส้นทางเชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือบริเวณสิ้นสุดโครงการ ขนาดเส้นผ่าน ลำดับ ความหนาแน่น ความสูงเฉลี่ย ปริมาตรไม้ น้ำหนักแห้งลำต้น ชนิด ่ ศูนย์กลางเฉลีย ที่ (ต้น/ไร่) (ม.) (ลบ.ม./ไร่) (กก./ไร่) (ซม.) 1 แสมทะเล 23 7.7±1.8 4.8±0.8 0.40 169.36 2 ตาตุ่มทะเล 23 5.7±0.9 5.6±1.6 0.23 91.76 3 ฝาดดอกแดง 11 6.0±1.6 4.3±0.7 0.10 53.53 4 แสมดำ 2 6.5 4.5 0.02 10.66 5 ปอทะเล 2 6.0 4.0 0.02 7.24 รวม 62 0.77 332.55 ตารางที่ 3.3.1.3-29 ผลผลิตมวลชีวภาพของพรรณไม้พื้นที่ 3.3 ป่าชายเลนเสื่อมสภาพใกล้แนวเส้นทาง เชื่อมเกาะด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือบริเวณสิ้นสุดโครงการ มวลชีวภาพเหนือดิน มวลชีวภาพใต้ดิน มวลชีวภาพรวม ลำดับที่ ชนิด (กก./ไร่) (กก./ไร่) (กก./ไร่) 1 แสมทะเล 481.23 241.17 722.40 2 ตาตุ่มทะเล 192.48 106.54 299.02 3 ฝาดดอกแดง 151.58 79.40 230.98 4 แสมดำ 28.92 15.46 44.38 5 ปอทะเล 20.90 11.54 32.44 รวม 875.11 454.11 1,329.21 กรมทางหลวงชนบท 3-253 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.3-30 บัญชีรายชื่อพรรณไม้ป่าชายเลนที่พบในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร ลำดับที่ ชื่อไทย ชื่อพฤกษศาสตร์ วงศ์ 1 โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume. RHIZOPHORACEAE 2 โกงกางใบใหญ่ Rhizophora mucronata Lam. RHIZOPHORACEAE 3 ขลู่ Pluchea indica (L.) Less ASTERACEAE 4 โครงเครง Melastoma malabathricum L. MELASTOMATACEAE 5 ช้าเลือด Premna serratifolia L.C LAMIACEAE 6 ตะบูนขาว Xylocarpus granatum Koen MELIACEAE 7 ตะบูนดำ Xylocarpus moluccensis (Lam.) MELIACEAE 8 ตาตุ่มทะเล Excoecaria agallocha L. EUPHORBIACEAE 9 ถอบแถบน้ำ Derris trifoliata Lour. LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE 10 ถั่วขาว Bruguiera cylindrica (L.) Bume. RHIZOPHORACEAE 11 ปรงทะเล Acrostichum aureum L. PTERIDACEAE 12 ประสักดอกแดง Bruguiera gymnorrhiza (L.) RHIZOPHORACEAE 13 ปอทะเล Hibiscus tiliaceus L. MALVACEAE 14 โปรงแดง Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. RHIZOPHORACEAE 15 ฝาดดอกขาว Lumnitzera racemosa Willd COMBRETACEAE 16 ฝาดดอกแดง Lumnitzera littorea (Jack) Voigt COMBRETACEAE 17 โพทะเล Thespesia populnea (L.) Sol. ex Correa. MALVACEAE 18 ลำแพนหิน Sonneratia griffithii Kurz SONNERATIACEAE 19 เล็บมือนาง Aegiceras corniculatum (L.) Blanco MYRSINACEAE 20 สนทะเล Casuarina equisetifolia L. CASUARINACEAE 21 สีง้ำ Scyphiphora hydrophyllacea Gaertn. f RUBIACEAE 22 แสมขาว Avicennia alba Bl. AVICENNIACEAE 23 แสมดำ Avicennia officinalis L. AVICENNIACEAE 24 แสมทะเล Avicennia marina (Forssk) Vierh. AVICENNIACEAE 25 หงอนไก่ทะเลใบใหญ่ Heritiera littoralis Ait. STERCULIACEAE 26 หยีทะเล Derris indica (Lamk.) Benn. FABACEAE 27 เหงือกปลาหมอดอกม่วง Acanthus ilicifolius Linn. ACANTHACEAE กรมทางหลวงชนบท 3-254 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.3.1.4 ปะการังและหญ้าทะเล 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อตรวจสอบข้อมูลทุติยภูมิขอบเขตแนวปะการังและหญ้าทะเลในพื้นที่ศึกษาโครงการ (2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของแนวปะการัง และหญ้าทะเลในพื้นที่โครงการและพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการเป็นอย่างน้อย (3) เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผลกระทบต่อปะการังและหญ้าทะเลที่อาจเกิดขึ้นจากการ ดำเนินกิจกรรมโครงการ 2) วิธีการศึกษา (1) การศึกษาและสำรวจแนวปะการัง • การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ โดยการรวบรวมข้อมูลแนวปะการังจากฐานข้อมูลสารสนเทศ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง • การศึกษาปะการังในพื้นที่ศึกษาโครงการ ทำการสำรวจสถานภาพแนวปะการังโดยใช้วิธี Line Intercept Transect (English et al., 1997) ซึ่งเป็นการสำรวจโดยละเอียดในบริ เวณที่ ถื อเป็นตัว แทน สภาพปะการังในพื้นที่ใกล้เคียง โดยมีการกำหนดจุดสำรวจถาวร เพื่อให้สามารถติดตามข้อมูลองค์ประกอบ สิ่งมีชีวิตและองค์ประกอบหน้าดินอื่น ๆ ในแนวปะการัง เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูลจากบริเวณเดิมในระยะยาว ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐานที่ใช้ในการสำรวจแนวปะการังมีวิธีโดยสังเขป ดังนี้ - ลากเส้นเทปความยาว 30 เมตร ในแนวขนานกับชายฝั่งในบริเวณพื้นที่แนวปะการังที่ ใช้เป็นตัวแทนของพื้นที่สำรวจ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณโซนลาดชันหรือโซนไหล่หรือส่วนของโซนพื้นราบส่วนหน้า (Reefslope/reef edge/outer reef flat) ซึ่งถือว่าเป็นตำแหน่งที่ปะการังมีโอกาสอยู่ในสภาพดีที่สุด โดยทำการ สำรวจจำนวน 3 ซ้ำ แต่ละซ้ำอยู่ในแนวต่อกัน ห่างกันประมาณ 5 เมตร - นักดำน้ำเก็บข้อมูลองค์ประกอบสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิ ตที่เส้นเทปลากตัดผ่าน ได้แก่ ปะการังแข็งมีชีวิต (Live coral) ซึ่งเก็บข้อมูลอย่างต่ำในระดับสกุล ( Genus) ปะการังตาย (Dead coral) ทราย (Sand) หิน (Rock) และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ (Other fauna) เช่น ปะการังอ่อน ดอกไม้ทะเล พรมทะเล เป็นต้น - นำข้ อมู ล ที ่ ไ ด้ ม าคำนวณเป็ นเปอร์ เซ็ น ต์ ครอบคลุ ม พื ้ น ที ่ ขององค์ ป ระกอบแต่ละ ประเภทข้างต้น โดยจะเก็บข้อมูลในระยะทาง 10 เมตร แรกของเส้นเทป 30 เมตร แต่ละเส้น (เนื่องจากความจำ กัดของเวลาในการปฏิบัติงานใต้น้ำ - การที่ลากเส้นเทปยาว 30 เมตร ตำแหน่งที่เส้นเทปพาดบนแนวปะการัง ถูกกำหนดให้ เป็นตำแหน่งถาวร (Permanent site) ทั้งนี้ได้ใช้เหล็กยาวประมาณ 20 เซนติเมตร ตอกเป็นหลักบนพื้นแนว ปะการังไว้เป็นระยะๆ เพื่อสะดวกในการค้นหาสถานที่ในการติดตามผลการเปลี่ยนแปลงระยะยาวในอนาคต - การประเมินสถานภาพของแนวปะการัง ใช้อัตราส่วนระหว่างเปอร์เซ็นต์การปกคลุม พื้นที่ของปะการังที่มีชีวิต (LC) และปะการังตาย (DC) แสดงดังตารางที่ 3.3.1.4-1 กรมทางหลวงชนบท 3-255 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-1 การประเมินสถานภาพของแนวปะการัง อัตราส่วนการปกคลุมพื้นที่ ปะการังมีชีวิต : ปะการังตาย สถานภาพแนวปะการัง LC : DC ≥3 : 1 สมบูรณ์ดีมาก LC : DC 2:1 สมบูรณ์ดี LC : DC 1:1 สมบูรณ์ปานกลาง LC : DC 1:2 เสียหาย LC : DC 1 : ≥3 เสียหายมาก ที่มา : รายงานการสำรวจและประเมินทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ปะการังและหญ้าทะเล กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561 (2) การศึกษาและสำรวจหญ้าทะเล • การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ โดยการรวบรวมข้อมูลหญ้าทะเลจากฐานข้อมูลสารสนเทศของ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • วิ ธ ี การศึกษาสำรวจหญ้ าทะเล จะทำการประเมิ นแบบครอบคลุ ม พื ้นที่ กว้ างหรื อการ ประเมินด้วยสายตาอย่างรวดเร็ว ( Rapid visual estimation) และใช้วิธีสุ่มสำรวจและประเมินบริเวณรอบพื้นที่ โครงการฯ โดยกำหนดจุดสุ่มประเมินให้ครอบคลุมพื้นที่ระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่โครงการ กำหนดจุด สุ่มสำรวจ จำนวน 34 จุด สำหรับจุดสุ่มสำรวจเน้นในพื้นที่ริมชายฝั่ง ซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยของหญ้าทะเล • การศึกษาสำรวจหญ้าทะเล จะใช้วิธีการการประเมินแบบครอบคลุมพื้นที่กว้าง หรือการ ประเมินด้วยสายตาอย่างรวดเร็ว ( Rapid visual estimation) โดยกำหนดจุดสุ่มสำรวจเป็นจุดเดียวกับการสุ่ม สำรวจแนวปะการัง หากพบว่าในพื้นที่มีแนวหญ้าทะเลที่ชัดเจนและมีขนาดใหญ่ ศึกษาข้อมูลในรายละเอียดเพิ่มเติม โดยใช้วิธี Quadrat method ของ English และคณะ (1997) กำหนดเส้นแนวประเมินหญ้าทะเลตัง ่ ้ ฉากกับชายฝัง โดยเริ่มจากชายฝั่งที่ระดับน้ำขึ้นสูงสุด ลากเส้นเทปไปตามเส้นทางที่กำหนดจนสุดขอบแนวหญ้าทะเลด้านนอก ใช้ กรอบสี่เหลี่ยมสุ่มตัวอย่างขนาด 1 x1 ตารางเมตร สุ่มวางเป็นระยะทุก 5 เมตร ประเมินเปอร์เซ็นต์ การปกคลุม ของหญ้าทะเลที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยม โดยแยกเปอร์เซ็นต์ปกคลุมพื้นที่ของหญ้าทะเลในแต่ละชนิดที่พบในกรอบ สี่เหลี่ยม นอกจากนั้นบันทึกระดับความลึกของน้ำทะเลในขณะทำการศึกษาเพื่อนำข้อมูลมาสร้างภาพหน้าตัดของ แนวหญ้าทะเล 3) ผลการศึกษา (1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ก. การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิปะการัง ผลการตรวจสอบรายงานแผนที่ปะการังของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2562 1/ แนวปะการังจังหวัดกระบี่ แนวปะการังกระจายตัวตามแนวชายฝั่งและหมู่เกาะต่าง ๆ ตั้งแต่หมู่เกาะห้องลงมาถึง เกาะลันตาใหญ่ แนวปะการังที่สำคัญ เช่น หมู่เกาะห้อง หมู่เกาะพีพี หมู่เกาะในอ่าวกระบี่ เกาะปูและเกาะลันตาใหญ่ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตน้ำตื้นที่มีความลึกไม่เกิน 10 เมตร สภาพน้ำทะเลค่อนข้างขุ่น โดยเฉพาะแนวปะการังที่อยู่ ใกล้ปากแม่น้ำและป่าชายเลน พื้นทะเลมักเป็นทรายละเอียดปนโคลน ยกเว้นบางพื้นที่ที่อยู่ไกลชายฝั่ง เช่น หมู่เกาะพีพีเกาะหมา หมู่เกาะด้ามหอก - ด้ามขวาน หมู่เกาะห้าใหญ่ หินม่วง - หินแดง น้ำทะเลจะใสขึ้นตามลำดับ ปะการังจึงก่อตัวเป็นแนวอย่างชัดเจน 1/ ั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเลและป่าชายเลน. 2562. แผนทีป สถาบันวิจย ่ ะการัง ปี 2562. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. กรมทางหลวงชนบท 3-256 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน จังหวัดกระบี่ มีพื้นที่แนวปะการังประมาณ 14,039 ไร่ (22.5 ตารางกิโลเมตร) สภาพแนว ปะการังจากการสำรวจระหว่างปี พ.ศ. 2554 - 2557 พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับเสียหาย ปะการังที่มีชีวิตขึ้น ปกคลุมพื้นที่เฉลี่ย ร้อยละ 21.5 ปะการังตายขึ้นปกคลุมพื้นที่เฉลี่ย ร้อยละ 42.7 (พื้นที่แนวปะการังสมบูรณ์ดีมาก 576 ไร่ สมบูรณ์ดี 533 ไร่ สมบูรณ์ปานกลาง 3,117 ไร่ เสียหาย 5,236 ไร่ และเสียหายมาก 4,577 ไร่) (ตารางที่ 3.3.1.4-2 และตารางที่ 3.3.1.4-3) ปะการังชนิดเด่นที่พบ เช่น ปะการังโขด (Porites lutea) ปะการังช่องเหลี่ยม (Favites spp.) ปะการังวงแหวน (Favia spp.) ปะการังเขากวาง (Acropora spp.) ปะการังรังผึ้ง (Goniastrea spp.) ปะการังดอกกะหล่ำ (Pocillopora spp.) (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2562) เมื่อพิจารณาแนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงสภาพแนวปะการังในระยะยาว (ตารางที่ 3.3.1.4-4) พบว่า แนวปะการังส่วนใหญ่ได้รับความเสียหาย เพิ่มขึ้น ความสามารถในการฟื้นตัวเองตามธรรมชาติมีแนวโน้มที่ลดลง โดยเฉพาะแนวปะการังหมู่เกาะพีพีดอน - พีพีเล พบว่า แนวปะการังได้รับความเสียหายจากการฟอกขาว ในปี พ.ศ. 2553 อย่างเห็นได้ชัด ส่วนแนวปะการัง บริเวณหมู่เกาะห้องได้รับผลกระทบค่อนข้างน้อย (แนวปะการังบริเวณนี้มีสภาพใกล้เคียงกับแนวปะการังเกาะยาว น้อยที่ได้รับผลกระทบจากการฟอกขาว ค่อนข้างน้อย) นอกจากนี้ปัจจัยอื่น ๆ เช่น การขยายตัวของธุรกิจการ ท่องเที่ยวทางทะเลที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการเข้าไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ในแนวปะการังอย่างขาดจิตสำนึก การอนุ รั กษ์ แ ละขาดการบริ ห ารจั ด การที่ ดี อาจส่ ง ผลทำให้ ป ะการั ง มี อั ต ราการฟื้ น ตั ว ตามธรรมชาติ ล ดลง (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2562) ผลจากการตรวจสอบข้อมูลแนวปะการังในบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ จากฐานข้อมูลของ กรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั ่ ง ( https://bigdata.dmcr.go.th/detail/province/81/64 เข้ า ถึ ง วั น ที ่ 1 กุมภาพันธ์ 2564) ไม่พบแนวปะการังบริเวณแนวเส้นทางโครงการแลพื้นที่โดยรอบ ซึ่งจะพบแนวปะการั งบริเวณ ด้านใต้ของเกาะลันตา บริเวณตำบลเกาะลันตาใหญ่และตำบลศาลาด่าน เท่านั้น แสดงดังตารางที่ 3.3.1.4-5 และ รูปที่ 3.3.1.4-1 ปะการังฟอกขาว เป็นสภาวะที่ปะการังสูญเสียสาหร่ายเซลล์เดียว ( Zooxanthellae) ที่ อาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อของปะการังแบบพึ่งพากัน ( Symbiosis) ทำให้ปะการังอ่อนแอเพราะไม่ได้รับสารอาหารที่ เพียงพอ และอาจตายถ้าไม่สามารถทนต่อสภาวะนี้ได้ (สีของปะการังเกิดจากรงควัตถุของสาหร่ายเซลล์เดียว) การ เกิดสภาวะปะการังฟอกขาวเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ สาเหตุหลักที่ทำให้เกิดการฟอกขาวเป็นวงกว้าง คือ อุณหภูมิน้ำ ทะเลที่สูงขึ้นอย่างผิดปกติ ในอดีตมีรายงานการเกิดปะการังฟอกขาวเช่นนี้ในปี พ.ศ. 2534 2538, 2541, 2546, 2548 และ 2550 (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2564) ผลกระทบจากการเกิดปะการังฟอกขาวปี พ.ศ. 2553 บริเวณจัง หวัดพังงา ภูเก็ต และ กระบี่ โดยกลุ่มชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเลและชายฝั่ง สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่ง ทะเลและป่าชายเลน รายงานว่าในปี พ.ศ. 2553 เป็นปีที่พบแนวปะการังเสียหายมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ เกิด จากอุณภูมิน้ำทะเลที่เริ่มสูงขึ้นจากปกติ 29 องศาเซลเซียส ได้เริ่มสูงขึ้นเป็น 30 องศาเซลเซียส ตอนปลายเดือน มีนาคม ส่งผลให้เกิดสภาวะปะการังฟอกขาวเป็นพื้นที่วงกว้างคลุมทะเลทั้งฝั่งอันดามันและอ่าวไทย และจากการ สำรวจของหลายหน่วยงาน พบว่าในแต่ละพื้นที่มีประการังฟอกขาวมากน้อยต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดปะการังที่ ขึ้น ครอบคลุมพื้นที่นั้น (Dominant group) ปะการังเขากวางเป็นกลุ่มที่ไวต่อการฟอกขาวที่สุด ถ้าพื้นที่ใดพบปะการัง ชนิดนี้ปกคลุมมาก พื้นที่นั้นจะได้รับผลกระทบมากด้วย และการฟอกขาวขึ้นอยู่กับแนวชายฝั่งที่ปะการัง ขึ้ น อยู่ แนวชายฝั่ ง ที่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากกระแสน้ ำ มี ก ารเคลื่ อนไหวของมากน้ ำ มาก (ด้ า นตะวั น ตกของเกาะต่ า งๆ ในทะเลอันดามัน) จะได้รับผลกระทบน้อยกว่าบริเวณที่การเคลื่อนไหวของมวลน้ำน้อย โดยประมาณภาพรวม ทั่วประเทศ พบว่าปะการังแต่ละแห่งฟอกขาวมากถึงร้อยละ 30-95 ปะการังเกือบทุกชนิดฟอกขาวหมด ยกเว้น 3-4 ชนิ ด เช่ น ปะการั ง สี น้ ำ เงิ น ( Heliopora coerulea) ปะการั ง ลาบดอกไม้ ( Pavona decussata) และ ปะการังดาวใหญ่ (Diploastrea heliopora) กรมทางหลวงชนบท 3-257 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-2 ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ปกคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิต ( LC) ปะการังตาย (DC) พื้นทราย (SD) พื้นหิน (R) ปะการังอ่อน (SC) และสิ่งมีชีวิตเกาะติดอื่นๆ ( OT) และสภาพแนว ปะการังในพื้นที่จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-258 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-2 ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ปกคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิต ( LC) ปะการังตาย (DC) พื้นทราย (SD) พื้นหิน (R) ปะการังอ่อน (SC) และสิ่งมีชีวิตเกาะติดอื่นๆ ( OT) และสภาพแนว ปะการังในพื้นที่จังหวัดกระบี่ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-259 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-2 ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ปกคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิต ( LC) ปะการังตาย (DC) พื้นทราย (SD) พื้นหิน (R) ปะการังอ่อน (SC) และสิ่งมีชีวิตเกาะติดอื่นๆ ( OT) และสภาพแนว ปะการังในพื้นที่จังหวัดกระบี่ (ต่อ) ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2562 ตารางที่ 3.3.1.4-3 สัดส่วนของสภาพแนวปะการังในแต่ละพื้นที่ของจังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-260 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-3 สัดส่วนของสภาพแนวปะการังในแต่ละพื้นที่ของจังหวัดกระบี่ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-261 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-3 สัดส่วนของสภาพแนวปะการังในแต่ละพื้นที่ของจังหวัดกระบี่ (ต่อ) ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2562 กรมทางหลวงชนบท 3-262 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-4 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสภาพของแนวปะการังจังหวัดกระบี่ ระหว่างปี พ.ศ. 2548 – 2553 และข้อมูลล่าสุด (สำรวจตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา) กรมทางหลวงชนบท 3-263 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-4 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสภาพของแนวปะการังจังหวัดกระบี่ ระหว่างปี พ.ศ. 2548 – 2553 และข้อมูลล่าสุด (สำรวจตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา) (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-264 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-4 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสภาพของแนวปะการังจังหวัดกระบี่ ระหว่างปี พ.ศ. 2548 – 2553 และข้อมูลล่าสุด (สำรวจตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา) (ต่อ) ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2562 กรมทางหลวงชนบท 3-265 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-5 ข้อมูลแนวปะการังบริเวณอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จังหวัด อำเภอ ตำบล แนวปะการัง พื้นที่ (ไร่) กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ กองหินแดง 22.22 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ กองหินม่วง 16.36 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาปอ 808.85 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะกลวง 60.07 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะม้า 22.62 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะรอกนอก 491.6 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะรอกใน 852.63 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตาใหญ่ด้านใต้ 179.9 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตาใหญ่ด้านใต้ 13.21 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะห้าใหญ่กลาง 17.49 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะห้าใหญ่ตะวันตก 34.88 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะห้าใหญ่ตะวันออก 2.95 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะห้าใหญ่ลูกเล็ก 1.56 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะไหงด้านตะวันตก 362.71 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะไหงด้านตะวันตก 13.09 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะไหงด้านตะวันออก 187.64 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะไหงด้านตะวันออก 169.88 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะไหงด้านใต้ 19.62 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะไหงด้านใต้ 252.77 กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาใหญ่ เกาะไหงด้านใต้ 25.19 กระบี่ เกาะลันตา ศาลาด่าน เกาะลันตาใหญ่ด้านตะวันตก 860.03 กระบี่ เกาะลันตา ศาลาด่าน เกาะหมา 72.04 กระบี่ เกาะลันตา ศาลาด่าน เกาะหมา 4.93 รวม 4492.24 ที่มา : ฐานข้อมูลสารสนเทศ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-266 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.4-1 แผนที่แสดงแนวปะการังในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-267 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.4-1 แผนที่แสดงแนวปะการังในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-268 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.4-1 แผนที่แสดงแนวปะการังในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-269 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.4-1 แผนที่แสดงแนวปะการังในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-270 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของแนวปะการัง ได้แก่ แสง : แสงเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งที่มีผลต่อการแพร่กระจาย การก่อตัว และการ พัฒนาของแนวปะการัง เนื่องจากปะการังแข็งจะมีสาหร่ายซูแซนเทลลี่อาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อ ซึ่งสาหร่ายดังกล่าว จำเป็นต้องใช้แสงในการสังเคราะห์แสง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งในกระบวนการสร้า งหินปูนของปะการัง ทำให้พบแนวปะการังอยู่ในระดับความลึกที่แสงส่องถึง โดยส่วนใหญ่อยู่ในระดับลึกไม่เกิน 30 เมตร อุณหภูมิ : อุณหภูมิน้ำทะเลเป็นปัจจัยหนึ่งในการกำหนดการแพร่ กระจายและความ หลากหลายของชนิดปะการัง โดยอุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเกิดแนวปะการังอยู่ในช่วงเฉลี่ย 26-28 องศา เซลเซียส การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิน้ำทะเลอาจส่งผลต่อแนวปะการัง เช่น ทำให้เกิดการฟอกขาวหรือยับยั้งการ สืบพันธุ์ ทั้งนี้แนวปะการังส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณที่มีอุณหภูมิใกล้เคียงกับอุณหภูมิสูงสุดที่ปะการังจะสามารถ ดำรงชีวิตอย่างปกติหากอุณหภูมิน้ำทะเลสูงขึ้นแม้เพียงเล็กน้อยติดต่อกันเป็นเวลานานในช่วงฤดูร้อน ก็อาจส่งผล ให้ปะการังเกิดภาวะสูญเสียสาหร่ายซูแซนเทลลี่ จนเกิดปรากฏการณ์ ปะการังฟอกขาวหากอุณหภูมิน้ำสูงต่อเนื่อง เป็นเวลานาน จะทำให้ปะการังที่ฟอกขาวตายลง เช่น กรณีที่เกิดปะการังฟอกขาวอย่างรุนแรงในระดับภูมิภาค เมื่อ พ.ศ. 2553 ที่น้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงกว่าปกติเป็นเวลานานกว่า 3 เดือน ส่งผลให้ปะการังของประเทศไทยตาย จากการฟอกขาวประมาณ 10-70 กว่า เปอร์เซ็นต์ ความเค็ม : ปะการังต้องการความเค็มค่อนข้างคงที่ในช่วง 30-36 ส่วนในพันส่วน ดังนั้น แนวปะการังจึงพัฒนาได้ดีในบริเวณห่างไกลจากอิทธิพลของแม่น้ำหรือแหล่งน้ำจืดจากชายฝัง ่ หรือบางบริเวณอาจ มีปะการังบางชนิดที่ทนน้ำกร่อยขึ้นกระจายเป็นหย่อม ๆ ตะกอน : ตะกอนแขวนลอยมีผลยับยั้งการเจริญของแนวปะการัง เนื่องจากความขุ่นที่เกิด จากตะกอนเป็นตัวลดปริมาณแสงที่ส่องลงสู่ใต้ผิวน้ำ ทำให้สาหร่ายซูแซนเทลลี่สังเคราะห์แสงลดลงและมีผลต่อ การสะสมหินปูนของปะการัง ปะการังที่ถูกตะกอนปกคลุมสามารถสร้างเมือกเพื่อยึดกับตะกอนและกำจัดตะกอน ออกไปได้ในระดับหนึ่ง แต่หากตะกอนมีปริมาณมากจนเกินความสามารถของปะการังในการกำจัดออกจะทำให้ ปะการังตายลงได้นอกจากนี้ พื้นที่ที่ปกคลุมด้วยตะกอนขนาดเล็กยังเป็นอุปสรรคในการลงเกาะและเจริญเติบโต ของตัวอ่อนปะการัง และมีผลต่อการฟื้นตัวของแนวปะการังด้วย พื้นที่ลงเกาะ : ปะการังจะสามารถเจริญเติบโตและพัฒนาเป็นแนวปะการังได้จะต้อง อาศัยพื้นที่ลงเกาะที่เหมาะสมพื้นที่ที่ตัวอ่อนปะการังสามารถลงเกาะและสามารถเจริญเติบโตได้ดีจะต้องเป็นพื้นที่ ั ปะการัง ที่มีความแข็งแรงมั่นคง ไม่ถูกคลื่นลมหรือกระแสน้ำพัดพาไปโดยง่าย ไม่มีสิ่งมีชีวิตที่อาจแก่งแย่งพื้นที่กบ เช่น สาหร่าย พรมทะเล ฟองน้ำ พื้นที่ที่ปะการังสามารถลงเกาะได้ดี ได้แก่ ซากปะการัง ก้อนหินขนาดใหญ่ แท่ง เหล็ก คอนกรีตที่วางทิ้งอยู่ใต้น้ำระยะหนึ่ง จนกระทั่งมีสาหร่ายหินปูนหรือแบคทีเรียบางชนิดขึ้นคลุม การฟื้นฟูแนวปะการังโดยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เริ่มดำเนินการในรูปของการ ศึกษาวิจัยที่เกาะไม้ท่อน จังหวัดภูเก็ต เมื่อ พ.ศ. 2537 โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ทะเลอันดามัน (เดิมคือ สถาบันวิจัยชีววิทยาทางทะเล สังกัดกรมประมง) การศึกษาแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก ๆ คื อ การสร้างที่ลงเกาะให้กับตัวอ่อนปะการังในธรรมชาติซึ่งเหมาะกับบริเวณที่ขาดพื้นที่ที่มั่นคงสำหรับตัวอ่อน ปะการังในธรรมชาติที่จะลงเกาะและเจริญเติบโต และการย้ายปลูกปะการัง โดยได้มีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา วิธีการฟื้นฟูปะการัง เช่น การย้ายปลูกปะการังชนิดต่าง ๆ การศึกษาผลของการย้ายปะการังออกจากพื้ นที่ท่เ ี ป็น แหล่งพันธุ์ (นลินี และคณะ, 2546 ; สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน , 2552) ซึ่งความรู้จากการศึกษาดังกล่าวได้ถูกปรับปรุงพัฒนามาโดยตลอดและได้นำไปใช้พื้นฟูแนวปะการังในบาง พื้นที่ที่มีความเหมาะสม กรมทางหลวงชนบท 3-271 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • การย้ายปลูกปะการัง เป็นการฟื้นฟูทางชีวภาพวิธีแรกที่ดำเนินการในประเทศไทย ทั้ง ในอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามันโดยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งได้เริ่มการศึกษาวิธีการที่เหมาะสมในการ ย้ายปลูกปะการังมาตั้งแต่ พ.ศ. 2537 โดยการรวบรวมกิ่งพันธุ์ปะการังชนิดต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งจากที่แตกหัก เสียหายเนื่องจากสาเหตุต่าง ๆ และจากการตัดแบ่งกิ่งจากโคโลนีที่สมบูรณ์มาติดกับวัสดุที่สามารถยึดกิ่งปะการัง เข้ากับพื้นท้องทะเลและปะการังตายที่มีอยู่ในธรรมชาติปะการังที่ใช้ในการย้ายปลูกส่วนใหญ่ในขณะนั้น ได้แก่ ปะการังเขากวาง เนื่องจากเป็นปะการังที่พบทั่วไปและเจริญเติบโตครอบคลุมพื้นที่ได้รวดเร็ว อย่างไรก็ตาม ปะการังชนิดนี้มักไวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม เช่น หากอุณหภูมิน้ำทะเลสูงผิดปกติติดต่อกันเป็น เวลานาน อาจทำให้ปะการังเขากวางที่ย้ายปลูกเกิดการฟอกขาวและตายเป็นจำนวนมาก • การจัดวางพื้นที่ ลงเกาะสำหรับตัวอ่ อนปะการังในธรรมชาติ ถือเป็นการฟื้นฟู ทาง กายภาพ ที่เป็น “ปะการังเทียม” รูปแบบหนึ่ง ที่ส่วนใหญ่สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีขนาดโครงสร้าง ค่อนข้างเล็ก เมื่อเทียบกับปะการังเทียมที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นแหล่งทำการประมงกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ได้ศึกษาวิจัยเพื่อหารูปทรงของพื้นที่ลงเกาะที่เอื้ออำนวยต่อการลงเกาะของตัวอ่อนปะการังในบริเวณที่เหมาะสม เช่น แท่งคอนกรีตเป็นรูปท่อทรงกระบอกซ้อนกันเป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายหมอนขวาน แท่งคอนกรีตรูปโดมที่มี ความสูงประมาณ 50 เซนติเมตร จัดวางในแนวปะการังเสื่อมโทรมซึ่ งมีน้ำลึกประมาณ 6-8 เมตร พื้นท้องทะเล เป็นพื้นทรายหรือทรายปนเศษปะการังชิ้นเล็ก ๆ ไม่มั่นคงพอที่ตัวอ่อนปะการังในธรรมชาติจะลงเกาะและ เจริญเติบโต คลื่นลมไม่รุนแรงมีกระแสน้ำที่พัดพาตัวอ่อนปะการังเข้ามาในบริเวณนั้น วิธีนี้เห็นผลค่อนข้างช้า มี ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสูงและต้องมีการศึกษาข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมมากพอสมควร • การจัดทำแปลงอนุบาลปะการัง การอนุบาลปะการังในแปลงอนุบาลกลางน้ำ เป็นวิธีที่ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งดำเนินงานร่วมกับนักวิจัยอิสราเอล ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่าง ประเทศด้ า นการฟื ้ น ฟู ป ะการั ง ( Developing Ubiquitous Practices for Restoration of Indo-Pacific Reefs, REEFRES) ซึ่งได้รับความสนับสนุนด้านงบประมาณจากสหภาพยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2548-2551 มาศึกษาวิจัยเพื่อ ปรับปรุงเทคนิคให้เข้ากับสภาพแวดล้อมชายฝั่งของประเทศไทย ข้อดีของวิธีการนี้คือใช้กิ่งพันธุ์ขนาดเล็กจึงลดการ รบกวนแหล่งพันธุ์ในธรรมชาติคือใช้ขนาดประมาณ 3-5 เซนติเมตร การแกว่งตัวของแปลงอนุบาลที่อยู่กลางน้ำทำ ให้ ต ะกอนไม่ ต กทั บบนปะการั ง และทำให้ ป ะการั งมี โอกาสได้ รั บออกซิ เจนและสารอาหารในน้ ำ ได้มากขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นการหลีกเลี่ยงการคุกคามโดยศัตรูบางชนิด เช่น ดาวมงกุฎหนาม ส่วนข้อเสียของการจัดทำแปลง อนุบาลก่อนการย้ายปลูก คือ ใช้เวลา งบประมาณ และแรงงานจำนวนมากในการดำเนินการ เนื่องจากต้องใช้เวลา อนุบาลปะการังเป็นเวลา 6-9 เดือน จนกระทั่งปะการังมีขนาดใหญ่และแข็งแรงพอที่จะย้ายปลูกในบริ เวณที่ ต้องการฟื้นฟู นอกจากนี้ ระหว่างการอนุบาลยังต้องดูแลกำจัดสาหร่าย เพรียง และสัตว์เกาะติดอื่น ๆ ที่แก่งแย่ง พื้นที่เจริญเติบโตของปะการังในแปลงอนุบาล รวมทั้งซ่อมแซมแปลงอนุบาลกรณีมีการแตกหักเสียหาย • การเพาะขยายพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศ เป็นการนำเซลล์สืบพันธุ์ของปะการังหรือ ตัวอ่อนของปะการังที่รวบรวมจากธรรมชาติมาทำการปฏิสนธิและอนุบาลในระบบเลี้ยง ก่อนนำตัวอ่อนปะการัง ภายหลังการลงเกาะลงไปฟื้นฟูในบริเวณที่ต้องการ วิธีนี้สามารถช่วยลดอัตราการสูญเสียตัวอ่อนปะการังที่เป็นผล มาจากปั จ จั ยทางธรรมชาติ อั ต รารอดของตั วอ่ อนปะการั งที่ ไ ด้ จึ ง สู ง ขึ้ น และเป็ น กา รเพิ่ ม ความหลากหลาย ทางพันธุกรรมให้กับปะการังที่ทำการฟื้นฟูข้อจำกัดของวิธีการนี้ คือจะต้องทราบถึงช่วงเวลาในการปล่อยเซลล์ สืบพันธุ์ของปะการังตามธรรมชาติซึ่งแตกต่างกันไปตามพื้นที่รวมถึงต้องอาศัยเทคนิคและความเชี่ยวชาญตั้งแต่การ เก็บเซลล์สืบพันธุ์การติดตามการปฏิสนธิพัฒนาการ และการเลี้ยงดูตัวอ่อนปะการัง ซึ่งสามารถส่งผลต่ออัตรารอด ของตัวอ่อนปะการังได้ นอกจากนี้อัตราการเจริญเติบโตของปะการังที่ได้จากการเพาะขยายพันธุ์จะช้ากว่าปะการัง ที่ได้มาจากการนำชิ้นส่วนของปะการังมาใช้ในการย้ายปลูก เนื่องจากปะการังที่มาจากการเพาะขยาย พันธุ์แบบ อาศั ยเพศ จำเป็ นต้ องนำพลั งงานส่ วนใหญ่ มาใช้ ในการสร้ างโครงร่ างแข็ งให้ แข็ งแรงก่ อน จากนั ้ นจึ งจะมี การ เจริญเติบโตขยายขนาดโคโลนีต่อไป กรมทางหลวงชนบท 3-272 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน การเลือกพื้นที่เพื่อฟื้นฟูแนวปะการัง การเลือกพื้นที่ฟื้นฟูแนวปะการัง ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อความสำเร็จของการฟื้นฟูปะการัง เนื่องจากการเจริญเติบโตและฟื้นตัวของปะการัง จำเป็นต้องอาศัยความเหมาะสมของปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของปริมาณแสง ความขุ่นใส ปริมาณตะกอน ความเค็ม นอกจากนี้ยังต้องพิจารณาถึงความสำคัญในแง่ของระบบนิเวศ เช่น การเป็นแหล่งพันธุ์ ที่ส่งผลต่อการฟื้นตัวของแนวปะการังในบริเวณอื่นๆ รวมทั้งความคุ้มค่าในแง่ของการใช้ประโยชน์และผลตอบแทน ทางเศรษฐกิจ (Suraswadi and Yeemin, 2013) โดยพื้นที่ที่จะดำเนินการฟื้นฟูแนวปะการัง (กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง, 2562) ควรเป็นพื้นที่ที่มีลักษณะดังนี้ ลักษณะของพื้นที่ • เป็นแนวปะการังที่เสื่อมโทรมลงจากสภาพเดิม ทั้งที่เกิดจากกิจกรรมการใช้ประโยชน์ ทางด้านการท่องเที่ยว การทิ้งสมอเรือ การเกิดอุบัติเหตุเรือชน และที่เกิดจากภัยธรรมชาติที่ไม่สามารถปล่อยทิ้งไว้ หรือรอให้มีการฟื้นตัวได้เองตามธรรมชาติ • เป็นพื้นที่ที่มีการฟื้นตัวตามธรรมชาติน้อยหรือไม่พบเลย (ลักษณะบ่งชี้การฟื้นตัวของ แนวปะการังตามธรรมชาติเช่น โคโลนีปะการังขนาดเล็ก หรือชิ้นส่วนของปะการังที่กำลังงอกใหม่) • มีปะการังมีชีวิตเหลืออยู่บ้าง โดยทั่วไปมีสถานภาพตั้งแต่ปานกลาง-เสียหายมาก • ไม่ได้รับอิทธิพลจากกิจกรรมของมนุษย์ที่อาจรบกวนการฟื้นตัวของแนวปะการัง เช่น การทิ้งสมอ การถูกเหยียบย่ำโดยนักท่องเที่ยว การระบายน้ำเสียลงสู่ทะเล แหล่งตะกอนจากชายฝั่ง หรือหากมี กิจกรรมต่าง ๆ จะต้องสามารถบริหารจัดการไม่ให้กิจกรรมนั้น ๆ ส่งผลกระทบต่อแนวปะการัง ศักยภาพของพื้นที่ • อยู่ในบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเจริญ เติบโตและพัฒนาของแนว ปะการัง - เป็นพื้นที่แนวปะการังเดิมที่อยู่ในบริเวณปีกอ่าวหรือบริเวณที่มีคลื่นลมสงบ ไม่ได้ รับอิทธิพล โดยตรงจากลมมรสุม หรือมีการฟุ้งกระจายของตะกอนทรายจากคลื่นลม - มีความเค็มคงที่ ไม่อยู่ใกล้แหล่งน้ำจืดที่ไหลลงสู่ทะเล - มีน้ำค่อนข้างใส ทัศนวิสัยใต้น้ำอย่างน้อยประมาณ 5-6 เมตร หรือไม่ควรต่ำกว่า 3 เมตร ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ของปี - ช่วงเวลาส่วนใหญ่ของปีไม่มีตะกอนละเอียดที่ปกคลุมบนพื้นทะเลหรือซากปะการัง หนาเกิน 0.5 เซนติเมตร - พื้นทะเลเป็นทราย อาจมีซากปะการังตาย เศษซากปะการัง หรือพื้นทรายแทรก เป็นหย่อมๆ ระหว่างกลุ่มปะการังที่ยังมีชีวิต - โดยทั่ ว ไปอยู่ในระดับ ลึ กตั้ง แต่ 3-15 เมตร จากระดั บน้ ำลงต่ ำสุด เนื่ องจาก เป็นความลึกในระดับที่แสงส่องถึง • มีแหล่งพันธุ์หรืออยู่ใกล้เคียงกับแหล่งพันธุ์ที่จะใช้ในการฟื้นฟูแนวปะการัง โดยแหล่งพันธุ์ ส่วนใหญ่ที่ใช้ในการฟื้นฟูปะการัง ได้แก่ ชิ้นส่วนโคโลนีปะการังที่เกิดจากสาเหตุต่าง ๆ ทั้งธรรมชาติ เช่น การพัดพา ของคลื่นลม หรือจากกิจกรรมของมนุษย์เช่น การทิ้งสมอ การเหยียบย่ำโดยนักท่องเที่ยว ศักยภาพในแง่ของการดำเนินกิจกรรม • ความพร้อมของผู้ปฏิบัติงาน ทั้งในส่วนของเจ้าหน้าที่รับผิดชอบดำเนินโครงการ อัตรากำลังหรืออาสาสมัครในการปฏิบัติงานภาคสนาม กรมทางหลวงชนบท 3-273 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • ความสะดวกและปลอดภัยในการปฏิบัติงาน พื้นที่ที่ดำเนินการฟื้นฟูไม่ควรอยู่ไกลฝั่ง จนเกินไปสามารถเดินทางเข้าถึงได้ง่าย เนื่องจากอาจต้องมีการลำเลียงวัสดุอุปกรณ์และผู้ปฏิ บัติงานจำนวนมาก และควรคำนึงถึงการติดตามข้อมูลในระยะยาว ข้อพิจารณาอื่น นอกจากปัจจัยที่กล่าวมาแล้ว การพิจารณาพื้นที่อาจต้องคำนึง ถึง ความคุ้ม ค่า ในการ ดำเนินงานในแง่ของความสำคัญของแนวปะการังในแง่ของการใช้ประโยชน์เช่น เป็นพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ในแง่ ของการเป็นแหล่งท่องเที่ยว หรือการใช้ประโยชน์ของชุมชน ที่ให้ผลตอบแทนคุ้มค่าทางเศรษฐกิจการสร้างองค์ ความรู้หรือจิตสำนึก หรือพื้นที่ที่มีความสำคัญในแง่ของระบบนิเวศที่อาจเป็นแหล่งพันธุ์ที่ส่งผลต่อการฟื้นตัวของ แนวปะการังในบริเวณอื่นๆ ทั้งนี้การเลือกพื้นที่ในการฟื้นฟูแนวปะการังมีข้อพิจารณาเบื้องต้นโดยทั่วไปตามปัจจัย ต่าง ๆ ดังแสดงในตารางที่ 3.3.1.4-6 ทั้งนี้ หากปัจจัยข้อใดข้อหนึ่งไม่มีความเหมาะสม ก็อาจทำให้การฟื้นฟูแนว ปะการังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ทั้งนี้การบริหารจัดการพื้นที่แนวปะการังให้เหมาะสมกับลักษณะพื้นที่และ กิจกรรมที่เกิดขึ้นในแต่ละบริเวณการลดสาเหตุความเสียหายที่เกิดจากกิจกรรมมนุษย์ โดยการควบคุมกิจกรรมใน แนวปะการังให้เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสม รวมทั้งการจัดการและการรักษาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการ ดำรงชีวิตของปะการัง ยังเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้แนวปะการัง สามารถฟื้นตัวได้เองตามธรรมชาติอย่างต่อเนื่องต่อไป (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2562) ตารางที่ 3.3.1.4-6 สรุปปัจจัยที่ควรพิจารณาในการเลือกพื้นที่ฟื้นฟูแนวปะการัง ปัจจัย ข้อควรพิจารณา ข้อสังเกต สถานภาพแนว ควรเป็นแนวปะการังที่มีความเสื่อมโทรมลงจาก แนวปะการังบางแห่งไม่สามารถพัฒนาหรือฟื้นฟูให้ ปะการัง เดิม จนมีสถานภาพเสียหาย หรือเสียหายมาก มีสถานภาพดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ เนื่องจากความ จำกัด หรือมีการตายจำนวนมาก โดยไม่สามารถฟื้นตัว ของปัจจัยต่างๆ ประกอบกัน ได้หรือฟื้นตัวได้ช้า ความลึก/สภาพแสง มีความลึกในระดับที่แสงส่องถึง ไม่ตื้นเกินไปจน ไม่ควรฟื้นฟูแนวปะการังในระดับความลึกต่างจาก ได้รับอิทธิพลของกระแสคลื่ นหรือโผล่พ ้ น น้ ำ บริเวณที่แนวปะการังเดิมมีการพัฒนา หรือบริเวณที่ นำกิ่งพันธุ์มามากนัก เนื่องจากมีผลต่อการปรับตัว ในช่ ว งน้ ำ ลง ส่ ว นใหญ่ อ ยู ่ ใ นระดั บ ลึ ก ที ่ แ นว ปะการังเดิมมีการเจริญหรือพัฒนาอยู่ ของกิ่งพันธุ์ กระแสน้ำหรือ อยู่ในบริเวณที่มีการหมุนเวียนของน้ำดีแต่ไม่ถูก ไม่ควรพื้นฟูปะการังบริเวณใกล้ชายหาดหรือพื้นที่ คลื่นลม แรงปะทะของคลื่นลมโดยตรง แนวปะการังที่ได้รับอิทธิพลของคลื่นลมหรือมรสุม โดยตรง ความเค็ม เป็นบริเวณที่มีความเค็มคงที่ ปกติแนวปะการังจะมีการพัฒนาได้ดีในบริเวณที่มี ความเค็มคงที่ อยู่ในช่วง 28-32 ส่วนในพัน (ppt.) ตะกอนในน้ำ ควรเป็นบริเวณน้ำใส ตะกอนแขวนลอยในน้ำไม่ ทัศนวิสัยใต้น้ำในบริเวณฟื้นฟูปะการังโดยทั่วไปไม่ มากเกินไปจนตกทับปะการังหรือพื้นทะเล ควรต่ำกว่า 3 เมตร ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ของปี ลักษณะพื้นทะเล พื ้ น ทะเลเป็ น ทรายหรื อ ซากปะการั ง หรื อ มี หลีกเลี่ยงบริเวณที่เป็นพื้นโคลนหรือบริเวณที่ง่ายต่อ ลักษณะเป็นหย่อมปะการังบนพื้นทราย การตกทับของตะกอนหรือพื้นทรายโล่งเป็นบริเวณ กว้างเนื่องจากอาจมีการพัดพาของทรายมากลบทับ บริเวณที่ทำการฟื้นฟูรวมทั้งแนวปะการังที่ขึ้นบนหิน กรมทางหลวงชนบท 3-274 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-6 สรุปปัจจัยที่ควรพิจารณาในการเลือกพื้นที่ฟื้นฟูแนวปะการัง (ต่อ) ปัจจัย ข้อควรพิจารณา ข้อสังเกต สามารถสังเกตได้จากมีส่วนของ โคโลนีปะการัง การมีอยู่ของกิ่งพันธุ์ ในกรณีที่มีพื้นแข็งที่มีความมั่นคงจำนวนมาก หรือ โดยเฉพาะส่วนของ ที่ยังมีชีวิต รวมทั้งตัวอ่อนปะการังที่ขึ้นอยู่ตาม เป็นบริเวณกว้าง และมีปะการังขนาดเล็กขึ้นอยู่บน พื้นหรือวัตถุใต้น้ำที่ไม่มั่นคง ซึ่งปะการังที่ยังมี โคโลนีปะการังที่ยังมี พื้นที่เหล่านั้นเป็นจำนวนมากพอ อาจไม่จำเป็นต้อง ชีวิตหรือตัวอ่อน ชีวิตเหล่านี้มีโอกาสกลิ้งไปมาตาม กระแสคลื่น ดำเนินการฟื้นฟูปะการัง ปะการังในมวลน้ำ หรือถูกทรายกลบทับ กิจกรรมที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนา การมีอยู่ของกิจกรรม การบริหารจัดการเพื่อยับยั้งกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิด ที่อาจส่งผลกระทบ ของแนวปะการัง อาจเป็นกิจกรรมที่ส่งผลกระทบ ความเสียเป็นสิ่งสำคัญ หากยังมีกิจกรรมที่ก่อให้เกิด ทางตรง เช่น การเหยียบ ทิ้งสมอ หรือกิจกรรม ต่อการฟื้นตัวของแนว ความเสียหายอย่างต่อเนื่อง การฟื้นฟูแนวปะการัง ปะการัง ทางอ้อม เช่น การปล่อยน้ำเสีย การชะพาของ จะไม่ประสบผลสำเร็จ ตะกอน คุณค่าและการใช้ แนวปะการั ง ที ่ ม ี ก ารใช้ ป ระโยชน์ แ ละให้ ควรพิ จ ารณาในแง่ ข องโอกาสที ่ จ ะประสบความ ประโยชน์ของแนว ผลตอบแทนทางด้ า นเศรษฐกิจ สังคมวิถี ช ี วิ ต สำเร็จ และความคุ้มค่าในการเข้าฟื้นฟูโดยมนุ ษย์ ปะการัง รวมทั ้ ง คุ ณ ค่ า ทางนิ เ วศวิ ท ยาควรได้ ร ั บ การ ( active restoration) เมื ่ อ เที ย บกั บ การบริ ห าร พิจารณาฟื้นฟูเมื่อเทียบกับแนวปะการังที่ไม่ได้มี จั ด การเพื ่ อ ลดสาเหตุ ข องความเสื ่ อ มโทรมและ การใช้ประโยชน์ซึ่งอาจปล่อยให้ค่อยๆ ฟื้นตัวได้ ส่งเสริมการฟืน ้ ตัวตามธรรมชาติซึ่งอาจใช้เวลานาน เองตามธรรมชาติ ระยะทางจากฝั่ง ควรเป็นพื้นที่ที่เข้าถึงง่าย สะดวกในการลำเลียง ในพื ้ นที ่ ท ี ่ ห ่ างไกล และปราศจากการรบกวนจาก และความสะดวกใน วัสดุอุปกรณ์และการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีความ กิจกรรมมนุษย์ส่วนใหญ่แนวปะการังจะสามารถฟื้น การเข้าปฏิบัติงาน ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ตัวได้เองตามธรรมชาติ ที่มา : การฟื้นฟูแนวปะการัง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2562 ข. การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิหญ้าทะเล ผลการรวบรวมข้อมูลระบบนิเวศหญ้าทะเล จากรายงานผลการสำรวจสถานภาพแหล่ง หญ้ า ทะเลของไทย ของกรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั ่ ง ปี ง บประมาณ 2561 2/ ระบบนิ เวศหญ้ า ทะเล ประกอบด้วยกลุ่มของพืชดอกที่ปรับตัวเติบโตอยู่ได้ในทะเลและสามารถเจริญได้ดีในบริเวณน้ำตื้นที่มีแสงแดดส่อง ถึง โครงสร้างของใบที่ซับซ้อนมีความสำคัญในด้านเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งอนุบาลตัวอ่อนสัตว์น้ำ ตลอดจนเป็น แหล่งหากินของสัตว์ทะเลนานาชนิด รวมถึงสัตว์น้ำเศรษฐกิจ อันได้แก่ ปลา กุ้ง ปู หอยหลายชนิด และยังมีส่วน ช่วยในการกรองและปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วย หญ้าทะเลมีระบบรากที่ คอยยึดจับหน้าดิน ทำให้ช่วยป้องกันการ พังทลายของหน้าดินได้เป็นอย่างดี นอกจากนั้นสามารถพบสัตว์ทะเลหายากและใกล้สูญพันธุ์ อย่างเช่น เต่าทะเล บางชนิดและพะยูน ได้ในพื้นที่หญ้าทะเลบางแห่ง โดยสัตว์ทะเลทั้งสองชนิดนี้จะกินหญ้าทะเลเป็นอาหารโดยตรง ทั้งนี้นอกจากความสำคั ญด้านนิเวศวิทยาแล้ว แหล่งหญ้าทะเลยังมีความสำคัญในแง่ของการผูกพันระหว่างวิถี ชุมชนในพื้นที่ชายฝั่ง เช่น ด้านการประมง และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 2/ ั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเลและป่าชายเลน. 2561. รายงานการสำรวจและปริมาณสถานภาพทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง สถาบันวิจย ปะการังและหญ้ามะเล ปีงบประมาณ 2561. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. กรมทางหลวงชนบท 3-275 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ประเทศไทยพบแหล่งหญ้าทะเลเติบโตได้ดีในบริเวณชายฝั่งน้ำตื้นแพร่กระจายในหลาย รูปแบบพื้นที่ เช่น ในแหล่งน้ำกร่อยบริเวณปากแม่น้ำ ชายฝั่งน้ำตื้นที่มีพื้นทรายหรือทรายปนโคลน หรือขึ้นปะปน กับแนวปะการัง พบหญ้าทะเลรวม 13 ชนิด คือ หญ้าชะเงาใบมน ( Cymodocea rotundata ; Cr) หญ้าชะเงา ใบฟันเลื่อย (Cymodocea serrulata ; Cs) หญ้าคาทะเล (Enhalus acoroides ; Ea) หญ้าเงาแคระหรือหญ้าใบพาย (Halophila beccarii ; Hb) หญ้าเงาใส (Halophila decipiens ; Hd) หญ้าเงาใบใหญ่ (Halophila major ; Hm) หญ้าเงาใบเล็ก (Halophila minor ; Hm) หญ้าเงา หรือหญ้าใบมะกรูด หรือหญ้าอำพัน (Halophila ovalis ; Ho) หญ้ากุยช่ายเข็ม (Halodule pinifolia ; Hp) หญ้ากุยช่ายทะเล (Halodule uninervis ; Hu) หญ้าตะกานน้ำเค็ม (Ruppia maritima ; Rm) หญ้าต้นหอมทะเล (Syringodium isoetifolium ; Si ) และหญ้าชะเงาเต่า (Thalassia hemprichii ; Th) โดยในฝั่งทะเลอันดามันพบหญ้าทะเล 12 ชนิด ขาดเพียงชนิดเดียว คือ หญ้าตะกานน้ำเค็ม (Ruppia maritima ; Rm) ซึ่งพบเฉพาะทางฝั่งทะเลอ่าวไทยเท่านั้น ส่วนฝั่งอ่าวไทย พบหญ้าทั้งสิ้น 12 ชนิด เช่นกัน โดยไม่พบหญ้าเงาใบใหญ่ ( Halophila major ; Hm) ซึ่งเป็นหญ้าทะเลที่เพิ่งมีรายงานการพบเฉพาะทาง ฝั่งอันดามันของประเทศไทยเมื่อไม่นานมานี้ ผลจากการสำรวจและติ ด ตามสถานภาพแหล่ ง หญ้ า ทะเลในประเทศไทย ของกรม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (หรือเดิมกรมประมงในช่วงต้นๆ) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน (2561) พบว่า พื้นที่การแพร่กระจายของหญ้าทะเลสามารถเคลื่อนย้ายไปมาได้ตลอด เนื่องจากหญ้าทะเลสามารถแพร่พันธุ์ได้ทั้ง แบบไม่อาศัยเพศ และแบบอาศัยเพศ ดังนั้น พื้นที่ที่เคยมีรายงานการพบหญ้าทะเล จึงถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพ ที่หญ้าทะเลจะเจริญได้ โดยในปี พ.ศ. 2558 พบว่า ข้อมูลสรุปขอบเขตพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพเป็นแหล่งหญ้าทะเลได้ มี เนื้อที่ประมาณ 159,829 ไร่ ในพื้นที่ 19 จังหวัด ( ตารางที่ 3.3.1.4-7) ซึ่งพบมากที่สุดในเขตอันดามันตอนล่าง (กระบี่ ตรัง และสตูล) คิดเป็นเนื้อที่ 66,821 ไร่ รองลงมา พบในเขตอันดามันตอนบน (ระนอง พังงา และภูเก็ต) คิดเป็นเนื้อที่ 32,811 ไร่ อ่าวไทยตอนกลาง (ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และสุราษฎร์ธานี) คิดเป็นเนื้อที่ 29,242 ไร่ อ่ า วไทยฝั ่ ง ตะวั น ออก (ตราด จั น ทบุ ร ี ระยอง และชลบุ ร ี ) คิ ด เป็ น เนื ้ อ ที ่ 26,026 ไร่ อ่ า วไทยตอนล่ า ง (นครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง ปัตตานี และนราธิวาส) คิดเป็นเนื้อที่ 4 ,899 ไร่ และอ่าวไทยตอนบน (เพชรบุรี) คิดเป็นเนื้อที่ 30 ไร่ ตามลำดับ (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561) แหล่งหญ้าทะเลผืนใหญ่ที่สุดในน่านน้ำไทย คือ บริเวณเกาะลิบง จังหวัดตรัง และยังมี แหล่งหญ้าทะเลที่สำคัญทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามันมีหลายพื้นที่ อาทิ อ่าวทุ่งคา-สวี จังหวัดชุมพร อ่าวคุ้ง กระเบน จังหวัดจันทบุรี เกาะตะลิบง จังหวัดตรัง เกาะศรีบอยา-เกาะปู จังหวัดกระบี่ เกาะพระทองและพื้นที่ ใกล้เคียง จังหวัดพังงา และบ้านป่าคลอก จังหวัดภูเก็ต เป็นต้น ทั้ งนี้ เนื่องจากสภาพแวดล้อมไม่เอื้อต่ อการ เจริญเติบโตของหญ้าทะเล จึงไม่พบหญ้าทะเลบริเวณจังหวัดชายฝั่งในพื้นที่อ่าวไทยรูปตัว ก ปีงบประมาณ 2561 ดำเนินการสำรวจและติดตามสถานภาพแหล่งหญ้าทะเลในพื้นที่ เป้าหมาย รวม 15 จังหวัด เป็นฝั่งทะเลอันดามัน 6 จังหวัด และฝั่งอ่าวไทย 9 จังหวัด ในแต่ละจังหวัดจะมีจำนวน พื้นที่สำรวจติดตามศึกษาที่แตกต่างกัน ทั้งในเชิงขนาดพื้นที่และการกระจายตัวของแหล่งหญ้า ไม่ว่าจะเป็นตาม เกาะต่าง ๆ ในอ่าวหรือบริเวณชายฝั่ง ทั้งนี้ การประเมินสถานภาพแหล่งหญ้าทะเล จัดแบ่งระดับความอุดม สมบูรณ์ ออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้ - สมบูรณ์ดีมาก หมายถึง มีการปกคลุมของหญ้าทะเลมากกว่าร้อยละ 7 - สมบูรณ์ดี หมายถึง มีการปกคลุมของหญ้าทะเลร้อยละ 51 – 7 - สมบูรณ์ปานกลาง หมายถึง มีการปกคลุมของหญ้าทะเลร้อยละ 26 – 5 - สมบูรณ์เล็กน้อย หมายถึง มีการปกคลุมของหญ้าทะเลน้อยกว่าร้อยละ 25 กรมทางหลวงชนบท 3-276 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน พื้นที่โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่บริเวณฝั่งทะเลอันดามันตอนล่าง ซึ่งบริเวณฝั่งทะเลอันดามันตอนล่างมีเนื้อที่ของ หญ้าทะเลรวม 66,821 ไร่ ถือว่าเป็นแหล่งหญ้าทะเลที่ใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบกับแหล่งอื่น ๆ พบหญ้าทะเลทั้งหมด 12 ชนิ ด มีหญ้าคาทะเล หญ้าใบมะกรูด และหญ้าชะเงาใบฟันเลื่อยเป็นชนิดเด่น แหล่งหญ้าทะเลส่วนใหญ่พบ บริ เวณจั ง หวั ด กระบี่ และจั ง หวั ด ตรั ง แหล่ ง หญ้ า ทะเลที่ เป็ น แหล่ ง ใหญ่ และมี ค วามสำคั ญ บริ เ วณนี้ ได้ แ ก่ เกาะศรีบอยาและพื้นที่ใกล้เคียงจังหวัดกระบี่ พื้นที่ 21,278 ไร่ เกาะลิบง และเกาะมุกต์ จังหวัดตรัง พื้นที่ 19,751 ไร่ และ 9,893 ไร่ ตามลำดับ โดยภาพรวมหญ้าทะเลมีสถานภาพคงที่ระดับสมบูรณ์ดีเป็นเขตที่มีระบบนิเวศหญ้า ทะเลที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งทรัพยากรหญ้าทะเลและสัตว์น้ำ รวมทั้งสัตว์เศรษฐกิจ และสัตว์ทะเลหายาก ได้แก่ พะยูน เต่าทะเล และโลมา (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561) ตารางที่ 3.3.1.4-7 พื้นที่แหล่งหญ้าทะเลของประเทศไทยแยกรายจังหวัด เนื้อที่ (ไร่) จังหวัด พื้นที่ศักยภาพเป็นแหล่งหญ้าทะเล* พื้นที่แหล่งหญ้าทะเลปีงบ 2561 ระนอง 2,272.0 1,530 พังงา 24,716.5 15,803 ภูเก็ต 5,823.3 2,941 กระบี่ 30,958.2 18,795 ตรัง 33,066.5 20,094 สตูล 2,796.3 1,461 ตราด 6,350.2 1,614 จันทบุรี 2,046.1 2,667 ระยอง 11,924.4 1,252 ชลบุรี 5,705.7 1,927 เพชรบุรี 30.0 20 ประจวบคีรีขันธ์ 20.5 1 ชุมพร 11,401.1 10,889 สุราษฎร์ธานี 17,820.4 15,726 นครศรีธรรมราช 146.6 98 พัทลุง 485.0 27 สงขลา 1,762.8 26 ปัตตานี 2,351.6 768 นราธิวาส 151.9 273 รวม 157,783 95,912 ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561 หมายเหตุ : ข้อมูลปรับปรุงปี พ.ศ. 2558 กรมทางหลวงชนบท 3-277 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน การเปลี่ ย นแปลงของแหล่ ง หญ้ า ทะเลที่ เกิ ด จากผลกระทบจากปั จ จั ย ตามธรรมชาติ แหล่งหญ้าทะเลมักมีการฟื้นสภาพได้เอง ส่วนความเสื่อมโทรมที่มีสาเหตุจากมนุษย์ ไม่ว่าจะโดยการใช้ประโยชน์ ในพื้นที่โดยตรง หรือผลกระทบทางอ้อมจากการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ง มักจะส่งผลให้เกิดการเสริมโทรมอย่างถาวร จึงควรที่จะมีแนวทางหรือมาตรการในการป้องกันและฟื้นฟูแหล่งหญ้าทะเล ไม่ว่าจะเป็นการให้ความรู้ ให้ตระหนัก ถึงความสำคัญและคุณค่าของแหล่งหญ้าทะเลในด้านต่าง ๆ การใช้มาตรการทางกฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ตลอดจนการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการการอนุรักษ์ก็เป็นเรื่องที่ต้องทำความเข้าใจเพื่อที่ จะรู้จักใช้อย่างถูก วิธีการ ไม่เกิดการทำลาย ซึ่งต้องอาศัยทั้งกระบวนการในการวางแนวทางสำหรับการปฏิบัติเกี่ยวกับมาตรการต่าง ๆ ในการจัดการแหล่งหญ้าทะเล บทบาทของชุมชน คนในพื้นที่ในการที่จะช่วยกันปกป้องแหล่งหญ้าทะเล ซึ่งนอกจาก จะคิดถึงเฉพาะความสำคัญและคุณค่าทางนิเวศวิทยาและทางเศรษฐกิจแล้ว อาจจะต้องคิดถึงคุณค่าของการคงอยู่ ของทรัพยากรด้วยต่อชุมชนด้วย (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561) การฟื้นฟูแหล่งหญ้าทะเล แหล่งหญ้าทะเลมีความสำคัญต่อระบบนิเวศทางทะเลและ ชายฝั่ง ในการเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำวัยอ่อน แหล่งหลบภัย แหล่งอาหาร เป็นแนวกำแพงลดความแรงของ กระแสน้ำและป้องกันภัยจากธรรมชาติ ในด้านการประโยชน์ของชาวประมงชายฝั่ง แหล่งหญ้าทะเลมีความสำคัญ มากในการเป็นแหล่งจับสัตว์น้ำเศรษฐกิจ และทำประมง การทำกิจกรรมต่าง ๆ บริเวณชายฝั่งทะเลส่งผลกระทบ โดยตรงต่อระบบนิเวศแหล่งหญ้าทะเล โดยเฉพาะสถานภาพความสมบูรณ์ของหญ้าทะเล มีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง จากสถานภาพเดิมในบางพื้นที่ปัจจุบันจึงมีการฟื้นฟูจากภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อย้ายปลูกในทะเล แต่อย่างไรก็ตาม ความสำเร็จยังไม่ชัดเจนทางด้านเทคนิคและวิธีการ รวมถึงผลกระทบจากแหล่งพันธุ์เดิมในธรรมชาติ (กรม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561) ลักษณะการแพร่กระจายและความเชื่อมโยงกับระบบนิเวศทางทะเลอื่น ๆ ระบบนิเวศหญ้า ทะเลมีความเชื่อมโยงกับระบบนิเวศอื่น ๆ เช่น ระบบนิเวศป่าชายเลน ระบบนิเวศปะการัง ระบบนิเวศปากแม่น้ำ ระบบนิ เวศหาด โดย Chansang and Poovachiranon (1994) รายงานผลการศึ กษาการแพร่ กระจายและ องค์ประกอบชนิดของแหล่งหญ้าทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามัน สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ - แบบที่ 1 แหล่งหญ้าทะเลที่เจริญอยู่ติดกับระบบนิเวศป่าชายเลน ลักษณะพื้นทะเล เป็นทรายปนโคลนละเอียด หรือตะกอนอ่อนนุ่ม - แบบที่ 2 แหล่งหญ้าทะเลที่เจริญอยู่บนพื้นทรายในเขตน้ำตื้น ลักษณะพื้นทะเลเป็น กรวดทรายละเอียดปนกรวด - แบบที่ 3 แหล่งหญ้าทะเลที่เจริญอยู่ร่วมกับระบบนิเวศปะการัง ลักษณะพื้นทะเลเป็น ทรายกรวดปนเปลือกหอยและเศษปะการัง นอกจากนี้ รายงานดังกล่าวสรุปการศึกษารูปแบบของแหล่งหญ้าทะเลบริเวณทะเลอันดามัน โดยพบว่า รูปแบบที่แพร่กระจายมากที่สุดเป็นแบบที่เจริญติดกับระบบนิเวศป่าชายเลน และยังเป็นแหล่งหญ้าทะเล ที่มีความหลากหลายทางชนิดของหญ้าทะเลสูงที่สด ุ ด้วย และจากการศึกษาโดยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง ่ พบว่า ลักษณะแหล่งหญ้าทะเลในฝั่งอ่าวไทยมีรูปแบบการแพร่กระจายทั้ง 3 แบบเช่นเดียวกัน การจัดประเภทการ แพร่กระจายของแหล่งหญ้าทะเลในน่านน้ำไทย (วราริน วงษ์พานิช, 2564)3/ แสดงไว้ในตารางที่ 3.3.1.4-8 3/ วราริน วงษ์พานิช. 2564. แหล่งหญ้าทะเลในประเทศไทย: ความหลากหลายทางชีวภาพ นิเวศบริการ และแนวทางการจัดการ เอกสารเผยแพร่ลำดับ ที่ 2/2564 สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 84 หน้า. กรมทางหลวงชนบท 3-278 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ่ พร่กระจายอยู่บริเวณน่านน้ำไทย ตารางที่ 3.3.1.4-8 ประเภทของแหล่งหญ้าทะเลทีแ กรมทางหลวงชนบท 3-279 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-8 ประเภทของแหล่งหญ้าทะเลที่แพร่กระจายอยู่บริเวณน่านน้ำไทย (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-280 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-8 ประเภทของแหล่งหญ้าทะเลที่แพร่กระจายอยู่บริเวณน่านน้ำไทย (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-281 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-8 ประเภทของแหล่งหญ้าทะเลที่แพร่กระจายอยู่บริเวณน่านน้ำไทย (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-282 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-8 ประเภทของแหล่งหญ้าทะเลที่แพร่กระจายอยู่บริเวณน่านน้ำไทย (ต่อ) ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อแหล่งหญ้าทะเล (วราริน วงษ์พานิช, 2564)4/ การเจริญเติบโต ของหญ้าทะเลมีลักษณะเดียวกันกับพืชทั่วไป ต้องอาศัยปัจจัยแวดล้อมช่วยในการดำรงชีวิต สังเคราะห์แสง สร้างอาหารและให้พลังงาน ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ • ปริมาณแสง เป็นปัจจัยสำคัญมากต่อแหล่งหญ้าทะเล หญ้าทะเลต้องการปริมาณแสง ที่เหมาะสมในกระบวนการสังเคราะห์แสง ทำให้สามารถเติบโตได้ดี ปริมาณแสงที่มากหรือน้อยเกินไปจะส่งผลต่อ การเจริญเติบโตของหญ้าทะเล โดยปริมาณแสงที่มากเกินไปทำให้หญ้าทะเลต้องสูญเสียพลังงานส่วนหนึ่งไปใช้เพื่อ การปรับเปลี่ยนรงควัตถุในเซลล์ให้สามารถตอบสนองต่อปริมาณแสงที่สูงขึ้น สังเกตได้จากการที่ใบ หญ้าทะเล จะเปลี่ยนเป็นสีแดง หรือปริมาณแสงที่น้อยเกินไป ทำให้ปฏิกริยาการสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้พลังงานและอาหาร มาใช้ในการเจริญเติบโตไม่เพียงพอ • ความขุ่นใสของน้ำทะเล ซึ่งมีความสัมพันธ์กับปริมาณแสงที่ส่องผ่านลงสู่น้ำทะเลซึ่ง ทำให้มีผลต่อกระบวนการสังเคราะห์แสงของหญ้าทะเล ความขุ่นใสของน้ำทะเลอาจเปลี่ยนแปลงจากปริมาณ ตะกอนที่เพิ่มมากขึ้นจากการพัดพามาจากพื้นที่บนฝั่ง มากับน้ำจากแม่น้ำ ลำคลอง หรือการเกิดคลื่นลมแรงที่ทำ ให้ตะกอนละเอียดตามพื้นท้องทะเลเกิดการฟุ้งกระจายลอยขึ้นสู่มวลน้ำ หรือเกิดจากการเจริญอย่างรวดเร็วของ แพลงก์ตอนพืชที่ปกคลุมในมวลน้ำซึ่งส่วนนี้มีความสัมพันธ์กับปริมาณสารอาหารในน้ำทะเลหรือปริมาณน้ำเสีย จากชายฝั่งที่ทำให้สภาพน้ำทะเลเกิดความขุ่น • ปริมาณธาตุอาหาร ในน้ำทะเลมีธาตุอาหารและแร่ธาตุเป็นองค์ประกอบในสัดส่วนที่ เหมาะสม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณธาตุอาหารที่มากขึ้นอาจส่งผลดีในระยะแรก แต่เมื่อปริมาณธาตุอาหารยัง เพิ่มสูงต่อไปอาจทำให้แพลงก์ตอนพืชหรือสาหร่ายที่มีขนาดเล็กซึ่งมีระบบการดูดซึมสารอาหารที่ดีกว่าหญ้าทะเล และสามารถนำสารอาหารไปใช้เพื่อการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เกิดปกคลุมแหล่งหญ้าทะเลส่งผลต่อการ เจริญเติบโตของหญ้าทะเลได้ ทั้งยังบดบังแสงทำให้สังเคราะห์แสงได้ลดลง รวมถึงการแก่งแย่งธาตุอาหารในน้ำ ธาตุอาหารที่เป็นกลุ่มหลัก ได้แก่ ไนโตรเจน ( nitrogen) ฟอสฟอรัส (phosphorus) ธาตุอาหารในตะกอนดินมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อการเจริญเติบโตของหญ้าทะเล หากปริมาณธาตุ อาหารมีน้อย หญ้าทะเลอาจจะเจริญเติบโตได้ไม่ดีอาจทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ง่ายหรือมีการ เจริญเติบโตช้า ปลายใบเน่า ใบขาดหลุดร่วงได้ง่าย 4/ วราริน วงษ์พานิช. 2564. แหล่งหญ้าทะเลในประเทศไทย: ความหลากหลายทางชีวภาพ นิเวศบริการ และแนวทางการจัดการ เอกสารเผยแพร่ลำดับ ที่ 2/2564 สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 84 หน้า. กรมทางหลวงชนบท 3-283 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • ความเค็ม หญ้าทะเลวิวัฒนาการลงมาเจริญอยู่ ในทะเลประมาณ 100 ล้านปีก่อนโดย มีการพัฒนาทางชีววิทยาที่ควบคุมความเข้มข้นในเซลล์เพื่อไม่ให้สูญเสียน้ำจนทำให้เซลล์เสียหาย ซึ่งเป็นหลักการ ออสโมซีสส์ อย่างไรก็ตามหญ้าทะเลแต่ละชนิดจะทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงความเค็มได้แตกต่างกัน โดยชนิดที่ เจริญอยู่ในเขตน้ำขึ้น-ลงจะมีความทนทานสูงกว่าชนิดที่แพร่กระจายอยู่ในน้ำลึกที่การเปลี่ยนแปลงความเค็มของน้ำ ไม่แตกต่างกันมากนัก ทั้งนี้ในพื้นที่ที่เป็นอ่าวใกล้ชายฝั่งหรือใกล้ปากแม่น้ำ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง ความเค็มจะเห็นได้ชัดเจน เนื่องจากน้ำทะเลบริเวณดังกล่าวจะได้รับอิทธิพลจากปริมาณน้ำจืดที่ไหลลงมาผืนดิน และกักเก็บอยู่เป็นระยะเวลาหนึ่งโดยเฉพาะในช่วงน้ำขึ้น หากน้ำจืดที่ไหลลงมามีปริมาณมากเกินปกติจนส่งผลให้ ความเค็มลดต่ำมากจนเกินขีดความสามารถที่จะรองรับได้ของหญ้าทะเล อาจส่งผลให้หญ้าทะเลเกิดความเสื่อม โทรมลง เช่นเดียวกันกับน้ำที่มีความเค็มสูงเกินกว่าค่าปกติมากเกินไป จะส่งผลให้เกิดการเสื่อมโทรมต่อหญ้าทะเล แต่หญ้าทะเลบางชนิด เช่น หญ้าตะกานน้ำเค็ม สามารถอยู่อาศัยได้ในสภาพที่มีความเค็มสูงได้ เช่น ในนากุ้งร้าง หรือบ่อพักน้ำที่มีความเค็มสูงมาก • ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ มีความสัมพันธ์กับการเจริญของพืชที่อยู่ในน้ำ ซึ่งอาจใช้ เป็นข้อบ่งชี้เบื้องต้นว่ามีการเจริญอย่างผิดปกติของพืชในน้ำ ดังนี้ ในระยะแรกการเกิดการสะพรั่งของสาหร่าย ที่ปกคลุมแหล่งหญ้าทะเล ทำให้เกิดการผลิตออกซิเจนออกมาละลายอยู่ในน้ำมากขึ้น เมื่ อตรวจวัดปริมาณ ออกซิเจนละลายน้ำจะพบสูงมากผิดปกติ และเมื่อสาหร่ายดังกล่าวตายลงจะทำให้เกิดการเน่าสลายเปลี่ยนสภาพ เป็นก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์และปลดปล่อยออกมาในมวลน้ำ ทำให้ปริมาณออกซิเจนในน้ำลดลงในลำดับต่อมา การที่ปริมาณออกซิเจนในน้ำลดลงโดยเฉพาะในเวลากลางคืนที่หญ้ าทะเลไม่ได้สังเคราะห์แสง มีเพียงการหายใจ ที่ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา จะส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำทำให้น้ำทะเลอยู่ในสภาวะขาด ออกซิเจน (oxygen depletion) หรือเกิดสภาพ hypoxia คือ การที่ปริมาณออกซิเจนในน้ำลดลงจนถึงระดับเป็น อันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ • อุณหภูมิน้ำทะเล มีผลต่อปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำทะเล หากอุณหภูมิน้ำทะเล สูงขี้นจะทำให้ออกซิเจนละลายในน้ำทะเลได้น้อยลงซึ่งเป็นผลกระทบทางตรง หรือการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก ทำให้เกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่รุนแรงขึ้น เช่น คลื่นลมแรง หรือปริมาณน้ำทะเลที่สูงขึ้นก่อให้เกิดการ พั ง ทลายของชายฝั ่ง ทะเลมากและรวดเร็ วขึ ้ นส่ งผลให้ เกิด ตะกอนทั บถมแหล่ งหญ้า ทะเล เป็ น ตั ว อย่ างของ ผลกระทบต่อแหล่งหญ้าทะเลโดยอ้อม อุณหภูมิน้ำทะเลในเขตร้อนที่พบว่าหญ้าทะเลมีการเจริญ ได้ดีอยู่ระหว่าง 28-32 องศาเซลเซียส ในเขตร้อนผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิยังไม่ชัดเจนเท่ากับแหล่งหญ้าทะเล ในเขตอบอุ่น • ความเป็นด่างในน้ำทะเล คือ ปริมาณของ alkaline ที่ละลายอยู่ในน้ำทะเลจะมีผล ต่อการแพร่กระจายของแร่ธาตุ ๆ ในน้ำทะเล การดูดซึมสารอาหารและแร่ธ าตุที่หญ้าทะเลสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ รวมทั้งมีผลต่อสมดุลของกระบวนเคมีในหญ้าทะเล สภาพแวดล้อมที่ผิดไปจากปกติหรือมีความผกผัน มากจะส่งผลต่อสภาพกายภาพของหญ้า ทะเล เช่น การปกคลุมบนผิวใบปิดกั้นการสังเคราะห์แสง หรือทับถม ส่วนที่เป็นต้นหญ้าทะเล ทำให้หญ้าทะเลต้องสูญเสียพลังงานไปในการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือการตก ทับถมของตะกอนที่มากเกินไปใบหญ้าทะเลจะเกิดลักษณะปลายใบเน่า เป็นสีน้ำตาลและขาดง่าย ภาวะคุกคามต่อระบบนิเวศหญ้าทะเล เนื่องจากแหล่งหญ้าทะเลในประเทศไทยส่วนใหญ่ เจริญอยู่บริเวณเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่ง ดั งนั้นการเปลี่ยนแปลงพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลย่อมส่งผลกระทบต่อ ทรัพยากรหญ้าทะเลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ภาวะคุกคามไม่เพียงแต่ทำลายตัวหญ้าทะเลและแหล่งหญ้าทะเลยังส่งผล ต่อการทำหน้าที่ทางระบบนิเวศของหญ้าทะเลอีกด้วย ภาวะคุกคามแบ่งออกได้เป็น กรมทางหลวงชนบท 3-284 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • ภาวะคุ ก คามที ่ เ กิ ด จากกิ จ กรรมของมนุ ษย์ จากการศึ กษาติ ด ตามแนวโน้ มการ เปลี่ยนแปลงของสถานภาพหญ้าทะเลโดยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง มีดังนี้ - สภาวะที่ตะกอนมาทับถมแหล่งหญ้าทะเลเพิ่มขึ้น เกิดได้จากการกระทำหลาย กรณี เช่น การไถเปิดหน้าดินเพื่อสร้างสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ บนแผ่นดิน ทำให้ตะกอนบริเวณแผ่นดินไหลลงสู่แนวหญ้า ทะเล ถึงแม้หญ้าทะเลจะมีความสามารถในการดักและทำให้ตะกอนตกลงสู่พื้นทะเลได้ดีขึ้นแต่ต้องไม่ใช่ปริมาณ ที่มากเกินกว่าศักยภาพที่พื้นที่จะรับได้ ตะกอนดังกล่าวจะทับถมโดยตรงต่อต้นหญ้าทะเลหรือก่อให้เกิดตะกอนฟุ้ง กระจายในมวลน้ำบดบังแสงที่ส่งผ่านในน้ำทะเลได้น้อยลง - การสร้างสิ่งก่อสร้างทับบนแหล่งหญ้าทะเล เป็นการก่อสร้างโครงสร้างต่าง ๆ เช่น ท่าเทียบเรือ สะพาน กำแพงกันคลื่น ลงบนพื้นที่แหล่งหญ้าทะเล นอกจากจะทำลายต้นหญ้าทะเลโดยตรง การ ก่อสร้างสิ่งกีดขวางทางน้ำจะทำให้เกิดการตกตะกอนมากขึ้นกลบฝังหญ้าทะเล เป็นผลกระทบทางอ้อม - การปล่อยน้ำเสีย-น้ำทิ้ง มลพิษ น้ำเสียจากบริเวณชุมชนชายฝั่งหรือที่ไหลผ่านมา ตามแม่น้ำลำคลอง หากไม่ได้รับการบำบัดอย่างถูกต้องและได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานอาจส่งผลต่อปริมาณ ธาตุอาหารในน้ำทะเล การวางระบบบำบัดน้ำทิ้งน้ำเสียจากชุมชนในประเทศไทยยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ตามแนว ชายฝั่ง ทำให้น้ำทิ้งจากชุมชนรวมถึงที่พักอาศัยขนาดใหญ่ เช่น โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม ถูกปล่อยทิ้งสู่พื้นที่ ชายฝั่งที่มีแหล่งหญ้าทะเลโดยไม่ผ่านการบำบัด ปริมาณธาตุอาหารในน้ำทิ้งที่มีค่าสูงเกินไปจะเป็นการเพิ่มธาตุ อาหารสู่น้ำทะเลธรรมชาติ ทำให้แพลงก์ตอนหรือสาหร่ายเซลล์เดียวขนาดเล็กที่อยู่ในมวลน้ำและสาหร่ายขนาดใหญ่ ในบริเวณดังกล่าวเจริญแบ่งตัวอย่างรวดเร็วจนเกิดสภาวะที่เรียกว่า สะพรั่ง ( bloom) ปกคลุมบริเวณพื้นที่ และ แก่งแย่งธาตุอาหาร รวมถึงอาจมีผลต่อเนื่องไปยังสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะสัตว์พื้นทะเล ทำให้ลดจำนวนลงจากสภาพ ขาดออกซิเจนในช่วงเวลากลางคืน ในพื้นที่เกษตรกรรมที่มีการปล่อยน้ำทิ้งที่อาจมียาและสารเคมีที่ใช้กำจัดศัตรู ของสัตว์เลี้ยงหรือศัตรูพืชปนเปื้อนไหลลงสู่ทะเล ส่งผลให้หญ้าทะเลเกิดอ่อนแอลง นอกจากนี้ยังมีภาวะคุกคามอื่น ๆ ที่เกิดจากการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงบริเวณชายฝั่ง เช่น การก่อสร้างกำแพงกันคลื่น การก่อสร้างสิ่งกีด ขวางทางน้ำ อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทิศทางของกระแสน้ำ ทำให้การแลกเปลี่ยนไหลเวียนน้ำใช้เวลานานขึ้น - การประมง มีการดำเนินกิจกรรมทางการประมงหลากหลายรูปแบบในพื้นที่แหล่ง หญ้าทะเล ทั้งที่เป็นเครื่องมือประจำที่และเครื่องมือที่เคลื่อนที่ไปบนแหล่งหญ้า ในอดีตมีการใช้เครื่องมือประมงที่ มีผลกระทบและสร้างความเสียหายต่อแหล่งหญ้าทะเล แต่ปัจจุบันได้กำหนดห้ามใช้ภายใต้กฎหมายประมง คือ เครื่องมืออวนรุนที่ติดตั้งกับเรือประกอบเครื่องยนต์ เนื่องจากการทำประมงอวนรุนมักทำในเขตน้ำตื้นใกล้ฝั่งซึ่ง เป็นบริเวณที่มีแหล่งหญ้าทะเลแพร่กระจายอยู่ ขนาดตาอวนค่อนข้างเล็กเพื่อดักจับสัตว์น้ำเป้าหมายคือ กลุ่มกุ้ง ส่วนปลายของแขนอวนที่เป็นท่อเล็กขนาดใหญ่และคร่าวล่างจะกลิ้งไปตามพื้นทะเลเพื่อไล่ให้สัตว์น้ำตกใจ ลอยตัว หรือว่ายขึ้น มาจากพื้ น หนี เข้า มาสู่ปากอวน ลักษณะดังกล่าวจะทำให้ส่ วนต่า ง ๆ ของหญ้าทะเลฉี กขาดหรื อ เกิดการขุดรากถอนโคนต้นหญ้าทะเลเป็นวงกว้าง ในต่างประเทศเครื่องมือประมงชนิดอวนลากเป็นสาเหตุหลัก ที่ทำลายทรัพยากรหญ้าทะเล ลักษณะการทำงานของเครื่องมืออวนลาก ทำให้ผืนอวนไปลากบนพื้นท้องทะเลเพื่อ ไล่จับสัตว์น้ำ การประมงในแนวหญ้าทะเลนี้เป็นสาเหตุให้หญ้าทะเลเสียหาย ฉีกขาดและหลุดออกจากพื้นที่ยึดเกาะ ซึ่งเครื่องมือประจำถิ่น ได้แก่ โป๊ะน้ำตื้น โพงพาง (bamboo stake trap) เป็นเครื่องมือประมงประจำที่โดยการนำ ท่อนไม้มาปักลงในดินเป็น 2 แนวจากบริเวณปากทางที่กว้างสู่แนวท้ายโพงพางที่มีความแคบที่ปลาย ส่วนที่แคบ จะมีลักษณะคล้ายคอกที่ประกอบกับเนื้ออวนเป็นถุงดักจับสัตว์น้ำที่เข้ามาในช่วงน้ำขึ้น ความยาวของปีกโป๊ะราว 200-300 เมตร จากฝั่งน้ำตื้นสู่น้ำลึก การเตรียมพื้นที่ทำแนวโป๊ะจะทำลายแหล่งหญ้าทะเลโดยตรง รวมถึงการ ติดตั้งเครื่องมือดังกล่าวจะทำให้เกิดการชะลอความแรงของกระแสน้ำช่วงน้ำขึ้น-น้ำลง ทำให้ตะกอนทับถมในพื้นที่ ใกล้เคียงมากขึ้น และยังเป็นการดักเศษขยะที่ล่องลอยในน้ำทับถมบนแหล่งหญ้าทะเล นอกจากนี้ยังมีรายงานสัตว์ ทะเลหายาก เช่น พะยูน เต่าทะเล ติดเข้าในโป๊ะและไม่สามารถออกได้ทันก่อนน้ำลง หากช่วยเหลือไม่ทันเวลา สัตว์ดังกล่าวอาจเสียชีวิตจากการตากแห้งได้ กรมทางหลวงชนบท 3-285 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ระบบหล่อเย็นของอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมโรงไฟฟ้า โรงงานอุตสาหกรรมที่ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งที่มีระบบหล่อเย็นเพื่อระบายความร้อนจากกระบวนการผลิต โดยปล่อยน้ำจากระบบหล่อเย็น ที่มีอุณหภูมิสูงกว่าน้ำทะเลภายนอกลงสู่ทะเล ทำให้ระบบนิเวศชายฝั่งบริเวณดังกล่าวได้รับผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิน้ำทะเล - ขยะทะเล ปัญหาจากขยะทะเลในระบบนิเวศหญ้าทะเลยังมีไม่มากนัก แต่ จาก การขยายตัวของชุมชนและการเพิ่มขึ้นของกิจกรรมบริเวณชายฝั่งเป็นแหล่งที่มาของขยะบนบก ผนวกกับการ บริหารจัดการขยะที่ไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้มีปริมาณขยะตกค้างสะสมในแหล่งหญ้าทะเล ผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ พื้ น ที่ การแพร่ กระจายของต้ นอ่ อนหญ้ าทะเลลดลง หรื ออาจมี การสะสมของเชื้ อโรคที่ ส่ งผลต่ อสุ ขภาพของ หญ้าทะเล • ภาวะคุกคามที่เกิดจากธรรมชาติ นอกจากภาวะคุกคามที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์แล้ว ยังมีรายงานเกี่ยวกับภาวะคุกคามที่เกิดจากธรรมชาติต่อแหล่งหญ้าทะเลและระบบนิเวศ ดังนี้ - ภาวะการเกิดโรคระบาด ยังมีการศึกษาการเป็นโรคของหญ้าทะเลในประเทศไทย น้อยมาก รายงานการเกิดโรคระบาด ที่เรียกว่า wasting disease ในหญ้าทะเล Zostera marina ที่พบในประเทศ เขตอบอุ่นบริเวณแอตแลนติคเหนือ เกิดจากเชื้อราที่เรียกว่า Labyrinthula zosterae ทำให้ประชากรหญ้าทะเล ตายไปราว 90% ในปี ค.ศ. 1930 จากการศึกษาวิจัยยังมีรายงานว่าเชื้อราชนิดนี้โดยปกติอยู่ในร่างกายของ สิ่งมีชีวิต แต่ไม่ทำอันตรายหรือแสดงผลใด ๆ และจะเกิดการขยายแพร่กระจายจนส่งผลให้เป็นโรคเมื่อสิ่งมีชีวิตอยู่ ในสภาวะที่ไม่เหมาะสม เช่น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ปริมาณแสงที่ลดลง การได้รับปริมาณไนเตรตสูง การ ปนเปื้อนยากำจัดวัชพืช - การรบกวนจากสิ่งมีชีวิตอื่นทั้งภายในถิ่นกำเนิดและจากชนิดพันธุ์ต่างถิ่น สัตว์ ทะเลบางประเภทที่มีการดำรงชีวิตที่รบกวนแหล่งหญ้าทะเล เช่น ปลากระเบน ที่หากินโดยการขุดผิวหน้าของพื้น ทะเลเพื่อหากินกุ้ง หรือปลาขนาดเล็กที่หลบซ่อนอยู่ ทำให้ต้นอ่อนของหญ้าทะเลหลุดลอยได้ หอยปากกระจาด หอยนางชี ที่มีลักษณะการหากินโดยการครูดไถไปตามพื้น ทำให้พื้นทะเลเปลี่ยนแปลงหรือดังรายงานการศึกษา การปลูกเสริมหญ้าทะเลในรัฐนิวยอร์ก พบว่าหอยฝาเดียวที่หากินตามพื้นทะเลในแหล่งหญ้าทะเล เป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้ต้นอ่อนหญ้าทะเลที่ปลูกเสริมเสียหาย การรุก รานจากสาหร่ายทะเลต่างถิ่นโดยพบว่าสาหร่ายสีเขียว Caulerpa texifolia ซึ่งจัดว่าเป็นพืชต่างถิ่นที่รุกรานมาเจริญเติบโตอย่างมากในทะเลเมอร์ดิเตอร์เรเนียน ชายฝั่ง รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ทางตะวันตกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย ปกคลุมพื้นที่หญ้าทะเลทำให้แหล่ง หญ้าเสียหายเป็น วงกว้างและสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ หญ้ า ทะเลเป็ น อาหารของสั ต ว์ น้ ำ ตั้งแต่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก เช่น หอยฝาเดียวกลุ่มที่กินพืชเป็นอาหาร ได้แก่ หอยขี้นก ( cerithids) หอยกะทิ (nerids) กลุ่มปูและกุ้งทะเลต่าง ๆ เม่นทะเล จนถึงสัตว์ทะเลเลื้อยคลาน เช่น เต่าตนุ เต่าหญ้า และสัตว์ ทะเลเลี้ยงลูกด้วยนม เช่น พะยูน หากมีการเจริญแพร่กระจายพันธุ์อย่างมากมายจะกัดกินหญ้าทะเลจนเจริญ ทดแทนไม่ทัน - ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ได้แก่ พายุ ไต้ฝุ่น คลื่นสึนามิ ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง ทั้งจากการพัดพาชะล้างตะกอนจากแผ่ นดินมาสะสม หรือทำให้ตะกอนที่บริเวณพื้นทะเลเกิดฟุ้งกระจาย ตะกอน ขนาดเล็กลอยอยู่ในน้ำเกิดน้ำขุ่น บดบังแสง และตะกอนตกค้างเกาะบนใบหญ้าหรือกัดเซาะพื้นท้องทะเลจนทำให้ บริเวณแหล่งหญ้าทะเลเกิดลักษณะที่เรียกว่า รากลอย คือ ส่วนที่เป็นรากจะโผล่ขึ้นมาเนื่องจากการสูญเสียตะกอน ที่ช่วยยึดเกาะกับพื้นทะเล ทำให้ต้นหญ้าและใบหญ้าฉีกขาดได้ง่าย กรมทางหลวงชนบท 3-286 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ที่ส่งผลกระทบต่อชีววิทยาของต้นหญ้าทะเลหรือ ส่งผลต่อฤดูกาลสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของหญ้าทะเล การเปลี่ยนแปลงฤดูกาล แล้งจัดหรือฝนตกหนักผิดปกติ ทำให้ปริมาณน้ำฝนหรือน้ำจืดที่ไหลลงสู่ทะเลเปลี่ยนแปลงซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการอยู่รอดของหญ้าทะเล โดยเฉพาะแหล่งหญ้าทะเลในเขตน้ำตื้นใกล้ฝั่ง - การเพิ่มสูงขึ้นของอุณหภูมิน้ำทะเลเนื่องจากภาวะโลกร้อน ผลกระทบต่อแหล่ง หญ้าทะเลยังไม่ชัดเจนมากนักแต่อาจจะส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต ที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศหญ้าทะเล ทำให้ส่งผลกระทบ ต่อเนื่องต่อระบบนิเวศหญ้าทะเลได้ เช่น การเจริญอย่างมากของพืชหรือสัตว์ทะเลบางชนิดจนปกคลุมหญ้าทะเล เช่น กลุ่มสาหร่ายทะเล ดอกมืทะเลขนาดเล็ก หรือการสูญหายไปของสัตว์ทะเลที่ช่วยสร้างความสมดุลในระบบ ห่วงโซ่อาหาร จากรายงานสำรวจสถานภาพและประเมินศักยภาพทรัพยากร แหล่งหญ้าทะเลปี พ.ศ. 2562 ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รายงานว่าปัจจัยสภาพแวดล้อมต่าง ๆ เช่น ความรุนแรง ของคลื่นลม ลักษณะพื้นทะเล การผึ่งแห้งและฤดูกาลมีผลสสำคัญต่อการแพร ่กระจายของชนิดและปริมาณของ หญ้าทะเลในแต่ละพื้นที่หญ้าทะเลส่วนใหญ่ร้อยละ 70.00 เป็นการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล ซึ่งสภาพโดยธรรมชาติ ของแหล่งหญ้าทะเล จะมีการเปลี่ยนแปลงของสถานภาพ ทั้งในเชิงชนิดพันธุ์และร้อยละการปกคลุมพื้นที่อันมี ผลกระทบมาจากสภาพคลื่นลม มรสุม หรือน้ำจืด แต่หากโครงสร้างของต้นหญ้าส่วนที่ อยู่ใต้ดิน เช่น ราก และเหง้า ยังคงอยู่ หญ้าทะเลก็สามารถฟื้นตัวได้เองเมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมนอกจากนี้ยังพบว่าในบางพื้นที่ หญ้าทะเล สามารถแพร่ขยายไปเจริญได้ดีในพื้นทีใ่ หม่ ใกล้เคียงแหล่งหญ้าทะเลเดิม อย่างไรก็ตาม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ที่เสื่อมโทรมลงอันมีสาเหตุ จากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ แม้มีสัดส่วนไม่มากนัก แต่พบว่ากิจกรรมการสัญจร ทางน้ำเป็นสาเหตุหลัก มีผลกระทบโดยตรงแหล่งหญ้าทะเล คิดเป็นร้อยละ 84.00 ของเนื้อที่หญ้าทะเลที่เสื่อม โทรมลงจากกิจกรรมของมนุษย์โดยแหล่งหญ้าทะเลหลายพื้นที่อยู่ใกล้หรือเป็นเส้นทางเข้า -ออกของเรื อทั้ ง เรือประมงและเรือนำเที่ยว ทำให้ได้รับผลกระทบตะกอนที่ฟุ้งกระจายจากการเดินเรือ ตลอดจนตะกอนที่ฟุ้ง กระจายและการสูญเสียพื้นที่ถาวรจากการขุดลอกร่องน้ำ  รองลงมาเป็นสาเหตุการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งคิดเป็น ร้อยละ 14.00 โดยตะกอนที่ไหลชะลงทะเล หากมีปริมาณมากและต่อเนื่องจะส่ ง ผลให้ น้ ำ ทะเลมี ความขุ ่ น ตลอดเวลา ทำให้หญ้าทะเลฟื้นตัวได้ช้าลง จนอาจทำให้พื้นทะเลเปลี่ยนสภาพจนไม่เหมาะสมต่อเจริญของหญ้า ทะเล สภาพปัญหาและภาวะคุกคามต่อทรัพยากรหญ้าทะเล ปัญหาหลักที่ก่อให้เกิดความ เสื่อมโทรมของแหล่งหญ้าทะเลสามารถสรุปได้เป็นสองสาเหตุหลัก คือ - สาเหตุจากธรรมชาติ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล หญ้าทะเลจะมีการ เปลี่ยนแปลงในรอบปีค่อนข้างชัดเจน โดยหากเข้าสำรวจในพื้นที่ช่วงปลายฤดูร้อน หญ้าทะเลส่วนเหนือพื้นจะ หายไปจากพื้นที่ เหลือแต่รากและส่วนใต้ดิน ส่วนของใบจะแตกยอดใหม่ในช่วงหมดมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และจะ เจริญเติบโตเต็มที่ในช่วงปลายฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และปัญหาคลื่นลมมรสุมที่รุนแรง ท ำให้มีการ เคลื่อนย้ายของแนวสันทรายและตะกอนตามธรรมชาติทับถมแนวหญ้า - สาเหตุจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การพัฒนาชายฝั่งทุกรูปแบบที่ท ำให้มี ตะกอนในน้ำทะเลมากขึ้น การขุดลอกร่องน้ำเดินเรือ รวมถึงการพัฒนาพื้นที่ในทะเลชายฝั่งเพื่อการท่องเที่ยวสร้าง สะพานที่จอดเรือในอ่าวที่มีแหล่งหญ้าทะเล การปล่อยน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม บ้านเรือนชุมชนขนาดใหญ่ ใกล้ชายฝั่ง และจากนากุ้งทำให้คุณภาพน้ำทะเลเสื่อมโทรม เป็นต้น กรมทางหลวงชนบท 3-287 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (2) การสำรวจภาคสนาม ก. ผลการสำรวจแนวปะการัง ดำเนินการสำรวจปะการังในพื้นที่ศึกษาโครงการ ช่วงวันที่ 30 มกราคม - 13 กุมภาพันธ์ 2564 ในการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการการประเมินแบบครอบคลุมพื้นที่กว้าง หรือการประเมินด้วยสายตาอย่างรวดเร็ว (Rapid visual estimation) โดยใช้วิธีสุ่มสำรวจและประเมินบริเวณรอบพื้นที่โครงการฯ โดยกำหนดจุดสุ่ม สำรวจ ให้ครอบคลุมพื้นที่ ในระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเส้นทางโครงการ (รูปที่ 3.3.1.4-2) โดยกำหนดจุดสุ่มสำรวจ จำนวน 34 จุด สำหรับจุดสุ่มสำรวจเน้นในพื้นที่ริมชายฝั่ง ซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยของปะการัง เพื่อทำการศึกษา ขอบเขตรั ศ มี ข องแนวปะการั ง บริ เ วณโดยรอบพื้ น ที่ โ ครงการ โดยการดำน้ ำ ด้ ว ยนั ก ประดาน้ ำ ในบริเวณ โดยรอบพื้นที่โครงการ ถ้าหากการดำน้ำสำรวจยังพบแนวปะการังต่อเนื่อง จะดำเนินการดำน้ำต่อไปจนกว่าไม่พบ แนวปะการัง ควบคู่ไปกับวิธีการนั่งเรือสำรวจในช่วงเวลาน้ำลงต่ำสุด (รูปที่ 3.3.1.4-3) รูปที่ 3.3.1.4-2 แผนที่แสดงจุดสุ่มสำรวจครอบคลุมพื้นที่ระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวสันทางโครงการ ในกรณีพบแนวปะการัง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ละเอียดสมบูรณ์จะใช้ วิธี การไลน์ทรานเซ็ ค (line intercept transect) เพื่อศึกษาโครงสร้าง ความชุกชุมและความหลากหลายของแนวปะการังในบริเวณที่ ทำการศึกษา โดยลากสายเทปวัดระยะวางผ่านแนวปะการังขนานกับชายฝั่ง ยาว 30 เมตร จำนวน 2 เส้น (ซ้ำ) ใน แต่ละไลน์ทรานเซ็ค บันทึกองค์ประกอบที่พบตลอดสายเทป โดยบันทึกระยะทางที่สายเทปพาดผ่านปะการังแต่ละชนิด รวมทั้งปะการังตาย สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น ฟองน้ำ สาหร่าย และองค์ประกอบไม่มีชีวิต เช่น หิน ทราย เป็นต้น บันทึก องค์ประกอบและการปกคลุมพื้นที่ขององค์ประกอบต่าง ๆ ในระดับเซนติเมตร นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณหา เปอร์เซ็นต์ปกคลุมพื้นที่ของปะการัง (ระยะทาง 30 เมตร คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์) เพื่อนำไปวิเคราะห์ข้อมูลแนว ปะการัง เพื่อนำข้อมูลของสภาพแวดล้อมปัจจุบันในพื้นที่ตามแนวเส้นทางโครงการ ซึ่งข้อมูลที่ได้มาทั้งหมดจะ กรมทางหลวงชนบท 3-288 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน นำมาใช้ประกอบการพิจารณาเพื่อประเมินผลกระทบต่อแนวปะการัง ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะพื้นท้องทะเลใน พื้นที่ศึกษาโครงการโดยทั่วไปเป็นโคลนปนทราย ในบางบริเวณเป็นโคลนเหลว เนื่องจากพื้นท้องทะเลมีลักษณะ ดังที่กล่าวส่งผลให้น้ำทะเลในบริเวณนี้มีความขุ่นค่อนข้างมาก มีทัศนวิสัยใต้น้ำอยู่ในช่วง 1-2 เมตร โดยชายหาด บริเวณรอบเกาะปลิง มีลักษณะเป็นชายฝั่งโขดหินและบริเวณตอนบนเป็นป่าชายเลนและป่าบก รูปที่ 3.3.1.4-3 การดำน้ำสำรวจขอบเขตปะการังในพื้นที่ศีกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-289 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.4-4 แนวปะการังบริเวณรอบเกาะปลิงที่อยู่ใกล้เคียงกับแนวเส้นทางโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-290 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.4-4 แนวปะการังบริเวณรอบเกาะปลิงที่อยู่ใกล้เคียงกับแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-291 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน พบแนวปะการังบริเวณรอบเกาะปลิงมีพื้นที่ทั้งหมด 52.3 ไร่ โดยแนวปะการังบริเวณทิศ ตะวันออกเกาะปลิง ( รูปที่ 3.3.1.4-4) แนวเขตปะการังใกล้สุดห่างจากแนวเขตพื้นที่ก่อสร้างสะพานโครงการ ประมาณ 6 เมตร เป็ น แนวปะการั งที ่ม ี ชีว ิต ส่ ว นใหญ่ขึ ้นปกคลุ มโขดหิน โดยมี พื ้น หิ นปกคลุม พื ้ นที่มากถึง 69.17+6.12 เปอร์เซ็นต์ มีปะการังมีชีวิตปกคลุมพื้นที่ 10.62+0.37 เปอร์เซ็นต์ ปะการังตายปกคลุมพื้นที่ 11.55+3.62 เปอร์เซ็นต์ ฟองน้ำปกคลุมพื้นที่ 4.17+0.14 เปอร์เซ็นต์ พื้นโคลนปนทรายหรือโคลนละเอียดปกคลุม พื้นที่ 4.50+0.41 เปอร์เซ็นต์ ( ตารางที่ 3.3.1.4-9) ส่วนแนวปะการังบริเวณทิศเหนือเกาะปลิง มีลักษณะแนว ปะการังคล้ายกับฝั่งทิศตะวันออกเกาะปลิง กล่าวคือ ลักษณะชายฝั่งเป็นโขดหินมีพรรณไม้ป่าชายเลนขึ้น อยู่ ด้านบน ลักษณะแนวปะการังส่วนใหญ่เป็นโขดหินพบปะการังมีชีวิตขึ้นเคลือบบนโขดหินอยู่ทั่วไปในบริเวณนี้มีโขด หินปกคลุมพื้นที่ 72.33+4.08 เปอร์เซ็นต์ พบปะการังมีชีวิต 13.58+3.33 เปอร์เซ็นต์ ปะการังตาย 9.58+0.37 เปอร์เซ็นต์ และฟองน้ำ 3.33+0.54 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 3.3.1.4-10) บริเวณเกาะปลิงทางทิศตะวันออก โครงสร้างของสังคมปะการังในบริเวณนี้มีโครงสร้าง หลักที่เกิดจากปะการังที่มีรูปทรงแบบก้อนและกึ่งก้อน ซึ่งเป็นปะการังชนิดเด่นของพื้นที่ คือ ปะการังโขด (Porites lutea) ปะการังดอกไม้ทะเล ( Goniopora lobata) ปะการังวงแหวน ( Favia sp.) และปะการังพลีไซแอสเตรีย (Plesiastrea versipora) ปะการังโดยส่วนใหญ่ที่พบเป็นกลุ่มปะการังที่ทนทานต่อตะกอนพบได้ทั่วไปตามแนว ชายฝั่ง ส่วนบริเวณด้านนอกแนวปะการังพบปะการังมีชว ี ิตบนพื้นทรายเล็กน้อย สภาพทั่วไปเป็นพื้นทรายปนโคลน และเศษเปลือกหอย บริเวณเกาะปลิงทางทิศเหนือ ชนิดเด่นของปะการังแข็งที่พบในบริเวณนี้มีความคล้ายคลึง กับด้านทิศตะวันออก ได้แก่ ปะการังดอกไม้ทะเล ( Goniopora lobata) ปะการังโขด ( Porites lutea) และ ปะการังวงแหวน ( Favia sp.) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากบริเวณนี้อยู่ใกล้ร่องน้ำไหล พื้นด้านนอกแนวปะการังมี ลักษณะเป็นพื้นทรายปนเปลือกหอย และพบเห็นปะการังแข็งบ้างเล็กน้อย โดยส่วนใหญ่ในบริเวณนี้พบฟองน้ำ และกัลปังหายึดเกาะอยู่กับก้อนหินหรือแทรกอยู่ตามพื้นทราย ตารางที่ 3.3.1.4-9 ชนิดและปริมาณของปะการังและสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ที่พบบริเวณเกาะปลิง ทางทิศตะวันออก (วันที่ 30 มกราคม 2564 - วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564) ชนิดปะการัง จำนวนโคโลนี % ปกคลุมพื้นที่ รูปทรง ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญไทย (+ SE) (+ SE) Porites lutea ปะการังโขด ก้อน 5.50+0.41 4.50+0.41 Goniopora djiboutiensis ปะการังดอกไม้ทะเล กึ่งก้อน 2.50+0.41 2.25+0.34 Favia speciosa ปะการังวงแหวน ก้อน 4.00+0.82 1.42+0.34 Plesiastrea versipora ปะการังพลีไซแอสเตรีย ก้อน 1.00+0.00 1.17+0.14 Turbinaria frondens ปะการังจาน แผ่นใบไม้ 1.50+0.41 0.70+0.24 Goniastrea sp. ปะการังรังผึ้ง ก้อน 1.00+0.00 0.58+0.07 รวมปะการังแข็งมีชีวิต 15.50+1.06 10.62+0.37 รวมปะการังตาย - 11.55+3.62 ฟองน้ำ - 4.17+0.14 หิน - 69.17+6.12 พื้นทรายปนโคลน - 4.50+0.41 ที่มา : สำรวจโดยที่ปรึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-292 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.1.4-10 ชนิดและปริมาณของปะการังและสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ที่พบบริเวณเกาะปลิงทางทิศเหนือ (วันที่ 30 มกราคม 2564 - วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564) ชนิดปะการัง จำนวนโคโลนี % ปกคลุมพื้นที่ รูปทรง ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญไทย (+ SE) (+ SE) Goniopora djiboutiensis ปะการังดอกไม้ทะเล กึ่งก้อน 5.50+0.41 4.50+0.41 Porites lutea ปะการังโขด ก้อน 3.50+1.22 1.83+0.14 Favia speciosa ปะการังวงแหวน ก้อน 2.50+1.22 1.33+0.54 Turbinaria frondens ปะการังจาน แผ่นใบไม้ 1.00+0.00 1.33+0.27 Pavona decrussata ปะการังลายดอกไม้แผ่นตั้ง กึ่งก้อน 0.50+0.41 0.67+0.54 Goniastrea sp. ปะการังรังผึ้ง ก้อน 2.50+0.41 0.58+0.07 รวมปะการังแข็งมีชีวิต 15.50+1.07 12.75+1.02 รวมปะการังตาย - 10.42+1.76 ฟองน้ำ - 3.33+0.54 หิน - 72.33+4.08 พื้นทรายปนโคลน - 1.17+0.41 ที่มา : สำรวจโดยที่ปรึกษา, 2564 แนวปะการังบริเวณเกาะปลิง แสดงดังรูปที่ 3.3.1.4-5 เป็นสังคมแนวปะการังที่ขึ้นเคลือบ ตามโขดหินริมชายฝั่ง โครงสร้างของแนวปะการัง ประกอบด้วย ปะการังรูปทรงแบบก้อนเป็นโครงสร้างหลัก แนวปะการังมีตะกอนบนพื้นผิวค่อนข้างมาก สภาพแวดล้อมแบบนี้มักจะพบปะการังรูปทรงแบบก้อน เนื่องจาก ปะการังที่มีรูปทรงแบบนี้ตะกอนจะตกทับถมได้นอ ้ ย ซึ่งปะการังก้อนนั้นมีโครงสร้างที่ดีและมีศักยภาพในการกำจัด ตะกอนออกจากโคโลนีได้ค่อนข้างดี ( Brown and Howard, 1985 ; Roger, 1990) ส่วนในบริเวณพื้นที่อื่น ๆ ไม่พบแนวปะการัง เนื่องจากสภาพพื้นท้องทะเลโดยทั่วไปเป็นดินเลนมีตะกอนปกคลุมหนา ซึ่งลักษณะเช่นนี้มัก จะ ไม่ปรากฏแนวปะการังหรือปะการังมีชีวิต เนื่องจากน้ำทะเลมีความขุ่น ทัศนวิสัยใต้น้ำประมาณ 0.5 – 1.0 เมตร ความขุ่นของน้ำทะเลบดบังแสงที่ส่องผ่านผิวน้ำทะเลลงไปด้านล่าง ปะการังได้รับสารอาหารหรือพลังงานจาก สาหร่ายเซลล์เดียวที่อาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อ หากมีปริมาณแสงไม่เพียงพอสาหร่ายไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตะกอนแขวนลอยในน้ำจะไปขัดขวางปริมาณแสงที่ส่องลงใต้ผืนน้ำ นำไปสู่การลดลงของขบวนการ สังเคราะห์แสง ทำให้ปะการังได้รับสารอาหารจากสาหร่ายเซลล์เดียวในเนื้อเยื่อลดลง (Glynn, 1996 ; Brown, 1997) ส่งผลต่อเนื่องไปยังปะการังอยู่ในสภาวะขาดพลังงานทำให้เสียชีวิต ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้มักไม่ปรากฏปะการัง ในบริเวณชายฝั่งที่มีน้ำขุ่นมาก การประเมิ นสถานภาพของแนวปะการั ง แนวปะการั ง บริ เวณรอบเกาะปลิ ง มี พ ื้นที่ ประมาณ 52.3 ไร่ การประเมินสถานภาพของแนวปะการัง ใช้อัตราส่วนระหว่างเปอร์เซ็นต์การปกคลุมพื้นที่ของ ปะการังที่มีชีวิต ( LC) และปะการังตาย ( DC) มีอัตราส่วน 2 : 1 สถานภาพแนวปะการังอยู่ในระดับสมบูรณ์ดี โดยบริเวณที่พบปะการังตายและเสื่อโทรม จะอยู่บริเวณน้ำตื้น 1.0 - 2.0 เมตร รอบ ๆ เกาะปลิง สาเหตุหลักของ ความเสื่อมโทรมของแนวปะการัง เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การนำเรือหัวโทงเข้าไปจอด การทิ้งสมอเรือ การหาหอยนางรมตามโขดหินเกาะปลิง เป็นต้น การเหยียบย่ำแนวปะการังจนทำให้ปะการังอยู่ในสภาพเสียหาย จนถึงเสียหายมาก ไม่สามารถฟื้นตัวได้เองตามธรรมชาติหรือกำลังได้รับผลกระทบจากกิจกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการบริหารจัดการพื้นที่แนวปะการังเพื่อลดผลกระทบจาก กิจกรรมที่ก่อให้เกิด ความเสียหาย ส่งเสริมการฟื้นตัว รวมทั้งดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันความ เสื่อมโทรมที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ดังนั้น การฟื้นฟูแนวปะการัง จึงเป็นทางเลือกหนึ่ งที่นำมาใช้เพื่อสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์และลดปัญหา ความเสื่อมโทรมของแนวปะการัง กรมทางหลวงชนบท 3-293 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ปะการังโขด (Porites lutea) ปะการังพลีไซแอสเตรีย (Plesiastrea versipora) ปะการังดอกไม้ทะเล (Goniopora djiboutiensis) ปะการังจาน (Turbinaria frondens) ปะการังวงแหวน (Favia sp.) ปะการังลายดอกไม้แผ่นตั้ง (Pavona decrussata) รูปที่ 3.3.1.4-5 ปะการังที่พบในพื้นที่ศึกษาโครงการบริเวณรอบเกาะปลิง กรมทางหลวงชนบท 3-294 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข. ผลการสำรวจหญ้าทะเล ผลการสำรวจหญ้าทะเลในพื้นที่โครงการ โดยการสุ่มสำรวจและประเมินแบบครอบคลุม พื้นที่กว้าง จำนวน 34 จุด ในระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ผลการสำรวจไม่พบแนวหญ้าทะเลที่มี ขนาดใหญ่ ซึ่งพบหญ้าคาทะเล ( Enhalus acoroides) เป็นหย่อมขนาดเล็ก จำนวน 8 ตำแหน่ง อยู่บริเวณเนิน ทรายน้ำตื้น กระจายตัวเป็นหย่อมๆ ตามแนวชายฝั่งทางด้านตะวันออก (ฝั่งเกาะลันตาน้อย) (รูปที่ 3.3.1.4-6 และ รูปที่ 3.3.1.4-7) บริเวณสภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นทรายปนโคลนและอยู่ใกล้กับร่องน้ำ จึงทำให้น้ำทะเล ค่อนข้างขุ่น พื้นทะเลมีตะกอนมาก ส่งผลให้หญ้าทะเลไม่หนาแน่น มีร้อยละการปกคลุมพื้นที่ไม่มาก มีระดับความ สมบูรณ์เล็กน้อย แหล่งหญ้าทะเลบริเวณนี้อยู่ใกล้เส้นทางแล่นเรือเข้าออกทั้งเรือประ มงและเรือจากรีสอร์ท ซึ่ง หญ้าทะเลอาจถูกรบกวนจากการฟุ้งกระจายของตะกอน ทำให้หญ้าทะเลเติบโตช้าและเสื่อมโทรมลง จึงควรมี มาตรการในการควบคุมต้นกำเนิดของตะกอน เช่น การกำหนดแนวเดินเรือการรณรงค์เพื่อหลีกเลี่ยงการเดินเรือ ผ่านแหล่งหญ้าทะเล ตลอดจนการติดตั้งทุ่นแนวเขตหญ้าทะเลเพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อให้หญ้าทะเลที่ได้รับ ผลกระทบสามารถฟื้นตัวได้ตามธรรมชาติ และจากการติดตามอย่างต่อเนื่อง พบว่าร้อยละการปกคลุมพื้นที่ของ แหล่งหญ้าทะเลบริเวณนี้เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยในช่วงเดือนมิถุนายน – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงฤดูมรสุมมักจะ มีการพัดพาตะกอนทรายมาทับถมลงบนแหล่งหญ้าทะเลบางส่วน เกิดเป็นสันดอนทรายขึ้น ทำให้พื้นที่การปกคลุม ของหญ้าทะเลลดลงในช่วงนี้ แหล่งหญ้าทะเลจะมีสภาพเสื่อมโทรม แต่ช่วงเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน สันดอน ทรายเหล่านี้จะหายไป แหล่งหญ้าฟื้นสภาพจนเข้าสู่ความสมบูรณ์ปกติ จนกระทั่งเดือนพฤษภาคมซึ่งเป็นช่วงเริ่ม ฤดูมรสุมจะมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพพื้นที่ขึ้นอีกครั้ง การสะสมคาร์ บอนในแหล่ง หญ้ าทะเล พบว่ า คาร์ บ อนที ่ สะสมในมวลชีว ภาพ (ในรูป สารประกอบคาร์บอน) เฉลี่ยเท่ากับ 19.097 ตันคาร์บอนต่อไร่ ใกล้เคียงกับป่าชายเลนที่สะสมคาร์บอนได้ 19.43 ตันคาร์บอนต่อไร่โดยแบ่งเป็น คาร์บอนที่สะสมอยู่ในมวลชีวภาพเหนือดินเฉลี่ยเท่ากับ 7.472 ตันคาร์บอนต่อไร่ และคาร์บอนที่สะสมอยู่ในมวลชีวภาพใต้ดินเฉลี่ยเท่ากับ 11.625 ตันคาร์บอนต่อไร่ และเมื่อนำมาประเมินร่วมกับ เนื้อที่หญ้าทะเลของพื้นที่ พบว่าแหล่งหญ้าทะเลในพื้นที่ โครงการ 179 ตารางเมตร หรือ 0.11 ไร่ (หญ้าคาทะเล เป็นชนิดพันธุ์ที่สะสมคาร์บอนมากที่สุด ร้อยละ 60.00) มีการกักเก็บคาร์บอนเท่ากับ 1.281 ตันคาร์บอน กรมทางหลวงชนบท 3-295 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.4-6 หญ้าคาทะเล (Enhalus acoroides) ที่พบในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-296 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.1.4-7 ตำแหน่งหญ้าทะเลที่พบในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-297 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ รายงานฉบับสมบูรณ์ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รายงานหลัก 2/2 สารบัญ หน้า สารบัญ ก สารบัญรูป จ สารบัญตาราง ถ 3.3.2 สัตว์ในระบบนิเวศ 3-298 3.3.3 พืชในระบบนิเวศ 3-325 3.3.4 สิ่งมีชีวิตที่หายาก 3-367 3.4 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 3-387 3.4.1 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 3-387 3.4.2 การคมนาคมขนส่ง 3-399 3.4.3 การระบายน้ำ 3-440 3.4.4 สาธารณูปโภค 3-445 3.5 คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 3-456 3.5.1 เศรษฐกิจ-สังคม 3-456 3.5.2 การโยกย้ายและเวนคืน 3-528 3.5.3 การสาธารณสุข 3-531 3.5.4 อาชีวอนามัย 3-536 3.5.5 สุขาภิบาล 3-539 3.5.6 อุบัติเหตุและความปลอดภัย 3-562 3.5.7 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ 3-566 3.5.8 ทัศนียภาพ 3-592 บทที่ 4 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.1 บทนำ 4-1 4.2 ขอบเขตการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4-2 4.3 ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ 4-6 4.4 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 4-7 4.4.1 ทรัพยากรดิน 4-7 4.4.2 ธรณีวิทยาและแผ่นดินไหว 4-17 4.4.3 คุณภาพน้ำผิวดิน 4-39 กรมทางหลวงชนบท ก รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญ (ต่อ) หน้า 4.4.4 คุณภาพน้ำทะเลและสมุทรศาสตร์ 4-44 4.4.5 คุณภาพอากาศ 4-123 4.4.6 เสียง 4-140 4.4.7 ความสั่นสะเทือน 4-175 4.5 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ 4-192 4.5.1 ระบบนิเวศ 4-192 4.5.2 สัตว์ในระบบนิเวศ 4-205 4.5.3 พืชในระบบนิเวศ 4-211 4.5.4 สิ่งมีชีวิตที่หายาก 4-215 4.6 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 4-218 4.6.1 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 4-218 4.6.2 การคมนาคมขนส่ง 4-243 4.6.3 การระบายน้ำ 4-255 4.6.4 สาธารณูปโภค 4-258 4.7 คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 4-267 4.7.1 เศรษฐกิจและสังคม 4-267 4.7.2 การโยกย้ายและเวนคืน 4-273 4.7.3 การสาธารณสุข 4-274 4.7.4 อาชีวอนามัย 4-295 4.7.5 สุขาภิบาล 4-298 4.7.6 อุบัติเหตุและความปลอดภัย 4-304 4.7.7 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี 4-305 4.7.8 ทัศนียภาพ 4-312 บทที่ 5 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.1 บทนำ 5-1 5.2 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5-2 5.2.1 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 5-3 5.2.2 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ 5-33 5.2.3 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 5-45 5.2.4 คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 5-61 กรมทางหลวงชนบท ข รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6.1 บทนำ 6-1 6.2 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง ่ แวดล้อม 6-1 6.3 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 6-10 6.3.1 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน 6-10 6.3.2 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเล 6-12 6.3.3 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ 6-15 6.3.4 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเสียง 6-18 6.3.5 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านความสัน่ สะเทือน 6-21 6.4 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ 6-24 6.4.1 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านนิเวศวิทยาทางน้ำ 6-24 6.4.2 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านพืชในระบบนิเวศ 6-26 6.4.3 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบต่อสัตว์ในระบบนิเวศ 6-28 6.4.4 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบต่อสัตว์หายาก 6-30 6.5 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 6-33 6.5.1 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคมนาคมขนส่ง อุบัติเหตุ และความปลอดภัย 6-33 6.5.2 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านการควบคุมน้ำท่วมและการระบายน้ำ 6-35 6.5.3 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเศรษฐกิจ-สังคม 6-36 6.5.4 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านสาธารณสุขและอาชีวอนามัย 6-39 บทที่ 7 แผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อม 7.1 บทนำ 7-1 7.2 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ 7-1 7.2.1 แผนปฏิบัติการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน 7-2 7.2.2 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเล 7-8 7.2.3 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านเสียง 7-23 7.2.4 แผนการปลูกป่าชายเลนทดแทน 7-30 7.2.5 แผนการปลูกป่าทดแทน (ป่าสงวนแห่งชาติ) 7-37 7.2.6 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคมนาคมขนส่ง/ อุบัติเหตุและความปลอดภัย 7-39 7.2.7 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อโลมา 7-47 7.2.8 แผนการประชาสัมพันธ์โครงการ 7-50 7.3 สรุปค่าใช้จา ่ แวดล้อมของโครงการ ่ ยด้านสิง 7-55 กรมทางหลวงชนบท ค รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 8 งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.1 บทนำ 8-1 8.2 วัตถุประสงค์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน 8-1 8.3 พื้นที่เป้าหมาย 8-2 8.4 กลุ่มเป้าหมาย 8-2 8.5 แนวทางการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8-20 8.6 แผนการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์โครงการ 8-22 8.7 การดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์ 8-24 8.7.1 การประชาสัมพันธ์โครงการ 8-24 8.7.2 การมีส่วนร่วมของประชาชนของโครงการ 8-24 8.8 ผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชนของโครงการ 8-42 8.8.1 การเตรียมความพร้อมของชุมชน 8-42 8.8.2 การประชุมปฐมนิเทศโครงการ (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 1) 8-48 8.8.3 การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 8-55 8.8.4 การประชุมสรุปแนวทางเลือกทีเ่ หมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) 8-64 8.8.5 การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 และการประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3) 8-71 8.8.6 การประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิง่ แวดล้อม 8-82 8.8.7 การสัมภาษณ์กับหัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 8-88 8.8.8 การประชุมหารือเพิ่มเติมมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมกับกลุ่มประมง พื้นบ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 8-89 8.8.9 การสัมภาษณ์เชิงลึกกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 8-94 8.8.10 การประสานงานหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 8-97 กรมทางหลวงชนบท ง รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป รูปที่ หน้า 3.3.2-1 ตำแหน่งเพื่อการเก็บข้อมูลสัตว์ป่า ทั้งลักษณะการใช้ประโยชน์ของสัตว์ป่าในพื้นที่เขตทาง 3-299 3.3.2-2 การวางจุดสำรวจเพื่อให้ได้ตัวแทนสัตว์ป่าในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-301 3.3.2-3 พื้นที่อนุรักษ์ด้านสิ่งแวดล้อมบริเวณเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-306 3.3.2-4 รูปแบบโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จ.กระบี่ 3-308 3.3.2-5 ลิงแสม (Macaca fascicularis) 3-311 3.3.2-6 แผนที่แสดงการเดินทางของลิงแสมในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-312 3.3.2-7 ตำแหน่งที่พบนากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspicillata) 3-314 3.3.3-1 การวางแปลงทดลองการสำรวจทรัพยากรป่าไม้ 3-326 3.3.3-2 รูปของแปลงตัวอย่างถาวรสี่เหลีย ่ มจัตุรัส ขนาด 40x40 ตารางเมตร จำแนกออกเป็น 16 แปลงย่อย ขนาด 10x10 ตารางเมตร พร้อมกับการกำหนดเป็นแถว (Row, R) และสดมภ์ (Column, C) 3-327 3.3.3-3 การวางแปลงย่อยในแปลงขนาด 40x40 เมตร 3-327 3.3.3-4 การวางแปลงสำรวจป่าไม้ในพื้นที่ศึกษา 3-328 3.3.3-5 ตำแหน่งวัดความโตที่ระดับต่าง ๆ ของต้นไม้ที่มีลักษณะพิเศษ และในพืน ้ ที่ที่มีความลาดชัน 3-329 3.3.3-6 ลักษณะทางนิเวศบกของพื้นที่บริเวณหัวสะพานด้านฝั่งบก 3-331 3.3.3-7 ลักษณะทางนิเวศบกของพื้นที่ฝง ั่ เกาะลันตาน้อย 3-333 3.3.3-8 ต้นไม้ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ 3-340 3.3.3-9 ลักษณะทางนิเวศบกของพื้นที่ศก ึ ษาโครงการ 3-342 3.3.3-10 ลักษณะทางนิเวศของป่าไม้ฝง ั่ บก 3-343 3.3.3-11 ลักษณะทางนิเวศของป่าไม้ในเกาะปลิงบริเวณพื้นที่ตอนกลางเกาะ 3-343 3.3.3-12 ลักษณะทางนิเวศของป่าไม้ในเกาะปลิงบริเวณพื้นที่ที่ไม่มส ี ภาพป่า 3-344 3.3.3-13 ลักษณะทางนิเวศของไม้ที่เหลืออยู่ในพื้นที่ 3-344 3.3.3-14 Profile diagram (บน) และ Crown projection diagram (ล่าง) ของไม้ใหญ่ในป่าบก 3-348 3.3.3-15 Profile diagram (บน) และ Crown projection diagram (ล่าง) ของไม้ใหญ่ในเกาะปลิง 3-350 3.3.3-16 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการ 3-357 3.3.3-17 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (ฝั่งบก) 3-363 3.3.3-18 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (เกาะปลิง) 3-363 3.3.3-19 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (ฝั่งเกาะลันตาน้อย) 3-364 3.3.4-1 เต่าทะเลในประเทศไทย 3-368 3.3.4-2 พื้นที่แพร่กระจายและพื้นที่วางไข่ของเต่าทะเลบริเวณพื้นที่เกาะลันตา เกาะไม้ไผ่ เกาะศรีบอยา เกาะจำ เกาะปู เกาะพีพี ปี 2555-2558 3-371 3.3.4-3 พื้นที่แพร่กระจายพะยูนและโลมา บริเวณอ่าวทุ่งจีน อ่าวกระบี่ อ่าวทาเลน เกาะศรีบอยา เกาะจำ เกาะปู 3-372 กรมทางหลวงชนบท จ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 3.3.4-4 พื้นที่สำรวจสัตว์ทะเลหายากบริเวณเกาะลันตาและหมู่เกาะใกล้เคียง 3-375 3.3.4-5 การสำรวจโดยใช้เรือหางยาว 3-376 3.3.4-6 แผนที่แสดงการสำรวจการแพร่กระจายสัตว์ทะเลหายาก (ครั้งที่ 1) 3-377 3.3.4-7 ลักษณะครีบหลังของโลมาหลังโหนก บริเวณเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-378 3.3.4-8 โลมาปากขวด (Tursiops aduncus) 3-378 3.3.4-9 โลมาหลังโหนก (Sousa chinensis) 3-378 3.3.4-10 แผนที่แสดงการพบเห็นสัตว์ทะเลหายากด้วยวิธีการสัมภาษณ์ชาวประมง บริเวณเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ข้อมูลวันที่ 5-9 พฤศจิกายน 2563 (ครั้งที่ 1) 3-379 3.3.4-11 แผนที่แสดงการสำรวจการแพร่กระจายสัตว์ทะเลหายาก (ครั้งที่ 2) 3-382 3.3.4-12 พื้นที่จุดแสดงการเกยตื้นสัตว์ทะเลหายากบริเวณพืน ้ ที่เกาะลันตาและหมู่เกาะใกล้เคียง จังหวัดกระบี่ ปี 2560-2564 3-383 3.3.4-13 แผนที่พน ื้ ที่ศักยภาพเป็นแหล่งหญ้าทะเล จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2563 3-384 3.3.4-14 ตำแหน่งที่พบนากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspicillata) 3-386 3.4.1-1 การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการระยะ 500 เมตร 3-388 3.4.1-2 การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพืน ้ ที่เกาะลันตา พ.ศ. 2552 3-390 3.4.1-3 การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพืน ้ ที่เกาะลันตา พ.ศ. 2555 3-391 3.4.1-4 การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพืน ้ ที่เกาะลันตา พ.ศ. 2561 3-392 3.4.1-5 แผนผังกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จำแนกประเภทท้ายกฎกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 3-393 3.4.1-6 พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2559) 3-397 3.4.2-1 แผนที่แสดงปริมาณจราจรบนทางหลวงแผ่นดินในพื้นที่ศึกษา พ.ศ. 2562 3-404 3.4.2-2 แผนที่แสดงปริมาณรถขนาดใหญ่บนทางหลวงแผ่นดินในพืน ึ ษา พ.ศ. 2562 ้ ที่ศก 3-405 3.4.2-3 โครงข่ายคมนาคมขนส่งในพื้นทีโ ่ ครงการ 3-409 3.4.2-4 การเดินทางระหว่างบ้านหัวหิน-เกาะลันตาน้อย 3-411 3.4.2-5 ตำแหน่งสำรวจปริมาณจราจร 3-413 3.4.2-6 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 (วันทำงาน) เวลา 07.00-19.00 น. 3-417 3.4.2-7 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563 (วันหยุด) เวลา 07.00-19.00 น. 3-418 3.4.2-8 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) ระหว่างวันทำงานและวันหยุด 3-418 3.4.2-9 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 (วันทำงาน) เวลา 07.00-19.00 น. 3-419 กรมทางหลวงชนบท ฉ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 3.4.2-10 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563 (วันหยุด) เวลา 07.00-19.00 น. 3-419 3.4.2-11 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) ระหว่างวันทำงานและวันหยุด 3-420 3.4.2-12 ประเภทของยวดยานที่ใช้ในการเดินทาง 3-421 3.4.2-13 วัตถุประสงค์ของการเดินทาง 3-421 3.4.2-14 ระดับรายได้ของผู้ตอบแบบสำรวจ 3-421 3.4.2-15 จำนวนผู้โดยสารบนรถ 3-422 3.4.2-16 ประเภทสินค้า (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) 3-423 3.4.2-17 ปริมาณสินค้าทีบ ่ รรทุก (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) 3-423 3.4.2-18 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า 3-425 3.4.2-19 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงนอกเวลาเร่งด่วน 3-426 3.4.2-20 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น 3-427 3.4.2-21 แหล่งวัสดุก่อสร้างและเส้นทางขนส่ง 3-431 3.4.2-22 ติดตั้งปลอกเหล็กถาวรเสาเข็มเจาะ 3-432 3.4.2-23 กิจกรรมการขุดเจาะดิน-หินภายในปลอกเหล็กถาวรในทะเล 3-432 3.4.2-24 เรือท้องแบนสำหรับบรรทุกดินและวัสดุจากการเจาะเสาเข็มในทะเล 3-433 3.4.2-25 ท่าเรือขนดินจากการเจาะเสาเข็มในทะเลฝั่งเกาะกลาง และฝั่งเกาะลันตาน้อย 3-434 3.4.2-26 ตำแหน่งที่ทงิ้ ดินของโครงการ พืน ้ ที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะกลาง 3-435 3.4.2-27 สภาพพื้นที่บริเวณที่ทง ิ้ ดินของโครงการ อบต.เกาะกลาง 3-436 3.4.2-28 ตำแหน่งที่ทง ิ้ ดินของโครงการ พืน ้ ที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะลันตาน้อย 3-437 3.4.2-29 สภาพพื้นที่บริเวณที่ทง ิ้ ดินของโครงการ อบต.เกาะลันตาน้อย 3-438 3.4.2-30 ผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อยกับพืน ่ ริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ ้ ทีบ อบต.เกาะลันตาน้อย 3-439 3.4.2-31 สภาพปัจจุบน ั ของพื้นทีบ ่ ริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต. เกาะลันตาน้อย 3-440 3.4.3-1 ทิศทางการระบายน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-442 3.4.3-2 รูปตัดตามขวางของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาด 3-443 3.4.3-3 รูปตัดตามยาวของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาด 3-443 3.4.3-4 ผังแสดงระบบระบายน้ำของโครงการ 3-444 3.4.4-1 เสาไฟฟ้าขนาด 69kV และแรงต่ำ บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 3-445 3.4.4-2 เสาไฟฟ้าขนาด 22kV และแรงต่ำ บนทางหลวงชนบท กบ.6020 3-446 3.4.4-3 เสาไฟฟ้าขนาด 22kV และแรงต่ำ บนทางหลวงชนบท กบ.6019 และ กบ.5035 3-446 3.4.4-4 (1) ระบบสายไฟฟ้าอากาศ ขนาด 33 KV. ในทะเลบริเวณคลองช่องลาด 3-447 3.4.4-5 ตำแหน่งเสาตอม่อสะพานโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-448 กรมทางหลวงชนบท ช รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 3.4.4-6 บริเวณท่าเทียบเรือบ้านหัวหิน 3-449 3.4.4-7 แนวสายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ตำบลเกาะกลาง ผ่านแนวเกาะปลิง ในคลองช่องลาด 3-449 3.4.4-8 แนวท่อใต้น้ำสายไฟฟ้า33 kV การไฟฟ้าส่วนภูมผ ิ ่านเกาะปลิงในคลองช่องลาด 3-451 3.4.4-9 แนวท่อสายสื่อสารในบริเวณเกาะลันตาน้อย 3-451 3.4.4-10 ผังตำแหน่งรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคในพืน ้ ที่ดำเนินโครงการ 3-452 3.4.4-11 ผู้เข้าประชุมหารือระบบสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้อง 3-454 3.4.4-12 การประชุมหารือทางโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ 3-455 3.4.4-13 การประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) 3-455 3.5.1-1 โครงสร้างระบบเศรษฐกิจจังหวัดกระบี่ ราคาตลาด 3-457 3.5.1-2 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกระบี่ 3-458 3.5.1-3 สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกระบี่ 3-458 3.5.1-4 พื้นที่ศึกษาด้านเศรษฐกิจ-สังคมครอบคลุมพื้นที่ 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลศาลาด่าน ตำบลเกาะกลาง และตำบลคลองยาง 3-469 3.5.1-5 ตำแหน่งผูน ้ ำชุมชนบริเวณพื้นทีศ่ ึกษา 3-471 3.5.1-6 ตำแหน่งครัวเรือนในบริเวณพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ 3-473 3.5.1-7 ตำแหน่งพื้นที่อ่อนไหวบริเวณพืน ้ ที่อำเภอเกาะลันตา 3-474 3.5.1-8 ตำแหน่งผูไ ้ ด้รับผลกระทบด้านการเวนคืนที่ดินและทรัพย์สิน 3-479 3.5.1-9 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นผู้นำชุมชนในพืน ้ ที่โครงการ 3-481 3.5.1-10 การรับทราบข่าวสารโครงการของผู้นำชุมชน 3-484 3.5.1-11 ความคิดเห็นต่อโครงการของผู้นำชุมชน ในเรื่องผลดีและผลประโยชน์ของโครงการ 3-485 3.5.1-12 ความคิดเห็นต่อโครงการของผู้นำชุมชน ในเรื่องผลเสียและผลกระทบโดยรวม 3-485 3.5.1-13 ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการของผู้นำชุมชน 3-486 3.5.1-14 ความคิดเห็นโดยรวมต่อโครงการ ของผู้นำชุมชน 3-486 3.5.1-15 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นกลุ่มครัวเรือนในพื้นที่โครงการ 3-491 3.5.1-16 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นเจ้าของบ้านร้าง 3-492 3.5.1-17 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นเจ้าของบ้านที่ไม่มผ ี ู้พักอยู่อาศัย 3-493 3.5.1-18 วัตถุประสงค์หลักในการเดินทางข้ามเกาะลันตา ของครัวเรือน 3-497 3.5.1-19 ปัญหาและอุปสรรคของท่านในการเดินทางข้ามเกาะ 3-497 3.5.1-20 การทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการของครัวเรือน 3-498 3.5.1-21 การประชาสัมพันธ์และชี้แจงข้อมูลข่าวสารโครงการเพิ่มเติม 3-498 3.5.1-22 ความคิดเห็นต่อโครงการของครัวเรือน ในเรื่องผลดีและผลประโยชน์ของโครงการ 3-499 3.5.1-23 ความคิดเห็นต่อโครงการของครัวเรือน ในเรื่องผลเสียและผลกระทบโดยรวม 3-499 3.5.1-24 ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการของครัวเรือน 3-500 3.5.1-25 ความคิดเห็นโดยรวมต่อโครงการของครัวเรือน 3-500 3.5.1-26 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นกลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม 3-503 กรมทางหลวงชนบท ซ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 3.5.1-27 การรับทราบข้อมูลข่าวสารของโครงการ กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม 3-505 3.5.1-28 การประชาสัมพัน์และการชี้แจงข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติม กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม 3-505 3.5.1-29 ผลดี/ผลประโยชน์โดยรวม กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิง ่ แวดล้อม 3-506 3.5.1-30 ผลเสีย/ผลกระทบโดยรวม กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิง ่ แวดล้อม 3-506 3.5.1-31 ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิง ่ แวดล้อม 3-507 3.5.1-32 ความคิดเห็นโดยรวมต่อโครงการ กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม 3-507 3.5.1-33 การสำรวจความคิดเห็นผูไ ้ ด้รับผลกระทบด้านการเวนคืนที่ดน ิ 3-513 3.5.1-34 หนังสือแสดงความประสงค์ เรื่องการอุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการ เข้าไปดำเนินการเพื่อให้มีประโยชน์ร่วมกัน 3-514 3.5.1-35 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นกลุ่มสถานประกอบการ 3-518 3.5.1-36 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นผู้ที่ได้รบ ั ผลกระทบด้านเสียงในระยะก่อสร้าง 3-520 3.5.1-37 บรรยาการการประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดกระบี่ 3-520 3.5.1-38 บรรยาการการประชุมหารือการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม 3-521 3.5.1-39 การประชุมเพื่อชี้แจงพิจารณาจัดทำประชาคมเรื่องการใช้นำ ้ ประปา ของการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ในพื้นทีต ่ ำบลเกาะลันตาใหญ่ 3-522 3.5.1-40 บรรยากาศการประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สำนักงานใหญ่ 3-523 3.5.1-41 บรรยากาศการประชุมเข้าหารือกับโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ 3-524 3.5.1-42 โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ ตั้งอยู่ที่ตำบลไสไทย อ.เมือง จ.กระบี่ 3-527 3.5.1-43 โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ ตั้งอยู่ที่ตำบลไสไทย อ.เมือง จ.กระบี่ 3-527 3.5.2-1 ผู้ถูกเวนคืนที่ดินและทรัพย์สินอันเนื่องจากการพัฒนาโครงการ 3-528 3.5.2-2 แปลงกรรมสิทธิ์ที่ดน ิ ที่ถูกเขตทาง 3-529 3.5.2-3 ผังจัดกรรมสิทธิ์ของโครงการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-530 3.5.5-1 บ่อขยะเทศบาลตำบลเกาะลันตาใหญ่ 3-540 3.5.5-2 บ่อขยะองค์การบริหารส่วนตำบลศาลาด่าน 3-541 3.5.5-3 โครงการชลประทานขนาดกลางในจังหวัดกระบี่ 3-552 3.5.5-4 แผนงานโครงการขนาดกลางระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ 3-555 3.5.5-5 การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบล เกาะลันตาน้อย เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2563 3-560 3.5.5-6 การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม เข้าร่วมประชุมประชาคมหมู่บ้าน พื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2563 3-560 3.5.6-1 การเกิดอุบัติเหตุขณะเดินทางข้ามฝั่งโดยใช้แพขนานยนต์ 3-565 3.5.7-1 หนังสือขอตรวจสอบแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีในพืน ้ ที่ศึกษาโครงการ 3-579 3.5.7-2 บริเวณที่ตั้งโครงการฝัง่ บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา 3-584 3.5.7-3 การสอบถามสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ 3-584 กรมทางหลวงชนบท ฌ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 3.5.7-4 มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ 3-585 3.5.7-5 การสำรวจบริเวณที่ตง ั้ โครงการฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา 3-585 3.5.7-6 มัสยิดบ้านทุง ่ โต๊ะหยุม 3-586 3.5.7-7 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 3-587 3.5.7-8 หนังสือขอตรวจสอบแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีในพืน ้ ที่ศึกษาโครงการ 3-588 3.5.7-9 หนังสือขอตรวจสอบแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีใต้นำ ้ ในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-589 3.5.8-1 สภาพปัจจุบน ั บริเวณพื้นที่โครงการ 3-594 4.4.1-1 เสาเข็มเจาะแบบ Bored Pile สะพานคานขึง (Extradosed Bridge) 4-8 4.4.1-2 เสาเข็มเจาะแบบ Bored Pile สะพานคานยื่น (Balanced Cantilever Bridge) 4-9 4.4.2-1 ขั้นตอนการสำรวจความเสียหายขั้นต้นของสะพานภายหลังการเกิดแผ่นดินไหว 4-22 4.4.2-2 พื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิ ฝั่งตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา คือ ท่าเรือบ้านหัวหิน (ซ้ายมือของภาพ) และท่าเรือพิมาลัย ซึ่งเป็นท่าเรือเอกชน (ขวามือของภาพ) 4-25 4.4.2-3 สภาพพื้นที่ปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ ฝั่งตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา คือ พื้นที่เชิงเขาที่อยู่ห่างจากท่าเรือบ้านหัวหิน ไปตาม ทล.4206 ซึ่งมีระยะทาง ในการอพยพเพียง 200 เมตร 4-26 4.4.2-4 พื้นที่โครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย ซึ่งไม่มีชุมชนในพื้นที่และมีพื้นที่เสี่ยงสึนามิ อยู่บริเวณป่าชายเลนริมเกาะลันตาน้อย 4-27 4.4.2-5 พื้นที่อพยพหนีภัยสึนามิ กรณีมีโครงการ 4-28 4.4.2-6 ตัวอย่างป้ายเตือนในเขตพื้นที่เสี่ยงภัยคลื่นยักษ์สึนามิ 4-29 4.4.2-7 ตัวอย่างป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์สึนามิ 4-29 4.4.2-8 ป้ายแสดงตำแหน่งพื้นที่ปลอดภัย 4-30 4.4.2-9 กลไกการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย 4-31 4.4.2-10 โครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น อปท. เกาะกลาง, เกาะลันตาน้อย, เกาะลันตาใหญ่ 4-35 4.4.2-11 เอกสารประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับภัยสึนามิ (ที่มา : กรมป้องกันและบรรเทาสาธาณภัย) 4-37 4.4.3-1 ระบบบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตคอนกรีต 4-41 4.4.3-2 แนวทางการจัดการขยะมูลฝอย 4-43 4.4.3-3 ตำแหน่งติดตั้งถังขยะบริเวณพื้นที่ว่างของลานจอดรถใกล้กับทางขึ้น-ลงไปจุดชมวิวโครงการ 4-43 4.4.4-1 ขั้นตอนและวิธีการศึกษาแบบจำลอง AQUASEA 4-46 4.4.4-2 แผนที่ร่องน้ำเดินเรือ ระวาง 308 ของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ 4-49 4.4.4-3 แผนที่แสดงขอบเขตของการศึกษาวิเคราะห์ด้วยแบบจำลอง 4-50 4.4.4-4 แผนที่แสดงความลึกท้องทะเลในพื้นที่ 1 (AREA 1) 4-51 4.4.4-5 แผนที่แสดงความลึกท้องทะเลในพื้นที่ 2 (AREA 2) 4-52 4.4.4-6 ตำแหน่งจุดติดตั้งเครื่องมือสำรวจความสูงคลื่น ความเร็วกระแสน้ำ และระดับน้ำ 4-53 4.4.4-7 ภาพแสดงการตรวจวัดกระแสน้ำและค่าระดับน้ำของโครงการ 4-54 กรมทางหลวงชนบท ญ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 4.4.4-8 ผลการเปรียบเทียบระดับน้ำจากการสำรวจจากแบบจำลอง 4-57 4.4.4-9 ผลการเปรียบเทียบความเร็วกระแสน้ำจากการสำรวจจากแบบจำลอง 4-57 4.4.4-10 ผลการเปรียบเทียบทิศทางการไหลของกระแสน้ำจากการสำรวจจากแบบจำลอง 4-57 4.4.4-11 ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำในช่วงน้ำขึ้นในสภาพไม่มีโครงการ 4-58 4.4.4-12 ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำในช่วงน้ำลงในสภาพไม่มีโครงการ 4-58 4.4.4-13 การไหลเวียนของกระแสน้ำในพื้นที่โครงการในชั่วโมงต่าง ๆ ในสภาพไม่มีโครงการ 4-59 4.4.4-14 แบบโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) 4-65 4.4.4-15 ตำแหน่งหลุมเจาะสำรวจชั้นดิน BH-3 ถึง BH-6 4-66 4.4.4-16 ตัวอย่างการขุดเจาะสำรวจชั้นดินและหินหลุมเจาะ 4-66 4.4.4-17 ตัวอย่างผลการเก็บตัวอย่างดินในกระบอกเจาะดิน 4-67 4.4.4-18 ผลการวิเคราะห์หาส่วนขนาดคละของเม็ดดินจากหลุมเจาะ BH3 ถึง BH6 4-68 4.4.4-19 แผนที่แสดงตำแหน่งตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำ ของบริเวณท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) 4-69 4.4.4-20 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง บริเวณด้านเหนือน้ำของสะพาน (KE1-KE3) 4-71 4.4.4-21 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง บริเวณด้านท้ายน้ำของสะพาน (KW1-KW3) 4-72 4.4.4-22 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง บริเวณด้านเหนือน้ำ ของสะพาน (KE1-KE3) 4-74 4.4.4-23 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำสภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง บริเวณด้านท้ายน้ำของสะพาน (KW1-KW3) 4-75 4.4.4-24 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย บริเวณด้านเหนือน้ำของสะพาน (LE1-LE3) 4-77 4.4.4-25 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย บริเวณด้านท้ายน้ำของสะพาน (LW1-LW3) 4-78 4.4.4-26 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย บริเวณด้านเหนือน้ำของสะพาน (LE1-LE3) 4-79 4.4.4-27 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำสภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย บริเวณด้านท้ายน้ำของสะพาน (LW1-LW3) 4-80 4.4.4-28 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณปลายสะพานท่าเรือชั่วคราวในช่วงน้ำขึ้น 4-82 กรมทางหลวงชนบท ฎ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 4.4.4-29 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณปลายสะพานท่าเทียบเรือชั่วคราว ในช่วงน้ำลง 4-83 4.4.4-30 ผลการจำลองระยะเวลาในการตกตะกอนดินทั้งหมดหลังจากหยุดก่อสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราวจนสู่สภาวะปกติภายใน 20 นาที 4-83 4.4.4-31 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณปลายท่าเทียบเรือชั่วคราวในช่วงน้ำขึ้น 4-85 4.4.4-32 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณปลายท่าเทียบเรือชั่วคราวในช่วงน้ำลง 4-85 4.4.4-33 ผลการจำลองระยะเวลาในการตกดินทั้งหมดหลังจากหยุดก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว จนสู่สภาวะปกติภายใน 20 นาที 4-86 4.4.4-34 ลักษณะโครงสร้างของสร้างสะพาน F1 Type 1 4-87 4.4.4-35 ลักษณะโครงสร้างของสร้างสะพาน F2 Type 2 4-87 4.4.4-36 ลักษณะโครงสร้างของสร้างสะพาน F3 Type 3 4-87 4.4.4-37 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณกลางสะพานในช่วงน้ำขึ้น 4-91 4.4.4-38 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณกลางสะพานในช่วงน้ำลง 4-92 4.4.4-39 ผลการจำลองระยะเวลาในการตกตะกอนดินทั้งหมดหลังจากหลุดก่อสร้างตอม่อสะพาน บริเวณริมฝั่งตำบลเกาะกลาง จนสู่สภาวะปกติภายใน 20 นาที 4-93 4.4.4-40 ผลการจำลองระยะเวลาในการตกดินทั้งหมดหลังจากหลุดก่อสร้างตอม่อสะพาน บริเวณริมฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย จนสู่สภาวะปกติภายใน 20 นาที 4-95 4.4.4-41 แผนที่แสดงตำแหน่งตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำของบริเวณตอม่อสะพาน 4-98 4.4.4-42 แสดงการไหลเวียนของกระแสน้ำในพื้นที่โครงการในชั่วโมงต่าง ๆ ในสภาพมีโครงการ 4-99 4.4.4-43 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน (F1E1-F1E3) 4-102 4.4.4-44 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F1W1-F1W3) 4-10 4.4.4-45 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน(F2E1-F2E3) 4-105 4.4.4-46 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F2W1-F2W3) 4-106 4.4.4-47 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน (F3E1-F3E3) 4-108 4.4.4-48 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F3W1-F3W3) 4-109 4.4.4-49 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการ บริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน (F1E1-F1E3) 4-111 4.4.4-50 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการบริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F1W1-F1W3) 4-112 กรมทางหลวงชนบท ฏ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 4.4.4-51 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการบริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน (F2E1-F2E3) 4-114 4.4.4-52 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการบริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F2W1-F2W3) 4-115 4.4.4-53 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการบริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน (F3E1-F3E3) 4-117 4.4.4-54 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการบริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F3W1-F3W3) 4-118 4.4.4-55 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งจังหวัดกระบี่ 4-120 4.4.4-56 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตา 4-120 4.4.4-57 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณตอม่อสะพานในแต่ละแบบ 4-121 4.4.4-58 คุณสมบัติของม่านดักตะกอนที่ใช้ในโครงการ 4-122 4.4.4-59 วิธีการติดตั้งม่านดักตะกอนที่ใช้ในโครงการ 4-122 4.4.6-1 ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงและแหล่งกำเนิดเสียงและความสูง ของกำแพงกันเสียงในรูปแบบการเลี้ยวเบนแบบของคลื่นทรงกลม 4-163 4.4.6-2 ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงและแหล่งกำเนิดเสียงและความสูง ของกำแพงกันเสียงในรูปแบบสำหรับการคำนวณค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด 4-164 4.4.6-3 ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของแนวกำแพงกับระยะทางตั้งฉาก และจุดพื้นที่รับเสียง (Receiver) 4-165 4.4.6-4 การติดตั้งกำแพงกันเสียงชั่วคราวบริเวณหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) 4-167 4.4.6-5 การติดตั้งกำแพงกันเสียงชั่วคราวบริเวณกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 4-167 4.4.6-6 ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของกำแพงคู่ กับแหล่งกำเนิดเสียง และความสูง ของกำแพงกันเสียงในรูปแบบสำหรับการคำนวณค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด 4-168 4.5.1.3-1 ตำแหน่งแนวปะการังบริเวณรอบเกาะปลิงใกล้กับแนวเส้นทางโครงการ 4-199 4.5.1.3-2 การแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณกลางสะพาน 4-201 4.5.1.3-3 ตำแหน่งหญ้าทะเลที่อยู่ใกล้กับแนวเส้นทางโครงการ 4-203 4.6.1-1 บรรยากาศการประชุมเข้าหารือกับโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ 4-224 4.6.1-2 ความสัมพันธ์ของเป้าหมายหลัก 3 ประการของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน 4-238 4.6.2-1 ท่าจอดเรือกลุ่มชุมชนประมงท้องถิ่นบ้านหัวหิน 4-248 4.6.2-2 เส้นทางเดินเรือหัวโทงและเรือ Speed Boat ในพื้นที่โครงการ 4-250 4.6.2-3 การประชุมหารือกับกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน วันจันทร์ที่ 1 มีนาคม 2564 เวลา 14.00 น.-16.00 น. ณ มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ 4-250 4.6.2-4 การจัดหลักผูกเรือชั่วคราวบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน 4-253 4.6.3-1 การแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณกลางสะพาน 4-257 4.6.4-1 แบบ As-Built Drawing มาจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกระบี่ 4-260 กรมทางหลวงชนบท ฐ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 4.6.4-2 การติดตั้งระบบไฟฟ้าของ กฟภ. ใช้วิธีการติดตั้งที่ใต้ปีกสะพาน 4-265 4.6.4-3 การติดตั้งท่อประปา โดยใช้ประโยชน์จากพื้นที่ว่างของ Box Segment ของโครงสร้างสะพาน 4-265 4.6.4-4 การติดตั้งท่อประปา ภายในโครงสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) 4-266 4.7.1-1 อาชีพหลักของประชากรในพื้นที่เกาะลันตา 4-267 4.7.5-1 ตัวอย่างถังขยะแยกประเภท 4-300 4.7.5-2 แนวทางการจัดการขยะมูลฝอย 4-303 4.7.5-3 ตำแหน่งติดตั้งถังขยะบริเวณพื้นที่ว่างของลานจอดรถใกล้กับทางขึ้น-ลงไปจุดชมวิวโครงการ 4-303 4.7.7-1 ตำแหน่งกุโบร์ทง ุ่ โต๊ะหยุมและมัสยิดบ้านทุง่ โต๊ะหยุม 4-307 4.7.8-1 ภาพจำลองโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 4-316 4.7.8-2 แหล่งท่องเที่ยวในเกาะลันตา 4-318 4.7.8-3 ความสัมพันธ์ของเป้าหมายหลัก 3 ประการของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน 4-324 5.2.1-1 เรือท้องแบนสำหรับบรรทุกดินและวัสดุจากการเจาะเสาเข็มในทะเล 5-3 5.2.1-2 ตำแหน่งที่ทง ิ้ ดินของโครงการ พืน ้ ที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะกลาง 5-4 5.2.1-3 ตำแหน่งที่ทง ิ้ ดินของโครงการ พืน ้ ที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะลันตาน้อย 5-5 5.2.1-4 ตัวอย่างถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ-กรองไร้อากาศ 5-9 5.2.1-5 ตัวอย่างถังดักไขมัน 5-9 5.2.1-6 ตัวอย่างการทำพื้นคอนกรีตแบบยกขอบโดยรอบบริเวณที่อาจเกิดการรั่วไหล ของน้ำมันและไขมัน 5-10 5.2.1-7 ตัวอย่างถังขยะแยกประเภทที่มฝ ี าปิดมิดชิด 5-10 5.2.1-8 ตัวอย่างสุขาเคลื่อนที่ 5-11 5.2.1-9 ตัวอย่างบ่อรวมน้ำหรือบ่อพักน้ำ 5-12 5.2.1-10 ตัวอย่างแบบรายละเอียดรั้วดักตะกอนแบบ Temporary Silt Fence 5-13 5.2.1-11 ตำแหน่งติดตั้งรั้วดักตะกอน Temporary Silt Fence บริเวณฝัง ่ ตำบลเกาะกลาง 5-14 5.2.1-12 ตำแหน่งติดตั้งรั้วดักตะกอน Temporary Silt Fence บริเวณฝัง ่ ตำบลเกาะลันตาน้อย 5-15 5.2.1-13 กระบะป้องกันการล้น (Extended Casing) 5-16 5.2.1-14 แบบหล่อคอนกรีตชนิดกันน้ำและป้องกันการรั่วของน้ำปูน ออกจากแบบหล่อลงทะเล 5-17 5.2.1-15 ตัวอย่างการติดตั้งรั้วตาข่ายป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากทีส ่ ูง 5-17 5.2.1-16 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง 5-19 5.2.1-17 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตาน้อย 5-19 5.2.1-18 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณตอม่อสะพานในแต่ละแบบ 5-21 5.2.1-19 คุณสมบัติของม่านดักตะกอน (Silt Curtain) ที่ใช้ในโครงการ 5-22 5.2.1-20 วิธีการติดตั้งม่านดักตะกอน (Silt Curtain) ที่ใช้ในโครงการ 5-22 5.2.1-21 ตัวอย่างแบบรายละเอียดของม่านดักตะกอนในน้ำ (Silt Curtain) 5-22 กรมทางหลวงชนบท ฑ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 5.2.1-22 การฉีดพรมน้ำเพื่อผลกระทบด้านการฟุ้งกระจายของปริมาณฝุน ่ ละออง 5-24 5.2.1-23 การทำความสะอาดล้อยานพาหนะด้วยอุปกรณ์ฉีดความดันสูง 5-25 5.2.1-24 การใช้ผ้าใบปิดคลุมวัสดุก่อสร้างขนส่งด้วยรถบรรทุก 5-25 5.2.1-25 แบบรายละเอียดกำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีท 5-27 5.2.1-26 ตำแหน่งติดตั้งกำแพงกันเสียงชัว ่ คราวชนิดเมทัลชีทบริเวณหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ระยะก่อสร้าง 5-28 5.2.1-27 ตำแหน่งติดตั้งกำแพงกันเสียงชัว ่ โต๊ะหยุม (กม.2+012) ่ คราวชนิดเมทัลชีทบริเวณกุโบร์บ้านทุง ระยะก่อสร้าง 5-29 5.2.1-28 แบบรายละเอียดกำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใส 5-30 5.2.1-29 ตำแหน่งติดตั้งกำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใสบริเวณกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม (กม.2+012) ระยะดำเนินการ 5-31 5.2.2-1 กระบะป้องกันการล้น (Extended Casing) 5-36 5.2.2-2 ตัวอย่างการติดป้ายห้ามให้อาหารลิง (DO NOT FEED THE MONKEYS) 5-38 5.2.2-3 ตัวอย่างป้ายเตือนให้ลดความเร็ว 5-38 5.2.2-4 ตัวอย่างถังขยะกันลิงรื้อค้น 5-39 5.2.2-5 แผนการติดตามผลกระทบต่อโลมา 5-43 5.2.3-1 ตัวอย่างการติดตั้งรั้วตาข่ายป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากทีส ่ ูง 5-45 5.2.3-2 ป้ายจราจรในช่วงก่อสร้างโครงการ 5-47 5.2.3-3 ตัวอย่างการจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ 5-48 5.2.3-4 ติดตั้งทุ่นไฟกระพริบบริเวณพื้นที่ก่อสร้างตอม่อสะพานและท่าเทียบเรือชั่วคราว 5-53 5.2.3-5 การจัดหลักผูกเรือชั่วคราวบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน 5-55 5.2.3-6 การติดตั้งแถบสะท้อนแสงเพื่อแสดงตำแหน่งเสาตอม่อและการติดตั้ง Fender โดยรอบเสาตอม่อสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) 5-57 5.2.3-7 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างใต้ท้องสะพานในบริเวณร่องน้ำเดินเรือ และบรรทัดน้ำที่เสาตอม่อสะพาน 5-57 5.2.4-1 ขั้นตอนการตรวจสอบความปลอดภัยในการก่อสร้าง 5-62 5.2.4-2 ผังการดำเนินงานของสายด่วน 1146 ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมภ ิ าค 5-63 5.2.4-3 แนวทางการปฏิบัติการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์ของศูนย์ประสานการแก้ไขตามข้อร้องเรียน ของประชาชน ของกรมทางหลวงชนบท (สปร.ทช.) 5-64 6.3.2-1 สถานีติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่โครงการ 6-13 6.3.3-1 สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในบริเวณพื้นทีโ ่ ครงการ 6-16 6.3.4-1 สถานีติดตามตรวจสอบระดับเสียงในพื้นที่ศึกษาโครงการ 6-19 6.3.5-1 สถานีติดตามตรวจสอบความสัน ่ สะเทือนในพื้นที่ศึกษาโครงการ 6-22 6.4.1-1 สถานีสำรวจนิเวศวิทยาทางน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ 6-25 7.2.1-1 ตัวอย่างถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ-กรองไร้อากาศ 7-3 กรมทางหลวงชนบท ฒ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 7.2.1-2 ตัวอย่างถังดักไขมัน 7-3 7.2.1-3 ตัวอย่างการทำพื้นคอนกรีตแบบยกขอบโดยรอบบริเวณที่อาจเกิดการรั่วไหล ของน้ำมันและไขมัน 7-4 7.2.1-4 ตัวอย่างถังขยะแยกประเภทที่มฝ ี าปิดมิดชิด 7-4 7.2.1-5 ตัวอย่างสุขาเคลื่อนที่ 7-4 7.2.1-6 ตัวอย่างบ่อรวมน้ำหรือบ่อพักน้ำ 7-5 7.2.2-1 ตำแหน่งเสาตอม่อสะพานโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 7-9 7.2.2-2 ตัวอย่างแบบรายละเอียดรั้วดักตะกอนแบบ Temporary Silt Fence 7-11 7.2.2-3 ตำแหน่งติดตั้งรั้วดักตะกอน Temporary Silt Fence ฝั่งตำบลเกาะกลาง 7-12 7.2.2-4 ตำแหน่งติดตั้งรั้วดักตะกอน Temporary Silt Fence ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย 7-13 7.2.2-5 กระบะป้องกันการล้น (Extended Casing) 7-14 7.2.2-6 แบบหล่อคอนกรีตชนิดกันน้ำและป้องกันการรั่วของน้ำปูน ออกจากแบบหล่อลงทะเล 7-14 7.2.2-7 ตัวอย่างการติดตั้งรั้วตาข่ายป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากทีส ่ ูง 7-15 7.2.2-8 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง 7-18 7.2.2-9 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตาน้อย 7-18 7.2.2-10 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณตอม่อสะพานในแต่ละแบบ 7-19 7.2.2-11 คุณสมบัติของม่านดักตะกอน (Silt Curtain) ที่ใช้ในโครงการ 7-20 7.2.2-12 วิธีการติดตั้งม่านดักตะกอน (Silt Curtain) ที่ใช้ในโครงการ 7-20 7.2.2-13 ตัวอย่างแบบรายละเอียดของม่านดักตะกอนในน้ำ (Silt Curtain) 7-21 7.2.3-1 แบบรายละเอียดกำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีท 7-24 7.2.3-2 ตำแหน่งติดตั้งกำแพงกันเสียงชัว ่ คราวชนิดเมทัลชีทบริเวณหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ระยะก่อสร้าง 7-25 7.2.3-3 ตำแหน่งติดตั้งกำแพงกันเสียงชัว ่ โต๊ะหยุม ่ คราวชนิดเมทัลชีทบริเวณกุโบร์บ้านทุง ระยะก่อสร้าง 7-26 7.2.3-4 แบบรายละเอียดกำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใส 7-27 7.2.3-5 ตำแหน่งติดตั้งกำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใสบริเวณกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ระยะดำเนินการ 7-28 7.2.4-1 ่ ชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี (2543) และพื้นทีป พื้นที่ปา ่ ่าสงวนแห่งชาติในพื้นทีโ่ ครงการ 7-31 7.2.6-1 ตัวอย่างป้ายเตือนในช่วงดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการ 7-41 7.2.6-2 การจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ 7-42 7.2.6-3 การจัดหลักผูกเรือชั่วคราวบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน 7-45 7.2.6-4 ติดตั้งทุ่นไฟกระพริบบริเวณพื้นที่ก่อสร้างตอม่อสะพานและท่าเทียบเรือชั่วคราว 7-45 7.2.6-5 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างใต้ท้องสะพานในบริเวณร่องน้ำเดินเรือ และบรรทัดน้ำที่เสาตอม่อสะพาน 7-46 กรมทางหลวงชนบท ณ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 7.2.6-6 การติดตั้งแถบสะท้อนแสงเพื่อแสดงตำแหน่งเสาตอม่อและการติดตั้ง Fender โดยรอบเสาตอม่อสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) 7-46 7.2.7-1 พื้นที่ติดตามผลกระทบโลมาบริเวณพื้นที่ก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา 7-48 7.2.8-1 ตัวอย่างป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 7-53 7.2.8-2 แนวทางการปฏิบัติการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์ของศูนย์ประสานการแก้ไขตามข้อร้องเรียน ของประชาชน ของกรมทางหลวงชนบท (สปร.ทช.) 7-54 8.3-1 ที่ตั้งโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 8-3 8.6-1 แผนการดำเนินงานด้านการมีสว ่ นร่วมของประชาชน 8-23 8.8.2-1 บรรยากาศการประชุมปฐมนิเทศโครงการ กลุ่มที่ 1 เวลา 09.00 – 12.30 น. 8-51 8.8.2-2 บรรยากาศการประชุมปฐมนิเทศโครงการ กลุ่มที่ 2 เวลา 13.30 – 16.30 น. 8-52 8.8.3-1 บรรยากาศการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 (วันที่ 19 กันยายน 2563 เวลา 08.30 – 12.00 น.)8-59 8.8.3-2 บรรยากาศการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 (วันที่ 20 กันยายน 2563 เวลา 08.30 – 12.00 น.)8-60 8.8.4-1 บรรยากาศการประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม วันที่ 21 ตุลาคม 2563 (เวลา 09.00 – 12.30 น.) ณ อาคารเอนกประสงค์ ทีว ่ ่าการอำเภอเกาะลันตา 8-68 8.8.4-2 บรรยากาศการประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) วันที่ 22 ตุลาคม 2563 (เวลา 08.30 – 12.00 น.) ณ อาคารโรงยิมเอนกประสงค์ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง จังหวัดกระบี่ 8-69 8.8.5-1 บรรยากาศการประชุม วันที่ 27 มกราคม 2564 เวลา 09.00-12.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่วา ่ การอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ 8-75 8.8.5-2 บรรยากาศการประชุม วันที่ 27 มกราคม 2564 เวลา 13.00-16.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่วา ่ การอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ 8-76 8.8.5-3 บรรยากาศการประชุม วันที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 09.00-12.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่วา ่ การอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ 8-77 8.8.5-4 บรรยากาศการประชุม วันที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 13.00-16.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่วา ่ การอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ 8-78 8.8.6-1 บรรยากาศการประชุม วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่วา ่ การอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ 8-84 8.8.7-1 ลงพื้นทีส ่ ัมภาษณ์กับหัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ปา ่ วันที่ 27 มกราคม 2564 8-88 8.8.7-2 แหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหาร 8-88 8.8.7-3 แหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหาร 8-88 8.8.8-1 ลงพื้นทีช ่ ี้แจงเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการให้ทางกลุ่มประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน วันจันทร์ที่ 1 มีนาคม 2564 เวลา 13.30 น. ณ อาคารอเนกประสงค์มัสยิด บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 8-89 กรมทางหลวงชนบท ด รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า 8.8.10-1 บรรยาการการประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดกระบี่ 8-97 8.8.10-2 บรรยาการการประชุมหารือการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม 8-98 8.8.10-3 การประชุมเพื่อชี้แจงพิจารณาจัดทำประชาคมเรื่องการใช้นำ ้ ประปา ของการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ในพื้นทีต ่ ำบลเกาะลันตาใหญ่ 8-99 8.8.10-4 บรรยากาศการประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สำนักงานใหญ่ 8-100 8.8.10-5 บรรยากาศการประชุมเข้าหารือกับโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ 8-100 8.8.10-6 โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ ตั้งอยู่ที่ตำบลไสไทย อ.เมือง จ.กระบี่ 8-104 8.8.10-7 การประชุมหารือกับกรมทางหลวง เมื่อวันศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ชั้น 6 ห้องประชุมสำนักสำรวจและออกแบบกรมทางหลวง 8-105 กรมทางหลวงชนบท ต รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 3.3.2-1 อนุกรมวิธานของสัตว์ป่าแต่ละกลุ่มที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการ 3-316 3.3.2-2 บัญชีรายชื่อสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการ จากการสำรวจภาคสนาม 3-317 3.3.2-3 บัญชีรายชื่อสัตว์เลื้อยคลานที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการฯ จากการสำรวจภาคสนาม 3-318 3.3.2-4 บัญชีรายชื่อนกที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการ จากการสำรวจภาคสนาม 3-320 3.3.2-5 บัญชีรายชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพืน ้ ที่โครงการ จากการสำรวจภาคสนาม 3-323 3.3.2-6 จำนวนชนิดตามระดับความชุกชุมของสัตว์ปา ่ แต่ละกลุ่มที่รวบรวมข้อมูลได้ บริเวณพื้นที่โครงการ 3-324 3.3.3-1 ต้นไม้ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ 3-336 3.3.3-2 รายการต้นไม้ที่อยู่ในพื้นที่ดำเนินการฝั่งตำบลเกาะกลาง 3-337 3.3.3-3 รายการต้นไม้ที่อยู่ในพื้นที่ดำเนินการฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย 3-338 3.3.3-4 ชื่อวงศ์ ชื่อสามัญ และชื่อวิทยาศาสตร์ของพรรณพืชที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการ 3-345 3.3.3-5 บัญชีรายชื่อชนิดพรรณพืชแบ่งตามสถานภาพเพื่อการอนุรักษ์ (เฉพาะต้นไม้ที่มีสถานภาพ) 3-347 3.3.3-6 รายละเอียดชนิดไม้ในแปลงศึกษาโครงสร้างของป่าไม้ในป่าบก 3-349 3.3.3-7 รายละเอียดชนิดไม้ในแปลงศึกษาโครงสร้างของป่าไม้ในเกาะปลิง 3-351 3.3.3-8 ชนิดไม้หวงห้ามที่พบในพื้นที่ดำเนินการและพืน ้ ที่ศึกษา 3-352 3.3.3-9 รายชื่อขนิดไม้ที่พบชนิดต้นไม้ยน ้ ที่ดำเนินการแบ่งตามขนาดต้นไม้ที่เป็นต้นไม้ใหญ่ ื ต้นในพืน (tree) ลูกไม้ (sapling) และกล้าไม้ (seedling) ที่พบในพืน ้ ที่ดำเนินการโครงการ 3-353 3.3.3-10 ค่าดัชนีความสำคัญของไม้ใหญ่ (IVI) ในพื้นที่ดำเนินการช่วง กม. 0+000 – กม.0+500 3-354 3.3.3-11 ค่าดัชนีความสำคัญของไม้ใหญ่ (IVI) ในพื้นที่ดำเนินการช่วง กม.1+958 – กม.2+240 3-354 3.3.3-12 ค่าดัชนีความสำคัญของไม้ใหญ่ (IVI) พื้นที่ดำเนินการ (เกาะลันตาน้อย) 3-355 3.3.3-13 จำนวนต้นไม้ที่พบในพืน ้ ที่ดำเนินการหัวสะพานบ้านหัวหิน เกาะปลิง และบริเวณปลาย สะพานด้านฝัง ่ เกาะลันตาน้อย แบ่งตามขนาดต้นไม้ใหญ่ ลูกไม้ และกล้าไม้ 3-356 3.3.3-14 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการ 3-356 3.3.3-15 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา 3-357 3.3.3-16 ปริมาตรไม้ที่พบในพืน ้ ที่ดำเนินการโครงการและพื้นที่ศึกษา 3-365 3.3.3-17 มูลค่าไม้ทพ ี่ บในปัจจุบันในพืน ่ ำเนินการของโครงการ ้ ทีด 3-365 3.3.3-18 มูลค่าไม้ในอนาคต (FV)ในกรณีที่ไม่มีการดำเนินโครงการฯ เปรียบเทียบกับมูลค่าไม้ ในปัจจุบน ั (PV) 3-366 3.3.4-1 ผลการสำรวจโลมาและพะยูนในพื้นที่เกาะลันตา 3-381 3.4.1-1 การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ ระยะ 500 เมตร 3-387 3.4.1-2 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพื้นที่เกาะลันตา พ.ศ. 2552-2561 3-389 กรมทางหลวงชนบท ถ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 3.4.2-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 3-400 3.4.2-2 อัตราค่าโดยสารแพขนานยนต์ท่าเรือหัวหิน-ท่าเรือคลองหมาก 3-410 3.4.2-3 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ณ จุดสำรวจ 3-416 3.4.2-4 ข้อมูลตารางจุดต้นทางและปลายทางของการเดินทางในพื้นที่ศึกษา 3-424 3.4.2-5 ผลการคาดการณ์ปริมาณจราจรกรณีมีโครงการของยานพาหนะแต่ละประเภท 3-428 3.4.2-6 จำนวนเที่ยวการขนส่งวัสดุก่อสร้างของโครงการ 3-429 3.4.2-7 แหล่งวัสดุก่อสร้างและเส้นทางขนส่ง 3-430 3.5.1-1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ตามราคาประจำปี จำแนกตามสาขาการผลิต ปี พ.ศ. 2560 – 2561 3-457 3.5.1-2 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกระบี่ ปี พ.ศ. 2554-2561 3-459 3.5.1-3 จำนวนและอัตราการขยายตัวของประชากรในพื้นที่ศึกษา 3-461 3.5.1-4 จำนวนและอัตราการขยายตัวของครัวเรือนในพื้นที่ศึกษา 3-462 3.5.1-5 จำนวนผู้มีงานทำ 3-463 3.5.1-6 รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน 3-464 3.5.1-7 จำนวนนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2562 3-464 3.5.1-8 จำนวนประชากรบริเวณพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ 3-464 3.5.1-9 รายได้บุคคลเฉลี่ยต่อปีของประชากรในพื้นที่โครงการ ปี 2562 3-466 3.5.1-10 รายจ่ายบุคคลเฉลี่ยต่อปีของประชากรในพื้นที่โครงการ ปี 2562 3-466 3.5.1-11 พื้นที่เป้าหมายการสำรวจสภาพเศรษฐกิจ-สังคม 3-468 3.5.1-12 กลุ่มผู้นำชุมชนในพื้นที่มากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ 3-472 3.5.1-13 พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่มากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ 3-475 3.5.1-14 สถานประกอบการในพื้นที่ศึกษา 3-478 3.5.1-15 สรุปจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ดำเนินการศึกษาด้านเศรษฐกิจ-สังคม โครงการสะพานเชื่อม เกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3-478 3.5.1-16 การเข้าร่วมกิจกรรมที่สำคัญของชุมชนของผู้นำชุมชน 3-483 3.5.1-17 ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้รับในปัจจุบันของผู้นำชุมชน 3-483 3.5.1-18 ความคิดเห็นต่อโครงการของผู้นำชุมชนในพื้นที่โครงการ 3-487 3.5.1-19 การดำเนินการสำรวจกลุ่มครัวเรือนในพื้นที่โครงการ 3-491 3.5.1-20 การเข้าร่วมกิจกรรมที่สำคัญของชุมชนของครัวเรือน 3-494 3.5.1-21 ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้รับในปัจจุบันของผู้นำชุมชน 3-495 3.5.1-22 ความคิดเห็นต่อโครงการของกลุ่มครัวเรือนในพื้นที่โครงการ 3-501 3.5.1-23 ความคิดเห็นต่อโครงการของพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่มากกว่าพื้นที่ศึกษา ระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ 3-508 3.5.1-24 ความคิดเห็นต่อโครงการของสถานประกอบการ 3-519 กรมทางหลวงชนบท ท รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 3.5.1-25 ประเภทโครงการหรือกิจการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 3-526 3.5.3-1 จำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ปี 2561-2563 3-531 3.5.3-2 สถิติการเจ็บป่วยของผูป ้ ่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ (21 กลุ่มโรค) รง.504 ในระหว่างปี พ.ศ. 2561 3-532 3.5.3-3 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ (21 กลุ่มโรค) รง.504 ในระหว่างปี พ.ศ. 2562 3-532 3.5.3-4 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ (21 กลุ่มโรค) รง.504 ในระหว่างปี พ.ศ. 2563 3-533 3.5.3-5 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุ (75 กลุ่มโรค) รง.505 ในระหว่างปี พ.ศ. 2561 3-533 3.5.3-6 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุ (75 กลุ่มโรค) รง.505 ในระหว่างปี พ.ศ. 2562 3-534 3.5.3-7 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุ (75 กลุ่มโรค) รง.505 ในระหว่างปี พ.ศ. 2563 3-534 3.5.3-8 จำนวนสถานบริการทางสาธารณสุขและทางการแพทย์ของรัฐ จำแนกรายอำเภอในพื้นที่ โครงการ 3-535 3.5.3-9 จำนวนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข จำแนกรายอำเภอที่แนวเส้นทาง โครงการพาดผ่าน 3-535 3.5.3-10 สัดส่วนจำนวนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขต่อประชากรจำแนกรายอำเภอ ที่แนวเส้นทางโครงการพาดผ่าน 3-535 3.5.5-1 ข้อมูลสถานที่กำจัดขยะในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการ 3-542 3.5.5-2 ปริมาณขยะตกค้างในบ่อขยะใกล้เคียงพื้นที่โครงการในปี พ.ศ. 2561 3-543 3.5.5-3 ปริมาณขยะของอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ในปี พ.ศ. 2560-2562 3-543 3.5.5-4 จำนวนประชากรจำแนกตามเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่อำเภอเกาะลันตาใหญ่ 3-545 3.5.5-5 จำนวนประชากรแฝงในพื้นที่จังหวัดกระบี่ 3-545 3.5.5-6 สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2560 – 2562 3-546 3.5.5-7 ปริมาณขยะในพื้นที่จังหวัดกระบี่ 3-547 3.5.5-8 ข้อมูลการผลิตน้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาคสาขากระบี่ 3-549 3.5.5-9 จำนวนประชากรและการคาดการณ์ในอนาคตจังหวัดกระบี่ 3-549 3.5.5-10 โครงการชลประทานขนาดกลางในจังหวัดกระบี่ 3-550 3.5.5-11 โครงการชลประทานที่มีอยู่ในปัจจุบัน จังหวัดกระบี่ 3-551 3.5.5-12 แผนงานโครงการขนาดกลาง ระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ 3-554 3.5.5-13 แผนงานโครงการขนาดเล็ก ระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ 3-556 3.5.5-14 จำนวนผู้ใช้น้ำเฉลี่ย ปริมาณความต้องการใช้น้ำ และปริมาณน้ำที่ผลิตได้ของพื้นที่ หมู่เกาะลันตา 3-558 กรมทางหลวงชนบท ธ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 3.5.6-1 จำนวนช่องจราจรที่มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุมากที่สุด 3-563 3.5.6-2 การแบ่งทิศทางการจราจรที่มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุมากที่สุด 3-563 3.5.6-3 ลักษณะทางกายภาพที่มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุมากที่สุด 3-563 3.5.6-4 สถิติอุบัติเหตุระหว่างกรมทางหลวงและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2560 – 2562 3-564 3.5.6-5 สถิติการเกิดอุบัติเหตุจราจรทางบกในพื้นที่ศึกษาโครงการ 3-564 3.5.7-1 แหล่งโบราณสถานและโบราณคดีในเขตจังหวัดกระบี่ รวม 72 แห่ง 3-576 4.2-1 การดำเนินกิจกรรมโครงการที่นำมาพิจารณาประกอบการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4-3 4.4.1-1 ค่าปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลายของดิน (K-factor) ของแต่ละกลุ่มชุดดิน 4-12 4.4.1-2 ปัจจัยด้านการจัดการพืช (C-factor) และปัจจัยการปฏิบัติป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดิน (P-factor) 4-13 4.4.1-3 การจัดชั้นความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย 4-14 4.4.1-4 ผลการวิเคราะห์อัตราการชะล้างพังทลายของดินตามแนวเส้นทางโครงการ 4-26 4.4.1-5 การชะล้างพังทลายของดิน (Erosion) ค่าสัมประสิทธิ์การเคลื่อนย้ายตะกอน (SDR) และผลผลิตตะกอน (SY) 4-16 4.4.2-1 ระดับความเสียหาย ข้อจำกัดในการใช้งานสะพานและป้ายประกาศระดับความเสียหาย แต่ละระดับ 4-23 4.4.4-1 ผลการปรับเทียบค่าระดับน้ำ ความเร็วกระแสน้ำและทิศทางการไหลของกระแสน้ำ ของแบบจำลอง ช่วงระหว่างวันที่ 15-18 มกราคม 2564 4-55 4.4.4-2 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง 4-70 4.4.4-3 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีท่าเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง 4-73 4.4.4-4 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย 4-73 4.4.4-5 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีท่าเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย 4-76 4.4.4-6 การวิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนแขวนลอยบริเวณจุดก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว 4-82 4.4.4-7 ผลการวิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนแขวนลอยบริเวณจุดก่อสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) 4-84 4.4.4-8 ผลการวิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนแขวนลอยบริเวณจุดเจาะเสาเข็ม 4-90 4.4.4-9 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีโครงการของตอม่อ FT type 1 4-101 กรมทางหลวงชนบท น รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4.4.4-10 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำเฉลี่ยสภาพก่อนและหลัง มีโครงการของตอม่อ F2 type 2 4-104 4.4.4-11 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลังมีโครงการของตอม่อ F3 type 3 4-107 4.4.4-12 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีโครงการ F1 TYPE 1 4-110 4.4.4-13 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีโครงการ F2 TYPE 2 4-113 4.4.4-14 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำเฉลี่ยสภาพก่อนและหลัง มีโครงการ F3 TYPE 3 4-116 4.4.5-1 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ศึกษาในสภาพปัจจุบัน 4-124 4.4.5-2 อัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองและมลสารจากเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือก่อสร้าง 4-126 4.4.5-3 ผลการคำนวณอัตราการปลดปล่อยมลสารจากเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือก่อสร้าง ใน 1 วัน 4-127 4.4.5-4 ข้อมูลอ้างอิงของค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสารจากพื้นผิวจราจรแบบลูกรัง 4-129 4.4.5-5 ประเภทของยานพาหนะและอัตราความเร็วของยานพาหนะ 4-130 4.4.5-6 อัตราการระบายฝุ่นละอองจากพื้นผิวจราจรแบบลูกรังของกิจกรรมการเคลื่อนย้าย และการขนส่งวัสดุ 4-130 4.4.5-7 อัตราการระบายมลสารของยานพาหนะจากกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ 4-130 4.4.5-8 ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) จากกิจกรรมก่อสร้างถนน สะพาน การขนส่งวัสดุ และอุปกรณ์ก่อสร้างของโครงการ 4-133 4.4.5-9 ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) จากกิจกรรมก่อสร้างถนน สะพาน การขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างของโครงการ 4-133 4.4.5-10 ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) จากกิจกรรมก่อสร้างถนน สะพาน การขนส่งวัสดุ และอุปกรณ์ก่อสร้างของโครงการ 4-134 4.4.5-11 ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) จากกิจกรรมก่อสร้างถนน สะพาน การขนส่งวัสดุ และอุปกรณ์ก่อสร้างของโครงการ 4-134 4.4.5-12 ข้อมูลอ้างอิงของค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองและมลสารจากยานพาหนะ 4-136 4.4.5-13 ผลการคาดการณ์ปริมาณจราจรกรณีมีโครงการของยานพาหนะแต่ละประเภท 4-137 4.4.5-14 ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) ในระยะดำเนินการ กรณีมีโครงการ 4-138 4.4.5-15 ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) ในระยะดำเนินการ กรณีมีโครงการ 4-138 4.4.5-16 ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ในระยะดำเนินการ กรณีมีโครงการ 4-139 4.4.5-17 ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ในระยะดำเนินการ กรณีมีโครงการ 4-139 กรมทางหลวงชนบท บ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4.4.6-1 ผลการตรวจวัดระดับเสียงบริเวณพื้นที่ศึกษาในสภาพปัจจุบัน 4-141 4.4.6-2 เครื่องจักรทั้งหมดที่ใช้ในกิจกรรมก่อสร้างถนนโครงการ 4-142 4.4.6-3 ฐานข้อมูลของลักษณะงานของกิจกรรมการก่อสร้างและชนิดและประเภทของเครื่องจักรกล อุปกรณ์และเครื่องมือในช่วงกิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ 4-146 4.4.6-4 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่โครงการ 4-150 4.4.6-5 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทางโครงการ 4-150 4.4.6-6 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ 4-151 4.4.6-7 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการ 4-151 4.4.6-8 ระดับเสียงจากยานพาหนะที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียงและอัตราความเร็วของยานพาหนะ 4-152 4.4.6-9 ประเภทของยานพาหนะและอัตราความเร็วของยานพาหนะ 4-152 4.4.6-10 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมขนส่งวัสดุก่อสร้างโครงการ 4-155 4.4.6-11 ผลการคาดการณ์ปริมาณจราจร กรณีมีโครงการ 4-157 4.4.6-12 ผลการประเมินผลกระทบด้านเสียงในระยะดำเนินการ 4-158 4.4.6-13 ข้อมูลอ้างอิงของค่าการสูญเสียระดับกำลังเสียงขณะส่งผ่าน (TL) ของวัสดุประเภทต่างๆ 4-160 4.4.6-14 รายละเอียดการติดตั้งของกำแพงกันเสียงชั่วคราวบนแนวเส้นทางโครงการ 4-166 4.4.6-15 รายละเอียดการคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงในช่วงกิจกรรม การเตรียมพื้นที่โครงการ 4-170 4.4.6-16 รายละเอียดการคำนวณค่าลดทอนระดับเสียงในช่วงดำเนินกิจกรรม การเตรียมพื้นที่โครงการ 4-170 4.4.6-17 รายละเอียดการคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงในช่วงกิจกรรม งานผิวทางและชั้นทางโครงการ 4-171 4.4.6-18 รายละเอียดการคำนวณค่าลดทอนระดับเสียงในช่วงดำเนินกิจกรรมงานผิวทาง และชั้นทางโครงการ 4-171 4.4.6-19 รายละเอียดการคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพง ในช่วงกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ 4-172 4.4.6-20 รายละเอียดการคำนวณค่าลดทอนระดับเสียงในช่วงดำเนินกิจกรรมก่อสร้าง โครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ 4-172 4.4.6-21 รายละเอียดการคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพง ในช่วงกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการ 4-173 4.4.6-22 รายละเอียดการคำนวณค่าลดทอนระดับเสียงในช่วงดำเนินกิจกรรมก่อสร้าง โครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการ 4-173 4.4.6-23 การติดตั้งกำแพงกันเสียงบนแนวเส้นทางโครงการ ระยะดำเนินการ 4-174 4.4.6-24 การคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพง ระยะดำเนินการ 4-174 4.4.6-25 รายละเอียดการคำนวณค่าลดทอนระดับเสียง ระยะดำเนินการ 4-174 กรมทางหลวงชนบท ป รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4.4.7-1 ผลการตรวจวัดระดับแรงสั่นสะเทือนบริเวณพื้นที่ศึกษาในสภาพปัจจุบัน 4-176 4.4.7-2 แรงสั่นสะเทือนจากเครื่องจักรกลต่างๆ ที่ระยะ 7.62 เมตร (25 ฟุต) 4-177 4.4.7-3 ผลการประเมินด้านแรงสั่นสะเทือนจากกิจกรรมแต่ละประเภทที่ระยะต่างๆ จากแนวกึ่งกลางโครงการ 4-178 4.4.7-4 มาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 4-179 4.4.7-5 ระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่ออาคารตามมาตรฐานระบบเยอรมนี หมายเลข 4150 4-180 4.4.7-6 ระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์ โดยมาตรฐานระบบบริทิช หมายเลข 5228 4-180 4.4.7-7 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการเตรียมพื้นที่โครงการ 4-182 4.4.7-8 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทางโครงการ 4-183 4.4.7-9 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ (เจาะเสาเข็ม) 4-184 4.4.7-10 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการ 4-185 4.4.7-11 อัตราความเร็วของยานพาหนะประเภทต่างๆ 4-187 4.4.7-12 ข้อมูลอ้างอิงของค่าสัมประสิทธิ์ของผิวทาง 4-187 4.4.7-13 ข้อมูลอ้างอิงของค่าสัมประสิทธิ์ของพื้นดิน 4-187 4.4.7-14 ระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์จากกิจกรรมการจราจร 4-188 4.4.7-15 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการขนส่งวัสดุก่อสร้างโครงการ 4-189 4.4.7-16 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมคมนาคมบนถนนระยะดำเนินการ กรณีมีโครงการ 4-191 4.5.1.3-1 ผลการวิเคราะห์การไหลเวียนของกระแสน้ำและการแพร่กระจายของตะกอน 4-201 4.5.4-1 ผลการสำรวจโลมาในพื้นที่เกาะลันตา 4-215 4.6.1-1 การเปรียบเทียบความสอดคล้องกับมาตรการตามประกาศกระทรวงฯ พื้นที่คุ้มครอง สิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 4-222 4.6.1-2 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพื้นที่เกาะลันตา พ.ศ. 2552-2561 4-224 4.6.1-3 ประเภทโครงการหรือกิจการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4-226 4.6.1-4 ประเภทของช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ 4-236 4.6.1-5 เกณฑ์มาตรฐานขนาดเนื้อที่ประกอบกิจกรรมนันทนาการ 4-236 4.6.1-6 มาตรฐานการใช้พื้นที่ชายหาด 4-237 4.6.2-1 ค่า PCE ถ่วงน้ำหนักของยานพาหนะแต่ละประเภท 4-245 4.6.2-2 ค่าความสามารถในการรองรับปริมาณจราจรของทางหลวงแต่ละประเภท 4-245 4.6.2-3 ระดับความหนาแน่นและความคล่องตัวของปริมาณจราจรตามอัตราส่วน ของปริมาณจราจรต่อความจุ 4-245 4.6.2-4 ค่า PCU ต่อชั่วโมงที่เพิ่มขึ้นในระยะก่อสร้าง 4-246 กรมทางหลวงชนบท ผ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4.6.2-5 ปริมาณจราจรรายวันเฉลี่ยบนทางหลวงหมายเลข 4206 4-247 4.6.2-6 ปริมาณการจราจรและระดับการให้บริการในระยะก่อสร้างโครงการ 4-248 4.6.2-7 รายละเอียดข้อมูลเรือที่ผ่านบริเวณแนวเส้นทางโครงการ 4-249 4.6.3-1 การชะล้างพังทลายของดิน (Erosion) ค่าสัมประสิทธิ์การเคลื่อนย้ายตะกอน (SDR) และผลผลิตตะกอน (SY) 4-256 4.6.3-2 ผลการวิเคราะห์การไหลเวียนของกระแสน้ำและการแพร่กระจายของตะกอน 4-257 4.7.1-1 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพื้นที่เกาะลันตา พ.ศ. 2552-2561 4-271 4.7.3-1 นิยามโอกาสของการเกิดผลกระทบ 4-276 4.7.3-2 นิยามความรุนแรงของผลที่เกิดขึ้นตามมา 4-277 4.7.3-3 Health Risk Matrix ที่ใช้ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ 4-277 4.7.3-4 นิยามของระดับผลกระทบทางสุขภาพ 4-277 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ ระยะก่อสร้าง 4-279 4.7.3-6 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะดำเนินการ 4-293 4.7.7-1 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่โครงการ ต่อศาสนสถานและสถานที่สำคัญทางศาสนา 4-308 4.7.7-2 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากกิจกรรมงานผิวทาง และชั้นทางโครงการต่อศาสนสถานและสถานที่สำคัญทางศาสนา 4-308 4.7.7-3 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากงานก่อสร้างโครงสร้าง สะพานส่วนล่างโครงการต่อศาสนสถานและสถานที่สำคัญทางศาสนา 4-309 4.7.7-4 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากงานก่อสร้างโครงสร้าง สะพานส่วนบนโครงการต่อศาสนสถานและสถานที่สำคัญทางศาสนา 4-310 4.7.7-5 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากกิจกรรมขนส่งวัสดุก่อสร้างโครงการ ต่อศาสนสถานและสถานที่สำคัญทางศาสนา 4-311 4.7.7-6 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากกิจกรรมในระยะดำเนินการ 4-312 4.7.8-1 ระยะห่างระหว่างแนวเส้นทางโครงการและแหล่งท่องเที่ยวในเกาะลันตา 4-319 4.7.8-2 ประเภทของช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ 4-321 4.7.8-3 เกณฑ์มาตรฐานขนาดเนื้อที่ประกอบกิจกรรมนันทนาการ 4-322 4.7.8-4 มาตรฐานการใช้พื้นที่ชายหาด 4-322 5.1-1 สรุปมาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั่วไปของโครงการ 5-2 6.2-1 สรุปแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม6-2 6.3.1-1 ดัชนีตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและวิธีการตรวจวิเคราะห์ 6-11 6.3.2-1 ดัชนีตรวจคุณภาพน้ำทะเล 6-14 6.3.3-1 ดัชนีตรวจวัดคุณภาพอากาศและวิธีการตรวจวิเคราะห์ 6-17 6.3.4-1 ดัชนีตรวจวัดเสียงและวิธีการตรวจวิเคราะห์ 6-20 กรมทางหลวงชนบท ฝ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 6.3.5-1 ดัชนีตรวจวัดความสั่นสะเทือนและวิธีการตรวจวิเคราะห์ 6-23 6.4.1-1 ดัชนีตรวจวัดนิเวศวิทยาทางน้ำ วิธีการเก็บตัวอย่างและวิธีการวิเคราะห์ 6-26 7.2.1-1 งบประมาณตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน ในระยะก่อสร้าง 7-7 7.2.1-2 งบประมาณตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน ในระยะดำเนินการ 7-7 7.2.2-1 งบประมาณตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน 7-22 7.2.2-2 งบประมาณที่ใช้ในการติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบตอม่อสะพานในระยะก่อสร้าง 7-22 7.2.3-1 งบประมาณตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านเสียง 7-29 7.2.4-1 ชนิดพันธุ์ไม้ที่นำมาปลูกในพื้นที่ป่าชายเลน 7-33 7.2.4-2 งบประมาณดําเนินงานปลูกป่าชายเลนทดแทนและดูแลรักษา 7-37 7.2.5-1 งบประมาณดำเนินงานปลูกป่าทดแทนและดูแลรักษา 7-39 7.2.6-1 งบประมาณในการดำเนินการด้านคมนาคมขนส่ง/อุบัติเหตุและความปลอดภัย 7-47 7.2.7-1 การประมาณค่าใช้จ่ายของแผนปฏิบัติการเฝ้าระวังระยะก่อสร้าง 7-49 7.2.7-2 การประมาณค่าใช้จ่ายของแผนปฏิบัติการเฝ้าระวังระยะดำเนินการ 7-50 7.2.8-1 พื้นที่ดำเนินการด้านการประชาสัมพันธ์โครงการ 7-51 7.2.8-2 แผนการประชาสัมพันธ์โครงการ 7-52 7.2.8-3 รายละเอียดค่าใช้จ่ายด้านการประชาสัมพันธ์โครงการ 7-55 7.3-1 สรุปค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 7-56 8.4-1 กลุ่มเป้าหมายของการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8-4 8.4-2 พื้นที่เป้าหมายการสำรวจสภาพเศรษฐกิจ-สังคม 8-9 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น 8-10 8.5-1 แนวทางการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8-20 8.6-1 แผนการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์โครงการ 8-22 8.7.1-1 สรุปผลการดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์โครงการ 8-25 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8-28 8.8.1-1 กลุ่มเป้าหมายในการเตรียมความพร้อมชุมชนก่อนจัดประชุมภาคประชาชน 8.8.1-2 ผลการดำเนินงานการเตรียมความพร้อมของชุมชน 8-42 8.8.2-1 จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมปฐมนิเทศโครงการ กลุ่มที่ 1 เวลา 09.00 – 12.30 น. (วันที่ 25 สิงหาคม 2563) 8-49 8.8.2-2 จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมปฐมนิเทศโครงการ กลุ่มที่ 2 เวลา 13.30 – 16.30 น. (วันที่ 25 สิงหาคม 2563) 8-50 8.8.2-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมปฐมนิเทศโครงการ 8-53 กรมทางหลวงชนบท พ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สารบัญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 8.8.3-1 จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชน (การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2563 เวลา 08.30 – 12.00 น. ณ อาคารกลุ่มสตรี โรงเรียนบ้านทุ่งวิทยพัฒน์ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 8-57 8.8.3-2 จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชน (การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน 2563 เวลา 08.30 – 12.00 น. ณ อาคารกลุ่มสตรี โรงเรียนบ้านทุ่งวิทยพัฒน์ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 8-58 8.8.3-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 8-61 8.8.4-1 จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) วันพุธที่ 21 ตุลาคม 2563 เวลา 09.00 – 12.30 น. 8-66 8.8.4-2 จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม 2563 เวลา 08.30 – 12.30 น. 8-67 8.8.4-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม 8-70 8.8.5-1 การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 และการประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3) 8-74 8.8.5-2 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศ 8-79 8.8.6-1 จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม 8-83 8.8.6-2 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ และมาตรการด้านสิง ่ แวดล้อม 8-85 8.8.6-3 ข้อวิตกกังวลของชุมชนประกอบมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 8-87 8.8.8-1 สรุปผลการประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิง ่ แวดล้อม หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ วันที่ 1 มีนาคม 2564 8-90 8.8.8-2 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการประชุมทีโ ่ ครงการสามารถดำเนินการได้ 8-92 8.8.8-3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการประชุมทีโ ่ ครงการไม่สามารถดำเนินการได้ 8-93 8.8.10-1 ประเภทโครงการหรือกิจการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 8-102 กรมทางหลวงชนบท ฟ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.3.2 สัตว์ในระบบนิเวศ 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาระบบนิเวศของพื้นที่โดยรอบโครงการฯ ในด้านเป็นแหล่งอาศัยและหากินของสัตว์ป่า โดยให้ความสำคัญกับพื้นที่สังคมป่าธรรมชาติ คือ ป่าชายเลน และเขตน้ำขึ้น -ลงชายฝั่งทะเลน้ำตื้นคลองช่องลาด และพื้นที่อื่นตามความเหมาะสม (2) เพื่อรวบรวมข้อมูลความหลากชนิด ประเมินระดับความชุกชุม และสำรวจการแพร่กระจาย ของสัตว์ป่าในพื้นที่มีสภาพนิเวศลักษณะต่าง ๆ ที่กระจายอยู่โดยรอบพื้นที่โครงการฯ รวมทั้งตรวจสอบสถานภาพ ของสัตว์ป่าที่รวบรวมข้อมูลได้ (3) เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศของพื้นที่ เนื่องจากการวางแนวทางสะพานเชื่อม เกาะลันตา ทั้ ง การเปลี่ย นแปลงอย่างชั่วคราวและอย่ างถาวร เพื่ อเป็ นข้ อมูลประเมิ นผลกระทบสิ่ง แวดล้อม ด้านทรัพยากรสัตว์ป่า (4) เพื่อเสนอแนะมาตรการลดผลกระทบด้านทรัพยากรสัตว์ป่าให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ในภาวะปัจจุบัน ตลอดจนมาตรการแก้ไขผลกระทบที่อาจเกิดเพิ่มขึ้นอีก 2) วิธีการศึกษา การศึกษาและสำรวจสัตว์ป่าในพื้นที่ศึกษาโครงการครั้งนี้ ได้ปฏิบัติตามแนวทางของสำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) และหนังสือขออนุญาตสำรวจในพื้นที่เขตอุทยาน แห่งชาติฯ ครอบคลุมทั้งช่วงฤดูแล้งและฤดูฝน ซึ่งตรงกับสภาพภูมิอากาศของพื้นที่ภาคใต้ฝั่ งตะวันตก ครอบคลุม พื้นที่โครงการรัศมี 500 เมตร (จากกึ่งกลางแนวเส้นทางโครงการ) เป็นอย่างน้อยหรือมากกว่าขึ้นอยู่กับกลุ่ม สัตว์ป่าที่ทำการศึกษา ซึ่งมีวิธีการศึกษาดังนี้ (1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา - เพื่อศึกษาชนิดและขนาด/วัย ปริมาณการแพร่กระจาย การดำรงชีวิตและการแพร่พันธุ์ การอพยพย้ายถิ่น แหล่งหากิน และเส้นทางการเดินทาง รวมทั้งความสัมพันธ์กับชนิดและประเภทของสัตว์ป่า ในพื้นที่ดำเนินการและพื้นที่ศึกษาโครงการ - เพื่อนำข้อมูลไปประเมินผลกระทบต่อการรบกวนแหล่งอาศัย แหล่งหากิน และแหล่ง หลบภัยของสัตว์ในระบบนิเวศ รวมทั้งเสนอแนะมาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบด้านสัตว์ในระบบนิเวศ เพื่อให้มี ผลกระทบต่อทรัพยากรสัตว์ป่าให้น้อยที่สุด (2) ระยะเวลาปฏิบัติงาน ดำเนินการสำรวจสัตว์ป่า จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ การสำรวจในฤดูแล้ง ช่วงเดือนมกราคม 2564 และการสำรวจในฤดูฝนช่วงเดือนมิถุนายน 2564 (3) วิธีการศึกษา ก) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) ประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของโครงการ แผนที่แสดงกิจกรรมการดำเนินการโครงการ แหล่งชุมชน และแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ลักษณะการใช้ที่ดิน โดยรอบพื้นที่ศึกษา เส้นทางคมนาคมต่าง ๆ รวมทั้งเอกสารรายงานผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสัตว์ป่าในบริเวณ พื้นที่ดำเนินการโครงการ และโดยรอบพื้นที่ดำเนินการโครงการ เพื่อเป็นข้อมูลอ้างอิงเปรียบเทียบผลการศึกษา โดยรวบรวมจากเอกสารต่าง ๆ เช่น แผนแม่บทการจัดการพื้นที่อนุรักษ์ รายงานข้อมูลพื้นฐานจากหน่วยงาน ที่รับผิดชอบเรื่องสัตว์ป่าโดยตรงทั้งในพื้นที่ใกล้เคียงหรือหน่วยงานส่วนกลาง ได้แก่ ข้อมูลจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมป่าไม้ รายงานการสำรวจทรัพยากรสัตว์ป่า รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในบริเวณใกล้เคียง เป็นต้น เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการกำหนดวิธีการศึกษา และการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป กรมทางหลวงชนบท 3-298 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) การสำรวจภาคสนาม เนื่องจากการพัฒนาโครงการครั้งนี้ดำเนินการอยู่ในเขตทางเดิมและในทะเลเป็นหลัก ซึ่งไม่ ใช้ถนนตัดใหม่ โดยการสำรวจสัตว์ป่าในพื้นที่โครงการ เริ่มจากกึ่งกลางถนนตลอดแนวเส้นทางออกไปข้างละ 500 เมตร (ระยะ 500 เมตร) แบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่ดำเนินการโครงการหรื อพื้นที่แนวเขตทางและพื้นที่ ต่อเนื่องออกไปจากพื้นที่แนวเขตทาง โดยทำการศึกษาสัตว์ป่าใน 4 กลุ่ม คือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mamalians) นก (Birds) สัตว์เลื้อยคลาน (Reptiles) และสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก (Amphibians) ซึ่งในการศึกษาเพื่อให้ได้ ข้อมูลที่ครบสมบูรณ์และใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริง จำเป็นต้องทำการสำรวจโดยใช้หลายวิธีประกอบกัน คือ (ก) วิธีการสำรวจโดยตรง (Direct count) จากสภาพนิเวศ (นิเวศบก นิเวศชายฝั่ง/ สังคมป่าชายเลนและหาดเลน) และสภาพนิเวศภูมิทัศน์/ landscape ecology และสภาพพื้นที่แบบ mosaiac ที่แตกต่างและต่อเนื่องใกล้กันของพื้นที่โครงการ โดยการสำรวจสัตว์ป่าที่อยู่ในระบบนิเวศบก/พื้นที่บก อยู่ บน แนวเส้ น ทางคมนาคมเดิ ม ที่ เปิ ด ดำเนิ น การอยู่ แล้ ว ในปั จ จุ บั น จะทำการสำรวจไปตามแนวเส้ น ทาง พื ้ น ผิ ว ช่องจราจรที่เปิดโล่ง พื้นที่ริมถนน (road verge) ตามองค์ประกอบของทางคมนาคม และองค์ประกอบอื่น ด้านโครงสร้างพื้นฐานในเส้นทาง (รูปที่ 3.3.2-1) รูปที่ 3.3.2-1 ตำแหน่งเพื่อการเก็บข้อมูลสัตว์ป่า ทั้งลักษณะการใช้ประโยชน์ของสัตว์ป่าในพื้นที่เขตทาง กรมทางหลวงชนบท 3-299 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน เพื่อให้ได้ข้อมูลสัตว์ป่าทั้ง 4 กลุ่ม คือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ( Mamalians) นก (Birds) สัตว์เลื้อยคลาน (Reptiles) และสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ( Amphibians) และให้แต่ละจุดสำรวจได้ข้อมูลที่เป็น อิสระต่อกัน และบนฐานนิเวศวิทยาและเชิงพฤติกรรม เช่น ecotone, eco transition, edge effect, interior area, home range และ territory รวมทั้ง space and time partition กอปรกับบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ ได้รับอิทธิผลจากการขึ้น-ลงของน้ำทะเล และสภาพแวดล้อมมีความแตกต่างระหว่างรอบการขึ้น-ลงของน้ำทะเล ทั้งผืนน้ำเปิดโล่งและหาดเลนเปิดโล่ง) ดังนั้น ในการวางจุดสำรวจเพื่อให้ได้ตัวแทนสัตว์ป่าในพื้นที่ศึกษาโครงการ กำหนดให้มีการวางจุดสำรวจตามลักษณะการใช้ที่ดินประเภทต่าง ๆ จำนวน 25 จุด ประกอบด้วย พื้นที่ธรรมชาติ จำนวน 10 จุด พื้นที่มนุษย์ใช้ประโยชน์ จำนวน 10 จุด และพื้นที่ ผืนน้ำทะเลชายฝั่งน้ำตื้น (คลองช่องลาด) จำนวน 5 จุด (รูปที่ 3.3.2-2) การค้นหาโดยตรง (Direct Searching Method) การค้นหาโดยตรงใช้การเดิน รถกระบะ บรรทุกเล็ก และด้วยเรือติดเครื่องยนต์ขับเคลื่อน โดยจัดการเป็นกลุ่มสำรวจ 3 กลุ่ม ๆ ละ 3 คน (ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญสัตว์ป่า นักวิจัยสัตว์ป่า นักวิชาการและ พนักงานราชการเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล และราษฎรพื้นที่ โดยแต่ละจุดสำรวจใช้เวลา 10 นาที สำรวจในเวลากลางวัน กลางคืน และสำรวจชายฝั่งคลองช่องลาดในช่วงเวลา น้ำทะเลขึ้นและลงในพื้นที่มีสภาพนิเวศทุกลักษณะตามที่ระบุในพื้นที่ศึกษาเพื่อค้นหาตัวสัตว์ป่า หรือส่งบ่งชี้ที่ระบุ ชนิดสัตว์ป่าได้ เช่น รอยตีน กองมูล ขน คราบ ซาก รัง โพรง เป็นต้น และจากการรับฟังเสียงร้อง รวมทั้งสำรวจ บริเวณแหล่งน้ำและคุ้ยหาบริเวณกองวัสดุและในโพรง ระหว่างการค้นหาได้บันทึกชนิดสัตว์ป่าที่พบหรือระบุชนิด ได้จากร่องรอยและหลักฐานตามสภาพนิเวศแต่ละลักษณะ และบันทึกความถี่ของการพบสัตว์ป่าแต่ละชนิดเพื่อใช้ ประเมินระดับความชุกชุมสัมพัทธ์ • การสำรวจสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัต ว์เลื้อยคลาน การพบตัวโตเต็มวัย โดยตรง กรณีสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกให้ค้นหาลูกอ๊อดด้วย ด้วยการสำรวจในเวลากลางวันตามพื้นที่อยู่อาศัย ประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะแหล่งน้ำและจุดน้ำขัง ใช้ไฟฉายหรือแบตเตอรี่ส่องหาสัตว์ที่ออกหาอาหารด้วยวิธี มองหาตัวสัตว์ป่า หรือเสียงร้องที่บ่งชี้ชนิดได้ในเวลากลางคืน ระหว่างเวลา 18.00 – 21.00 น. • การสำรวจนก การเก็บข้อมูลภาคสนามระหว่างเวลา 06.00 – 10.00 น. และ 15.00 – 18.00 น. ด้วยการเดินมองหาตัวสัตว์ป่า ( Visual Encounter Surveys) เสียงร้อง (call/song) และ/ หรือสิ่งที่บ่งชี้ชนิดได้ (Inventory survey) โดยใช้สายตา ใช้กล้องส่องทางไกลทั้งแบบสองตา ( binocular) และ แบบกระบอกเดี่ยว ( telescope) ส่องหาตัวสัตว์ และเสียงร้อง เป็นต้น สำรวจเพิ่มเติมในเวลากลางคืนโดยใช้ ไฟส่อง จำแนกเสียงร้องสำหรับนกบางชนิดที่ออกหากินในเวลากลางคืน • การสำรวจสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม การเข้าไปสำรวจภาคสนามในบริเวณพื้นที่ศึกษา ด้วยการเดินให้ครอบคลุมสภาพนิเวศและภูมิประเทศทุกลักษณะของพื้นที่ศึกษา เพื่อค้นหาตัวสัตว์ป่า ( Visual Encounter Surveys) เสียงร้อง และ/หรือร่องรอย สิ่งที่บ่งชี้ชนิดได้ เช่น รอยตีน ( tracking beds) ร่องรอยข่วน ขู ด ถู ไถ กองมู ล เป็ น ต้ น สำหรั บ สั ต ว์ เ ลี ้ ย งลู ก ด้ ว ยนมที ่ อ อกหาอาหารในตอนกลางคื น ใช้ ว ิ ธ ี ก ารส่ องไฟ (Spotlighting) เป็นวิธีการใช้ไฟฉาย รวมถึงการจำแนกโดยการรับฟังเสียงร้องด้วย - วิธีการสังเกต ( Observation) เป็นวิธีการสำรวจในพื้นที่ศึกษา โดยใช้สายตา มองหากล้ องส่องทางไกลทั้ง แบบสองตา ( binocular) ส่ องหาตั วสัต ว์ และฟั ง เสีย งร้ อง เพื่ อบั น ทึ กชนิดและ จำนวนสัตว์ที่สำรวจพบ กรมทางหลวงชนบท 3-300 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.2-2 การวางจุดสำรวจเพื่อให้ได้ตัวแทนสัตว์ป่าในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-301 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - วิธีการค้นหา (Active Searching) เป็นการค้นหาตัวสัตว์ป่าและร่องรอยต่าง ๆ ในบริเวณพื้นที่ศึกษาที่มีสภาพนิเวศลักษณะต่าง ๆ รวมทั้งบริเวณที่เป็นกองวัสดุ โพรง ใต้ขอนไม้/ซากไม้ และ บนต้นไม้ อาจต้องมีการขุดดินเพื่อค้นหาสัตว์จำพวกเลื้อยคลาน เป็นต้น ตลอดจนค้นหาตัวอ่อนของสัตว์สะเทินน้ำ สะเทินบกที่ซุกซ่อนอยู่ตามแหล่งน้ำลักษณะต่าง ๆ เพราะมีแนวโน้มของการพบได้ดีกว่าตัวเต็มวัย - วิ ธ ี ก ารส่ อ งไฟ ( Spotlighting/Headtorching) เป็ น วิ ธ ี ก ารใช้ ไ ฟฉายหรื อ แบตเตอรี่ สำหรับส่องหาตัวสัตว์ที่ออกหาอาหารในตอนกลางคืน หรือสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกตามแหล่งน้ำ ลักษณะต่าง ๆ ที่กระจายอยู่ในบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ รวมถึงการจำแนกโดยการรับฟังเสียงร้องด้วย - การสำรวจตามโอกาส ( Randomly and Opportunistically Survey) ดำเนินการสำรวจในบริเวณต่าง ๆ นอกแนวสำรวจด้วยการเดิน โดยพิจารณาเลือกวิธีการจากวิธีการสำรวจโดยตรง การศึกษาและสำรวจสัตว์ป่าทั้ง 4 กลุ่ม ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mamalians) สัตว์จำพวกสัตว์ปีก (Aves) สัตว์เลื้อยคลาน (Reptiles) และสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก (Amphibians) ดังนี้ • สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ดำเนินการบันทึกข้อมูลสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่พบ ในแต่ละจุดสำรวจ ตำแหน่งที่พบโดยใช้เครื่องหาพิกัดภูมิศาสตร์ เปรียบเทียบความชุกชุมของสัตว์ป่าในแต่ละ สภาพพื้นที่ที่เป็นลักษณะเด่น ได้แก่ พื้นที่ป่าชายเลน พื้นที่เปิดโล่ง พื้นที่แหล่งน้ำตามธรรมชาติ และที่เกิดจากการ สร้างขึ้น พื้นที่การใช้ประโยชน์ที่เป็นพื้นที่ทำกินหรือพื้นที่อยู่อาศัย พื้นที่สาธารณะชองชุมชน เพื่อประเมิน ผลกระทบของสัตว์ป่าตามระยะห่างจากเส้นทาง เป็นต้น โดยอาศัยการรวบรวมจำนวนชนิด และจำนวนครั้งที่พบ สัตว์ป่าในแต่ละถิ่นที่อาศัย • นก ใช้ การสำรวจทั ้ ง แบบพบเห็ น ตั ว โดยตรงและที ่ จ ำแนกจากเสี ย งร้อง ใช้อุปกรณ์วัดระยะทางจากผู้สำรวจไปยังนกที่พบ บันทึกระยะทางและจำนวนครั้งที่พบนกแต่ละชนิดแล้วนำผล ที่ได้มาคำนวณทั้งในกรณีความชุกชุม และความถี่สัมพัท ธ์ โดยแยกคำนวณตามถิ่นที่อาศัย และตามระยะห่างจาก ถนนสายหลัก โดยจำแนกข้อมูลตามชนิดสัตว์ที่พบ และตามสภาพถิ่นอาศัยลักษณะต่าง ๆ ตามสภาพป่า และ ตามสภาพภูมิประเทศ • สั ต ว์ เ ลื ้ อ ยคลาน ใช้ ก ารพบเห็ น ตั ว โดยตรง บั น ทึ ก ภาพและที ่ พ บตาม แหล่งอาศัย ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ตามเส้นทางต่าง ๆ ตามสภาพถิ่นอาศัยลักษณะต่าง ๆ ตามสภาพป่า และตามสภาพภูม ิ ประเทศ โดยทั ้ ง ดำเนิน การไปพร้อมกั บการสำรวจนก และการเดิ นหาตามแหล่ งที่อาศัย ตามลำห้วย แหล่งน้ำ ซึ่งการสำรวจนั้นทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน • สัตว์สะเทินน้ำสะเทิน บก ใช้การพบเห็นตัวโดยตรง บันทึกภาพและที่พบ ตามแหล่งอาศัย ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืนตามเส้นทางต่าง ๆ ตามสภาพถิ่นอาศัยลักษณะต่าง ๆ ตาม สภาพป่า และตามสภาพภูมิประเทศ โดยทั้งดำเนินการไปพร้อมกับการสำรวจนกและสัตว์เลื้อยคลาน และการ เดินหาตามแหล่งที่อาศัยตามแหล่งน้ำทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน (ข) วิธีการสำรวจโดยทางอ้อม การเก็บข้อมูลสัตว์ป่าโดยทางอ้อมจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ แบ่งเป็น 2 วิธีการดังนี้ - การสำรวจจากเอกสาร (Literature Review) คือ การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ จากการตรวจสอบเอกสารหรืองานวิจัยที่ได้มีการสำรวจชนิดของสัตว์ป่าในบริเวณพื้นที่ศึกษามาแล้วทั้งในอดีต และปัจจุบันเท่าที่หาได้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลเสริมวิธีการสำรวจโดยตรงเท่านั้น - การสอบถาม (Inquiry) เป็นการเก็บข้อมูลจากการสอบถามราษฎรที่อาศัยอยู่ ในบริเวณพื้นที่โครงการและเจ้าหน้าที่หน่วยงานราชการและเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อจะได้ทราบถึงข้อมูล ของ ชนิดสัตว์ป่าที่พบเห็น โดยประมวลจากลักษณะตัวของสัตว์ เช่น สี ซาก แหล่งอาหาร แหล่งที่อยู่อาศัยและพฤติกรรม ที่น่าสนใจ และได้ข้อมูลชนิดสัตว์ป่าที่ถูกต้องและใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งใช้เป็นข้อมูลเสริมความ กรมทางหลวงชนบท 3-302 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน หลากชนิดสัตว์ป่า ที่ไม่พบจากการสำรวจโดยตรง เนื่องจากสัตว์ป่าบางชนิดมีความชุกชุมน้อย หรือหลบซ่อนตัว/ หากินเป็นบางช่วงเวลา ทำให้การสำรวจโดยตรงซึ่งเป็นช่วงเวลาจำกัดไม่พบเห็นตัวสัตว์ป่า การสอบถามข้อมูล สัตว์ป่าจะครอบคลุมถึงการลักลอบล่าสัตว์ป่า และชนิดสัตว์ป่าที่นำมาบริโภคหรือใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ของราษฎรในพื้นที่ โครงการเพื่ อประเมินสภาพปัญหาของสัต ว์ป่าในปัจ จุบัน ทั้ ง นี้ข้อมู ลที่ได้จากการสำรวจ โดยทางอ้อมนั้น จะใช้เป็นเพียงข้อมูลเสริมเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาในภาคสนามโดยวิธีการสำรวจโดยตรง เท่านั้น นอกจากนี้ ในขณะทำการสำรวจสัตว์ป่าจะมีการบันทึกสภาพพื้นที่ที่พบนิเวศวิทยาแหล่งอาหารและ การกินอาหารของสัตว์ เพื่อนำมาพิจารณาศักยภาพของพื้นที่ศึกษาว่ามีความเหมาะสมต่อการใช้เป็นแหล่งอาหาร หรือที่พักพิงของสัตว์ป่าประเภทใด ซึ่งข้อมูลที่รวบรวมได้ทั้งหมดจะทำให้ทราบถึงสภาพนิเ วศที่เอื้ออำนวยต่อการ ดำรงชีวิตของสัตว์ป่าในพื้นที่โครงการ โดยในที่นี้จะให้ความสำคัญกับพื้นที่จำเพาะหรือพื้นที่จำเป็นของ สัตว์ป่า ที่ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าสงวน (Reserved Animal) สัตว์ป่าคุ้มครอง (Protected Wiildlife) หรือมีสถานภาพเป็ น สัตว์ป่าถูกคุกคาม (Threatened Animal) และเป็นสัตว์ป่าใกล้ถูกคุกคาม (Near Threatened Animal) หรือพื้นที่ เป็นเส้นทางในการเคลื่อนย้ายตามฤดูกาลของสัตว์ป่าเหล่านั้น - การจำแนกความหลากชนิดของสัตว์ป่า • คู่มือจำแนกสัตว์ป่าโดย ธัญญา จั่นอาจ พันทิพา พัฒนแก้ว เมธี หยกอุบล ปิยทิพย์ ปิยพันธ์ และเพชร มโนปวิตร (2548) • สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ใช้ ธัญญา (2546), Taylor (1962), Inger (1966), Matsui (1996), Frost (2000) และ Pough et al. (2001) • สัตว์เลื้อยคลานใช้ Chan-Ard,T., J.W. Parr and J.Nabhitabhata (2015), Das.I (2010), Taylor (1963, 1965, 1970), Nuttaphand (1979), Cox (1991), Matsui (1996), Cox et al. (1998) และ Pough et al. (2001) • นก ใช้ จารุจินต์ นภีตะภัฏ และวัชระ สงวนสมบัติ (2550) และ Robson (2002) • สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ใช้ Francis (2008), Lekagul and McNeely (1977), Corbet and Hill (1992) , Feldhamer et al. (1999), Kanchanasakha,B., S.Simchareon. and U.T Than. (1998), สรณรัชฏ์ กาญจนะวนิชย์ (2540) สมโภชน์ ศรีโกสามาตร และทรอย แฮนเซล (2539) และจอห์น พาร์ (2546) รวมทั้งการอ้างอิงการจำแนกชนิดจากรายงานการวิจัยและบทความวิจัยจาก วารสารทางวิทยาศาสตร์อันเป็นที่ยอมรับจากค่ามาตรฐานน้ำหนัก (impact factor) ทั้งภายในประเทศไทย และระดับนานาชาติ - การจัดทำบัญชีรายชื่อ นำข้อมูลที่ได้จากรวบรวมทั้งทางตรงและทางอ้อม มาจัดทำเป็นบัญชีรายชื่อ สัตว์ป่าทั้งหมดที่สำรวจพบ โดยจัดหมวดหมู่ตามอนุกรมวิธานแยกเป็น 4 ชั้น (classes) คือ - สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลาน ใช้ Zug (1993) - นก ใช้ Sibly and Monroe (1990) - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ใช้ Wilson and Reeder (1993) โดยจัดลำดับ (Classification) ตามอนุกรมวิธาน คือ อันดับ (Order) วงศ์ (Family) และชนิด (Species) พร้อมข้อมูลการพบสัตว์ป่าในพื้นที่แต่ละแห่ง ซึ่งจะระบุความชุกชุม ( Abundance) สถานที่ ที่พบ (Habitat Type) และสถานภาพ (Status) ของแต่ละชนิดไว้ด้วย กรมทางหลวงชนบท 3-303 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - การจำแนกสถานภาพของสัตว์ป่า การจำแนกสถานภาพของสัตว์ป่า จะจำแนกประเภทของสัตว์ป่าตามสถานภาพ 3 ประเภท คือ • สถานภาพที่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมายใช้ตามพระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ที่กำหนดสัตว์ป่าของประเทศไทยให้เป็น (1) สัตว์ป่าสงวน (reserved animal) ได้ แ ก่ ชนิ ด ที ่ หายากและใกล้ ส ู ญ พั น ธุ์ หรื อสู ญ พั น ธุ์ ไ ปแล้ ว มี จ ำนวน 15 ชนิ ด และตรวจสอบได้ จ ากบั ญ ชี ท้ายพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 (ราชกิจจานุเบกษา, 2562) และ (2) สัตว์ป่าคุ้มครอง (protected animal) ได้ แก่ ชนิ ด ที ่คุ้ ม ครองไว้ไม่ให้ ประชากรลดลงและเพื่ อมิให้บางชนิด ต้ องสู ญพันธุ์ และ ตรวจสอบได้จากบัญชีกฎกระทรวงกำหนดให้สั ตว์ป่าบางชนิดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง พ.ศ. 2562 สำหรับชนิดที่ไม่มี รายชื่อในทั้งสองบัญชีเป็นสัตว์ป่าไม่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมาย (non-protected animal) ตามพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ • สถานภาพเพื ่ อการอนุ ร ั ก ษ์ ใ ช้ เ กณฑ์ ข องสำนั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ( Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning) พ.ศ. 2560 ซึ่งพิจารณาตามภาวะของการถูกคุกคามเฉพาะประเทศไทย และใช้เกณฑ์ของ IUCN (2021) ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ยอมรับในประเทศไทยและนานาชาติ โดยจำแนกเป็น ▪ สูญพันธุ์ (Extinct : EX) ▪ สูญพันธุ์ในธรรมชาติ (Extinct in the Wild : EW) ▪ ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง (Critically Endangered : CR) ▪ ใกล้สูญพันธุ์ (Endangered : EN) ▪ มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable : VU) ▪ ใกล้ถูกคุมคาม (Near threatened : NT) ▪ กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด (Least Concern : LC) ▪ ข้อมูลไม่เพียงพอ (Data Deficient : DD) ▪ ชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น (Endemic : E) - สถานภาพของสัตว์ป่าระดับโลก หมายถึง สถานภาพของสัตว์ป่าจาก Red Data List ของ International Union Conservation of Nature; IUCN (2020-2022) ( www.iucnredlist.org) ซึ่ ง พิจารณาสัตว์ป่าตามภาวะของการคุกคามในระดับโลกและเป็นมาตรฐานยอมรับโดยนานาชาติ เช่นเดียวกับที่ สผ. กำหนด นอกเหนือจากนี้จะดำเนินการสรุปชนิดสัตว์ป่าตามประเภทสถานภาพทั้งตามฤดูกาล ได้แก่ โดยเฉพาะ สถานภาพการเป็นนกประจำถิ่น ( Resident Bird) และการเป็นนกอพยพย้ายถิ่น ( Migratory Bird) ของประเทศ ไทยตาม Lekagul and McNeely (1991) - การวิเคราะห์ข้อมูล • ความหลากชนิด (Species diversity) การวิเคราะห์ ชนิ ดของสัตว์ป่ าเพื ่ อให้ ทราบว่ามีสัตว์ป่ากลุ่มใดบ้าง แต่ละกลุ่มมีกี่ชนิด ประกอบด้วยชนิดอะไรบ้าง โดยจัดทำเป็นบัญชีรายชื่อสัตว์ป่า ตามเอกสารที่อ้างอิงไว้ในภาคเอกสารอ้างอิง • ความชุกชุม (Abundance) เป็นการวิเคราะห์ว่าสัตว์ป่าแต่ละชนิดมีความ ชุกชุมมากหรือน้อยอย่างไร โดยวิเคราะห์ความชุกชุมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ โดยนำร่องรอยของ สัตว์ป่าแต่ละชนิดที่พบเฉพาะในแปลงสำรวจบนเส้นทางที่กำหนด มาคำนวณหาอัตราการพบเห็น ( Encounter Rate, ER) โดยใช้สูตร กรมทางหลวงชนบท 3-304 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ERa = na x 100/N โดย ERa = อัตราการพบเห็นร่องรอยของสัตว์ชนิด a na = จำนวนแปลงตัวอย่างที่มีร่องรอยของสัตว์ชนิด a N = จำนวนแปลงตัวอย่างที่เก็บข้อมูลทั้งหมด และคำนวณหาความชุกชุมของสัตว์ป่าระบุเป็น 3 ระดับ โดยเปรียบเทียบ จากความถี่ของการพบสัตว์ป่า กับจำนวนครั้งที่สำรวจสัตว์ป่าและคำนวณเป็นค่าร้อยละความชุกชุมสัมพั ทธ์ (relative abundance) ตามแนวทางของ Pettingill (1970) ความชุกชุมสัมพัทธ์ (%) = จำนวนครั้งที่พบสัตว์X100 จำนวนครั้งที่สำรวจ เกณฑ์ที่ใช้ประเมินระดับความชุกชุมสัมพัทธ์ คือ สัตว์ป่ามีความชุกชุมมาก ( very common) คือ ชนิดที่พบจากการสำรวจ ได้บ่อยครั้งมากและมีค่าความชุกชุมสัมพัทธ์ระหว่าง 67 – 100 % สัตว์ป่ามีความชุกชุมปานกลาง ( common) คือ ชนิดที่พบจากการสำรวจ ค่อนข้างบ่อยและมีค่าความชุกชุมสัมพัทธ์ระหว่าง 34 – 66 % สัตว์ป่ามีความชุกชุมน้อย ( less common) คือ ชนิดที่พบจากการสำรวจ น้อยครั้งและมีค่าความชุกชุมสัมพัทธ์ระหว่าง 1 – 33 % (4) ผลการศึกษา การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ แนวเส้นทางโครงการตั้งอยู่ในพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล และห่างออกไปทางทิศตะวันออก เฉียงใต้ประมาณ 2 กิโลเมตร เป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา (รูปที่ 3.3.2-3) ซึ่งผลจากการรวบรวม ข้อมูลสัตว์ป่าที่ได้มีการสำรวจโดยสำนักงานอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา ซึ่งมีขอบเขตพื้นที่ศึกษาครอบคลุม พื้ น ที่ เกาะลั น ตามากกว่ า 3 กิ โ ลเมตร 1 พบว่ า ทรั พ ยากรป่ า ไม้ มี ความอุ ด มสมบู รณ์ และมี ความหลากหลาย ของพรรณพืชมาก ซึ่งสามารถจำแนกออกได้ดังนี้ • ป่าดิบชื้น คิดเป็นเนื้อที่ 19.42 ตารางกิโลเมตร ปรากฏอยู่บริเวณเกาะลันตาใหญ่ ตลอด แนวเทือกเขาลันตา ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบทั้งหมดของอาณาเขตของอุทยานแห่งชาติ ป่าดิบชื้นที่พบมีไม้ช้น ั บน และไม้ชั้นกลางความสูงโดยเฉลี่ย 15-25 เมตร พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ เคี่ยมคะนอง ยางแดง ตะแบกนา ตะเคียนหิน เป็นต้น และมีพันธุ์ไม้จำพวกปาล์มและหวาย เป็นไม้พื้นล่างของป่า พันธุ์สำคัญที่พบ ได้แก่ กะพ้อ หวายขม หวาย ตะค้าทอง หวายงวย เป็นต้น • ป่าชายเลน พบบริเวณ เกาะไม้งาม เกาะไม้งามใต้ และเกาะงู เกาะเหล่านี้เป็นเกาะที่มี ขนาดไม่ใหญ่นัก และมีสภาพเป็น ป่าชายเลนทั้งเกาะ ไม้ส่วนใหญ่มีระดับความสูงที่ใกล้เคียงกันโดยมีความสูง 5 เมตร โดยเฉลี่ยพันธุ์ไม้ที่พบ ได้แก่ แสมขาว โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ • ป่าชายหาด พบเป็นบริเวณไม่กว้างนัก ระหว่างรอยต่อของชายหาดกับป่าดิบชื้นของเกาะ ไหง พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ หูกวาง หยีทะเล ผักบุ้งทะเล และเตยทะเล เป็นต้น 1 อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา http://park.dnp.go.th/visitor/nationparkshow.php สืบค้นเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-305 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.2-3 พื้นที่อนุรักษ์ด้านสิ่งแวดล้อมบริเวณเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-306 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • สัตว์ป่า แบ่งออกได้เป็น 6 ประเภทใหญ่ๆ คือ - สัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม มีจำนวน 20 วงศ์ 30 สกุล 38 ชนิดในจำนวนสัตว์ทั้ง 38 ชนิดนั้น มี 2 ชนิดได้หมดไปจากเกาะลันตาแล้ว คือ กวางป่า และเสือโคร่ง ส่วนอีกชนิดหนึ่งคือ พะยูน ซึ่งเป็นสัตว์ป่าสงวน และอีก 2 ชนิดอยู่ในสถานะที่กำลังจะหมดไป คือ เก้ง และเสือปลา และสัต ว์ที่หายากอีกชนิดหนึ่งคือ ค้างคาว มงกุฎหูโตมาร์แชล - นก มีทั้งสิ้น 58 วงศ์ 130 สกุล 185 ชนิด นกที่พบบ่อยอยู่ในอุทยานแห่งชาติ เช่น เหยี่ยวแดง นกนางนวลแกลบคิ้วขาว นกเขาเขียว เป็นต้น ส่วนนกที่พบเห็นได้ค่อนข้างยาก เช่น นกขุนแผนอกสีสม ้ นกเดินดงสีเทาดำ และนกปลีกล้วยเล็ก เป็นต้น - สัตว์เลื้อยคลาน ชนิดที่พบได้ง่าย เช่น จิ้งจกหางแบน เหี้ย งูเหลือม และงูเห่าตะลาน เป็นต้น - สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก มีอยู่เพียง 2 ชนิด ชนิดที่พบเห็นได้ตามลำคลองทั่วไป คือ กบทูด และอึ่งน้ำเต้า ส่วนตามอาคารที่พักและตามแหล่งน้ำทั่วๆ ไป ในป่าจะพบสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก เช่น เขียดตะปาด และคางคกแคระ ชนิดที่หายากและพบได้น้อย คือ กบดอร์เรีย - ปลาน้ำจืดและปลาทะเล แหล่งน้ำจืดต่างๆ สามารถพบปลาน้ำจืด เช่น ปลาซิวใบไผ่เล็ก ปลาช่อนก้าง ปลาตะเพียนจุด เป็นต้น สำหรับปลาทะเลที่พบตามแนวปะการัง ชายฝั่งหาดหิน และปากคลอง น้ำจืด เช่น ปลาโทง ปลาปากคม และปลาปักเป้าหนามทุเรียน เป็นต้น - สัตว์ในแนวปะการัง เช่น ปะการังลูกโป่ง ปะการังเขากวางขนาดใหญ่ ปะการังเห็ด ปะการังดอกไม้ ปะการังดาวใหญ่ เป็นต้น การสำรวจภาคสนาม การสำรวจสัตว์ในระบบนิเวศในพื้นที่ศึกษาโครงการ ได้ดำเนินการสำรวจภาคสนาม จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ วันที่ 16-20 มกราคม 2564 (ฤดูแล้ง) และวันที่ 23-29 มิถุนายน 2564 (ฤดูฝน) มีขอบเขตครอบคลุม สัตว์ป่า 4 กลุ่ม คือ กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เพื่อรวบรวมข้อมูลความหลากหลายชนิดสัตว์ป่า บริเวณโดยรอบแนวเส้นทางโครงการฯ รวมทั้งศึกษาระบบนิเวศ ของพื้นที่และการแพร่กระจายของสัตว์ป่าในพื้นที่มีสภาพนิเวศแต่ละลักษณะ เพื่อนำไปวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างชนิดและประเภทสัตว์ป่ากับสภาพนิเวศของพื้นที่ ตลอดจนระบุปริมาณประชากรสัตว์ป่าโดยประเมินเป็น ความชุกชุมสัมพัทธ์ พื้นที่ศึกษาโครงการในระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ เป็นอย่างน้อยหรือมากกว่า ขึ้นอยู่กับกลุ่มสัตว์ป่าที่ทำการศึกษา ทั้งนี้ รูปแบบโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ต.เกาะกลาง-ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลั น ตา จ.กระบี่ มี จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ ท างหลวงหมายเลข 4206 บ้ า นหั ว หิ น ตำบลเกาะกลาง อ.เกาะลันตา ผ่ า นพื ้ น ที ่ ท ่ า เรื อ บ้ า นหั ว หิ น ชายฝั ่ ง ทะเลน้ ำ ตื ้ น เปิ ด โล่ ง คลองช่ อ งลาด และมี จ ุ ด สิ ้ น สุ ด ที ่ ช ายฝั ่ ง ทะเล น้ำตื้นอีกฟากฝั่งที่จุดชมวิวบ้านคลองหมาก ทางหลวง กบ.5035 ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา ระยะทางรวม ประมาณ 2.240 กิโลเมตร โดยมีโครงสร้างสะพานส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ทะเล (รูปที่ 3.3.2-4) ในการสำรวจ และเก็บตัวอย่างสัตว์ในระบบนิเวศ ได้จำแนกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่าง ๆ ของพื้นที่ศึกษา ประกอบด้วย เส้นทางคมนาคม (ทางหลวงหมายเลข 4206 และทางหลวงหมายเลข กบ.5035) สิ่งปลูกสร้าง สั ง คมพรรณพื ช /ป่ า ไม้ แ ละหย่ อ มต้ น ไม้ ป่ า ชายเลน ชายฝั ่ ง ทะเลน้ ำ ตื ้ น คลองช่ อ งลาด สวนปาล์ ม น้ ำ มั น สวนยางพารา หย่อมพื้นที่รกร้าง/ทิ้งร้าง และบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ ผลการศึกษาสำรวจสรุปภาพรวมได้ดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 3-307 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ก) พื้นที่แนวเส้นทางโครงการ (ก) ทางหลวงหมายเลข 4206 และทางหลวงหมายเลข กบ.5035 เป็นพื้นที่ก่อสร้างเชิง ลาดสะพาน ซึ่งจัดเป็นเส้นทางเคลื่ อนย้าย (corridor) ในพื้นที่ น ิ เวศภู ม ิ ท ั ศน์ เป็ น พื ้ นที่ เพื ่อการเคลื ่อนที่ตาม วัตถุประสงค์ที่หลากหลายของการพัฒนา (anthropogenic transformed ecosystem) ในมุมมองคนเราที่เป็น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับลิงเป็นการออกแบบและเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อการสัญจร (เคลื่อนที่) และเพื่อการขนส่ง (เช่นเดียวกับสัตว์) จัดเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ เปิดโล่งเป็นทางยาว (open linear infrastructure) มีองค์ประกอบ ดังนี้ • ช่องจราจรและไหล่ทางเป็นแนวยาวเปิดโล่ง (open surface linear area) โดยมี ยานพาหนะขนาดและประเภทต่าง ๆ ที่เคลื่อนที่บนพื้นผิวถนน และสภาพจราจรที่หนาแน่นคับคั่งแตกต่าง ในรอบวัน รอบสัปดาห์และตามฤดูกาล สภาวะอากาศเฉพาะที่ (microclimate) ที่พื้นผิวถนนดำ (แอสฟัลต์) ของทางหลวง จะดูดซับรังสีความร้ อน และในบางช่วงเวลาของรอบวันที ่สภาพแวดล้อมของพื้นที่โ ครงการ มีอุณหภูมิลดลงโดยเฉพาะในช่วงเวลากลางคืน ดังนั้นจึงสำรวจ พบว่า บริเวณไหล่ทางในบางช่วงทางหลวงที่ยัง ไม่มีการพัฒนาของสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่สองข้างทางจะเป็นแหล่งใช้ประโยชน์ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและ สัตว์เลื้อยคลานกลุ่มงูและกลุ่มกิ้งก่าที่คาดว่ามารับรังสีความร้อนจากถนน การสำรวจภาคสนามจะพบกิ้งก่าหัวแดง เหี้ย ซากสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและซากงูบริเวณไหล่ทางช่ วงดังกล่าว ด้วยเหตุผลอธิบาย คือ สภาวะอากาศ เฉพาะที่เป็นขอบเขตกว้างจะรวมตัวใน zone แคบ ๆ ของ road corridor โดยปัจจัยดังกล่าวทำให้เกิด microhabitat ที่หลากหลายสำหรับสัตว์ รูปที่ 3.3.2-4 รูปแบบโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จ.กระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-308 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • พื้นที่ริมไหล่ทาง (Roadside verge) มีสภาพแวดล้อมแตกต่างตามช่วงระยะทาง ในระยะ 500 เมตร อาจเป็นคูน้ำ/ท้องร่อง บริเวณเปิดโล่งของเส้นทางสัญจรของยานพาหนะ สิ่งปลูกสร้าง บ้านเรือนที่อยู่อาศัยของชุมชน พบว่า โดยทั่วไปพื้นที่ในชุมชนปลูกต้นไม้ชนิดพันธุ์ต่าง ๆ ไว้ทั้งไม้ใหญ่ ไม้พุ่ม และ ไม้ล้มลุก และยังคงมีสภาพหย่อมต้นไม้และพรรณพืชธรรมชาติ วัชพืชใบแคบ-ใบกว้างประเภทและชนิดต่า ง ๆ หลากหลายขึ้นเติบโตปะปนกัน โดยขอบเขตพื้นที่ดังกล่าวมีทั้งขอบเขตกว้างและพื้นที่ขนาดเล็ก อาจเป็นที่ลุ่ม รกร้าง บางบริเวณมีชนิดพันธุ์ต้นไม้ป่าชายเลนในสภาพเป็นกลุ่ม กระจัด กระจายแยกเป็นช่วง ๆ และ/หรือ ต่อเนื่องกันไปตามความยาวของทางหลวง สัตว์ป่าที่แพร่กระจายอยู่ ส่วนมากเป็นนกประเภทหากินตามพุ่มไม้ เรือนยอดต้นไม้ เช่น นกกระจิบธรรมดา นกอีแพรดแถบอกดำ นกอีเสือสีน้ำตาล เป็นต้น ประเภทหากินบนพื้นดิน ในพื้นที่กึ่งเปิดโล่งบริเวณไหล่ทางที่มีกลุ่ม/แนวพรรณพืชเป็นหย่อม ๆ เช่น นกยางกรอกพันธุ์จีน เป็นต้น อนึ่งพื้นที่ ริมไหล่ทางบริเวณที่มีชนิดพันธุ์ต้นไม้ของป่าชายเลนขึ้นเติบโต จึงเป็นบริเวณใช้ประโยชน์ของนกที่ผูกพันกับที่ ชุ่มน้ำเพื่อใช้เกาะพักที่กิ่งไม้หรือเกาะมองหาเหยื่อที่เป็นสัตว์น้ำ และเมื่อระดับน้ำในลำคลองลดต่ำลงจนเห็นดินเลน ชายคลองทำให้นกเดินลุยน้ำลุยเลนหากินอาหารประเภทสัตว์น้ำ สำรวจพบนกน้ำบางชนิดในสภาพถิ่น อาศัย เฉพาะที่ (microhabitat) ดังกล่าว เช่น นกกินเปี้ยว นกยางกรอกพันธุ์จีน นกยางเปีย นกยางเขียว นอกจากนี้ ในเรือนยอดต้นไม้ยังเป็นแหล่งหากินแมลงของนกบางชนิด เช่น นกอีแพรดแถบอกดำ ในสภาพหย่อมต้นไม้เป็น แถบยาวตามแนวริมชายคลองยังเป็นชายขอบเส้นทางที่ตัวเหี้ยเคลื่อนที่ไปตามพื้นผิวดินเลน • สิ่งก่อสร้างในแนวเขตทาง องค์ประกอบ เช่น เสาไฟ สายส่งไฟฟ้าและโคมไฟ ส่องสว่าง โครงและแผงป้ายโลหะระบุทิศทางและตำแหน่งที่ตั้งชุมชน เป็นต้น สิ่งก่อสร้างลักษณะต่าง ๆ ในแนว เขตทางหลวงดังกล่าวมีมิติโครงสร้างที่เป็นชิ้นงานมาประกอบ จึงมีขนาดความสูง ความกว้าง ความยาว และ ช่องว่างรอยต่อ โครงสร้างลักษณะนี้จึงเป็นที่ใช้ประโยชน์ด้านเกาะพัก (roosting site) และที่สร้างรังวางไข่ เลี้ยงดูลูกอ่อนของสัตว์ป่าหลากชนิดที่มีขนาดตัวเล็กและปรับตัว คุ้นเคย และทนทานต่อสิ่งรบกวนลักษณะต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ส่วนมากเป็นสัตว์ป่าชั้นนก โคมไฟส่องสว่าง และสายส่งไฟฟ้า พบนกหลากชนิดใช้ประโยชน์เป็นที่ เกาะพัก สัตว์ป่าส่วนน้อยที่กระจายอยู่เป็นสัตว์ป่าชั้นอื่น ๆ ที่อาศัยหลบซ่อนตัวตามช่องว่างรอยต่อของโครงสร้าง ได้แก่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกที่สำรวจพบ ได้แก่ คางคกบ้าน อึ่งอ่างบ้าน ปาดบ้าน เป็นต้น สัตว์เลื้อยคลาน ได้แก่ จิ้งจกหางหนาม กิ้งก่าหัวสีแดง เป็นต้น งูเขียวพระอินทร์มีอุปนิสัยอาศัยตามเรือนยอดจะเลื้อยเคลื่อนที่ไปยัง ระดับสูงของโครงสร้าง เช่น ลูกถ้วยด้านบนของเสาสายส่งไฟฟ้า เพื่อยกระดับอุณหภูมิร่างกายเพื่อให้ร่างกาย สามารถดำรงกิจกรรมที่สังคมพรรณพืชสิ่งก่อสร้างระดับพื้นต่อไป แสงไฟในเวลากลางคืนจากแนวทางหลวง อาจดึงดูดแมลงหรือไม่ดึงดูดแล้วแต่ประเภทหลอดไฟ ทำให้สัตว์ป่าบางชนิดมากินแมลง จากสภาพนิเวศปัจจุบันในช่วงเวลาสำรวจของพื้นที่เขตทาง และสภาพสัญจร ไป-มาของยานพาหนะ ทั้งประเภทและขนาด รวมทั้งเสียงจากเครื่องยนต์ เสียงแตร และเสียงล้อยางรถยนต์ การสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่ของยานพาหนะ กระแสลม มวลความร้อน แสงไฟส่องสว่างเวลากลางคืนและ มลพิษจากยานพาหนะประเภทต่าง ๆ และการจัดการดูแลรักษาจากกิจกรรมการแผ้วถางพรรณพืชและตัดฟัน ต้นไม้ เป็นต้น จึงมีสภาพนิเวศด้านถิ่นอาศัยสัตว์ป่าที่มีขนาดและคุณภาพต่ำ สัตว์ป่าที่สำรวจพบที่อาศัยและ เคลื่อนย้ายเข้ามาใช้ประโยชน์ในบริเวณเขตทางหลวง จึงมีความหลากชนิดและประชากรน้อย และเป็นประเภท ปรับตัวคุ้นเคยกับการถูกรบกวนและทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม และมีขนาดตัวเล็ก หลบเลี่ยง ซ่อนตัว และมักจะมีประสิทธิภาพการเคลื่อนที่สูง สัตว์ป่าส่วนมากสามารถปรับตัวอาศัยในที่เปิดโล่ ง การปรับตัว ของสัตว์ป่าที่อาศัยและเข้ามาใช้ประโยชน์ยังขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพระบบประสาทรับสัมผัส โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้ า นการรั บ ภาพ ( visualized sensory reception) และการรั บ คลื ่ น เสี ย ง ( acoustic sensory reception) พฤติกรรมและประสิทธิภาพสัณฐานเชิงนิเวศด้านการเคลื่ อนที่และหลีกเลี่ยงยานพาหนะ รวมทั้งหลีกเลี่ย ง การเคลื่อนที่บนพื้นผิวถนน เป็นต้น สัตว์ป่าที่อาศัยต้องการการปกป้องภัยจากสิ่งแวดล้อมโดยรอบสัตว์ผู้ล่า กรมทางหลวงชนบท 3-309 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน และเพื ่ อการหากิ น และเป็ นประเภทปรั บ ตั วคุ ้ น เคยกั บการถู กรบกวนและทนทานต่ อการเปลี ่ ย นแปลงของ สภาพแวดล้อม และมีขนาดตั วเล็ก หลบเลี่ยงซ่อนตัว อย่างไรก็ตามข้อมูลจากการสำรวจภาคสนามส่วนมากเป็น สัตว์ป่าชั้นนก (Class Aves) ที่เคลื่อนที่ด้วยการโบกปีกบินในอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอันดับนกเกาะคอน (Order Passeriformes) ที่มีนิ้วตีนช่วยเกาะพักที่ส่วนโครงสร้างต่าง ๆ ขององค์ประกอบของแนวเขตทาง และ ตามเรือนยอดต้นไม้และพุ่มพรรณพืช และส่วนน้อยเป็นสัตว์ป่าชั้นอื่น นกที่พบในหย่อมพรรณพืชริมไหล่ทาง ได้แก่ นกอีแพรดแถบอกดำ นกจาบคา นกยางกรอก นกแซงแซวหางปลา เป็นต้น (ข) พื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหินตำบลฝั่งเกาะกลางและฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย เป็นพื้นที่ จะก่อสร้างเชิงลาดสะพาน โดยพื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหินตำบลฝั่งเกาะกลาง ในด้านสภาพแวดล้อมเป็นลานคอนกรีต และช่องแนวจัดลำดับยานพาหนะขึ้นแพขนานยนต์ที่มีสภาพเปิดโล่ง มีกิจกรรมของมนุษย์และความพลุกพล่ าน ของยานพาหนะทั้งท่าเรือแพขนานยนต์ ผืนน้ำทะเล และบริเวณผูกพักโยงเรือประมงพื้นบ้าน และการขนย้าย สัตว์น้ำต่อเนื่องกับในพื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหินตลอดเวลาทั้งวันและต่อเนื่องถึงช่วงกลางคืน เมื่อพิจารณาสภาพนิเวศ ของพื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหินในปัจจุบันในด้านเป็นพื้นที่ อาศัยของสัตว์ป่ากล่าวได้ว่าส่วนมากเกือบทั้งหมดเป็นนก เข้ามาใช้ประโยชน์โดยเป็นชนิดที่ปรับตัวคุ้นเคยกับการถูกรบกวนอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ประโยชน์ในลักษณะเป็นที่ มองหาเหยื่อเป็นที่เกาะพัก เป็นที่หลบซ่อนตัว เป็นที่หลับนอน และเป็นที่ทำรังวางไข่ ชนิดนกที่เข้ามาใช้ ประโยชน์ เช่น นกตะขาบทุ่ง นกแอ่นแปซิฟิค นกกระเต็นอกขาว นกยางกรอกพันธุ์จีน รวมทั้งนกชายเลน เช่น นกเด้าดิน เป็นต้น ส่วนน้อยเป็นสัตว์ป่ามีกระดูกสันหลังชั้นอื่น ส่วนพื้นที่ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย สภาพทั่วไปเป็นแนวเขต ป่าชายเลนไม่หนาแน่นนัก สัตว์ป่าที่อาศัยและใช้ประโยชน์ ส่วนมากเป็นนก รวมทั้งเป็นสภาพนิเวศของนกน้ำ และนกชายเลนอพยพ พื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหินตำบลฝั่งเกาะกลางและฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย สำรวจพบ ฝูงลิงแสม (Macaca fascicularis) (รูปที่ 3.3.2-5) เข้ามารื้อค้นที่ บริเวณพื้นที่ทิ้งร้าง อาคารขนาดเล็กและ สิ่งก่อสร้างทิ้งร้าง และกองเศษวัสดุในบริเวณฝั่งใกล้เคียงท่าเรือแพขนานยนต์ ทั้งนี้ ลิงแสม (Macaca fascicularis) จัดเป็นลิงชนิดที่พบเห็นได้บ่อยที่สุด มีสถานภาพตามกฎหมายเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราช-บัญญัติสงวนและ คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ส่วนสถานภาพตาม IUCN (2020) จัดอยู่ในกลุ่มมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable : VU) สำหรับสถานภาพตามสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2560) จัดอยู่ในกลุ่ม ที่เป็นกังวลน้อยที่สุด (Least Concern : LC) ลิงแสมเป็นลิงอีกชนิดหนึ่งที่พบได้แทบทุกภูมิประเทศ ทั้งในป่าชายเลน ใกล้ทะเล โดยลิงฝูงที่อาศัยในที่นี่จะว่ายน้ำและดำน้ำเก่ง เคยมีรายงานว่าสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 50 เมตร หากิน สัตว์ทะเลขนาดเล็กเป็นอาหาร เช่น กุ้ง ปู หรือ หอย แต่บางครั้งก็พบอาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นและพื้นที่สูงประมาณ 2,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล หรือพื้นที่เกษตรกรรมด้วยซึ่งมันมักจะทำลายผลิตผลทางการเกษตร ลิงแสม พยายามจะปรับตัวให้สามารถอยู่ในพื้นที่บริเวณขอบนอกของป่ า มากกว่าอยู่ในป่าลึก และสามารถปรับตัวในเข้า กับมนุษย์ได้ในบางโอกาส ซึ่งมักจะอยู่เป็นฝูงใหญ่ อาจมีสมาชิกในฝูงได้ถึง 200 ตัว โตเต็มที่เมื่อมีอายุได้ราว 3-4 ปี ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ลูกที่มีอายุน้อยจะเกาะติดแม่เสมอ กรมทางหลวงชนบท 3-310 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.2-5 ลิงแสม (Macaca fascicularis) นิเวศวิทยาและพฤติกรรมลิงแสม ลิงแสม (Macaca fascicularis) มีสถานะการอนุรักษ์ตาม IUCN (2020) และสำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) พ.ศ. 2560 จัดอยู่ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที ่ อยู่ ในสถานภาพกลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด ( Least Concern-LC) โดยลิงแสมเป็นลิงอีกชนิดหนึ่งที่พบได้แทบทุก ภูมิประเทศ ทั้งในป่าชายเลนใกล้ทะเล โดยลิงฝูงที่อาศัยในที่นี่จะว่ายน้ำและดำน้ำเก่ง เคยมีรายงานว่าสามารถ ดำน้ำได้ลึกถึง 50 เมตร หากิ นสัตว์ทะเลขนาดเล็กเป็นอาหาร เช่น กุ้ง ปู หรือหอย แต่บางครั้งก็พบอาศัยอยู่ใน ป่าดิบชื้นและพื้นที่สูงประมาณ 2 ,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล หรือพื้นที่เกษตรกรรมด้วยซึ่งมันมักจะทำลาย ผลิตผลทางการเกษตรลิงแสมพยายามจะปรับตัวให้สามารถอยู่ในพื้นที่บริเวณขอบนอกของป่ามากกว่าอยู่ในป่าลึก และสามารถปรับตัวในเข้ากับมนุษย์ได้ในบางโอกาส ลิงแสมมักจะอยู่เป็นฝูงใหญ่ อาจมีสมาชิกในฝูงได้ถึง 200 ตัว (https://th.wikipedia.org/wiki/ลิงแสม) ทั้งนี้ผลจากการสำรวจภาคสนามนบริเวณพื้นที่โครงการก่อสร้างสะพาน เชื่อมเกาะลันตา ต.เกาะกลาง-ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ พบลิงแสมอาศัยอยู่ตามแนวชายฝั่งที่มี สภาพเป็นพื้นที่ป่าชายเลน ทั้งฝั่งเกาะกลางและเกาะลันตาน้อย (บริเวณพื้นที่ก่อสร้างเชิงลาดสะพานทั้ง สองฝั่ง) ซึ่งมีบางตัวออกจากพื้นที่ป่าชายเลน มาอาศัยอยู่ตามแนวต้นไม้ใหญ่ที่อยู่ติดกับบ้านเรือนของประชาชน โดยแผนที่ แสดงการเดินทางของลิงแสมในพื้นที่ศึกษาโครงการ แสดงดังรูปที่ 3.3.2-6 จากการสอบถาม หัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล เมื่ อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 กล่าวว่าในพื้นที่ฝั่งตำบลเกาะกลางมีฝูงลิงแสม ประมาณ 250-300 ตัว และพื้นที่ฝ่ง ั ตำบล เกาะลันตาน้อย มีประมาณ 200-230 ตัว ปัจจุบันทางเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเลได้ประสานงานไปยังจังหวัดกระบี่ เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณควบคุมประชากรลิงแสมมาผ่าตัดทำหมัน ตามโครงการปฏิบัติการลดความเดือดร้อน จากลิงแสมในท้องที่จังหวัด กระบี่ เพื่อลดประชากรลิง ภายหลังฝูงลิงมีประชากรเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง และได้ก่อความ เดือดร้อนแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยว แย่งอาหาร ขโมยทรัพย์สิน รวมไปถึงทำร้ายนักท่องเที่ยวได้รับบาดเจ็บ หลายราย นอกจากน ยังได้กล่าวอีกว่าในกรณีที่มีการพัฒนาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ต.เกาะกลาง-ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โอกาสที่ลิงแสมฝั่งเกาะกลางจะข้ามไปฝั่งเกาะลันตาน้อย หรือลิงแสมฝั่งเกาะลันตาน้อยจะข้ามมายังเกาะกลางนั้นเป็นไปได้ยากหรือมีโอกาสน้อยมาก เนื่องจากฝูงลิงแต่ละฝูง มีอาณาเขตในการปกครองพื้นที่ของตน ดังนั้น การหากินของลิงแสมฝั่งเกาะกลางจะอยู่ตามแนวป่าชายเลนเกาะกลาง และลิงแสมฝั่งเกาะลันตาน้อยจะหากินอยู่ตามแนวป่าชายเลนเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-311 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.2-6 แผนที่แสดงการเดินทางของลิงแสมในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-312 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ค) ชายฝั่งทะเลน้ำตื้น คลองช่องลาด แนวเส้นทางโครงการช่วงตัดผ่านพื้นที่ชายฝั่งทะเล น้ำตื้น คลองช่องลาด ที่จะก่อสร้างสะพานคานขึง สะพานคานยื่นสมดุล มีสภาพเป็นส่วนหนึ่งของสังคมป่าชายเลน ที่มีสภาพพื้นที่เป็นแนวยาวต่อเนื่องกันตามแนวเปิดโล่งชายฝั่งน้ำตื้นบริเวณคลองช่องลาด เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทุ่งทะเล สัตว์ป่าที่อาศัยและใช้ประโยชน์ ส่วนมากเป็นนก รวมทั้งเป็นสภาพนิเวศของนกน้ำและนกชายเลนอพยพ ข) พื้นที่ศึกษาโครงการในระยะ 500 เมตร (จากกึ่งกลางแนวเส้นทางโครงการ) เป็นอย่าง น้อยหรือมากกว่าขึ้นอยู่กับกลุ่มสัตว์ป่าที่ทำการศึกษา มีลักษณะเป็นพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์จากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ พื้นที่ธรรมชาติ (ส่วนหนึ่งของสังคมป่าชายเลน ด้านทิศตะวันออกของเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล และ สภาพต่อเนื่องห่างออกไปยังแนวชายฝั่งทะเลน้ำตื้นเปิดโล่ง มีขนาดพื้นที่เป็นขอบเขตกว้าง) โดยเป็นบริเวณแถบพื้นที่ ของป่ า ชายเลนจั ดอยู่ ในเขตน้ ำทะเลขึ้ น -ลง ( intertidal zone ) ที่ เป็ น ชายหาดเลน นอกจากนี้ ในระยะรัศมี 500 เมตร มีสภาพเป็นสิ่งปลูกสร้าง สังคมป่าชายเลนมีชนิดพันธุ์ไม้ ได้แก่ โกงกาง ต้นแสม ต้นจาก ปรงทะเล เหงือกปลาหมอ ฝาด โปรง กะพ้อ เตยทะเล ปรงหนู พังกาหัวสุม ขลู่ โดยมีวัชพืชใบกว้าง ใบแคบหลากชนิด เจริญเติบโตปะปนกัน ในช่วงเวลาน้ำลง จะมีสภาพเป็นลานดินเลน ทราย กรวด โดยมีสภาพเป็นหาดที่เปิดโล่ง ขอบเขตกว้าง ทั้งลักษณะพื้นที่ต่อเนื่องออกจากแนวชายป่าชายเลนและเป็นแนวยาว ซึ่งกล่าวได้ว่าสัตว์ป่าที่มี กระดูกสันหลังที่ผูกพันกับพื้นที่ชุ่มน้ำลักษณะดังกล่าวข้ า งต้ น และเข้ า มาใช้ ป ระโยชน์ เป็ นส่ ว นมาก คื อ กลุ่ ม สัตว์เลื้อยคลาน อาทิเช่น เหี้ย (Varanus salvator) งูปากกว้างน้ำเค็ม (Cerberus rynchops) และกบน้ำกร่อย Fejervarya cancrivora เป็นต้น ประชากรสัตว์ป่าส่วนใหญ่ที่พบในบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ เป็ น นกในอั น ดั บ นกชาย เลนที่มีสถานภาพอพยพเป็นส่วนใหญ่ ด้วยสภาพลานชายหาดที่เปิดโล่งในช่วงน้ำลง คาดว่าจะมีเหล่านกชายเลน มีพฤติกรรมการหากินอาหารและพักอยู่รวมกันเป็นฝูง ด้วยสาเหตุที่นกชายเลน/นกน้ำ มีสัณฐานโครงสร้างร่างกาย เชิงนิเวศ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการกินอาหาร ได้แก่ ลักษณะและขนาดของจะงอยปาก ขา และตีน ที่สอดคล้อง กับการหากินอาหารบริเวณหาดเลนทั้งช่วงเวลากลางวันและกลางคืนตามรอบการขึ้นลงของน้ำทะเล จึงเอื้อต่อการ เดินหากินอาหารทั้งเหยียบเลนลักษณะต่าง ๆ และลุยน้ำที่ระดับต่าง ๆ ลักษณะต่าง ๆ สัมพันธ์กับโครงสร้าง สัณฐานด้านการหากินอาหาร ได้แก่ ขนาดและรูปทรงจะงอยปาก ความยาวขา เช่น นกหัวโตสีเทา (Pluvialis squatarola) นกอีก๋อยใหญ่ (Numenius arquata) นกทะเลขาแดง (Tringa tetanus) และนกน้ำในอันดับอื่น ๆ ได้แก่ อันดับนกยาง เช่น นกยางกรอกพันธุ์จีน (Ardeola bacchus) นกยางเปีย (Egretta garzetta) นกยางโทนใหญ่ (Casmerodius albus) นกยางเขียว (Butorides striatus) นกยางทะเล (Egretta sacra) เป็นต้น ซึ่งคาดว่าพื้นที่ ดังกล่าวมีความเหมาะสมเป็นแหล่งหากินของนกน้ำอันดับนกนางนวลหลากชนิดที่จะบินในอากาศมองหาเหยื่อที่ เป็นสัตว์น้ำที่มีพื้นผิวผืนน้ำเปิดโล่งของคลองช่องลาด นอกจากนี้ยังสำรวจพบนกที่ผูกพันกับเรือนยอดไม้ป่าชายเลนสภาพนิเวศลักษณะนี้ คือ นกน้ำ เช่น นกกินเปี้ยว (Todiramphus chloris) นกน้ำที่เกาะรากค้ำจุนของโกงกางเพื่อจ้องมองหาเหยื่อที่เป็น สัตว์น้ำในร่องน้ำ และ/หรือบนผืนดินเลน เช่น นกยางเขียว รวมทั้งเกาะพักขณะน้ำทะเลหนุนสูงขึ้นท่วมท้นหาด เช่น นกอีก๋อยใหญ่ นกอีก๋อยเล็ก นกหัวโตสีเทา นกทะเลขาแดง เป็นต้น นกล่าเหยื่อที่บินมองหาเหยื่อจากในอากาศ คือ เหยี่ยวแดง (Haliastur indus) เป็นต้น รวมทั้งยังสำรวจพบร่องรอยและกองมูลของนากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspicillata) บริเวณป่าชายเลนฝั่งเกาะกลางช่วง กม.0+400-กม.0+500 และฝั่งเกาะลันตาน้อย ช่วง กม.2+000- กม.2+200 ระยะห่างจากแนวเส้นทางโครงการประมาณ 400-500 เมตร (รู ปที ่ 3.3.2-7) นากใหญ่ขนเรี ยบ มีสถานภาพตามกฎหมายเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ส่วน สถานภาพตาม IUCN (2022) จัดอยู่ในกลุ่มมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ ( Vulnerable : VU) สำหรับสถานภาพตาม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อม (2560) จัดอยู่ในกลุ่มมีแนวโน้มใกล้สูญพั นธุ์ (Vulnerable : VU) เช่นเดียวกับสถานภาพตาม IUCN และจากการสอบถามข้อมูลราษฎรพื้นที่ที่มีความอาวุโส และ กรมทางหลวงชนบท 3-313 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โดยเฉพาะราษฎรที่มีวิถีดำรงชีวิตหาเลี้ยงชีพด้วยการทำประมงพื้นบ้านตามแนวชายฝั่งเขตขึ้น -ลงของน้ำทะเล และ ราษฎรพื้นที่ที่มีกิจกรรมในพื้นที่เกษตรสภาพต่าง ๆ และจากลักษณะกิจกรรมของเกษตรกรที่สัมพันธ์กับช่วงเวลา กิจกรรมดำรงชีวิตของสัตว์ป่าทั้งกลางวันและกลางคืน และในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ที่เคลื่อนย้ายมาใช้พื้นที่ ป่าชายเลน และลานเลนริมชายป่าโกงกางและกลุ่มต้นไม้ที่ต่อเนื่องไปถึงชายหาดในแนวเส้นทางโครงการ รูปที่ 3.3.2-7 ตำแหน่งที่พบนากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspicillata) (ก) พื้นที่ป่าชายเลน ป่าชายเลนที่อยู่ใกล้เคียงท่าเทียบเรือมีโครงสร้างของป่าสภาพ หนาแน่นต้นไม้ และเป็น ป่าชายเลนที่มีระยะกว้างไม่มากนัก กระจายอยู่เฉพาะแนวชายฝั่งทะเลน้ำตื้นและแนว ฝั่งคลองช่องลาด สัตว์ป่าที่พบในป่าชายเลน เช่น กบน้ำกร่อย (Fejervarya cancrivora) งูปากกว้างน้ำเค็ม (Cerberus rynchops) งูปล้องทอง (Boiga dendrophila) นกยางทะเล (Egretta sacra) นกกระจิบหัวแดง (Orthotomus sepium) รวมทั้งนากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspicillata) เป็นต้น และสัตว์ป่าที่พบในป่าชายเลนต่อเนื่อง จากท่าเทียบเรือฯ เช่น เหี้ย (Varanus salvator) งูปากกว้างน้ำเค็ม (Cerberus rynchops) นกยางเปีย (Egretta garzetts) นกกะปูดใหญ่ (Centropus sinemnsis) นกกินเปี้ยว (Todiramphus chloris) นกกระจ้อยป่าโกงกาง ( Gerygone sulphurea) นกอี แพรดแถบอกดำ (Rhipidura javanica) รวมทั ้ ง นากใหญ่ ขนเรี ย บ (Lutrogale perspicillata) เป็ น อาทิ และยั ง พบว่ า บริ เวณใกล้ เคี ย งป่ า ชายเลนและผื น น้ ำ ชายฝั ่ ง ทะเลน้ ำ ตื ้ น เปิ ด โล่ ง มีภูเขาหินปูนกระจายอยู่และภูเขาบางลูกอยู่ในขอบเขตของระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเส้นทางโครงการ บนภูเขา หินปูนมีต้นไม้ขึ้นปกคลุมเป็นผืนป่าและเป็นเขตป่าอนุรักษ์ สำรวจพบสัตว์ป่าประเภทอาศัยอยู่ป่า เช่น นกคัคคู สี ท องแดง (Chrysococcyx minutillus) นกพญาไฟสี เทา (Perocrocotus divaricatus) นกหั วขวานด่ างแคระ (Dendrocopos canicapillis) นกกระจิบหัวแดง (Orthotomus ruficeps) เป็นต้น กรมทางหลวงชนบท 3-314 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ข) สวนปาล์มน้ำมัน สวนยางพารา สวนทั้งสองประเภทมีศักยภาพในด้านเป็นที่อยู่อาศัย ของสัตว์ป่าในระดับใกล้เคียงกันเพราะโดยทั่วไปพื้นล่างของสวนปาล์มน้ำมันและของสวนยางพาราที่มีอายุมาก จะมีสภาพโล่ง เนื่องจากพรรณพืชที่ขึ้นปกคลุมอยู่ได้ถูกตัดฟันให้สั้นอยู่เสมอทำให้แหล่งอาหารโดยตรงของสัตว์ป่า คือ พรรณพืชอาหารมีความหลากหลายต่ำ รวมทั้งส่งผลให้แหล่งอาหารโดยอ้อม คือ แมลงและสัตว์ประเภทต่าง ๆ มีปริมาณน้อยเช่นเดียวกัน เมื่อผนวกกับกิจกรรมที่มีอยู่อย่างต่อเนื่องในสวนทั้งสองประเภท จึงมีส่วนร่วมให้ สัตว์ป่าเข้ามาใช้ประโยชน์น้อยลงเพราะถูกรบกวน แต่สวนที่มีอายุน้อยที่ต้นปาล์มน้ำมัน/ต้นยางพารายังมีขนาด เล็กจะเป็นสวนที่มีสภาพค่อนข้างเปิดโล่งและทำให้สภาพนิเวศมีความหลากหลายมากขึ้น จึงมีสัตว์ป่าประเภท อาศัยในที่เปิดโล่งเข้ามาใช้ประโยชน์ในความหลากชนิดเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นบริเวณรอยต่อของสวนทั้งสองประเภท แต่ละแห่งส่วนใหญ่มีกลุ่มต้นไม้ชนิดพันธุ์ต่าง ๆ ตามธรรมชาติเติบโตปะปนกัน รวมทั้งหลายชนิดเป็นพืช อาหาร สัตว์ป่า จึงเป็นบริเวณที่มีสัตว์ป่าเข้ามาใช้ประโยชน์มากกว่าพื้นที่ส่วนอื่นเพราะมีแหล่งอาหารและมีที่หลบภัย สัตว์ป่า ที่พบในสวนทั้งสองประเภทส่วนใหญ่เป็นความหลากชนิดคล้ายคลึงกัน ตัวอย่าง เช่น คางคกบ้าน (Duttaphrynus melanostictus) กบหนอง ( Limnonectes limnocharis) ตุ ๊ กแกบ้ าน ( Gekko gecko) กิ ้ งก่ าหั ว แดง ( Calotes versicolor) นกสีชมพูสวน (Dicaeum cruentatum) เป็นต้น อนึ่งบริเวณใกล้เคียงสวนปาล์มน้ำมัน สวนยางพารา ในระยะ 500 เมตร บางแห่งมีหย่อมป่าดิบชื้นรุ่นสอง พบเป็นที่อาศัยของสัตว์ป่าที่ส่วนมากเป็นนก เช่น นกคัคคู สีทองแดง นกพญาไฟสีเทา นกหัวขวานด่างแคระ นกกระจิบหัวแดง เป็นต้น (ค) พื้นที่ปลูกไม้ผล มีเนื้อที่เป็นสัดส่วนไม่มากและส่วนมากอยู่ใกล้เคียงกับที่ตั้งชุมชน หรื อที่ ตั้ ง บ้ า นเรื อน ส่วนใหญ่เป็นไม้ผลที่ปลูกไม้ผลหลากหลายชนิดปะปนกันโดยมะพร้าวมีปริมาณมากที่สุด นอกจากพันธุ์ไม้ผลแล้ว ยังมีชนิดพันธุ์ไม้ธรรมชาติดั้งเดิมเติบโตปะปนอยู่ด้วยทำให้ เป็นบริเวณที่มีความหลากหลาย ของพรรณพืช และทำให้มีศักยภาพในด้านเป็นที่อยู่อาศัยสูงกว่าสวนปาล์มน้ำมันและสวนยางพารา แต่สัตว์ป่า ที่อาศัยหรือเข้ามาใช้ประโยชน์ต้องปรับตัวให้คุ้นเคยกับการถูกรบกวนที่มีอยู่อย่างต่อเนื่องในสวนผลไม้ ชนิดของ สัตว์ป่าที่พบ เช่น คางคกบ้าน (Duttaphrynus melanostictus) กบหนอง (Limnonectes limnocharis) จิ้งจก หางหนาม ( Hemidactylus frenatus) จิ้งเหลนบ้าน ( Mabuya multifasciata) นกจาบคาหัวสีส้ม ( Merops leschenaulti) นกปรอดสวน ( Pycnonotus blanfordi) นกกระจี ๊ ด ขั ้ ว โลกเหนื อ ( Phylloscopus borealis) เป็นอาทิ (ง) พื้นที่รกร้าง เป็นบริเวณที่มีต้นไม้ชนิดพันธุ์ต่าง ๆ เติบโตปะปนกันกระจายเป็นหย่อม แต่ไม่มีความต่อเนื่องเป็นผืน พื้นที่บริเวณนี้หลายแห่งถูกใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อปลูกพืชเกษตร แต่พื้นที่ส่วนหนึ่ง ถูกปล่อยทิ้งร้างทำให้มีสภาพเป็นที่เปิดโล่งของพื้นดินแห้งหรือเป็นที่รกร้างที่มีหญ้าและวัชพืชใบกว้างนานาชนิด เติบโตปะปนกัน ในขณะที่อีกหลายแห่งยังคงถูกใช้ประโยชน์ที่ดินในปัจจุบัน โดยเป็นนาข้าวแคบ ๆ และรวมทั้ง มีคูน้ำและบ่อน้ำกระจายอยู่ด้วย ด้วยเหตุนี้พื้นที่บริเวณนี้จึงมีความหลากหลายของระบบนิเวศและทำให้มีสัตว์ป่า เข้ามาใช้ประโยชน์ในความหลากชนิดค่อนข้างมาก ชนิดสัตว์ป่าที่พบ เช่น กบหนอง ( Limnonectes limnocharis) จิ้งจกหางหนาม (Hemidactylus frenatus) จิ้งเหลนหลากหลาย (Mabuya macularia) นกยางเปีย (Egretta garzetta) นกแซงแซวหางปลา (Dicrurus macrocercus) นกยอดข้างหางแพนลาย (Cisticola juncidis) นกอีแพรด แถบอกดำ (Rhipidura javanica) เป็นต้น ค) จำนวนชนิดสัตว์ป่าจากการศึกษา การสำรวจภาคสนามรวบรวมข้อมูลความหลากชนิด สัตว์ป่าตามแนวเริ่มต้นและสิ้นสุดเส้นทางโครงการ บริเวณพื้นที่ขอบเขตแนวเส้นทางโครงการ และพื้นที่ระยะ 500 เมตร เพื่อการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านสัตว์ป่า ได้จำนวนชนิดสัตว์ป่าอย่างน้อย 80 ชนิด เป็นสัตว์ป่าที่ พบเห็นตัวโดยตรงหรือจากหลักฐานและร่องรอย จำแนกเป็นจำนวนของสัตว์ป่าแต่ละชั้น ( class) คือ (1) ชั้นสัตว์ สะเทินน้ำสะเทินบก 7 ชนิด (2) ชั้นสัตว์เลื้อยคลาน 13 ชนิด (3) ชั้นนก 55 ชนิด และ (4) ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 5 ชนิด ดังรายละเอียดจำนวนตามหลักอนุกรมวิธานของสัตว์ป่าแต่ละชั้นในตารางที่ 3.3.2-1 กรมทางหลวงชนบท 3-315 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.2-1 อนุกรมวิธานของสัตว์ป่าแต่ละกลุ่มที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการ จำนวนตามหลักอนุกรมวิธาน ชั้น อันดับ วงศ์ สกุล ชนิด (Class) (Order) (Family) (Genus) (Species) สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 1 4 5 7 สัตว์เลื้อยคลาน 1 6 12 13 นก 10 27 47 55 สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 4 4 5 5 รวม 16 41 69 80 ง) ความหลากหลายชนิ ด สั ต ว์ ป ่ า ความหลากหลายทางชี ว ภาพด้ า นทรั พ ยากรสั ต ว์ป่า มีกระดูกสันหลังบริเวณเขตทางและต่อเนื่องออกไปในขอบเขตพื้นที่ เพื่อการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในรัศมี 500 เมตร ของเส้นทางโครงการจะสัมพันธ์กับสภาพนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีสภาพเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งน้ำจืด น้ำกร่อย และน้ำเค็มที่ได้รับอิทธิพลธรรมชาติและอิทธิจากการพัฒนา การใช้ประโยชน์ที่ดิน การเปลี่ยนแปลง สภาพนิเวศของพื้นที่ การตั้งชุมชนและกิจกรรมลักษณะต่าง ๆ ดังกล่าวข้า งต้น โดยส่วนมากเป็น wetland vertebrates (สัตว์ป่ามีกระดูกสันหลังในพื้นที่ชุ่มน้ำ ) สัตว์ป่า 4 กลุ่ม ที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่ โครงการ และพื ้ นที ่ อ่อนไหวต่อเนื ่ องออกไปในพื ้ นที ่ส ำรวจ มี รายละเอี ย ดความหลากชนิ ด และการแพร่กระจายตาม ลักษณะนิเวศโดยสังเขป คือ (ก) สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ได้ข้อมูลสัตว์ป่ากลุ่มนี้ 7 ชนิด ตามบัญชีรายชื่อในตารางที่ 3.3.2-2 สัตว์ป่ากลุ่มนี้ใช้ผิวหนังลำตัวแลกเปลี่ยนแก๊สและวัยอ่อน (ลูกอ๊อด) ต้องอาศัยในน้ำทำให้ต้องอาศัย ในแหล่งน้ำหรือใกล้เคียงแหล่งน้ำ หรือในที่มีความชุ่มชื้นสูงเพื่อให้มีผิวหนังชุ่มชื้นอยู่เสมอ ซึ่งการแพร่กระจาย ของสัตว์กลุ่มนี้ทุกชนิดเป็นกลุ่มที่ปรับตัวอาศัยในแหล่งน้ำลักษณะต่าง ๆ หลากหลายตลอดจนบางชนิดอาศั ย อยู่บนบกบริเวณที่มีความชุ่มชื้นทำให้แพร่กระจายได้กว้าง เช่น คางคกบ้าน ( Duttaphrynus melanostictus) อึ่งอ่างบ้าน (Kaloula pulchra) กบหนอง (Fejervarya limnocharis) ปาดบ้าน (Polypedates leucomystax) เป็นต้น (ข) สัตว์เลื้อยคลาน ได้ข้อมูลสัตว์ป่ากลุ่มนี้ 13 ชนิด ตามบัญชีรายชื่อในตารางที่ 3.3.2-3 สัตว์ป่ากลุ่มนี้ที่ได้ข้อมูลมีพื้นฐานการดำรงชีวิตแตกต่างเป็น 3 ประเภท คือ ( 1) ดำรงชีวิตเป็นสัตว์น้ำหรือ แบบสะเทินน้ำสะเทินบกโดยมีพื้นที่อาศัยและหากินในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ ลำคลองหรือใกล้เคียงลำคลอง ป่าชายเลน เช่น งูปากกว้างน้ำเค็ม ( Cerberus rychops) เหี้ย ( Varanus salvator) เป็นอาทิ ( 2) ดำรงชีวิตเป็นสัตว์บก ประกอบด้วย ชนิดค่อนข้างจำกัดแหล่งอาศัยในพื้นที่ป่าหรือมีพรรณพืชหนาแน่น โดยอาศัยตามลำต้น/เรือนยอด ต้นไม้ เช่น งูสายม่าน (Dendrelaphis sp.) งูเขียวพระอินทร์ (Chrysopelea ornata) เป็นต้น และ (3) ดำรงชีวิต เป็นสัตว์บก ประกอบด้วย ชนิดค่อนข้างจำกัดแหล่งอาศัยในพื้นที่ป่าหรือมีพรรณพืชหนาแน่น หรือบริเวณพื้นที่ ถู กรบกวนอย่ า งต่ อเนื ่ อง เช่ น กิ ้ ง ก่ า รั ้ ว ( Calotes versicolor) จิ ้ ง จกหางหนาม ( Hemidactylus frenatus) จิ้งเหลนหลากหลาย (Eutropis macularia) เป็นอาทิ กรมทางหลวงชนบท 3-316 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.2-2 บัญชีรายชื่อสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการ จากการสำรวจภาคสนาม พื้นที่พบ ระดับ สถานภาพ อันดับ / วงศ์ / ชนิด ฤดูร้อน ฤดูฝน ชุกชุม 1 2 1 2 1 2 3 Order Anura Family Bufonidae 1. คางคกบ้าน (Duttaphrynus melanostictus) x x x x + - - - Family Ranidae 2. กบหนอง (Fejervarya limnocharis) - x - x + - - - 3. กบน้ำกร่อย (Fejervarya cancrivora) - - x x ++ - - - Family Rhacophoridae 4. ปาดบ้าน (Polypedates leucomystax) - x - x + - - - Family Microhylidae 5. อึ่งอ่างบ้าน (Kaloula pulchra) x x x x + - - - 6. อึ่งน้ำเต้า (Microhyla ornata) - x - x + - - - 7. อึ่งข้างดำ (Microhyla heymonsi) - x - x + - - - พื้นที่พบ : 1 = พื้นที่ขอบเขตแนวเส้นทาง 2 = พื้นที่ระยะรัศมี 500 เมตร ระดับชุกชุม : + = ชุกชุมน้อย สถานภาพ : 1 = ตามกฎหมายตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 และตรวจสอบได้จากบัญชีกฎกระทรวง กำหนดให้สัตว์ป่า บางชนิดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง พ.ศ. 2546 - = ไม่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมาย 2 = เพื่อการอนุรักษ์ตามเกณฑ์สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2560) / Office of Natural Resource and Environmental Policy and Planning (2017) - = ไม่เป็นสัตว์ป่าถูกคุกคาม 3 = เพื่อการอนุรักษ์ตามเกณฑ์องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการอนุรักษ์ธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature)/IUCN (2020) - = ไม่เป็นสัตว์ป่าถูกคุกคาม กรมทางหลวงชนบท 3-317 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.2-3 บัญชีรายชื่อสัตว์เลื้อยคลานที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการฯ จากการสำรวจภาคสนาม พื้นที่พบ สถานภาพ ระดับ อันดับ/วงศ์/ชนิด ฤดูร้อน ฤดูฝน ชุกชุม 1 2 3 1 2 1 2 Order Squamata Family Gekkonidae 1. จิ้งจกหางหนาม (Hemidactylus frenatus) x x x x + - - - 2. จิ้งจกหางแบนเล็ก (Cosymbotus platyurus) x x x x + - - - 3. ตุ๊กแกบ้าน (Gekko gecko) x x x x + - - - Family Agamidae 4. กิ้งก่าหัวแดง (Calotes versicolor) x x x x + ค - - Family Scincidae 5. จิ้งเหลนบ้าน (Eutropis multifasciata) x x x x + - - - 6. จิ้งเหลนหลากหลาย (Eutropis macularia) x x x x + - - - Family Varanidae 7. เหี้ย (varanus salvator) x x x x + ค - - Family Colubridae 8. งูสายม่านพระอินทร์ (Dendrelaphis pictus) x x x x + - - - 9. งูเขียวปากแหนบ (Ahaetula nasuta) - x - x + - - - 10. งูเขียวพระอินทร์(Chrysopelea ornate) x x x x + - - - 11. งูปล้องทอง (Boiga dendrophila) x x x x + - - - 12. งูปากกว้างน้ำเค็ม (Cerberus rynchops) x x x x + - - - Family Viperidae 13. งูพังกา (Cryptelytrops purpureomaculatus) x x x x + - - พื้นที่พบ : 1 = พื้นที่ขอบเขตแนวเส้นทาง 2 = พื้นที่ระยะรัศมี 500 เมตร ระดับชุกชุม : + = ชุกชุมน้อย สถานภาพ : 1 = ตามกฎหมายตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 และตรวจสอบได้จากบัญชีกฎกระทรวง ้ ครอง พ.ศ. 2546 กำหนดให้สัตว์ป่าบางชนิดเป็นสัตว์ป่าคุม ค = ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมาย - = ไม่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมาย 2 = เพื่อการอนุรักษ์ตามเกณฑ์สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2560) / Office of Natural Resource and Environmental Policy and Planning (2017) - = ไม่เป็นสัตว์ป่าถูกคุกคาม 3 = เพื่อการอนุรักษ์ตามเกณฑ์ IUCN (2020) VU = สัตว์ป่ามีแนวโน้มใกล้สูญพันธ์ - = ไม่เป็นสัตว์ป่าถูกคุกคาม กรมทางหลวงชนบท 3-318 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ค) นก ได้ข้อมูลสัตว์ป่ากลุ่มนี้ 55 ชนิด ตามบัญชีรายชื่อใน ตารางที่ 3.3.2-4 โดยอันดับ นกจับคอน (Order Passeriformes) มีจำนวนชนิดมากที่สุด ส่วนอันดับอื่น ๆ ที่สำรวจพบ เช่น อันดับนกยาง (Order Ciconiiformes) อันดับเหยี่ยว ( Order Falconiformes) อันดับนกชายเลน ( Order Charadriiformes) อั น ดั บ นกจาบคา/นกกระเต็ น /นกตะขาบ ( Order Coraciiformes) อั น ดั บ นกโพระดก/นกหั ว ขวาน ( Order Piciformes) อั น ดั บ นกแอ่ น ( Order Apodiformes) เป็ น ต้ น สั ต ว์ ป ่ า กลุ ่ ม นี ้ม ี ความสามารถในการบิ นทำให้ การแพร่กระจายมีขอบเขตกว้าง ตลอดจนเคลื่อนย้ายหาพื้นที่อาศัย และหากินในที่มีสภาพนิเวศตามลักษณะที่ ต้องการได้อย่างรวดเร็ว และเป็นระยะทางไกล โดยจำแนกประเภทตามความต้องการลักษณะนิเวศ เพื่อใช้เป็น แหล่งอาศัยและหากินได้ 2 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มที่มีแหล่งอาศัยและหากินในพื้นที่กลุ่มต้นไม้หรือมีพรรณพืชหนาแน่น หรื อบริ เวณรอยต่ อของพื ้ น ที ่ กลุ ่ มต้ นไม้กั บ ที ่ เปิด โล่ ง เช่ น นกยางเขี ย ว ( Butorides striatus) เป็ น ต้ น การ แพร่กระจายของนกชนิดต่าง ๆ ในกลุ่มนี้จึงอยู่ในกลุ่มต้นไม้ของป่าชายเลน และกลุ่มต้นไม้ของแนวเส้นทาง โครงการ และ (2) กลุ่มที่อาศัยและหากินในที่มีสภาพนิเวศลักษณะแตกต่างกันเป็นขอบเขตกว้าง คือ ในที่มต ้ ไม้ ีน ขึ้นกระจายทั่วไปแต่ไม่มีความต่อเนื่องเป็นผืนป่าหรือที่สภาพเปิดโล่ง ในพื้นที่เกษตรและบริเวณชุมชนและบริเวณ ลำคลอง ซึ่งมีทั้งชนิดหากินบริเวณพื้นที่ชุ่ มน้ำและแหล่งน้ำสภาพต่าง ๆ เช่น นกเด้าดิน ( Actitis hypoleucos) นกกระเต็นอกขาว (Halcyon smymensis) ชนิดหากินอยู่ตามที่รกร้างที่มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นกระจาย เช่น นกจาบคา หั ว สี ส ้ ม ( Merops leschenaulti) ชนิ ด หากิ นอยู ่ ตามที ่ รกร้า งเปิ ดโล่ ง เช่ น นกยางกรอกพั น ธุ ์ จี น ( Ardeola bacchus) อีกา (Corvus macrorhynchos) และชนิดบินหากินในอากาศเหนือพื้นที่ลักษณะต่าง ๆ ทั้งหมด เช่น เหยี่ยวแดง (Haliastur indus) เหยี่ยวนกเขาซิเครา (Accipiter badius) ชนิดที่อาศัยและหากินในบ่อเลี้ยงสัตว์นำ ้ ชายหาด หาดกรวดโขดหินที่โล่งรอบเกาะ เช่น กลุ่มนกชายเลน ( shorebirds) และกลุ่มนกน้ำ ( waterbirds) หลากชนิด เป็นอาทิ ชนิดบินฉวัดเฉวียนหากินแมลงในอากาศ เช่น นกแอ่นกินรัง ( Aerodramus germani) นกแอ่นแปซิฟิค (Hirudo tahitica) เป็นต้น โดยพบนกแอ่นแปซิฟิคสร้างรัง ( colonial nesters) ที่มีจำนวนมาก จากดินเลนเศษวัสดุ เศษหญ้าและขนนกยึดติดกันด้วยการสำรอกน้ำลาย นกที่รวบรวมข้อมูลได้มีสถานภาพเป็น นกประจำถิ่นที่ประชากรทั้งหมดอาศัยอยู่ในประเทศไทยตลอดทั้งปี ซึ่งเป็นจำนวน 36 ชนิด และนก จำนวน 19 ชนิด ซึ ่ ง เป็ น จำนวนส่ ว นน้ อ ยของจำนวนชนิ ด นกทั ้ ง หมดที ่ ร วบรวมข้ อ มู ล ได้ ม ี ส ถานภาพเป็ น นกอพยพย้ า ยถิ่น ที่ประชากรทั้งหมด หรือบางกลุ่มประชากรเข้ามาอาศัยในประเทศไทยเฉพาะบางช่วงเวลาของปีโดยใช้เป็นแหล่ง อาศั ย และหากิ น ตั ว อย่ า ง เช่ น นกกระจิ ๊ ด ขั ้ ว โลกเหนื อ ( Phylloscopus borealis) นกจั บ แมลงสี น ้ ำ ตาล ( Muscicapa daurica) นกยางกรอกพั น ธุ ์ จ ี น ( Ardeola bacchus) นกหั ว โตสี เ ทา ( Pluvialis sguatarola) นกเด้าดิน (Actitis hypoleucos) นกอีก๋อยใหญ่ (Numenius arquata) นกขมิ้นท้ายทอยดำ (Oriolus chinensis) นกแซงแซวหางปลา ( Dicrurus macrocercus) นกอี เสื อสี น้ำ ตาล ( Lanius cristatus) และนกเด้าลมเหลือง (Motacilla flava) เป็นต้น (ง) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สำรวจพบสัตว์ป่ากลุ่มนี้ 5 ชนิด ตามบัญชีรายชื่อใน ตารางที่ 3.3.2-5 ประกอบด้ ว ย สั ต ว์ เลี ้ ย งลู กด้ ว ยนมที ่ ด ำรงชี ว ิ ต แบบสะเทิ น น้ ำ สะเทิ น บก เช่ น นากใหญ่ ขนเรี ย บ (Lutrogale perspcillata) และลิงแสม ( Macaca fascicularis) ดำรงชีวิตแบบเคลื่อนที่ปีนป่ายไปตามกิ่งไม้ และเคลื่อนที่หากินอาหารตามพื้นล่าง เป็นต้น กรมทางหลวงชนบท 3-319 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.2-4 บัญชีรายชื่อนกที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการ จากการสำรวจภาคสนาม พื้นที่พบ ระดับ สถานภาพ อันดับ / วงศ์ / ชนิด ฤดูร้อน ฤดูฝน ชุกชุม 1 2 1 2 1 2 3 Order Ciconiiformes Family Ardeidae 1. นกยางไฟธรรมดา (Ixobrychus cinnamomeus) - x - x + ค - - 2. นกยางกรอกพันธุ์จีน (Ardeola bacchus)M x x x x + ค - - 3. นกยางควาย (Bubulcus ibis) - x - x + ค - - 4. นกยางทะเล (Egretta sacra) x x x x + ค - - 5 นกยางเปีย (Egretta garzetta) M - x - x + ค - - 6. นกยางโทนใหญ่ (Ardea alba) M - x - x + ค - - 7. นกยางเขียว (Butorides stratus) M x x x x + ค - - Order Falconiformes Family Accipitridae 8. เหยี่ยวแดง (Haliastur erma) x x x x ++ ค - - 9. เหยี่ยวนกเขาชิครา (Accipiter badius) M x x x x + ค - - 10. นกออก (Haliaeetus leucogaster) - - - x + ค - - Order Charadriiformes Family Charadriidae 11. นกหัวโตสีเทา (Pluvialis sguatarola)) M - x - - + ค - - 12. นกหัวโตทรายใหญ่ (Charadrius ermaneltia) M x x - - + ค - - Family Scolopacidae 13. นกอีก๋อยเล็ก (Numenius phaeopus) M x x - - + ค - - 14. นกอีก๋อยใหญ่ (Numenius arquata) M x x - - + ค - - 15. นกเด้าดิน (Actitis hypoleucos)M x x - - + ค - - 16. นกทะเลขาแดง (Tringa tetanus) M x x - - + ค - - Order Cuculiformes Family Cuculidae 17. นกกะปูดใหญ่ (Centropus sinensis) x x x x + ค - - 18. นกคัคคูสีทองแดง (Chrysococcyx minutillus) x x x x + ค - - 19. นกกาเหว่า (Eudynamys scolopacea) x x x x + ค - - Order Strigiformes Family Strigidae 20. นกเค้ากู่ (Otus bakkamoena) - - - x + ค - - Order Coraciiformes Family Meropidae 21. นกจาบคาหัวสีส้ม (Merops leschenaulti) X x x x + ค - - Family Coraciidae 22. นกตะขาบทุ่ง (Coracias benghalensis) X x x x + ค - - Family Pittidae 23. นกแต้วแล้วธรรมดา (Pitta moluccensis) M X x x x + ค - - Family Alcedinidae 24. นกกะเต็นอกขาว (Halcyon smymensis) x x x x + ค - - 25. นกกินเปี้ยว (Todirhamphus chloris) x x x x + ค - - กรมทางหลวงชนบท 3-320 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.2-4 บัญชีรายชื่อนกที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการ จากการสำรวจภาคสนาม (ต่อ) พื้นที่พบ ระดับ สถานภาพ อันดับ / วงศ์ / ชนิด ฤดูร้อน ฤดูฝน ชุกชุม 1 2 1 2 1 2 3 Order Piciformes Family Picidae 26. นกหัวขวานด่างแคระ (Dendrocopos canicapillis) x x x x + ค - - Family Megalaimidae 27. นกตีทอง (Megalaima haemacephala) x x x x + ค - - 28. นกโพระดกธรรมดา (Megalaima lineate) - x - x + ค - - Order Apodiformes Family Apodidae 29. นกแอ่นตะโพกขาวหางแฉก (Apus pacificus) x x x x + ค - - 30. นกแอ่นกินรัง (Aerodramus germani) x x x x + ค - - Order Passeriformes Family Hirundinidae 31. นกนางแอ่นแปซิฟิค (Hirundo tahitica) x x x x ++ ค - - 32. นกพญาไฟสีเทา (Perocrocotus divaricatus) x x x x + ค - - Family Aegithalidae 33. นกขมิ้นน้อยสวน (Aegithina tiphia) x x x x + ค - - 34. นกขมิ้นท้ายทอยดำ (Oriolus chinensis) M - x - - + ค - - Family Pycnonotidae 35. นกปรอดทอง (Pycnonotus atreceps) x x x x + ค - - 36. นกปรอดสวน (Pycnonotus blanfordi) x x x x ++ ค - - 37. นกปรอดคอลาย (Pycnonotus finletsoni) x x x x + ค - - 38. นกแซงแซวหางปลา (Dicrurus macrocercus) M x x - - + ค - - Family Corvidae 39. อีกา (Corvus macrorhynchos) x x x x + ค - - Family Sylviidae 40. นกยอดข้าวหางแพนลาย (Cisticola juncidis) - x - - + ค - - 41. นกกระจิบธรรมดา (Orthotomus sutorius) x x x x ++ ค - - 42. นกกระจิบคอดำ (Orthotomus atrogularis) x x x x + ค - - 43. นกกระจิบหัวแดง (Orthotomus ruficeps) - x - x + ค - - 44. นกกระจ้อยป่าโกงกาง (Gerygone sulphurea) x x x x + ค - - ้ โลกเหนือ (Phylloscopus borealis) M 45. นกกระจิ๊ดขัว x x - - + ค - - 46. นกกระจิ๊ดขาสีเนื้อ (Phylloscopus tenellipes) M x x - - + ค - - Family Rhipiduridae 47. นกอีแพรดแถบอกดำ (Rhipidura javanica) x x x x ++ ค - - Family Timaliidae 48. นกจาบดินอกลาย (Pellorneum ruficeps) - - - x + ค - - 49. นกจู๋เต้นหางสั้น (Napothera brevicaudata) - - - x + ค - - Family Muscicapidae 50. นกจับแมลงสีน้ำตาล (Muscicapa daurica) M x x - - + ค - - 51. นกเด้าลมเหลือง (Motacilla flava) M x x - - + ค - - กรมทางหลวงชนบท 3-321 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.2-4 บัญชีรายชื่อนกที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการ จากการสำรวจภาคสนาม (ต่อ) พื้นที่พบ ระดับ สถานภาพ อันดับ / วงศ์ / ชนิด ฤดูร้อน ฤดูฝน ชุกชุม 1 2 1 2 1 2 3 Family Laniidae 52. นกอีเสือสีน้ำตาล (Lanius cristatus) M x x - - + ค - - Family Nectariniidae 53. นกกินปลีอกเหลือง (Nectarinia jugularis) x x x x + ค - - 54. นกกินปลีคอสีน้ำตาล (Anthreptes malacensis) - x - x + ค - - Family Dicaeidae 55. นกสีชมพูสวน (Dicaeum cruentatum) x x x x ++ ค - - พื้นที่พบ : 1 = พื้นที่ขอบเขตแนวเส้นทาง 2 = พื้นที่ระยะรัศมี 500 เมตร ระดับชุกชุม : ++ = ชุกชุมปานกลาง + = ชุกชุมน้อย สถานภาพ : 1 = ตามกฎหมายตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 และตรวจสอบได้จากบัญชีกฎกระทรวง ้ ครอง พ.ศ. 2546 กำหนดให้สัตว์ป่าบางชนิดเป็นสัตว์ป่าคุม ค = สัตว์ป่าคุ้มครอง - = ไม่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมาย 2 = เพื่อการอนุรักษ์ตามเกณฑ์สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2560) / Ofiice of Natural Resource and Environmental Policy and Planning (2017) - = ไม่เป็นสัตว์ป่าถูกคุกคาม NT = สัตว์ป่าใกล้ถูกคุกคาม VU = สัตว์ป่ามีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ EN = สัตว์ป่าใกล้สูญพันธุ์ 3 = เพื่อการอนุรักษ์ตามเกณฑ์องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการอนุรก ั ษ์ธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature)/IUCN (2020) NT = สัตว์ป่าใกล้ถูกคุกคาม - = ไม่เป็นสัตว์ป่าถูกคุกคาม M = นกอพยพย้ายถิ่น กรมทางหลวงชนบท 3-322 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.2-5 บัญชีรายชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการ จากการสำรวจภาคสนาม พื้นที่พบ ระดับ สถานภาพ อันดับ / วงศ์ / ชนิด ฤดูร้อน ฤดูฝน ชุกชุม 1 2 1 2 1 2 3 Order Scandentia Family Tupaiidae 1. กระแตใต้ (Tupaia glis) - - - x + - - - Order Primates Family Cercopithecidae 2. ลิงแสม (Macaca fascicularis) x x x x ++ ค - - Order Rodentia Family Sciuridae 3. กระรอกปลายหางดำ (Callosciurus caniceps) - - - x + - - - Family Muridae 4. หนูท่อ (Rattus norvegicus) - - - x + - - - Order Camivora Family Mustelidae 5. นากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspicillata) x x x x + ค VU VU พื้นที่พบ : 1 = พื้นที่ขอบเขตแนวเส้นทาง 2 = พื้นที่ระยะรัศมี 500 เมตร ระดับชุกชุม : ++ = ชุกชุมปานกลาง + = ชุกชุมน้อย สถานภาพ : 1 = ตามกฎหมายตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 และตรวจสอบได้จากบัญชีกฎกระทรวง ้ ครอง พ.ศ. 2546 กำหนดให้สัตว์ป่าบางชนิดเป็นสัตว์ป่าคุม ค = สัตว์ป่าคุ้มครอง - = ไม่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมาย 2 = เพื่อการอนุรักษ์ตามเกณฑ์สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2560) / Ofiice of Natural Resource and Environmental Policy and Planning (2017) - = ไม่เป็นสัตว์ป่าถูกคุกคาม VU = สัตว์ป่ามีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ 3 = เพื่อการอนุรักษ์ตามเกณฑ์องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการอนุรักษ์ธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature)/IUCN (2015) VU = สัตว์ป่ามีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ - = ไม่เป็นสัตว์ป่าถูกคุกคาม กรมทางหลวงชนบท 3-323 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน จ) สถานภาพสัตว์ป่า สัตว์ป่าจำนวนทั้งหมด 80 ชนิด เมื่อตรวจสอบสถานภาพของแต่ละชนิด มีรายละเอียดของสถานภาพแต่ละประเภทที่ได้ตรวจสอบโดยสังเขป คือ (ก) สถานภาพที่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมาย จากการตรวจสอบกับราชกิจจานุเบกษา (2562) พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 และตรวจสอบได้จากบัญชีกฎกระทรวงกำหนด ให้สัตว์ป่าบางชนิดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง พ.ศ. 2546 สัตว์ป่าที่รวบรวมข้อมูลได้ จำนวน 80 ชนิด โดยมีสถานภาพ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง จำนวน 59 ชนิด ของจำนวนชนิดสัตว์ป่าทั้งหมดที่รวบรวมข้อมูลได้และส่วนใหญ่เป็นนก คือ ทั้ง 55 ชนิด ของจำนวนชนิดสัตว์ป่าทั้งหมดที่รวบรวมข้อมูลได้ โดยสัตว์ป่าอีก 21 ชนิด ของจำนวนชนิด สัตว์ป่าทั้งหมดที่รวบรวมข้อมูลได้ในปัจจุบันไม่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมาย (ข) สถานภาพเพื ่ อ การอนุ ร ั ก ษ์ จากการตรวจสอบกั บ สำนั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2560)/Office of Natural Resource and Environmental Policy and Planning ( 2017) และ IUCN ( 2020) สั ต ว์ ป ่ า ที ่ รวบรวมข้ อมู ล ได้ จำนวน 80 ชนิ ด ถู กระบุ ให้ ม ี ส ถานภาพ เป็นสัตว์ป่าถูกคุกคามเพียง 1 ชนิด คือ นากใหญ่ขนเรียบ ( Lutrogale perspcillata) มีสถานภาพอนุรักษ์เป็น สัตว์ป่ามีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ ช) ความชุกชุมของสัตว์ป่า เมื่อประเมินระดับความชุกชุมของสัตว์ป่าแต่ละชนิดที่รวบรวม ข้ อมู ล ได้ โดยใช้ เกณฑ์ จ ากความถี ่ ของการพบมี รายละเอี ย ดจำนวนชนิ ดตามระดั บความชุ กชุม ของสั ตว์ป่า แต่ละกลุ่มใน ตารางที่ 3.3.2-6 และรายละเอียดความหลากชนิดตามระดับความชุกชุมของสัตว์ป่าแต่ละกลุ่ม โดยสังเขป (ก) สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก จากข้อมูลสัตว์ป่ากลุ่มนี้ จำนวน 7 ชนิด ประเมินได้ว่า 6 ชนิด มีความชุกชุมน้อย และกบน้ำกร่อย (Fejervarya cancrivora) มีความชุกชุมปานกลาง (ข) สัตว์เลื้อยคลาน จากข้อมูลสัตว์ป่ากลุ่มนี้ จำนวน 13 ชนิด ประเมินได้ว่าทุกชนิดมี ความชุกชุมน้อย (ค) นก จากข้ อ มู ล สั ต ว์ ป ่ า กลุ ่ ม นี ้ จำนวน 55 ชนิ ด ประเมิ น ได้ ว ่ า ไม่ ม ี ช นิ ด มี ความ ชุกชุมมาก โดยมีความชุกชุมปานกลาง 6 ชนิด และมีความชุกชุมน้อย 49 ชนิด (ง) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จากข้อมูลสัตว์ป่ากลุ่มนี้ จำนวน 5 ชนิด ประเมินได้ว่า 4 ชนิด มีความชุกชุมน้อย และมีความชุกชุมปานกลาง 1 ชนิด ตารางที่ 3.3.2-6 จำนวนชนิดตามระดับความชุกชุมของสัตว์ป่าแต่ละกลุ่มที่รวบรวมข้อมูลได้ บริเวณพื้นที่โครงการ จำนวนชนิด จำนวนชนิดตามระดับความชุกชุม กลุ่มสัตว์ป่า ทั้งหมด ชุกชุมมาก ชุกชุมปานกลาง ชุกชุมน้อย สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 7 - 1 6 สัตว์เลื้อยคลาน 13 - - 13 นก 55 - 6 49 สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 5 - 1 4 รวม 80 - 8 72 กรมทางหลวงชนบท 3-324 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.3.3 พืชในระบบนิเวศ 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของป่าบกในระบบนิเวศ ตามแนวเส้นทางของโครงการ และพื้นที่ ศึกษาในรัศมี 500 เมตร จากจุดกึ่งกลางของแนวเส้นทางโครงการ (2) เพื่อประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศวิทยาป่าบก อันเนื่องจาก กิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ 2) วิธีการศึกษา (1) การรวบรวมข้ อมู ลทุต ิ ยภู มิ โดยการรวบรวมข้ อมูล ความหลากชนิด ของพื ชในระบบนิเวศ ที่ แพร่ กระจายอยู่ ครอบคลุ มตลอดแนวเส้ น ทางโครงการ และโครงการทางหลวงที ่ เกี ่ ยวข้ องกั บ การพั ฒ นา ของโครงการ (2) การวิเคราะห์ ข้ อมูลพืชในระบบนิ เวศ เพื่อนำข้อมูล ของสภาพแวดล้ อมปั จจุบ ันของพื ช ใน ระบบนิเวศในพื้นที่ตามแนวเส้นทางโครงการ ซึ่งข้อมูลที่ได้มาทั้งหมดจะนำมาใช้ประกอบการพิจารณาเพื่อ ประเมินผลกระทบต่อพืชในระบบนิเวศ (3) การศึกษาความเป็นมาในการประกาศเป็นเขตพื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียง จากกรมป่าไม้และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช รวมทั้งศึกษาพื้นที่ป่าไม้ที่ยังคงสภาพในพื้นที่ดำเนินการ ของโครงการที่จะก่อสร้างในด้านองค์ประกอบของโครงการที่เป็นพื้นที่ดำเนินการ (4) การวางแปลงและการออกสำรวจข้อมูลด้านนิเวศวิทยาป่าไม้ในภาคสนาม ก) วิธีการสุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบจำแนกชั้น ( Stratified random sampling) โดยการจำแนกชนิดของสังคมพืช ( forest type) ก่อนจะทำการวางแปลงตัวอย่างโดยดำเนินการจำแนกชนิดป่า โดยรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่สำคัญ อาทิเช่น ธรรมนูญ และคณะ (2554) - ส่วนภูมิสารสนเทศ สำนักฟื้นฟูพื้นที่ป่าอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - ข้อมูลที่ถ่ายทอดจากแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร - กรมทรัพยากรธรณี - คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ข้อมูลแบบจำลองความสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model: DEM) - ข้อมูลการแปลตี ความจากภาพถ่า ยดาวเทียม โดยเลือกใช้ช่วงคลื ่น ( Band) และ ระยะเวลาในการถ่ายทำที่เหมาะสม รวมทั้งใช้เทคนิคปรับชัดด้วยวิธีการต่าง ๆ นำมาพิจารณาจากสี ที่ตั้ง รูปร่าง ความหยาบละเอียด สภาพแวดล้อม และการตรวจสอบภาคสนาม โดยกำหนดให้ใช้รายละเอียดพื้นที่ขนาดเล็กสุด ที่ปรากฏอยู่ในแผนที่ (Mapping unit) ประมาณ 1.5-2 ha จากนั้นนำมาจัดทำแผนที่แสดงชนิดป่าของพื้นที่ศึกษา (หากสามารถจำแนกได้เพียงชนิดเดียว ไม่ต้องจัดทำแผนที่) ข) การวางแปลงตัวอย่าง ในการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพที่มีระยะเวลาการศึกษา ยาวนาน นิ ย มใช้ การสำรวจโดยการวางแปลงแบบถาวร ซึ่ ง สามารถติด ตามการเปลี่ย นแปลงของ ทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพได้ โดยส่วนใหญ่จะใช้ระยะเวลามากกว่า 3 ปี ซึ่งต้องใช้เงินและกำลังคนจำนวนมาก แต่ ในการศึ กษาประเมิ นผลกระทบสิ่ งแวดล้อมโครงการนี้ เป็ นการศึ กษาระยะสั้ น เพื่ อให้ ท ราบว่ า ในพื้นที่มี ทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพมากน้อยและมีสถานภาพเป็นอย่างไรนั้น นิยมใช้วิธีการวางแปลงแบบ กรมทางหลวงชนบท 3-325 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ไม่ถาวรหรือกึ่งถาวร เพื่อให้ได้ข้อมูลครอบคลุมพื้นที่สำรวจมากที่สุด และการวางแปลงสำรวจยังช่วยให้การทำงาน เป็นระบบและติดตามผลได้ง่าย โดยกำหนดการวางแปลงในพื้นที่ดำเนินการ และพื้นที่ศึกษา ระยะ 500 เมตร โดยกำหนดวิธีการดังนี้ การสำรวจแจงนับไม้ของป่าบกในพื้นที่ดำเนินการของโครงการต้องดำเนินการสำรวจ โดยการวางแปลงกว้างเท่ากับขนาดพื้นที่แนวความกว้างที่ได้กำหนดไว้และยาวจากริมชายฝั่งขึ้นสู่จุดสิ้นสุด โครงการทั ้ งสองฝั ่ งของหั วสะพาน ซึ ่ ง กำหนดให้ เป็ นแนว base line โดยมี ความยาวในทุ กระยะ 100 เมตร เพื่อสำรวจไม้ใหญ่ และใช้แปลงทดลองอีก 2 ขนาด ที่วางซ้อนทับลงไปในพื้นที่แปลงขนาดใหญ่ที่มีความยาว 10 และ 50 เมตร เพื่อใช้ในการสำรวจแจงนับไม้ที่เป็นกล้าไม้และลูกไม้ ตามลำดับ ดังแสดงในรูปที่ 3.3.3-1 0 10 50 100 ม. ความกว้างของแนวถนน รูปที่ 3.3.3-1 การวางแปลงทดลองการสำรวจทรัพยากรป่าไม้ ในส่วนพื้นที่ศึกษา 500 เมตร จากจุดกึ่งกลางของแนวเส้นทางโครงการนั้นต้องวางแปลง ตัวอย่างขนาด 40x40 เมตร (0.16 ha) ดังแสดงในรูปที่ 3.3.3-2 ถึงรูปที่ 3.3.3-4 ดำเนินการวางแปลงในแต่ละ หัวสะพาน โดยใช้แนวเส้นทางที่จะสร้างสะพานเป็นแนวสำรวจหลัก ( base line) และใช้แนวสำรวจไม้ ( cruise line) ตั ้ ง ฉากออกไปจาก base line จำนวน 3 แนว ในพื้ น ที่ บริ เวณทั ้ งสองฝั ่ง ของเขตทาง จำนวน 6 แปลง แบ่งเป็นสองฝั่งหัวสะพาน จำนวนฝั่งละ 3 แปลง รวมทั้งสิ้น 12 แปลง ให้ดำเนินการตามวิธีการของชิงชัย (2556) ค) การบันทึกข้อมูล มีรายละเอียดดังนี้ • ขนาด 10x10 เมตร เพื่อศึกษาไม้ต้น ( tree) ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ความสูง ระดับอก 1.30 เมตร มากกว่า 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป โดยบันทึกชนิดไม้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง DBH จำนวน ท่อนซุง คุณภาพไม้ท่อนซุง (TQ) และความสูงทั้งหมด • ขนาด 4x4 เมตร เพื่อศึกษาไม้หนุ่ม ( sapling) ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ความสูง ระดับอก (DBH) 1.30 เมตร น้อยกว่า 4.5 เซนติเมตร โดยบันทึกชนิดไม้ จำนวนต้น และความสูงทั้งหมด • ขนาด 1x1 เมตร เพื่อศึกษาลูกไม้ (seedling) ที่มีความสูงต่ำกว่า 1.3 เมตร โดยบันทึก ชนิดไม้และจำนวนของลูกไม้ กรมทางหลวงชนบท 3-326 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.3-2 รูปของแปลงตัวอย่างถาวรสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 40x40 ตารางเมตร จำแนกออกเป็น 16 แปลงย่อย ขนาด 10x10 ตารางเมตร พร้อมกับการกำหนดเป็นแถว (Row, R) และสดมภ์ (Column, C) รูปที่ 3.3.3-3 การวางแปลงย่อยในแปลงขนาด 40x40 เมตร กรมทางหลวงชนบท 3-327 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน พื้นที่ ขนาดพื้นที่ป่าไม้ (ไร่) จำนวนแปลงที่สำรวจ ร้อยละของการสำรวจ หมายเหตุ ฝั่งบก 9.93 2 20.14 แปลงขนาด 1 ไร่ เกาะปลิง 5.52 1 18.12 แปลงขนาด 1 ไร่ รูปที่ 3.3.3-4 การวางแปลงสำรวจป่าไม้ในพื้นที่ศึกษา ง) การวัดความเจริญเติบโตของต้นไม้ มิติที่ใช้วัดส่วนใหญ่จะวัดขนาด DBH และความสูงของ ต้นไม้ ซึ่งการวัดขนาด DBH ในป่าธรรมชาติ ถ้าเป็นพื้นที่ค่อนข้างเรียบหรือมีความลาดชันไม่มาก ต้นไม้มล ี ักษณะ เป็นลำต้นเดี่ยว (single stem) และไม่มีพูพอน ก็จะทำการตรวจวัด DBH ได้ง่าย แต่ในทางปฏิบัติไม่ได้เป็นเช่นนั้น เนื่องจากต้นไม้อาจมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างกันออกไป และลักษณะพื้นที่ก็มีความลาดชันเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น การกำหนดการวัด DBH หรือที่ตำแหน่ง 1.30 เมตร จึงอาจมีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้เหมาะสมและเป็นมาตรฐาน เดียวกัน ดังแสดงในรูปที่ 3.3.3-5 การวัดขนาด DBH ปกติจะใช้เทปวัดที่ทำจากพลาสติกที่เรียกว่า Diameter Tape ซึ่งค่าที่อ่านได้จะเป็นค่าเส้นผ่านศูนย์กลาง ถ้าต้นไม้มีขนาดเล็กก็จะใช้ Vernier Caliper ในการวัด แต่เนื่องจาก Diameter Tape นี้ ราคาค่อนข้างสูง จึงอาจใช้เทปวัดเอวของช่างตัดเสื้อก็ได้แต่ค่าที่วัดนี้จะเป็นขนาดของเส้นรอบวง ที่ระดับอก (Girth at Breast Height, GBH) จึงจำเป็นต้องแปลงค่าเป็น DBH ก่อนที่จะนำไปคำนวณข้อมูลในด้าน อื่น ๆ โดยนำ DBH ที่ได้มาหารด้วยค่า  หรือ 3.1416 กรมทางหลวงชนบท 3-328 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน Dia. point Dia. point 0.2 m Dia. point DBH 1.3 m 1.3 m 1.3 m 1.3 m 1. ต้นไม้ปกติ 1. 2. ต้นไม้มีปุ่มตา 2. 3.3. ต้นไม้มีพูพอน ต้นไม้มีรากอากาศ 4.4. DBH Dia. point DBH 1.3 m m Dia. point 1.3 1.3 m 1.3 m 5 5.. ต้นไม้สองนางวัดต่ำ 6. ต้นไม้สองนางวัดสูง 77. 6. . ต้นไม้บนที่ลาดชัน . ต้นไม้ที่ลำต้นเอน 88. ที่มา : ดัดแปลงจาก Forest Measurement (Avery and Burkhart, 1994) ่ ี่มีความลาดชัน รูปที่ 3.3.3-5 ตำแหน่งวัดความโตที่ระดับต่าง ๆ ของต้นไม้ที่มีลักษณะพิเศษ และในพื้นทีท จ) การวางแปลงสำรวจลักษณะโปรไฟล์ของป่าไม้ ( forest profile) ใช้การวางแปลงขนาด 10x40 เมตร ที่วางตัวตามความลาดชันของภูมิประเทศ เพื่อดำเนินการบันทึกชนิดของไม้ใหญ่ที่พบ บั นทึกค่า DBH ความสูงทั้งต้น ความกว้างของเรือนยอด และพิกัดของต้นไม้ในแปลง ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะดำเนินการเลือก แปลงสำรวจป่าไม้ขนาด 40x40 เมตร ที่วางแปลงในพื้นที่ศึกษา ที่มีลักษณะของการเป็นพื้นที่ป่าไม้ที่สมบูรณ์ และเป็นจุดที่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ที่ดูแลพื้นที่ป่าไม้ สามารถรักษาพื้นที่จุดการวางแปลงนี้ไว้ได้ที่ยาวนาน เพื่อใช้ เป็นแปลงทดลองที่ใช้ในการสำรวจติดตามผลการเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่ยาวนานต่อไปได้เป็นอย่างดี ฉ) การวิ เคราะห์ ข้ อมู ล ดำเนิ นตามแนวทางการวิเคราะห์ ของสำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังนี้ - ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Richness) - ความหนาแน่น และความหนาแน่นสัมพัทธ์ - ความถี่ และความถี่สัมพัทธ์ - ดรรชนีความเด่น และความเด่นสัมพัทธ์ - ดรรชนีความสำคัญของแต่ละชนิดพันธุ์ (Important Value Index) - การประเมินมูลค่าเศรษฐกิจป่าไม้ ช) การรายงานผล - อธิบายผลการสำรวจชนิดพันธุ์ไม้ในภาพรวม ระดับวงศ์ (Family) สกุล (Genus) และ ชนิด (Specie) โดยบอกถึงกลุ่มพันธุ์ไม้ที่สำคัญ เช่น กลุ่มพืชมีค่าหายาก ใกล้สูญพันธุ์ ตามบัญชี IUCN Red List กลุ่มพืชเฉพาะถิ่น (Endemic Specie) เป็นต้น กรมทางหลวงชนบท 3-329 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - แสดงภาพพันธุ์ไม้ที่มีลักษณะเด่นที่สำรวจพบ - บัญชีรายชื่อพรรณไม้ที่สำรวจพบ - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านนิเวศวิทยา และความหลากหลาย ซ) ประเมินผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรป่าไม้จากการดำเนินโครงการ ฌ) การศึกษาเศรษฐศาสตร์ป่าไม้ โดยประเมินปริมาตรของไม้เศรษฐกิจ และคำนวณมูลค่าทาง เศรษฐกิจของไม้ที่มีขนาดที่จะตัดฟันได้ทั้งหมดเปรียบเทียบกับการดำรงสภาพป่าไม้ และการบริหารและจัดการป่าไม้ ให้เกิดผลอย่างต่อเนื่องตลอดอายุของโครงการ (Sustainable Harvesting) โดยนำมูลค่าเศรษฐศาสตร์ป่าไม้มาคิด เป็นมูลค่าการลงทุนของโครงการในการวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์โครงการและเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม ญ) การประเมินมูลค่าทางอ้อมของทรัพยากรป่าไม้ เช่น การสูญเสียพื้นที่และความอุดมสมบูรณ์ ของป่า การเป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธาร และคุณค่าทางนิเวศของป่าไม้เน้นด้านนิเวศบริการ ( ecological service) เท่าที่สามารถจะดำเนินการได้ และมีมาตรฐานที่ยอมรับได้ในเชิง Non-use Values ตามเทคนิควิธีการที่สำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอแนะ นำค่าที่ได้ไปวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม ต่อไป ฎ) ประเมิ น ผลกระทบต่ อพื ช คุ้ ม ครองทุ กชนิ ด โดยเฉพาะชนิ ด ที่ ใกล้ สู ญ พั น ธุ์ และหายาก อันเนื่องมาจากการพัฒนาโครงการ ฏ) ประเมินผลกระทบต่อโครงสร้าง และลักษณะตามธรรมชาติของระบบนิเวศป่าไม้จากการ ก่อสร้างและการดำเนินโครงการ เช่น พื้นที่โดยรอบอ่างเก็บน้ำและพื้นที่ชลประทาน โดยเปรียบเทียบสภาพใน อนาคตกรณีไม่มีโครงการกับสภาพที่มีโครงการ ฐ) เสนอมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อทรัพยากรป่าไม้จากการพัฒนาโครงการ ฑ) เสนอมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านทรัพยากรป่าไม้จากการพัฒนาโครงการ 3) ผลการศึกษา (1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ จากการตรวจสอบข้อมูลความหลากชนิดจากฐานข้อมูลของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งทะเลของ ทรัพยากรป่าไม้ ในระบบนิเวศที่แพร่กระจายอยู่ครอบคลุมตลอดแนวเส้นทางโครงการ พื้นที่โครงการอยู่ในเขต พื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล ซึ่งอยู่บริเวณพื้น ที่คลองช่องลาด พื้นที่แผ่นดินใหญ่ และพื้นที่บริเวณตอนบน บางส่วนของเกาะลันตาน้อย โดยภายในพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล มีป่าอยู่ 4 ชนิด ได้แก่ ก) ป่าชายหาด มีพรรณไม้เด่น ได้แก่ ไม้สนทะเล ข) ป่าพรุ อยู่บริเวณตอนกลางของพื้นที่มีพรรณไม้เด่น ได้แก่ ไม้เสม็ดแดง ไม้เสม็ดขาว และ มีทุ่งหญ้ากระจายอยู่ทั่วไป ค) ป่าชายเลน อยู่บริเวณคลองน้ำเค็มและพื้นที่ชายเลน พรรณไม้ที่สำคัญ ได้แก่ ไม้โกงกางใบเล็ก และไม้โกงกางใบใหญ่ ง) ป่าดิบชืน้ อยู่บริเวณร่องห้วยน้ำจืดตอนกลางพืน ้ ที่พรรณไม้ที่สำคัญ ได้แก่ ไม้ตะเคียน และ เคี่ยม หว้าหิน (2) ผลการสำรวจภาคสนาม โครงการก่อสร้างสะพานข้ามเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เป็ น การก่ อ สร้ า งสะพานเพื่ อเชื่ อม ระหว่างพื้นที่ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กับพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (กม.0+000 – กม.0+500) โดยพื้นที่ดำเนินการบริเวณจุดเริ่มต้น โครงการไม่ได้ อยู่ในพื้นที่อนุรักษ์ และป่าสงวนแห่งชาติของภาครัฐแต่อย่างใด ส่ วนบริเวณกลางของสะพานที่อยู่ในทะเลบางส่วนอยู่ในเขตห้ า มล่า กรมทางหลวงชนบท 3-330 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สั ต ว์ ป่าทุ่งทะเล และบริเวณจุดสิ้นสุดโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อยอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าหลังสอดและ ป่าควนบากันเกาะ ส่วนรูปแบบการใช้ที่ดินในพื้นที่ดำเนินการและพื้นที่ศึกษาในระยะ 500 เมตร มีการใช้ประโยชน์ ที่ดินหลากหลายประเภท โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ก) พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่ดำเนินโครงการก่อสร้างสะพานข้ามเกาะลันตา ครอบคลุมพื้นที่ บก ฝั่งเกาะกลางและฝั่งเกาะลันตาน้อย โดยพื้นที่มีสภาพการใช้ที่ดินที่แตกต่างกันทั้งหมู่บ้านในที่ราบ พื้นที่ ริมถนน สวนยางพารา ป่าชายเลน และป่าบก มีรายละเอียด ดังนี้ (ก) พื้นที่ดำเนินการฝั่งบก (ตำบลเกาะกลาง) พื้นที่ดำเนินการฝั่งบกในเขตตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ได้มีการขยายทางหลวงหมายเลข 4206 ก่อนถึงชายฝั่งยาวประมาณ 500 เมตร (กม.0+000 – กม.0+500) ที่มีไม้ละเมาะบริเวณริมถนน เช่น มะม่วง (Mangifera indica L.) เนียง (Archidendron jiringa ( Jack) I.C.Nielsen) คู น ( Cassia fistula L.) เป็ น ต้ น ส่ วนไม้ พ ุ่ มและไม้ ล้ มลุ กที่ พบ เช่ น กระถิ นบ้าน (Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit) สาบเสือ (Chromolaena odoratum (L.) R.M.King & H.Rob) ปอหู ( Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem.) พั ง แหรใหญ่ ( Trema orientalis ( L.) Blume) เล็ บ เหยี ่ ย ว (Ziziphus oenoplia (L.) Mill. var. oenoplia) เป็นต้น ในการนี้แนวเส้นทางได้ตัดออกทะเลบริเวณท่าเทียบเรือ ในปัจจุบัน ซึ่งมีต้นมะขาม (Tamarindus indica L.) อยู่บริเวณท่าเรือด้วย ดังแสดงไว้ในรูปที่ 3.3.3-6 รูปที่ 3.3.3-6 ลักษณะทางนิเวศบกของพื้นที่บริเวณหัวสะพานด้านฝั่งบก กรมทางหลวงชนบท 3-331 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน พื้นที่ดำเนินการฝั่งตำบลเกาะกลาง รูปที่ 3.3.3-6 ลักษณะทางนิเวศบกของพื้นที่บริเวณหัวสะพานด้านฝั่งบก (ต่อ) (ข) พื้นที่ดำเนินการฝั่งเกาะ (ตำบลเกาะลันตาน้อย) พื้นที่ดำเนินการบริเวณฝั่งเกาะ ตั้งอยู่ในเขตตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (กม.1+958 – 2+527) โดยเส้นทางของสะพาน ได้ตัดผ่านพื้นที่ทะเลมาสู่บริเวณชายฝั่ง ซึ่งจะเชื่อมกับถนนบริเวณหัวเกาะลันตาน้อยฝั่งทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของเกาะ ในการนี้พบชนิดไม้บริเวณชายฝั่งและริมถนน เช่น ส้านใหญ่ (Dillenia obovata (Blume) Hoogland) เสลา ( Lagerstroemia venusta Wall.) พลั บ พลา ( Microcos tomentosa Sm.) แคหางค่ า ง ( Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis) เป็นต้น ส่วนไม้ล้มลุกและไม้พื้นล่างที่พบ เช่น สาบเสือ (Chromolaena odoratum (L.) R.M.King & H.Rob) เล็บเหยี่ยว ( Ziziphus oenoplia (L.) Mill. var. oenoplia) กระถินบ้าน (Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit) ไมยราบ ( Biophytum sensitivum (L.) DC.) เป็นต้น ลักษณะ ทางนิเวศของพื้นที่ฝั่งเกาะลันตาน้อย ดังแสดงไว้ในรูปที่ 3.3.3-7 กรมทางหลวงชนบท 3-332 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.3-7 ลักษณะทางนิเวศบกของพื้นที่ฝั่งเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-333 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สรุปผลการสำรวจด้านทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ดำเนินการก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พบต้นไม้ใหญ่จำนวนรวม 40 ต้น ได้แก่ ไม้บก 2 ชนิด จำนวน 3 ต้น และไม้ชายเลน 6 ชนิด จำนวน 37 ต้น ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย ซึ่งอยู่ในเฉพาะเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าหลังสอด/ ป่าควนบากันเกาะเท่านั้น และผลจากการตรวจสอบชนิดไม้ในพื้นที่ดำเนินการครั้งนี้ ไม่พบไม้ที่มี สถานภาพ เพื่อการอนุรักษ์ของกรมอุทยาน สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP 2017) และของ IUCN (2020) แต่อย่างใด ซึ่งพบชนิด ไม้หวงห้ามประเภท ก. (ไม้หวงห้ามธรรมดา) จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata Blume.) ตะบู นขาว (Xylocarpus granatum Koen) ตะบู นดำ (Xylocarpus moluccensis (Lam.)) โปรงแดง (Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob.) และส้านใหญ่ (Dillenia obovata (Blume) Hoogland) โดยชนิดไม้หรือต้นไม้ดังกล่าว ไม่เป็นไม้ที่มีค่าหรือไม้หายาก แสดงดังตารางที่ 3.3.3-1 ทั้งนี้ การสำรวจป่าไม้ ในพื้นที่ดำเนินการโครงการ ได้จำแนกข้อมูลป่าไม้ในพื้นที่ฝั่งตำบลเกาะกลางและฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย พร้อมทั้งแสดงข้อมูลปริมาตรไม้ ในแต่ละพื้นที่ป่า ดังนี้ - ฝั่งตำบลเกาะกลาง พื้นที่ดำเนินการฝั่งตำบลเกาะกลาง พบว่า การสูญเสียต้นไม้ ใหญ่ ในพื้นที่ดำเนินการทั้งสองฝั่ งโครงการตั้งอยู่ในเขตทาง ทล.4206 ซึ่งเป็นสภาพพื้นที่เขตชุมชนทั้งหมด ดังนั้น จึงทำให้มีการแยกข้อมูลของทั้งสองฝั ่งถนน ทล.4206 ได้ดัง ตารางที่ 3.3.3-2 ปริมาตรไม้รวมทั้งสิ้น 0.26 ลูกบาศก์เมตร - ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย พื้นที่ดำเนินการฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย พบว่า การสูญเสียต้นไม้ ใหญ่ในพื้นที่ดำเนินการทั้งสองฝั่งโครงการ 40 ต้น ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ จำนวน 4 ไร่ ฝั่งด้านขวาตั้งอยู่ บริเวณไม้ละเมาะริมถนน ปริมาตรไม้รวมทั้งสิ้น 3.29 ลูกบาศก์เมตร แสดงดังตารางที่ 3.3.3-3 และรูปที่ 3.3.3-8 พระราชบัญ ญั ติ ป่าไม้ (ฉบั บ ที ่ 8) พ.ศ.2562 ประกาศในราชกิ จจานุ เบกษา เมื ่ อวั น ที ่ 16 เมษายน 2562 “มาตรา 7 ไม้ชนิดใดที่ขึ้นในป่าจะให้เป็นไม้หวงห้ามประเภทใด ให้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา สำหรับไม้ทุกชนิดที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน ไม่เป็นไม้หวงห้ามหรือ ไม้ที่ปลูกขึ้นในที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทำประโยชน์ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิที่รัฐมนตรีประกาศ กำหนดโดย ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ให้ถือว่าไม่เป็นไม้หวงห้าม” กฎกระทรวง การขออนุญาตและการอนุญาตทำไม้หวงห้าม พ.ศ.2560 ประกาศในราชกิจจา- นุเบกษา เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560 จะต้องปฏิบัติตามระเบียบของกรมป่าไม้ ดังนี้ ข้อ 4 ผู้ใดประสงค์จะทําไม้หวงห้ามตามมาตรา 11 ในป่าหรือในที่ดินที่มิใช่ป่า แล้วแต่กรณี ให้ยื่นคําขอรับใบอนุ ญาตทําไม้ต่ออธิบดีกรมป่าไม้ พร้อมด้วยเอกสารหรือหลักฐานตามที่ระบุไว้ในแบบคําขอ การยื่นคําขอรับใบอนุญาตทําไม้ตามวรรคหนึ่ง ให้ยื่น ณ สถานที่และวิธีการ ดังต่อไปนี้ - กรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ กรมป่าไม้ - จังหวัดอื่น ให้ยื่น ณ สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้แห่งท้องที่ที่ป่าหรือที่ดินนั้นตั้งอยู่ - สถานที่และวิธีการอื่นตามที่อธิบดีกรมป่าไม้กําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข้อ 5 เมื่อได้รับคําขอรับใบอนุญาตทําไม้แล้ว ให้อธิบดีกรมป่าไม้ออกใบรับคําขอให้แก่ผู้ขอรับ ใบอนุญาตทําไม้ไว้เป็นหลักฐาน และดําเนินการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของคําขอรับใบอนุญาตทําไม้ และเอกสารหรือหลักฐานต่าง ๆ กรณีที่คําขอรับใบอนุญาตทําไม้ เอกสารหรือหลักฐานไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน ให้แจ้งให้ ผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้แก้ไขเพิ่มเติมคําขอรับใบอนุญาตทําไม้ หรือจัดส่งเอกสารหรือหลักฐานให้ถูกต้องและ ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กําหนด กรมทางหลวงชนบท 3-334 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน กรณีที่ผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้ไม่แก้ไขเพิ่มเติมคําขอรับใบอนุญาตทําไม้หรือไม่จัดส่งเอกสาร หรือหลักฐานให้ ถู กต้ องและครบถ้วนภายในระยะเวลาตามวรรคสอง ให้ถือว่าคํา ขอรับใบอนุ ญาตทําไม้ นั้ น เป็นอันยกเลิกนับแต่วันที่พ้นกําหนดระยะเวลาดังกล่าว และให้อธิบดีกรมป่าไม้แจ้งเป็นหนังสือให้ กรณีที่คําขอรับใบอนุญาตทําไม้และเอกสารหรือหลักฐานถูกต้องและครบถ้วน ให้อธิบดีกรมป่าไม้ มีคาํ สั่งรับคําขอรับใบอนุญาตทําไม้ไว้พิจารณาผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้ทราบ ข้อ 6 เมื่อมีคําสั่งรับคําขอรับใบอนุญาตทําไม้ตามข้อ 5 แล้ว อธิบดีกรมป่าไม้จะมีคําสั่งออก ใบอนุญาตทําไม้ให้แก่ผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้ได้ต่อเมื่อปรากฏว่าอธิบดีกรมป่าไม้ได้ดําเนินการดังต่อไปนี้แล้วเสร็จ ❖ กรณีทําไม้หวงห้ามในป่า - ตรวจสอบว่าผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้มีสิทธิเข้าใช้พื้นที่ป่าโดยชอบด้วยกฎหมาย - ตรวจสอบและหมายแนวเขตของป่าที่ขอรับใบอนุญาตทําไม้ในป่านั้น - ตรวจสอบและประทับตราอนุญาตที่ไม้หวงห้าม จัดทําบัญชีไม้หวงห้าม รวมทั้งจัดทํา แผนที่สังเขปแสดงตําแหน่งไม้หวงห้ามในป่านั้น ❖ กรณีทําไม้หวงห้ามที่ขึ้นอยู่ในที่ดินที่มิใช่ป่า - ตรวจสอบว่าผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้เป็นผู้มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดิน - หรือมีสิทธิเข้าใช้ที่ดินโดยชอบด้วยกฎหมาย - ตรวจสอบสถานที่ตั้งของที่ดินที่ขอรับใบอนุญาตทําไม้ในที่ดินนั้น - ตรวจสอบและประทับตราอนุญาตที่ไม้หวงห้าม จัดทําบัญชีไม้หวงห้าม รวมทั้งจัดทํา แผนที่สังเขปแสดงตําแหน่งไม้หวงห้ามในที่ดินนั้น ข้อ 7 ให้อธิบดีกรมป่าไม้มีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาไปยังผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้ภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้ดําเนินการตามข้อ 6 เสร็จแล้ว กรณีมีคําสั่งไม่อนุญาต ให้แสดงเหตุผลและสิทธิอุทธรณ์ ไว้ในหนังสือแจ้งผลการพิจารณาด้วย ใบอนุญาตทําไม้ให้มีอายุไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่ออกใบอนุญาต โดยพิจารณาตามความเหมาะสม ตามจํานวนไม้และสถานที่ทําไม้ ข้อ 8 ในการทําไม้หวงห้าม ให้ผู้รับใบอนุญาตทําไม้ดําเนินการ ดังต่อไปนี้ - กรณีที่เป็นการทําไม้โดยวิธีตัด ต้องตัดโค่นต้นไม้มิให้เหลือตอสูงเกินครึ่งของขนาดวัด รอบลําต้นตรงที่ตัด แต่ต้องสูงไม่เกินหนึ่งเมตรจากพื้นดิน เว้นแต่ไม้ที่กลวง โพรง หรือกําหนดไว้ในใบอนุญาตทําไม้ เป็นอย่างอื่น - ต้องทําไม้โดยมิให้เป็นอันตรายแก่ไม้หวงห้ามต้นอื่น เว้นแต่มีความจําเป็นอันไม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ และมิให้เป็นการกีดขวางทางจราจรทั้งในทางบกและทางน้ำ - ต้องจัดการป้องกันมิให้เกิดการเสียหายหรือขัดขวางแก่ทางบก ทางน้ำ สิ่งก่อสร้างการ ชลประทาน หรือการอื่น ๆ อันเกี่ยวกับการคมนาคม - กรณีที่เป็นการทําไม้ตามใบอนุญาตทําไม้ ซึ่งกําหนดให้ทํา เฉพาะต้นหรือท่อนที่มีรอย ตราอนุญาตพนักงานเจ้าหน้าที่ประทับไว้ จะชักลากไม้ไม่ได้จนกว่าพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ประทับตราอนุญาตชัก ลาก เว้นแต่เป็นกรณีท่ีไม่สามารถประทับตราอนุญาตชักลากได้ และได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากพนักงาน เจ้าหน้าที่ให้ชักลากไม้ได้ - ต้องชักลากไม้ไปตามแนวทางและยังที่ซึ่งระบุไว้ในใบอนุญาตทําไม้ - กรณีที่เป็นการทําไม้ในป่าหรือในที่ดินที่มิใช่ป่าซึ่งมิใช่ที่ดินที่มีโฉนดที่ดินหรือหนังสือ รับรองการทําประโยชน์ตามประมวลกฎหมายที่ดิน ต้องไม่นําไม้ไปใช้สอยหรือทําประโยชน์อย่างใด ๆ ก่อนพนักงาน เจ้าหน้าที่ตรวจวัดเพื่อคํานวณค่าภาคหลวง เว้นแต่เพื่อการชักลาก กรมทางหลวงชนบท 3-335 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - กรณีที่เป็นการทําไม้ในที่ดินที่มีโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน์ตาม ประมวลกฎหมายที่ดิน ต้องไม่นําไม้ไปใช้สอยหรือทําประโยชน์อย่างใด ๆ ก่อนพนักงานเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบ ประทับตรา เว้นแต่เพื่อการชักลาก - ปฏิบัติตามข้อกําหนดอื่นใดที่อธิบดีกรมป่าไม้กําหนดไว้ในใบอนุญาตทําไม้ ตารางที่ 3.3.3-1 ต้นไม้ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ พิกัดตำแหน่ง ขนาด เส้นผ่า ลำดับที่ ชื่อไทย ชื่อพฤกษศาสตร์ สูง หมายเหตุ X Y ศูนย์กลาง (ม.) (ซม.) ประเภทไม้ชายเลน 1 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511943 849502 5.8 3.5 2.1 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511943 849503 7.7 5.5 สองนาง 2.2 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511943 849503 8.7 6.5 สองนาง 3 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511943 849505 8.3 5 ต้นเอน 4 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511944 849504 6.7 4 ต้นเอน 5 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511945 849488 19.9 12 6 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511945 849509 5.5 3.5 7 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511945 849512 7.7 4 8 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511945 849513 11.1 5.5 ต้นเอน 10 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511946 849499 12.3 4.5 ต้นเอน 11 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511946 849503 9.7 7 ต้นเอน 12 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849509 6.4 4 13 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849510 6.8 4 14 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849511 5.6 5 15 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849512 5 2.7 ต้นเอน 16 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849513 4.8 2.8 ต้นเอน 17.1 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849517 6 4 สี่นาง 17.2 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849517 8.3 4 สี่นาง 17.3 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849517 5.5 3.7 สี่นาง 17.4 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511949 849517 6.4 4 สี่นาง 18 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511950 849513 5.4 4.5 19 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511951 849510 5.3 5 20 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511951 849510 7.2 5 21.1 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511951 849514 7.7 3.2 สามนาง 21.2 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511951 849514 6.8 4.3 สามนาง 21.3 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511951 849514 8 4 สามนาง 22 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849499 5.4 4 23 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849508 7 5.5 24.1 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849510 12.9 7 สองนาง 24.2 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849510 8.9 6 สองนาง 25 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849511 7.1 5 กรมทางหลวงชนบท 3-336 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-1 ต้นไม้ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ (ต่อ) พิกัดตำแหน่ง ขนาด เส้นผ่า ลำดับที่ ชื่อไทย ชื่อพฤกษศาสตร์ สูง หมายเหตุ X Y ศูนย์กลาง (ม.) (ซม.) 26 โกงกางใบเล็ก* Rhizophora apiculata Blume. 511952 849521 9.1 3.2 27 ตะบูนขาว* Xylocarpus granatum Koen 511948 849488 8.7 5.5 28 ตะบูนขาว* Xylocarpus granatum Koen 511951 849489 7.5 5 29 ตะบูนขาว* Xylocarpus granatum Koen 511955 849482 8.1 4.5 30 ตะบูนดำ* Xylocarpus moluccensis (Lam.) 511949 849486 7 4 31.1 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511948 849494 10.4 7 สามนาง 31.2 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511948 849494 9.1 6 สามนาง 31.3 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511948 849494 7.8 8 สามนาง 32 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511949 849503 7.1 5 33.1 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511950 849504 5.9 2.5 สองนาง 33.2 โปรงแดง* Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 511950 849504 5.3 2 สองนาง 34.1 แสมขาว Avicennia alba Bl. 511945 849525 58.9 14 ห้านาง 34.2 แสมขาว Avicennia alba Bl. 511945 849525 23.2 11 ห้านาง 34.3 แสมขาว Avicennia alba Bl. 511945 849525 15.3 14 ห้านาง 34.4 แสมขาว Avicennia alba Bl. 511945 849525 10.3 6 ห้านาง 34.5 แสมขาว Avicennia alba Bl. 511945 849525 9.9 6 ห้านาง 35 แสมทะเล Avicennia marina (Forssk) Vierh. 511949 849508 8.2 6.5 36 แสมทะเล Avicennia marina (Forssk) Vierh. 511952 849511 7.1 4.5 37.1 แสมทะเล Avicennia marina (Forssk) Vierh. 511953 849519 12.3 6.5 สองนาง 37.2 แสมทะเล Avicennia marina (Forssk) Vierh. 511953 849519 10.8 4.5 สองนาง ประเภทไม้บก 1 สำโรง Sterculia foetida L. 511912 849330 31 13 2 ส้านใหญ่* Dillenia obovata (Blume) Hoogland 511941 849432 46.5 10 3 ส้านใหญ่* Dillenia obovata (Blume) Hoogland 511963 849446 44.59 10 หมายเหตุ : * ไม้หวงห้ามประเภท ก ไม้หวงห้ามธรรมดา ตามบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกากําหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2530 กรมป่าไม้ ตารางที่ 3.3.3-2 รายการต้นไม้ที่อยู่ในพื้นที่ดำเนินการฝั่งตำบลเกาะกลาง ลำดับ ชนิดไม้ เส้นผ่านสูงกลาง (ซม.) สูง (ม.) TQ Log ปริมาตรไม้ (ลบ.ม.) 1 มะม่วง 15.92 5 3 - 0.03 2 เนียง 25.48 5 3 - 0.05 3 คูน 29.30 5 3 - 0.06 4 มะขาม 25.16 5 3 - 0.05 5 กระถินบ้าน 13.69 4 3 - 0.02 6 สาบเสือ 11.46 4 3 - 0.01 7 พังแหรใหญ่ 14.65 4 3 - 0.02 8 ปอหู 13.69 4 3 - 0.02 รวม 0.26 กรมทางหลวงชนบท 3-337 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-3 รายการต้นไม้ที่อยู่ในพื้นที่ดำเนินการฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ลำดับ ชนิดไม้ เส้นผ่านสูงกลาง (ซม.) สูง (ม.) TQ Log ปริมาตรไม้ (ลบ.ม.) 1 โกงกางใบเล็ก* 5.8 3.5 3 - 0.0056 2.1 โกงกางใบเล็ก* 7.7 5.5 3 - 0.0183 2.2 โกงกางใบเล็ก* 8.7 6.5 3 - 0.0289 3 โกงกางใบเล็ก* 8.3 5 3 - 0.0163 4 โกงกางใบเล็ก* 6.7 4 3 - 0.0084 5 โกงกางใบเล็ก* 19.9 12 3 - 0.2257 6 โกงกางใบเล็ก* 5.5 3.5 3 - 0.0053 7 โกงกางใบเล็ก* 7.7 4 3 - 0.0097 8 โกงกางใบเล็ก* 11.1 5.5 3 - 0.0264 10 โกงกางใบเล็ก* 12.3 4.5 3 - 0.0196 11 โกงกางใบเล็ก* 9.7 7 3 - 0.0374 12 โกงกางใบเล็ก* 6.4 4 3 - 0.0081 13 โกงกางใบเล็ก* 6.8 4 3 - 0.0086 14 โกงกางใบเล็ก* 5.6 5 3 - 0.011 15 โกงกางใบเล็ก* 5 2.7 3 - 0.0029 16 โกงกางใบเล็ก* 4.8 2.8 3 - 0.003 17.1 โกงกางใบเล็ก* 6 4 3 - 0.0076 17.2 โกงกางใบเล็ก* 8.3 4 3 - 0.0105 17.3 โกงกางใบเล็ก* 5.5 3.7 3 - 0.0059 17.4 โกงกางใบเล็ก* 6.4 4 3 - 0.0081 18 โกงกางใบเล็ก* 5.4 4.5 3 - 0.0086 19 โกงกางใบเล็ก* 5.3 5 3 - 0.0104 20 โกงกางใบเล็ก* 7.2 5 3 - 0.0142 21.1 โกงกางใบเล็ก* 7.7 3.2 3 - 0.0062 21.2 โกงกางใบเล็ก* 6.8 4.3 3 - 0.0099 21.3 โกงกางใบเล็ก* 8 4 3 - 0.0101 22 โกงกางใบเล็ก* 5.4 4 3 - 0.0068 23 โกงกางใบเล็ก* 7 5.5 3 - 0.0167 24.1 โกงกางใบเล็ก* 12.9 7 3 - 0.0498 24.2 โกงกางใบเล็ก* 8.9 6 3 - 0.0252 25 โกงกางใบเล็ก* 7.1 5 3 - 0.014 26 โกงกางใบเล็ก* 9.1 3.2 3 - 0.0073 27 ตะบูนขาว* 8.7 5.5 3 - 0.0207 28 ตะบูนขาว* 7.5 5 3 - 0.0148 29 ตะบูนขาว* 8.1 4.5 3 - 0.0129 30 ตะบูนดำ* 7 4 3 - 0.0088 31.1 โปรงแดง* 10.4 7 3 - 0.0401 31.2 โปรงแดง* 9.1 6 3 - 0.0258 31.3 โปรงแดง* 7.8 8 3 - 0.0393 32 โปรงแดง* 7.1 5 3 - 0.014 33.1 โปรงแดง* 5.9 2.5 3 - 0.0029 33.2 โปรงแดง* 5.3 2 3 - 0.0017 กรมทางหลวงชนบท 3-338 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-3 รายการต้นไม้ที่อยู่ในพื้นที่ดำเนินการฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย (ต่อ) ลำดับ ชนิดไม้ เส้นผ่านสูงกลาง (ซม.) สูง (ม.) TQ Log ปริมาตรไม้ (ลบ.ม.) 34.1 แสมขาว 58.9 14 1.3 - 0.9091 34.2 แสมขาว 23.2 11 3 - 0.2211 34.3 แสมขาว 15.3 14 3 - 0.2362 34.4 แสมขาว 10.3 6 3 - 0.0292 34.5 แสมขาว 9.9 6 3 - 0.0281 35 แสมทะเล 8.2 6.5 3 - 0.0273 36 แสมทะเล 7.1 4.5 3 - 0.0113 37.1 แสมทะเล 12.3 6.5 3 - 0.0409 37.2 แสมทะเล 10.8 4.5 3 - 0.0172 38 สำโรง 31.00 13.00 3 - 0.2211 39 ส้านใหญ่* 46.5 10 1.3 - 0.3662 40 ส้านใหญ่* 44.59 10 1.3 - 0.3511 รวม 3.2863 หมายเหตุ : * ไม้หวงห้ามประเภท ก ไม้หวงห้ามธรรมดา ตามบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกากําหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2530 กรมป่าไม้ กรมทางหลวงชนบท 3-339 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.3-8 ต้นไม้ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-340 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) พื้นที่ศึกษา พื้นที่ศึกษาโครงการระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ มีสภาพการ ใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลาย โดยสภาพการใช้ที่ดินจากริมขอบพื้นที่ก่อสร้างสะพานนั้น มีสภาพเป็นป่าชายเลน บริเวณริมทะเล ส่วนพื้นที่ลึกเข้าไปจากชายฝั่งเป็นพื้นที่สิ่งปลูกสร้างและพื้นที่เกษตรกรรมของชาวบ้าน เช่น สวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน เป็นต้น ลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ศึกษา ดังแสดงไว้ใน รูปที่ 3.3.3-9 ในการนี้จากการสำรวจในพื้นที่ศึกษาพบพื้นที่ป่าไม้จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ป่าบกฝั่ง ตำบล เกาะกลาง ซึ่งเป็นระบบนิเวศป่าดิบชื้นที่มีขนาดเพียง 9.93 ไร่ ที่มีไม้ชนิดต่าง ๆ ขึ้นอยู่ในพื้นที่ เช่น กะทังใบใหญ่ (Litsea grandis (Wall. ex Nees) Hook. f.) จิกนม (Palaquium gutta (Hook.) Baill.) ตะเคียนทอง (Hopea odorata Roxb.) มะม่วงป่า (Mangifera caloneura Kurz) เป็นต้น ดังแสดงไว้ในรูปที่ 3.3.3-10 ส่วนบนเกาะปลิง เป็นเกาะขนาดเล็กที่บริเวณริมชายฝั่งเป็นป่าชายเลน แต่พื้นที่ตอนกลางเกาะเป็นพื้นที่ยกตัวสูงขึ้นมา และเป็นที่ราบ ทำให้มีต้นไม้ขึ้นหลากหลายชนิด เช่น หว้า (Syzygium cumini (L.) Skeels) จิกนม (Palaquium gutta (Hook.) Baill.) ส้านใบเล็ก ( Dillenia ovata Wall. ex Hook. f. & Thomson) หาด (Artocarpus lacucha Roxb. ex Buch.-Ham.) เป็นต้น แต่ในการนี้พบการลักลอบปลูกปาล์มบนเกาะ และปัจจุบันพบร่องรอยการถางลูกไม้ และกล้าไม้บริเวณบนเกาะด้วย ดังแสดงไว้ใน รูปที่ 3.3.3-11 ส่วนพื้นที่ที่ไม่มีสภาพป่าพบไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ตามลำห้วย สันเขา และกลางพื้นที่เกษตรกรรม ซึ่งเป็นไม้ป่าที่ยังคงเหลืออยู่ในพื้นที่ เช่น เทพทาโร (Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm.) สำโรง (Sterculia foetida L.) จิกนม (Palaquium gutta (Hook.) Baill.) ส้านใหญ่ (Dillenia obovata (Blume) Hoogland) ไทร (Ficus annulata Blume) มะกัก (Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman) หว้า (Syzygium cumini (L.) Skeels) เป็นต้น ดังแสดงไว้ในรูปที่ 3.3.3-12 ประเภทป่าไม้บนเกาะปลิง ประกอบด้วย พื้นที่ป่าชายเลนสมบูรณ์ 10 ไร่ และพื้นที่ปา ่ บก 3 ไร่ โดยเกาะปลิงเป็นเกาะขนาดเล็กที่บริเวณริมชายฝั่งเป็นป่าชายเลน ซึ่งเป็นดินเลนปนทรายและมีโขนหินโผล่ อยู่ทั่วไปมีป่าชายเลนขึ้นเป็นแถบแคบ ๆ ความกว้างตั้งแต่ 5 -30 เมตร พบพรรณไม้ทั้งหมด 12 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบใหญ่ โปรงแดง ประสักดอกแดง โกงกางใบเล็ก แสมทะเล หงอนไก่ทะเลใบใหญ่ ลำแพนหิน ตะบูนขาว ตะบูนดำ โพทะเล เล็บมือนาง และสีง้ำ แต่พื้นที่ตอนกลางเกาะเป็นพื้นที่ยกตัวสูงขึ้นมา และเป็นที่ราบ ทำให้ มี ต้นไม้ขึ้นหลากหลายชนิด พบพรรณไม้ทั้งหมด 4 ชนิด ได้แก่ หว้า จิกนม ส้านใบเล็ก นนทรี แต่ในการนี้พบ การลักลอบปลูกปาล์มบนเกาะ และปัจจุ บันพบร่องรอยการถางลูกไม้และกล้าไม้บริเวณบนเกาะด้วย ดังแสดง ไว้ในรูปที่ 3.3.3-13 (ก) ชนิดพรรณพืช • ชนิดพรรณพืชที่พบ ผลการวิเคราะห์ชนิดพรรณพืชที่พบทุกชนิดทั้งที่เป็นไม้ ป่า ยืนต้น ไม้ผล และไม้การเกษตร รวมวัชพืชที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการและพื้นที่ศึกษา จำนวน 26 วงศ์ 52 ชนิด ชนิดพืชที่พบมากที่สุดเป็นชนิดพืชที่อยู่ในวงศ์ LEGUMINOSAE จำนวน 9 ชนิด รองลงมา เป็นวงศ์ MORACEAE จำนวน 5 ชนิด ชนิดไม้ที่พบในพื้นที่ป่าบกบางชนิดเป็นชนิดไม้ป่าชายเลนที่ได้พัฒนาตนเองมาขึ้น ในพื้นที่ป่าบกที่เป็นพื้นที่รอยต่อ (transition zone or ecotone) ระหว่างพื้นที่ที่เป็นพื้นที่ป่าบกและพื้นที่ป่าชายเลน ชนิดไม้ที่พบก็เป็นชนิดไม้ที่สามารถพบได้โดยทั่วไปในพื้นที่รอยต่อระหว่างพื้นที่ป่าบกและพื้นที่ป่าชายเลน สำหรับ รายชื่อวงศ์ ชื่อสามัญ และชื่อวิทยาศาสตร์ของพรรณพืชที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการ ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-4 กรมทางหลวงชนบท 3-341 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน พื้นที่เกษตรกรรม ท่าเทียบเรือบ้านหัวหิน ป่าชายเลน รูปที่ 3.3.3-9 ลักษณะทางนิเวศบกของพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-342 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.3-10 ั่ บก ลักษณะทางนิเวศของป่าไม้ฝง รูปที่ 3.3.3-11 ลักษณะทางนิเวศของป่าไม้ในเกาะปลิงบริเวณพื้นที่ตอนกลางเกาะ กรมทางหลวงชนบท 3-343 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.3-12 ลักษณะทางนิเวศของป่าไม้ในเกาะปลิงบริเวณพื้นที่ที่ไม่มีสภาพป่า รูปที่ 3.3.3-13 ลักษณะทางนิเวศของไม้ที่เหลืออยู่ในพื้นที่ กรมทางหลวงชนบท 3-344 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-4 ชื่อวงศ์ ชื่อสามัญ และชื่อวิทยาศาสตร์ของพรรณพืชที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการ ลำดับ ลำดับ (วงศ์) วงศ์ ชนิด ชื่อวิทยาศาสตร์ 1 1 ANACARDIACEAE มะกัก Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman 2 ANACARDIACEAE มะม่วงป่า Mangifera caloneura Kurz 3 2 APOCYNACEAE ตีนเป็ดทะเล Cerbera odollam Gaertn. 4 APOCYNACEAE สัตตบรรณ Alstonia scholaris (L.) R.Br. 5 3 BIGNONIACEAE แคหางค่าง Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis 6 BIGNONIACEAE ชมพูพันธุ์ทิพย์ Tabebuia rosea (Bertol.) DC. 7 BIGNONIACEAE ปีบ Millingtonia hortensis L.f. 8 BIGNONIACEAE เพกา Oroxylum indicum (L.) Kurz 9 4 BOMBACACEAE งิ้ว Bombax anceps Pierre var. anceps 10 5 CAPPARACEAE กุ่มน้ำ Crateva magna (Lour.) DC. 11 6 DILLENIACEAE ส้านใบเล็ก Dillenia ovata Wall. ex Hook. f. & Thomson 12 DILLENIACEAE ส้านใหญ่ Dillenia obovata (Blume) Hoogland 13 7 DIPTEROCARPACEAE ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb. 14 DIPTEROCARPACEAE ตะเคียนหิน Hopea ferrea Laness. 15 8 ELAEOCARPACEAE สะท้อนรอก Elaeocarpus robustus Roxb. 16 9 EUPHORBIACEAE ดีหมี Cleidion spiciflorum (Burm.f.) Merr. 17 EUPHORBIACEAE เปล้าหลวง Croton roxburghii N.P. Balakr. 18 EUPHORBIACEAE มะเม่า Antidesma sootepense Craib 19 10 FAGACEAE ก่อหมู Castanopsis nephelioides King ex Hook.f. 20 11 LABIATAE ตีนนก Vitex pinnata L. 21 12 LAURACEAE กะทังใบใหญ่ Litsea grandis (Wall. ex Nees) Hook. f. 22 LAURACEAE เทพทาโร Cinnamomum porrectum (Roxb.)Kosterm. 23 13 LEGUMINOSAE กระถินบ้าน Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit 24 LEGUMINOSAE กาแซะ Callerya atropurpurea (Wall.) A.M. Schot 25 LEGUMINOSAE เก็ดแดง Dalbergia dongnaiensis Pierre 26 LEGUMINOSAE คูน Cassia fistula L. 27 LEGUMINOSAE ทองหลาง Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr. 28 LEGUMINOSAE นนทรี Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer ex K.Heyne 29 LEGUMINOSAE เนียง Archidendron jiringa (Jack) I.C.Nielsen 30 LEGUMINOSAE พฤกษ์ Albizia lebbeck (L.) Benth. 31 LEGUMINOSAE สะตอ Parkia speciosa Hassk. 32 14 LYTHRACEAE ตะแบก Lagerstroemia cuspidata Wall. 33 LYTHRACEAE เสลา Lagerstroemia venusta Wall. 34 15 MALVACEAE ปอหู Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem. 35 16 MELIACEAE สะเดาเทียม Azadirachta excelsa (Jack) Jacobs 36 17 MORACEAE ข่อย Streblus asper Lour. 37 MORACEAE ไทร Ficus annulata Blume 38 MORACEAE โพธิ์ขี้นก Ficus rumphii Blume. 39 MORACEAE มะเดื่อปล้อง Ficus hispida L.f. 40 MORACEAE หาด Artocarpus lacucha Roxb. ex Buch.-Ham. กรมทางหลวงชนบท 3-345 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-4 ชื่อวงศ์ ชื่อสามัญ และชื่อวิทยาศาสตร์ของพรรณพืชที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการ (ต่อ) ลำดับ ลำดับ (วงศ์) วงศ์ ชนิด ชื่อวิทยาศาสตร์ 41 18 MYRTACEAE หว้า Syzygium cumini (L.) Skeels 42 19 RHIZOPHORACEAE เฉียงพร้านางแอ Carallia brachiata (Lour.) Merr. 43 20 RUBIACEAE ยอป่า Morinda coreia Ham. 44 21 SAPINDACEAE มะหวด Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. 45 22 SAPOTACEAE จิกนม Palaquium gutta (Hook.) Baill. 46 23 STERCULIACEAE ปอฝ้าย Firmiana colorata (Roxb.) R. Br. 47 STERCULIACEAE ปออีเก้ง Pterocymbium tinctorium (Blanco) Merr. 48 STERCULIACEAE สำโรง Sterculia foetida L. 49 24 THEACEAE ตำเสา Ternstroemia wallichiana (Griff.) Engl. 50 25 TILIACEAE พลองกินลูก Microcos tomentosa Sm. 51 TILIACEAE พลับพลา Microcos tomentosa Sm. 52 26 ULMACEAE พังแหรใหญ่ Trema orientalis (L.) Blume ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 • ชนิดไม้แบ่งตามสถานภาพการอนุรักษ์ ผลการวิเคราะห์ชนิดไม้ในพื้นที่ดำเนินการ และพื้นที่ศึกษาตามสภาพเพื่อการอนุรักษ์ของกรมอุทยาน สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ( DNP 2017) และของ IUCN ่ พรรณไม้เพื่อการอนุรักษ์ของกรมอุทยาน (2020) ในส่วนที่อยู่ในบัญชีรายชื่อ สรุปได้ว่า พบชนิดพืชตามบัญชีรายชือ แห่งชาติฯ 2 ชนิด เป็นชนิดไม้หายาก ( R) คือ ไม้มะกัก ( Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman) และ ส้านใบเล็ก (Dillenia ovata Wall. ex Hook. f. & Thomson) ส่วนชนิดไม้ตามสถานภาพของ IUCN (2020) นั้น พบจำนวน 4 ประเภท ได้แก่ ประเภท EN เพียงชนิดเดียวเป็นไม้ตะเคียนหิน (Hopea ferrea Laness.) ประเภท VU พบ 3 ชนิด เช่น ไม้ตำเสา (Ternstroemia wallichiana (Griff.) Engl.) เป็นต้น ประเภท NT พบเพียงชนิดเดียวเป็น ไม้จิกนม (Palaquium gutta (Hook.) Baill.) และประเภท LC พบ 17 ชนิด เช่น เทพทาโร ( Cinnamomum porrectum (Roxb.)Kosterm.) หว้า (Syzygium cumini (L.) Skeels) เป็นต้น ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-5 • ลักษณะโครงสร้างของป่าไม้ ผลการวิเคราะห์ลักษณะโปรไฟล์ของโครงสร้าง ของป่าที่แสดงลักษณะการปกคลุมของเรือนยอด (Crown Cover Diagram) ในพื้นที่การวางแปลงสำรวจแจงนับ ไม้กึ่งถาวร ลักษณะของโครงสร้างของป่าไม้ในพื้นที่โครงการที่เป็นป่าดิบชื้นจำนวน 2 แปลง ในพื้นที่ฝั่งบกบริเวณ ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา และพื้นที่บนเกาะปลิง ซึ่งเป็นเกาะขนาดเล็กในพื้นที่ศึกษา โดยมี ลักษณะ การปกคลุมของเรือนยอด ( Crown Cover Diagram) แสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-6 และตารางที่ 3.3.3-7 และ รูปที่ 3.3.3-14 และรูปที่ 3.3.3-15 กรมทางหลวงชนบท 3-346 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-5 บัญชีรายชื่อชนิดพรรณพืชแบ่งตามสถานภาพเพื่อการอนุรักษ์ (เฉพาะต้นไม้ที่มีสถานภาพ) สถานภาพเพื่อการอนุรักษ์ ลำดับ ชนิด ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ DNP (2017) IUCN (2020) 1 ก่อหมู Castanopsis nephelioides King ex Hook.f. FAGACEAE - VU 2 กะทังใบใหญ่ Litsea grandis (Wall. ex Nees) Hook. f. LAURACEAE - LC 3 คูน Cassia fistula L. LEGUMINOSAE - LC 4 จิกนม Palaquium gutta (Hook.) Baill. SAPOTACEAE - NT 5 ชมพูพันธุ์ทิพย์ Tabebuia rosea (Bertol.) DC. BIGNONIACEAE - LC 6 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE - VU 7 ตะเคียนหิน Hopea ferrea Laness. DIPTEROCARPACEAE - EN 8 ตำเสา Ternstroemia wallichiana (Griff.) Engl. THEACEAE - VU 9 ตีนนก Vitex pinnata L. LABIATAE - LC 10 ตีนเป็ดทะเล Cerbera odollam Gaertn. APOCYNACEAE - LC 11 เทพทาโร Cinnamomum porrectum (Roxb.)Kosterm. LAURACEAE - LC 12 ปออีเก้ง Pterocymbium tinctorium (Blanco) Merr. STERCULIACEAE - LC 13 พฤกษ์ Albizia lebbeck (L.) Benth. LEGUMINOSAE - LC 14 พลองกินลูก Microcos tomentosa Sm. TILIACEAE - LC 15 พลับพลา Microcos tomentosa Sm. TILIACEAE - LC 16 พังแหรใหญ่ Trema orientalis (L.) Blume ULMACEAE - LC 17 มะกัก Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman ANACARDIACEAE R - 18 มะเดื่อปล้อง Ficus hispida L.f. MORACEAE - LC 19 มะหวด Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. SAPINDACEAE - LC 20 สะเดาเทียม Azadirachta excelsa (Jack) Jacobs MELIACEAE - LC 21 สะตอ Parkia speciosa Hassk. LEGUMINOSAE - LC 22 สัตตบรรณ Alstonia scholaris (L.) R.Br. APOCYNACEAE - LC 23 ส้านใบเล็ก Dillenia ovata Wall. ex Hook. f. & Thomson DILLENIACEAE R - 24 หว้า Syzygium cumini (L.) Skeels MYRTACEAE - LC ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : R หมายถึง หายาก (ทัว่ โลก) EN หมายถึง ใกล้สูญพันธุ์ VU หมายถึง เกือบอยู่ในข่ายใกล้สูญพันธุ์ NT หมายถึง เกือบอยู่ในข่ายเสี่ยง LC หมายถึง มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์ กรมทางหลวงชนบท 3-347 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน กะทังใบใหญ่ พลับพลา จิกนม กะทังใบใหญ่ หว้า หว้า กะทังใบใหญ่ สะตอ สะตอ หาด มะม่วงป่า กะทังใบใหญ่ มะเม่า 20 เมตร เฉียงพร้านางแอ ดีหมี เฉียงพร้านางแอ ก่อหมู เฉียงพร้านางแอ ตะเคียนหิน หาด จิกนม มะม่วงป่า สะเดาเทียม ตะเคียนทอง พลองกินลูก 40 เมตร รูปที่ 3.3.3-14 Profile diagram (บน) และ Crown projection diagram (ล่าง) ของไม้ใหญ่ในป่าบก กรมทางหลวงชนบท 3-348 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-6 รายละเอียดชนิดไม้ในแปลงศึกษาโครงสร้างของป่าไม้ในป่าบก ลำดับ ชนิด เส้นรอบวง (เซนติเมตร) ความสูง (เมตร) x y 1 หาด 54.14 20 510531 850987 2 สะเดาเทียม 6.69 5 510529 850984 3 มะม่วงป่า 16.88 7 510521 850979 4 ตะเคียนหิน 7.32 6 510519 850981 5 จิกนม 47.45 25 510516 850975 6 พลองกินลูก 15.92 8 510516 850974 7 ก่อหมู 44.90 15 510513 850978 8 เฉียงพร้านางแอ 14.33 7 510513 850978 9 เฉียงพร้านางแอ 10.83 6 510513 850978 10 มะม่วงป่า 6.69 5 510511 850979 11 สะตอ 22.61 10 510511 850979 12 ตะเคียนทอง 73.25 30 510506 850970 13 ดีหมี 6.37 4 510502 850974 14 เฉียงพร้านางแอ 12.10 6 510504 850974 15 มะเม่า 10.83 6 510522 850987 16 หาด 28.34 10 510519 850984 17 กะทังใบใหญ่ 55.10 20 510515 850983 18 พลับพลา 22.61 8 510528 850999 19 กะทังใบใหญ่ 18.15 8 510528 850999 20 กะทังใบใหญ่ 56.37 20 510524 850997 21 กะทังใบใหญ่ 48.73 15 510519 850997 22 หว้า 21.97 7 510519 850990 23 จิกนม 54.14 20 510509 850982 24 หว้า 16.24 8 510510 850982 25 สะตอ 13.38 7 510510 850982 ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-349 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ส้านใบเล็ก ส้านใบเล็ก หว้า หว้า หว้า นนทรี หว้า 20 เมตร หว้า หว้า หว้า หว้า หว้า จิกนม ส้านใบเล็ก หว้า ส้านใบเล็ก เนียง พลับพลา หว้า 40 เมตร รูปที่ 3.3.3-15 Profile diagram (บน) และ Crown projection diagram (ล่าง) ของไม้ใหญ่ในเกาะปลิง กรมทางหลวงชนบท 3-350 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-7 รายละเอียดชนิดไม้ในแปลงศึกษาโครงสร้างของป่าไม้ในเกาะปลิง ลำดับ ชนิด เส้นรอบวง (เซนติเมตร) ความสูง (เมตร) x y 1 นนทรี 26.75 7 511304 850043 2 ส้านใบเล็ก 37.58 8 511304 850043 3 หว้า 32.17 10 511301 850040 4 หว้า 43.63 10 511296 850032 5 หว้า 27.39 7 511291 850029 6 พลับพลา 19.75 6 511289 850030 7 ส้านใบเล็ก 10.51 5 511296 850024 8 ส้านใบเล็ก 12.74 5 511296 850025 9 หว้า 21.66 8 511297 850022 10 หว้า 37.90 10 511299 850023 11 หว้า 24.84 6 511299 850023 12 หว้า 15.61 5 511303 850023 13 เนียง 24.20 7 511304 850014 14 หว้า 36.94 8 511310 850012 15 จิกนม 19.75 6 511318 850006 16 หว้า 28.03 7 511304 850033 17 หว้า 23.25 7 511310 850033 18 นนทรี 39.81 10 511320 850020 19 หว้า 35.03 8 511317 850023 ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 • ชนิดพรรณไม้หวงห้ามที่พบในพื้นที่ดำเนินการและพื้นที่ศึกษาแบ่งตามขนาด ต้นไม้ ผลการวิเคราะห์ชนิดไม้หวงห้ามที่พบในพื้นที่ดำเนินการ และพื้นที่ศึกษาในระยะ 500 เมตร ไม่พบชนิดไม้ หวงห้ามประเภท ข แต่อย่างใด คงพบประเภทไม้หวงห้ามประเภท ก ในพื้นที่ดำเนินการช่วง กม. 0+00 0 – 0+500 จำนวน 1 ชนิด และช่วง กม.1+958 – 2+240 จำนวน 2 ชนิด ส่วนพื้นที่ศึกษาพบไม้หวงห้ามประเภท ก จำนวน 16 ชนิด แสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-8 • รายชื่อขนิดไม้ที่พบชนิดต้นไม้ยืนต้นในพื้นที่ดำเนินการ ชนิดไม้ที่พบในแต่ละ พื้นที่ดำเนินการ และพื้นที่ศึกษาพบทั้งสิ้น 35 ชนิด แบ่งเป็นพื้นที่ดำเนินการช่วง กม.0+000 - กม.0+500 จำนวน 2 3 และ 8 ชนิด ตามลำดับ และช่วง กม.1+958 – กม.2+240 จำนวน 6 1 และ 12 ชนิด ตามลำดับ ส่วนพื้นที่ ศึกษาพบทั้งสิ้น 21 5 และ 10 ชนิด ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าพื้นที่ดำเนินการมีชนิดไม้น้อยกว่าพื้นที่ศึกษา เนื่องจาก พื้นที่ดำเนินการเป็นไม้ที่ขึ้นบริเวณริมถนนมักถูกรบกวนจากการกระทำของมนุษย์ ส่วนพื้นที่ศึกษาจะเป็นระบบ นิเวศป่าไม้ที่มีความหลากหลายของจำนวนชนิดที่มากกว่ารายชื่อชนิดไม้ที่พบชนิดต้นไม้ยืนต้นในพื้ นที่ดำเนินการ และพื้นที่ศึกษาแบ่งตามขนาดต้นไม้ที่เป็นต้นไม้ใหญ่ ลูกไม้ และกล้าไม้ ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-9 กรมทางหลวงชนบท 3-351 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-8 ชนิดไม้หวงห้ามที่พบในพื้นที่ดำเนินการและพื้นที่ศึกษา จำนวนชนิดไม้ (ไม้หวงห้ามประเภท ก) ลำดับ ชนิดไม้ พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่ศึกษา กม.0+000 - กม.0+500 กม.1+958 – กม.2+240 1 ก่อหมู / 2 กะทังใบใหญ่ / 3 กาแซะ / 4 คูน / 5 จิกนม / 6 เฉียงพร้านางแอ / 7 ดีหมี / 8 ตะเคียนทอง / 9 ตะเคียนหิน / 10 นนทรี / 11 พลองกินลูก / 12 มะม่วงป่า / 13 สะเดาเทียม / 14 สะตอ / 15 ส้านใบเล็ก / 16 ส้านใหญ่ / 17 เสลา / 18 หว้า / 19 หาด / รวม 1 2 16 จำนวนชนิดไม้ (ไม้หวงห้ามประเภท ข) ลำดับ ชนิดไม้ พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่ศึกษา กม.0+000 – กม.0+500 กม.1+958 – กม.2+240 รวม - - - ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-352 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-9 รายชื่อขนิดไม้ที่พบชนิดต้นไม้ยืนต้นในพื้นที่ดำเนินการแบ่งตามขนาดต้นไม้ที่เป็นต้นไม้ใหญ่ (tree) ลูกไม้ (sapling) และกล้าไม้ (seedling) ที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการ พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่ศึกษา ลำดับ ชนิดไม้ กม.0+000 - กม.0+500 กม.1+958 – กม.2+240 ไม้ใหญ่ ลูกไม้ กล้าไม้ ไม้ใหญ่ ลูกไม้ กล้าไม้ ไม้ใหญ่ ลูกไม้ กล้าไม้ 1 กระถินบ้าน / / 2 ก่อหมู / 3 กะทังใบใหญ่ / / / 4 กาแซะ / 5 ข่อย / / 6 คูน / / / 7 แคหางค่าง / 8 จิกนม / / 9 เฉียงพร้านางแอ / 10 ดีหมี / 11 ตะเคียนทอง / 12 ตะเคียนหิน / / 13 ตีนนก / 14 ตีนเป็ดทะเล / 15 นนทรี / / 16 เนียง / / 17 ปอฝ้าย / 18 ปอหู / / 19 เปล้าหลวง / 20 พลองกินลูก / / 21 พลับพลา / / / / 22 พังแหรใหญ่ / / 23 เพกา / 24 มะเดื่อปล้อง / / / / / 25 มะม่วงป่า / / / 26 มะเม่า / / / / 27 มะหวด / / 28 ยอป่า / 29 สะเดาเทียม / / 30 สะตอ / 31 ส้านใบเล็ก / 32 ส้านใหญ่ / 33 เสลา / / / 34 หว้า / / / 35 หาด / / / รวมตามขนาดไม้ 2 3 8 6 1 12 21 5 10 รวมแต่ละพื้นที่ 9 14 23 รวมทั้งสิ้น 35 ่ รึกษา, 2564 ที่มา : ทีป กรมทางหลวงชนบท 3-353 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • ค่าดัชนีความสำคัญของไม้ใหญ่ ( Importance Value Index ,IVI) ผลการ วิเคราะห์ค่าดัชนีความสำคัญของไม้ใหญ่ ( IVI) ในพื้นที่ดำเนินการ พบว่า ในแต่ละพื้นที่มีค่าดัชนีของชนิดไม้ใหญ่ แตกต่างกันไปในพื้นที่ โดยช่วง กม. 0+000 – กม.0+500 พบต้นคูนมากที่สุด (193.5184) รองลงมาเป็นต้นเนียง (106.4816) ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-10 สำหรับพื้นที่ช่วง กม.1+958 – กม.2+240 ผลการวิเคราะห์ค่าดัชนี ความสำคัญของไม้ใหญ่ (IVI) พบว่า ชนิดไม้เสลามากที่สด ุ (97.2233) รองลงมาเป็นไม้ส้านใหญ่ (60.1816) และไม้ พลับพลา (49.9612) ตามลำดับ ดังแสดงไว้ใน ตารางที่ 3.3.3-11 สำหรับพื้นที่ศึกษาในรัศมี 500 เมตร ผลการ วิเคราะห์ค่าดัชนีความสำคัญ ของไม้ใหญ่ (IVI) พบว่า พบชนิดไม้หว้า มากที่สุด (59.2911) รองลงมาเป็นไม้จิกนม (35.3540) และไม้กะทังใบใหญ่ (27.5767) ตามลำดับ ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-12 ตารางที่ 3.3.3-10 ค่าดัชนีความสำคัญของไม้ใหญ่ (IVI) ในพื้นที่ดำเนินการช่วง กม. 0+000 – กม.0+500 ค่าสัมพัทธ์ (%) ดัชนี ลำดับที่ ชื่อสามัญ ความหนาแน่น ความถี่ ความเด่น ความสำคัญ (R.D.) (R.F.) (R.Do.) (IVI) 1 คูน 50.0000 66.6667 76.8517 193.5184 2 เนียง 50.0000 33.3333 23.1483 106.4816 รวม 100 100 100 300 ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 ตารางที่ 3.3.3-11 ค่าดัชนีความสำคัญของไม้ใหญ่ (IVI) ในพื้นที่ดำเนินการช่วง กม.1+958 – กม.2+240 ค่าสัมพัทธ์ (%) ดัชนี ลำดับที่ ชื่อสามัญ ความหนาแน่น ความถี่ ความเด่น ความสำคัญ (R.D.) (R.F.) (R.Do.) (IVI) 1 เสลา 35.1351 30.7692 31.3190 97.2233 2 ส้านใหญ่ 5.4054 15.3846 39.3915 60.1816 3 พลับพลา 24.3243 15.3846 10.2522 49.9612 4 มะเดื่อปล้อง 16.2162 15.3846 5.8901 37.4909 5 มะเม่า 13.5135 15.3846 8.1284 37.0266 6 แคหางค่าง 5.4054 7.6923 5.0188 18.1165 รวม 100 100 100 300 ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-354 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-12 ค่าดัชนีความสำคัญของไม้ใหญ่ (IVI) พื้นที่ดำเนินการ (เกาะลันตาน้อย) ค่าสัมพัทธ์ (%) ดัชนี ลำดับที่ ชื่อสามัญ ความหนาแน่น ความถี่ ความเด่น ความสำคัญ (R.D.) (R.F.) (R.Do.) (IVI) 1 หว้า 25.1908 9.0909 25.0094 59.2911 2 จิกนม 10.6870 9.0909 15.5761 35.3540 3 กะทังใบใหญ่ 7.6336 6.0606 13.8825 27.5767 4 หาด 8.3969 6.0606 12.7874 27.2450 5 ส้านใบเล็ก 9.9237 3.0303 9.5364 22.4904 6 มะม่วงป่า 7.6336 6.0606 1.5465 15.2407 7 พลับพลา 4.5802 9.0909 1.3274 14.9984 8 ก่อหมู 3.8168 6.0606 4.0837 13.9611 9 พลองกินลูก 3.8168 6.0606 1.3989 11.2763 10 สะตอ 2.2901 6.0606 1.6977 10.0483 11 ตะเคียนทอง 0.7634 3.0303 4.9779 8.7715 12 สะเดาเทียม 3.0534 3.0303 2.3241 8.4078 13 ตะเคียนหิน 2.2901 3.0303 1.9385 7.2589 14 กาแซะ 2.2901 3.0303 1.1696 6.4899 15 เฉียงพร้านางแอ 2.2901 3.0303 0.4352 5.7556 16 นนทรี 0.7634 3.0303 1.4703 5.2640 17 ข่อย 1.5267 3.0303 0.0581 4.6151 18 เนียง 0.7634 3.0303 0.5435 4.3372 19 มะเม่า 0.7634 3.0303 0.1088 3.9024 20 ตีนเป็ดทะเล 0.7634 3.0303 0.0904 3.8841 21 ดีหมี 0.7634 3.0303 0.0376 3.8313 รวม 100 100 100 300 • จำนวนต้นไม้ที่พบ ผลการวิเคราะห์จำนวนต้นไม้ที่พบในพื้นที่ดำเนินการทัง ้ สิ้น 682 ต้น แบ่งตามขนาดของต้นไม้ พบว่า มีตน ้ ไม้ใหญ่ 45 ต้น ลูกไม้ 4 ต้น และกล้าไม้ 633 ต้น พบจำนวนต้นไม้ที่ มีขนาดใหญ่ในช่วง กม.1+958 – กม.2+240 มากกว่าช่วง กม.0+000 – กม.0+500 ส่วนพื้นที่ศึกษาในระยะ 500 เมตร พบความหนาแน่นของหมู่ไม้ แบ่งเป็น ไม้ใหญ่เท่ากับ 43.667 ต้นต่อไร่ ลูกไม้เท่ากับ 26.667 ต้นต่อไร่ และกล้าไม้เท่ากับ 981.333 ต้นต่อไร่ ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-13 โดยไม่พบว่ามีต้นไผ่แต่อ ย่างใด กรมทางหลวงชนบท 3-355 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-13 จำนวนต้นไม้ที่พบในพื้นที่ดำเนินการหัวสะพานบ้านหัวหิน เกาะปลิง และบริเวณปลาย สะพานด้านฝั่งเกาะลันตาน้อย แบ่งตามขนาดต้นไม้ใหญ่ ลูกไม้ และกล้าไม้ จำนวนต้นไม้ (ต้น) ไผ่ ประเภท ช่วง กม. ฝั่ง ไม้ใหญ่ ลูกไม้ กล้าไม้ (ลำ) พื้นที่ดำเนินการ กม. 0+000 - 0+500 ฝั่งซ้าย 4 2 155 - ฝั่งขวา 4 1 124 - รวม 8 3 279 - กม.1+958 – 2+240 ฝั่งซ้าย 11 - 189 - ฝั่งขวา 26 1 165 - รวม 37 1 354 - รวมทั้งสิ้น 45 4 633 ความหนาแน่นต้นไม้ (ต้น/ไร่) ไผ่ ประเภท ช่วง กม. ฝั่ง ไม้ใหญ่ ลูกไม้ กล้าไม้ (ลำ/ไร่) พื้นที่ศึกษา - - 43.667 26.667 981.333 - • พิกัดไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ดำเนินการและพื้นที่ศึกษา ผลการสำรวจต้นไม้ขนาด ใหญ่ในพื้นที่ดำเนินการที่ขนาดเกณฑ์ที่ใช้ในการทำไม้เพื่อการแปรรูปไม้ได้ที่มีขนาดเส้นรอบวง 100 เซนติเมตร หรือเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ไม่พบต้นไม้ขนาดใหญ่ในพื้นที่ช่วง กม.0+000 – กม.0+500 คงพบในพื้นที่ เฉพาะช่วง กม.1+958 – กม.2+240 เท่านั้น โดยพบว่า มีต้นไม้ขนาดใหญ่ทั้งสิ้น จำนวน 1 ชนิด จำนวน 2 ต้น ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-14 และรูปที่ 3.3.3-16 ผลการสำรวจต้นไม้ขนาดใหญ่ในพื้นที่ศึกษาที่ขนาดเกณฑ์ที่ใช้ ในการทำไม้เพื่อการแปรรูปไม้ได้ที่มีขนาดเส้นรอบวง 100 เซนติเมตร หรือเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ที่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่ป่าไม้ ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณริมลำห้วย กลางพื้นที่เกษตรกรรม และบริเวณยอดเขา โดยพบ ในพื้นที่ฝั่งบกต้นไม้ จำนวน 69 ต้น บนเกาะปลิงพบ จำนวน 46 ต้น และฝั่งเกาะลันตาน้อยพบ จำนวน 55 ต้น ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-15 ถึงรูปที่ 3.3.3-17 และรูปที่ 3.3.3-19 ตารางที่ 3.3.3-14 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการ เส้นผ่านศูนย์กลาง ความสูง พิกัด ช่วง กม. ลำดับ ชนิด (ซม.) (ม.) x กม.0+000 – กม.0+500 กม.1+958 – กม.2+240 y 1 ส้านใหญ่ 46.50 10 511941 849432 - / 2 ส้านใหญ่ 44.59 10 511963 849446 - / รวม 1 2 กรมทางหลวงชนบท 3-356 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ฝั่งเกาะลันตาน้อย (ช่วง กม.1+958 – 2+240) รูปที่ 3.3.3-16 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการ ตารางที่ 3.3.3-15 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา เส้นผ่าศูนย์กลาง ความสูง พิกัด พื้นที่ ลำดับ ชนิดไม้ หมายเหตุ (ซม) (ม) x y ฝั่งบก เกาะปลิง ฝั่งเกาะลันตาน้อย 39.81 15 1 หว้า 35.99 15 3 นาง 511312 850052 / 25.16 10 42.36 10 37.26 10 2 หว้า 4 นาง 511312 850049 / 35.03 10 20.38 8 36.31 8 3 ส้านใบเล็ก 2 นาง 511304 850043 / 32.48 8 4 หว้า 32.17 10 511301 850040 / 5 หว้า 43.63 10 511296 850032 / 6 ส้านใบเล็ก 36.94 8 511293 850036 / 7 ส้านใบเล็ก 47.13 10 511295 850036 / 8 หว้า 30.25 10 511288 850028 / 37.90 10 9 หว้า 2 นาง 511299 850023 / 32.48 10 หว้า 30.25 8 511300 850015 / กรมทางหลวงชนบท 3-357 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-15 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) เส้นผ่าศูนย์กลาง ความสูง พิกัด พื้นที่ ลำดับ ชนิดไม้ หมายเหตุ (ซม) (ม) x y ฝั่งบก เกาะปลิง ฝั่งเกาะลันตาน้อย 36.94 8 34.39 8 11 หว้า 4 นาง 511310 850012 / 34.08 8 30.25 8 31.21 8 28.66 8 29.30 8 12 หว้า 27.07 8 7 นาง 511324 849998 / 26.75 8 9.87 6 7.64 6 13 หว้า 49.36 8 511329 850005 / 42.68 8 14 หว้า 23.57 8 3 นาง 511331 850005 / 8.60 8 32.17 10 15 หว้า 32.17 10 4 นาง 511328 849996 / 14.33 8 41.40 7 16 หว้า 2 นาง 511310 849974 / 28.66 7 17 หาด 70.06 7 511305 849967 / 18 นนทรี 32.48 6 511310 849961 / 19 หว้า 32.48 6 511301 849970 / 35.03 10 35.03 10 20 ส้านใบเล็ก 4 นาง 511274 850003 / 36.62 10 29.30 10 21 หว้า 42.99 10 511276 850005 / 22 หว้า 47.77 10 511278 850007 / 43.31 10 23 หว้า 32.17 10 3 นาง 511279 850014 / 22.29 8 24 จิกนม 34.08 10 511283 850020 / 33.44 8 25 หว้า 2 นาง 511286 850031 / 27.07 8 33.12 8 26 หว้า 2 นาง 511315 850046 / 22.93 8 27 นนทรี 39.81 10 511320 850020 / 33.76 8 28 หว้า 2 นาง 511317 850023 / 21.34 7 32.80 8 29 หว้า 29.94 8 3 นาง 511330 850026 / 24.52 8 46.82 8 30 หว้า 2 นาง 511329 850030 / 15.92 7 กรมทางหลวงชนบท 3-358 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-15 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) เส้นผ่าศูนย์กลาง ความสูง พิกัด พื้นที่ ลำดับ ชนิดไม้ หมายเหตุ (ซม) (ม) x y ฝั่งบก เกาะปลิง ฝั่งเกาะลันตาน้อย 33.44 10 31 หว้า 2 นาง 511339 850029 / 29.62 9 45.86 10 32 หว้า 43.31 10 3 นาง 511333 850037 / 26.11 10 33 หว้า 30.25 10 511329 850042 / 34 มะกัก 51.27 10 511341 850049 / 50.00 10 32.48 10 35 หว้า 4 นาง 511331 850059 / 33.12 10 25.80 9 36 ตะแบก 43.63 7 511335 850069 / 37 มะกัก 31.53 8 511336 850072 / 38 มะกัก 32.48 8 511342 850066 / 39 พลับพลา 35.67 8 511342 850063 / 40 นนทรี 38.85 6 511308 850066 / 49.04 10 41 นนทรี 2 นาง 511297 850063 / 34.71 10 35.99 8 42 นนทรี 2 นาง 511278 850055 / 34.71 8 43.31 8 43 นนทรี 30.57 8 3 นาง 511263 850012 / 28.98 8 44 นนทรี 37.26 8 511348 849973 / 45 นนทรี 31.21 7 511355 849993 / 46 ส้านใบเล็ก 32.48 6 511355 850013 / 47 นนทรี 35.99 7 511983 849542 / 48 ส้านใหญ่ 42.04 10 511979 849440 / 49 เทพทาโร 66.88 15 511980 849414 / 37.58 10 50 แคหางค่าง 2 นาง 511965 849414 / 34.08 10 51 ส้านใหญ่ 37.90 10 511930 849441 / 52 ส้านใหญ่ 44.59 10 511800 849187 / 53 ส้านใหญ่ 32.80 10 511809 849175 / 54 ส้านใหญ่ 46.50 10 511811 849176 / 55 ส้านใหญ่ 34.71 8 511812 849178 / 56 ส้านใหญ่ 32.80 10 511812 849163 / 95.86 20 57 โพธิ์ขี้นก 2 นาง 511818 849059 / 76.75 20 58 ปออีเก้ง 52.87 12 512037 849336 / 59 เสลา 30.25 8 512039 849340 / 60 กะทังใบใหญ่ 36.94 10 512018 849347 / 39.81 20 35.03 20 61 ดีหมี 4 นาง 512093 849273 / 30.89 12 25.48 10 กรมทางหลวงชนบท 3-359 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-15 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) เส้นผ่าศูนย์กลาง ความสูง พิกัด พื้นที่ ลำดับ ชนิดไม้ หมายเหตุ (ซม) (ม) x y ฝั่งบก เกาะปลิง ฝั่งเกาะลันตาน้อย 62 กะทังใบใหญ่ 37.90 20 512101 849274 / 50.96 20 63 แคหางค่าง 2 นาง 512103 849253 / 34.71 14 64 ปออีเก้ง 33.12 15 512119 849242 / 65 โพธิ์ขี้นก 83.44 20 512121 849236 / 66 โพธิ์ขี้นก 58.60 17 512119 849228 / 67 ตำเสา 102.55 20 512117 849229 / 68 แคหางค่าง 53.50 16 512131 849235 / 69 มะกัก 43.63 12 512132 849223 / 70 จิกนม 51.59 8 512128 849203 / 71 หาด 33.76 10 512122 849148 / 72 เสลา 64.01 15 512129 849151 / 73 ทองหลาง 48.09 10 512136 849155 / 74 ทองหลาง 58.28 10 512131 849156 / 75 มะกัก 38.54 10 512139 849170 / 76 มะกัก 85.03 10 512140 849172 / 77 มะกัก 43.31 12 512139 849184 / 78 มะกัก 35.03 10 512150 849194 / 79 มะกัก 52.23 15 512152 849189 / 57.32 10 80 ตำเสา 2 นาง 512195 849177 / 55.10 10 81 กาแซะ 32.80 10 512213 849138 / 35.03 10 82 สะท้อนรอก 2 นาง 512246 849165 / 30.25 8 83 เนียง 35.03 8 512257 849165 / 84 สัตตบรรณ 45.86 15 512259 849167 / 85 ตำเสา 38.22 10 512265 849166 / 86 ตำเสา 61.78 20 512317 849158 / 87 ไทร 61.46 15 512334 849155 / 88 สำโรง 77.39 20 512336 849157 / 89 ส้านใหญ่ 45.86 15 512293 849252 / 45.86 10 90 ส้านใหญ่ 2 นาง 512134 849439 / 28.03 10 91 ตำเสา 115.29 10 512083 849484 / 92 ปอฝ้าย 33.76 10 512000 849357 / 93 ปออีเก้ง 49.68 12 512049 849320 / 94 เสลา 46.50 10 512168 849230 / 95 นนทรี 45.86 10 512077 849557 / 96 แคหางค่าง 48.73 10 512128 849358 / 97 เสลา 31.21 8 512186 849353 / 98 นนทรี 32.48 10 512162 849333 / 46.50 16 99 ปีบ 2 นาง 512010 849485 / 53.18 14 100 ปีบ 45.86 10 512018 849475 / กรมทางหลวงชนบท 3-360 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-15 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) เส้นผ่าศูนย์กลาง ความสูง พิกัด พื้นที่ ลำดับ ชนิดไม้ หมายเหตุ (ซม) (ม) x y ฝั่งบก เกาะปลิง ฝั่งเกาะลันตาน้อย 101 ปออีเก้ง 30.89 8 512000 849489 / 102 สัตตบรรณ 62.42 20 510765 850623 / 34.39 4 103 มะกัก 2 นาง ตัดยอด 510672 850720 / 31.53 4 104 จิกนม 45.54 20 510555 851016 / 105 จิกนม 44.90 15 510572 851016 / 106 จิกนม 56.05 20 510582 851023 / 107 กะทังใบใหญ่ 44.90 13 510671 851072 / 108 ตะแบก 88.22 20 510664 851077 / 109 ตำเสา 56.37 18 510663 851080 / 110 ปออีเก้ง 37.58 15 510633 851156 / 45.86 18 111 แคหางค่าง 35.03 10 3 นาง 510638 851195 / 51.59 12 64.01 15 55.10 15 112 กาแซะ 4 นาง 510640 851182 / 52.23 15 35.67 12 113 สะเดาเทียม 38.54 10 510640 851189 / 114 สะเดาเทียม 38.85 10 510639 851198 / 115 สะเดาเทียม 37.90 10 510637 851209 / 116 สะเดาเทียม 51.59 15 510636 851214 / 117 สะเดาเทียม 45.22 13 510623 851222 / 118 สะเดาเทียม 53.18 15 510558 851171 / 119 สะเดาเทียม 47.77 12 510554 851201 / 120 สะเดาเทียม 37.58 10 510550 851212 / 121 สะเดาเทียม 47.77 12 510534 851205 / 122 สะเดาเทียม 35.03 10 510485 851200 / 123 จิกนม 31.21 8 510483 851199 / 124 กุ่มน้ำ 39.17 12 510465 851219 / 125 ไทร 35.67 16 510409 851151 / 126 จิกนม 44.90 15 510589 850935 / 127 จิกนม 44.27 10 510590 850933 / 128 จิกนม 39.81 10 510592 850931 / 129 จิกนม 32.80 10 510594 850928 / 42.68 10 130 จิกนม 2 นาง 510695 850822 / 32.17 10 131 จิกนม 34.39 10 510699 850820 / 132 จิกนม 36.94 12 510741 850782 / 133 จิกนม 51.27 15 510690 850846 / 134 หว้า 77.71 16 510728 850891 / 99.04 15 135 กาแซะ 2 นาง 510722 850892 / 78.66 15 136 กาแซะ 87.90 12 510695 850895 / 137 กุ่มน้ำ 35.35 10 510732 850985 / 138 ไทร 112.10 14 510763 851008 / กรมทางหลวงชนบท 3-361 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.3.3-15 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) เส้นผ่าศูนย์กลาง ความสูง พิกัด พื้นที่ ลำดับ ชนิดไม้ หมายเหตุ (ซม) (ม) x y ฝั่งบก เกาะปลิง ฝั่งเกาะลันตาน้อย 54.14 12 60.83 12 139 หว้า 4 นาง 510825 851039 / 34.08 12 35.99 12 96.18 14 140 ไทร 2 นาง 510912 850859 / 109.55 14 141 กาแซะ 31.53 7 510875 850810 / 142 หว้า 45.86 12 510851 850790 / 143 หว้า 38.54 10 510843 850788 / 144 จิกนม 33.76 10 510817 850762 / 145 กะทังใบใหญ่ 42.04 15 510814 850755 / 146 หว้า 57.64 12 510809 850746 / 147 หว้า 45.86 10 510801 850735 / 148 หว้า 35.03 8 510800 850725 / 149 พฤกษ์ 76.11 12 510689 850950 / 150 สำโรง 33.76 12 510799 851041 / 151 เก็ดแดง 65.61 15 510794 850916 / 152 จิกนม 33.12 8 510795 850878 / 153 ไทร 64.01 16 510862 850946 / 154 โพธิ์ขี้นก 32.80 10 510854 850939 / 155 ไทร 61.78 15 510915 850939 / 156 มะกัก 34.08 8 510900 851054 / 157 ไทร 62.42 15 510927 851029 / 158 ไทร 70.38 15 510914 851032 / 159 ก่อหมู 32.48 8 510948 850999 / 160 มะกัก 47.13 15 510960 850965 / 161 ้ งิว 32.48 10 510954 850980 / 162 ไทร 67.20 15 510963 850953 / 163 สำโรง 34.39 10 510965 850928 / 164 มะกัก 45.54 12 510960 850873 / 165 เสลา 37.26 10 510942 850865 / 166 งิว ้ 59.24 15 510879 850524 / 167 เทพทาโร 100.96 20 510893 850517 / 168 ชมพูพันธุท ์ ิพย์ 187.90 20 510885 850513 / 169 มะกัก 33.76 8 510938 850476 / 170 ตะแบก 42.99 7 510952 850455 / กรมทางหลวงชนบท 3-362 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.3-17 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (ฝั่งบก) รูปที่ 3.3.3-18 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (เกาะปลิง) กรมทางหลวงชนบท 3-363 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.3-18 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (เกาะปลิง) (ต่อ) รูปที่ 3.3.3-19 พิกัดแสดงชนิดและขนาดต้นไม้ใหญ่ที่พบในพื้นที่ศึกษา (ฝั่งเกาะลันตาน้อย) กรมทางหลวงชนบท 3-364 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • ปริมาตรไม้ใหญ่ ผลการวิเคราะห์ปริมาตรไม้ที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการ พบว่ามีปริมาตรไม้ทั้งสิ้น 1.8017 ลูกบาศก์เมตร เป็นปริมาตรไม้ที่ไม่เหมาะสมต่อการแปรรูปไม้ คงพบเป็น ปริมาตรไม้ท่อนซุงที่เหมาะกับการทำฟืนและถ่านเท่านั้นจำนวน 1.8017 ลูกบาศก์เมตร แบ่งเป็นปริมาตรไม้ท่อน ซุงขนาดใหญ่ และไม้ท่อนซุงขนาดเล็กปริมาณ 0.7173 และ 1.0844 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ และส่วนในพื้นที่ ศึกษามีปริมาตรไม้รวม 11.0397 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ แบ่งเป็น TQ1.2, TQ1.3, TQ2 และ TQ3 เท่ากับ 1.3244, 7.5187, 0.1823, 2.0143 ลูกบาศ์เมตรต่อไร่ ตามลำดับ ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-16 ตารางที่ 3.3.3-16 ปริมาตรไม้ที่พบในพื้นที่ดำเนินการโครงการและพื้นที่ศึกษา ปริมาตรไม้ใหญ่ (ลบ.ม.) ประเภท ช่วง กม. ฝั่ง 1.1 1.2 1.3 2 3 รวม ฝั่งซ้าย - - - - 0.1887 0.1887 กม.0+000 - กม.0+500 ฝั่งขวา - - - - 0.0674 0.0674 รวม - - - - 0.2561 0.2561 พื้นที่ดำเนินการ ฝั่งซ้าย - - 0.3511 - 0.2207 0.5718 กม.1+958 – กม.2+240 ฝั่งขวา - - 0.3662 - 0.6076 0.9738 รวม - - 0.7173 - 0.8283 1.5456 รวมทั้งสิ้น - - 0.7173 - 1.0844 1.8017 ปริมาตรไม้ใหญ่ (ลบ.ม./ไร่) ประเภท ช่วง กม. ฝั่ง 1.1 1.2 1.3 2 3 รวม พื้นที่ศึกษา - - - 1.3244 7.5187 0.1823 2.0143 11.0397 • การวิเคราะห์มูลค่าไม้ทางเศรฐกิจ - มู ล ค่ า ไม้ ท างเศรษฐกิ จ ของโครงการ ผลจากการออกสำรวจภาคสนาม และนำผลมาวิเคราะห์ปริมาตรไม้ พบว่า เป็นต้นไม้ใหญ่ทั้งสิ้น 45 ต้น ปริมาตรไม้คุณภาพไม้ท่อนซุงทั้งขนาดใหญ่ และขนาดเล็กขึ้นปกคลุมพื้นที่ดำเนินการสำรวจทั้งสิ้น 1.8017 ลูกบาศก์เมตร แบ่งเป็นปริมาตรไม้ท่อนซุง TQ1.3 และ TQ3 ปริมาตร 0.7173 และ 1.0844 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ซึ่งเหมาะใช้ในการทำฟืนหรือถ่านเท่านั้น ราคาไม้ท่อนซุงที่ใช้ในการทำไม้ฟืนหรือถ่านนี้ สอบถามราคาได้จากแหล่งวิชาการสอนด้านทรัพยากรป่าไม้ เช่น คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจากแหล่งค้าไม้ที่เป็นหลักของประเทศไทย ได้แก่ องค์การ อุตสาหกรรมป่าไม้ ร่วมกับจากการสอบถามผู้มีอาชีพในการประกอบธุรกิจค้าไม้ นำมาประมวลผลสรุปได้ว่ามี มูลค่า 1,000 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ลูกไม้ต้นละ 20 บาท กล้าไม้ต้นละ 5 บาท และไม้ไผ่ลำละ 20 บาท ณ พื้นที่ ตัดฟันนั้น ๆ ดังนั้น มูลค่าไม้ที่พบทั้งสิ้นประมาณ 5,047 บาท ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-17 ตารางที่ 3.3.3-17 มูลค่าไม้ที่พบในปัจจุบันในพื้นที่ดำเนินการของโครงการ มูลค่าไม้ในปัจจุบัน (บาท) รายการ จำนวนหน่วย ราคาต่อหน่วย (บาท) รวม (บาท) ไม้ใหญ่ (ลบ.ม.) 1.8017 1,000 1,802 ลูกไม้ (ต้น) 4 20 80 กล้าไม้ (ต้น) 633 5 3,165 รวมทั้งสิ้น 5,047 กรมทางหลวงชนบท 3-365 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - มูลค่าไม้ที่เพิ่มขึ้นรายปี ความเพิ่มพูนรายปี (annual increment) การวิเคราะห์ ความเพิ่มพูนรายปี เป็นการคำนวณในกรณีที่ไม่มีการพัฒนาโครงการ โดยเป็นปริมาตรไม้ที่เพิ่มขึ้นจากการเจริญเติบโต ในแต่ ละปี ซึ่ ง Backer และ Openshaw ( 1972) ได้ ศึ กษาอัต ราการเพิ่ม พู นรายปีของไม้ ในประเทศไทยแยก ตามประเภทป่า พบว่า อัตราการเพิ่มพูนในป่าไม่ผลัดใบมีค่าประมาณร้อยละ 2.5 ของปริมาตรไม้ดั้งเดิม ( stock) ปริมาตรไม้ที่พบทั้งสิ้น 1.8017 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งลักษณะพื้นที่ดำเนินการโครงการตั้งอยู่พื้นที่ลาดชัน ลงสู่ริม ชายหาด ประกอบกับพื้นที่โครงการนี้อยู่ในพื้นที่มีฝนตกชุกและมีช่วงมีฝนที่ยาวนาน ทำให้สภาพพื้นที่มีความชุ่มชื้น ที่ รากของต้นไม้ใหญ่สามารถหยั่งลงไปดูดน้ำและแร่ ธาตุจากพื้นที่ได้ตลอดทั้งปี และจากการวิเ คราะห์ข้อมูล เมื่อคำนวณความเพิ่มพูนรายปีของไม้ในพื้นที่โครงการ ผลการวิเคราะห์โดยคำนวณความเพิ่มพูน รายปีของป่า พบว่า มีปริมาตรไม้เพิ่มพูนในพื้นที่ศึกษาทั้งสิ้นประมาณ 0.0451 ลูกบาศก์เมตรต่อปี รวมทั้งสิ้น 46 บาท • มูลค่าไม้ในอนาคต กรณีที่ไม่มีการดำเนินโครงการ ไม่มีการสูญเสียต้นไม้ ต้นไม้ จะมีการเจริ ญ เติ บโตตามธรรมชาติ เมื่ อคำนวณมูลค่ าไม้ในอนาคตจากมู ลค่าเพิ่ม รายปี และจากมูลค่าไม้ใน อนาคตที่ คำนวณได้ นำมาเปรียบเทียบเป็นมูลค่าไม้ในปัจจุบัน โดยคิดอัตราดอกเบี้ย เงินเฟ้อ และการเสี่ยงภัย ในการลงทุนร้อยละ 12 จะเห็นได้ว่าในอีก 50 ปี ข้างหน้าจะได้มูลค่าไม้คิดเป็นมูลค่าในปัจจุบันเป็นเงินประมาณ 382 บาท ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.3.3-18 นับว่ามีมูลค่าเพิ่มขึ้นค่อนข้างน้อยมากตามปริมาณ Stock ไม้ที่มีอยู่ ตารางที่ 3.3.3-18 มูลค่าไม้ในอนาคต (FV)ในกรณีที่ไม่มีการดำเนินโครงการฯ เปรียบเทียบกับมูลค่าไม้ ในปัจจุบัน (PV) ระยะเวลา รายได้สุทธิ, A มูลค่าไม้ในอนาคต, FV มูลค่าไม้ในปัจจุบัน, PV (ปี) (บาท/ปี) (บาท) (บาท) 1 46 46 42 10 46 807 260 20 46 3,314 344 30 46 11,101 371 40 46 35,286 379 50 46 110,401 382 หมายเหตุ : มูลค่าไม้ในอนาคต FV = {A [(1+P)N – 1]} / P มูลค่าไม้ในปัจจุบัน Pv = {A [(1+P)N – 1]} / P (1+P)N = FV / (1+P)N โดยที่ A = รายได้สุทธิรายปี = มูลค่าเพิ่มรายปี P = ดอกเบี้ย อัตราเงินเฟ้อ และค่าสี่ยงการลงทุนร้อยละ 12 N = ช่วงระยะเวลา (ปี) = 1, 10, 20, 30, 40 และ 50 ปี กรมทางหลวงชนบท 3-366 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.3.4 สิ่งมีชีวิตหายาก 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาความหลากชนิดของสิ่งมีชีวิตหายากใน 2 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่ในบริเวณเขตทางของ โครงการ และพื้นที่ใกล้เคียงระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการเป็นอย่างน้อย (2) ทำการสำรวจสิ่งมีชีวิตหายากพร้อมกับการสำรวจสัตว์ในระบบนิเวศ และสำรวจโลมา วาฬ และพะยูน บริเวณชายฝั่งเกาะลันตาและหมู่เกาะใกล้เคียง (3) เพื่อประเมินผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตหายากจากกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ ตั้งแต่ก่อน การก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ 2) วิธีการศึกษา (1) ศึกษาขอบเขตของพื้นที่โครงการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ และรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาพถ่ายทางอากาศ แผนที่ทหาร มาตราส่วน 1:50,000 รายงานการวิจัยเกี่ยวกับสัตว์ป่าและพันธุ์พืช บริเวณพื้นที่ โครงการ (2) ทำการสำรวจสิ่งมีชีวิตหายากพร้อมกับการสำรวจสัตว์ในระบบนิเวศ จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564 และครั้งที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ - เดือนมีนาคม พ.ศ. 2565 โดยการหาร่องรอย การสอบถาม ประกอบกับวิเคราะห์ข้อมูลผลการศึกษาสัตว์ป่าและพืชในระบบนิเวศบริเวณพื้นที่ศึกษาของโครงการ 3) ผลการศึกษา (1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ผลจากการรวบรวมข้อมูลของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จังหวัดกระบี่ (2561) และ ระบบฐานข้อมูลกลางและมาตรฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พบว่า สัตว์ทะเลหายากในน่านน้ำไทย ประกอบด้วย กลุ่มสัตว์ทะเล 3 กลุ่ม ได้แก่ เต่าทะเล (Sea turtles) พะยูน ( Dugong) โลมา และวาฬ ( Whales and Dolphins) ซึ่งทั้งหมดถูกจัดเป็ นสัตว์ป่าสงวนและคุ้ มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ว่าด้วยการห้ามล่า ห้ามค้า ห้ามครอบครอง ห้ามเพาะพันธุ์ โดยมีผลครอบคลุมไปถึงไข่ ซาก ตลอดจน ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของสัตว์เหล่านั้นด้วย นอกจากนี้ยังถูกจัดให้อยู่ในบัญชีรายชื่อของอนุสัญญาว่ าด้วยการค้าระหว่าง ประเทศ ซึ่งพันธุ์พืชป่าและสัตว์ป่าที่ใกล์สูญพันธุ์ (CITES) โดยเต่าทะเลทุกชนิ ด พะยู น และโลมาอิรวดี อยู่ ใน ภาวะใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง จึงจัดอยู่ ในรายชื่อ CITES บัญชี 1 ส่ วนโลมาและปลาวาฬชนิดอื่น ๆ และฉลามวาฬ จัดอยูใ ่ น CITES บัญชี 2 - เต่าทะเล 5 ชนิด ได้แก่ เต่าตนุ (Green turtle, Chelonia mydas), เต่ากระ (Hawksbill turtle, Eretmochelys imbricata), เต่ า หญ้ า ( Olive ridley turtle, Lepidochelys olivacea) เต่ า มะเฟื อ ง ( Leatherback turtle, Dermochelys coriacea) และเต่ า หั ว ค้ อ น ( Loggerhead turtle, Caretta caretta) (รูปที่ 3.3.4-1) - พะยูนมีเพียงชนิดเดียว คือ พะยูน (Dugong, Dugong dugon) - กลุ่ ม โลมาและวาฬ มี 27 ชนิ ด แบ่ ง เป็ น กลุ่ ม ที่ อยู่ ป ระจํ า ถิ่ น ใกล้ ฝั่ ง และกลุ่ ม ที่ มี ก าร อพยพย้ายถิ่นระยะไกล ซึ่งมักอาศัยบริเวณไกลฝั่ ง ชนิดโลมาและปลาวาฬที่มีการศึกษาในเชิงสถานภาพและการ แพร่กระจาย จํากัดอยู่ในกลุ่มประชากรใกล้ฝั่ง 6 ชนิด ได้แก่ โลมาปากขวด (Indo-Pacific Bottlenose dolphin, Tursiops aduncus) โลมาหัวบาตรหลังเรียบ (Finless porpoise, Neophocaena phocaenoides) โลมาหลังโหนก (Indo-Pacific Humpback dolphin, Sousa chinensis) โลมาอิ รวดี ( Irrawaddy dolphin, Orcaella brevirostris) วาฬบรูด้า (Bryde's whale, Balaenoptera edeni) และโอมูระ (Omura’s whale, Balaenoptera omurai) กรมทางหลวงชนบท 3-367 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รูปที่ 3.3.4-1 เต่าทะเลในประเทศไทย กรมทางหลวงชนบท 3-368 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ก) เต่าทะเล ชนิดเต่าทะเลที่ขึ้นวางไข่ ได้แก่ เต่ามะเฟือง และเต่าตนุ บางหลุมไข่ไม่ทราบชนิด เต่ า ทะเล พบการวางไข่ ของเต่ า ทะเลบริ เ วณเกาะลั น ตา และเกาะไม้ ไ ผ่ ต อนเหนื อ ของเกาะพี พี ระหว่ า งปี พ.ศ. 2552-2555 มีจํานวนน้อยกว่าปีละ 5 รัง โดยสถิติปี พ.ศ. 2552 บริเวณเกาะไม้ไผ่ ไม่ทราบชนิดเต่าทะเล จํานวน 2 หลุม ปี พ.ศ. 2533 บริเวณเกาะลันตา เป็นเต่ามะเฟือง จํานวน 2 หลุม และปี พ.ศ. 2555 บริเวณเกาะ ลันตา เป็นเต่าตนุ จํานวน 1 หลุม สําหรับปี พ.ศ. 2559 ไม่มีรายงานการขึ้นวางไข่ (รูปที่ 3.3.4-1) เต่าทะเลเหมือนสัตว์เลื้อยคลานทั่วไป คือ มีสายตาสั้นเมื่ออยู่บนบก แต่สายตาจะใช้ได้ดีขึ้น เมื่ออยู่ใต้น้ำ เนื่องจากการหักเหของแสงในน้ำ จากการศึกษาทดลองในเต่าหัวค้อน ( Caretta caretta) ได้สรุปว่า เต่าหัวค้อนสามารถจำแนกสีและใช้สายตาในการหาอาหารได้ อย่างไรก็ตาม สายตาของเต่าทะเลจะมีความ แตกต่างกันอย่างมากระหว่างอยู่ในน้ ำและอยู่บนบก ( Bartol and Musick, 2003) ความแตกต่ างเนื่องมาจาก น้ำทะเลที่เป็นตัวกลางซึ่งมีความหนาแน่นกว่าอากาศ ดังนั้นในช่วงที่แม่เต่าทะเลขึ้นมาบนหาดเพื่อวางไข่ ในช่วงนี้ ถ้าเราพบและหยุดนิ่งอยู่กับที่ เต่าทะเลจะไม่ผิดสังเกตุและมีพฤติกรรมเป็นไปตามปกติ แต่ถ้าเราเคลื่อนไหว เต่าทะเลจะมีปฏิกิริยาทันที เนื่องจากสามารถจับภาพการเคลื่อนไหวได้ ดังนั้น ในบางครั้งการเดินตรวจตรา เฝ้าเต่าทะเล ขณะที่เต่าทะเลกำลังเดินขึ้นมาบนหาดเพื่อวางไข่ ถ้ามีคนเดินอยู่บนหาดก็จะตกใจและหัน กลับ ลงทะเลไป ที่ส ำคัญอีกประการหนึ่ง คือ แสงไฟจะมีผลต่อสายตาของเต่าทะเลอย่างมาก ลูกเต่าทะเลแรกเกิด จะอาศัยแสงรำไรของขอบฟ้ากำหนดทิศทางในการมุ่งหน้าสู่ทะเล แต่ถ้าในบริเวณใกล้เคียงมีสิ่งให้แสงสว่าง มากกว่า เช่น มีการจุดไฟหรือตะเกียง ลูกเต่าทะเลจะหันทิศทางมาทางแสงไฟทันที ดังนั้นบริเวณหน้าหาดถ้ามี เรือประมงมาก แสงสว่างมากอาจทำให้ลูกเต่าทะเล พากันไปติดอวนชาวประมงได้ในแม่เต่าทะเลก็ เช่ น กัน (ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่าง) เต่าทะเลเป็นสัตว์ที่มีวงจรชีวิตยืนยาว และมีการเดินทางยาวไกลตั้งแต่แรกเกิด เมื่อเกิด เป็นตัวและลงทะเลก็จะว่ายน้ ำดิ่งสู่ทะเลเปิดทันที และใช้เวลาร่วม 10 ปี หรือมากกว่านี้กว่า จะโตจนสามารถ ผสมพันธุ์ได้ และในระหว่างก่อนวัยเจริญพันธุ์ จะเดินทางสู่แหล่งอาหารที่เหมาะสม ซึ่งอาจเป็นระยะทางไกลจาก แหล่งเกิดมาก เป็นที่เชื่อกันว่าไม่ว่าเต่าทะเลจะมีแหล่งอาศัยหรือแหล่งอาหารที่ใด เมื่อพร้อมที่จะผสมพันธุ์ ก็จะเดินทางกลับสู่แหล่งเพื่อผสมพันธุ์ และวางไข่แพร่พันธุ์ ในการนี้เต่าทะเลจึงต้องเก็บความทรงจำในแหล่งเกิด เป็นเวลายาวนาน ซึ่งการเก็บความทรงจำนี้จำเป็นต้องใช้ประสาทสัม ผัสและการตรวจรับสภาพทางเคมีของ สิ่งแวดล้อม โดยการเก็บสภาพแวดล้อมของทั้งในหาดทรายในขณะที่ลูกเต่ากำลังฟักเป็นตัว และเก็บสภาพทางเคมี ของสิ่งแวดล้อมในขณะที่ลูกเต่าเกิด และเดินทางลงสัมผัสกับน้ ำทะเล โดยบันทึกความทรงจำของภาพทางเคมี เหล่านี้ไว้ในสมองตอนหน้าในขณะที่สู ดอากาศและการสูดน้ำทะเลเข้าสู่ระบบร่างกาย จากรายงานของ Bartol and Musick (2003) รายงานการทดลอง ของนักวิทยาศาสตร์ เช่น Koch et. al. (1969), Manton (1979) และ Grassman (1872) ซึ่งได้ทำการทดลองเกี่ยวกับการรับรู้สภาพทางเคมีของแหล่งเกิดของเต่าทะเล และสรุปไว้ว่า เต่าทะเลสามารถรับรู้และจดจำสภาพทางเคมีของสิ่งแวดล้อมในแหล่งเกิดได้ ทั้งสภาพเคมีในหาดทรายและสภาพ ของเคมีในน้ำทะเลที่เกิด จึงอธิบายได้ว่าลูกเต่าทะเลเมื่อเกิดในแหล่งใด และเมื่อโตถึงวัยเจริญพันธุ์ ก็จะเดินทาง กลับมาวางไข่ในแหล่งเกิด โดยสามารถจดจำและรอนแรมถึงแหล่งที่ต้องการได้ ทั ้ ง นี ้ จากข้ อมู ล สั ม ภาษณ์ การพบเห็ น เต่ า ทะเลโดยชุ ม ชนจั งหวั ด กระบี ่ พบเต่ า ทะเล แพร่กระจายอยู่บริเวณเกาะศรีบอยา เกาะจํา เกาะปู เกาะพีพี และข้ อมูลการบินสํารวจด้วยเครื่องบินเล็กปีกตรึง 2 ที่นั่ง ซึ่งบินสํารวจในคราวเดียวกับการบินสํารวจพะยูน พบเต่ าทะเลแพร่กระจายอยู่บริเวณเกาะด้ามขวาน แหลมหิน เกาะปู เกาะจํา และเกาะศรีบอยา ซึ่งข้อมูลการเกยตื้นเต่าทะเล สถิติการเกยตื้นของเต่ าทะเลของ จังหวัดกระบี่ ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2558 มีจํานวน 35 ตัว คิดเป็นค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.5 ตัวต่อปี ใกล้เคียงกับอัตรา การเกยตื้นของจังหวัดอื่น ๆ ในฝั่งทะเลอันดามัน ยกเว้นจังหวัดภูเก็ต เต่าทะเลที่พบเกยตื้นส่วนใหญ่เป็นเต่าตนุ (ร้อยละ 53.00) รองลงมา เป็นเต่ากระ (ร้อยละ 24.00) และเต่าหญ้า (ร้อยละ 21.00) ในขณะที่พบเต่ามะเฟือง เกยตื้น 1 ตัว (ร้อยละ 3.00) กรมทางหลวงชนบท 3-369 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สถิติการเกยตื้นของเต่ าทะเล จังหวัดกระบี่พบว่ าส่วนใหญ่ เป็นเกยตื ้นมีชีวิ ต (ร้อยละ 74.00) และซากเกยตื้น (ร้อยละ 26.00) ซึ่งมีแนวทางการจัดการเต่าทะเลที่เกยตื้น กรณีเต่าเกยตื้นมีชีวิตส่วนใหญ่ จะนํามาอนุบาลรักษาเพื่อฟื้นฟูรา ่ งกาย ส่วนกรณีซากที่เกยตื้นส่วนใหญ่จะทําการผ่าชันสูตรเพื่อหาสาเหตุการตาย โดยผลของการจัดการช่วยเหลือเต่าทะเลเกยตื้น พบว่า สาเหตุหลักมาจากการป่วยตามธรรมชาติ (ร้อยละ 63.00) รองลงมา คือ สาเหตุจากกิจกรรมของมนุษย์ (ร้อยละ 14.00) ซึ่งมาจากการติดเครื่องมือประมง ลักษณะอาการ ของเต่าทะเลที่เกยตื้นส่วนใหญ่จะมาด้วยอาการแขนขาขาดจากการเข้ าไปพันยึดในเครื่องมือประมง และมีการ ติดเชื้อภายในร่างกาย จึงต้องมีการอนุบาลรักษาเพื่อปล่อยกลับสู่ธรรมชาติและขยะทะเล (ร้อยละ 9.00) ข) พะยูน การสํารวจรอยกินหญ้ าทะเลของพะยูน พบว่า พื้นที่จังหวัดกระบี่มี่แหล่ งหากิน พะยูนแบ่งเป็น 3 แหล่ง ได้แก่ บริเวณอ่าวทุ่งจีน อ่าวกระบี่ และอ่าวท่าเลน (รูปที่ 3.3.4-2) แหล่งพะยูนที่สา ํ คัญ อยู่บริเวณระหว่างตอนเหนือของเกาะปู และฝั่งตะวันตกของเกาะศรีบอยา มีจํานวนประชากร 10-20 ตัว มีพื้นที่ หากินประมาณ 150 ตารางกิโลเมตร สําหรับพื้นที่อ่ าวทุ่งจีนและอ่าวท่าเลน พบเพียงรอยกินหญ้ าของพะยูน โดยคาดว่ามีจํานวนพะยูนในทั้งสองพื้นที่ไม่ เกิน 10 ตัว และจากข้อมูลการพบเห็นพะยูนของชาวประมงในวันที่ ออกทําประมง 100 ครั้ง จํานวนครั้งที่พบเห็นพะยูน มีไม่ถึงร้อยละ 1.00 ยกเว้นปี พ.ศ. 2558 ที่พบเห็นพะยูนได้ถี่ ขึ้นถึงร้อยละ 2.50 ในส่วนสถิติการเกยตื้นพะยูน ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2558 พบว่า จังหวัดกระบี่มีการเกยตื้น เฉลี่ยปีละ 2.0 ตัว มีอัตราการเกยตื้นอยู่ระหว่าง 1-3 ตัว ส่วนใหญ่เป็นการเกยตื้นบริเวณอ่าวพังงา สำหรับสถิติการ เกยตื้นของพะยูน จังหวัดกระบี่ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นซากเกยตื้น กรณีซากที่เกยตื้นส่ วนใหญ่จะทําการผ่าชันสูตร เพื่อหาสาเหตุการตาย โดยผลของการจัดการช่ วยเหลือพะยูนเกยตื้น พบว่ า สาเหตุที่สามารถระบุได้ ส่วนใหญ่ มาจากสาเหตุหลักมาจากกิจกรรมของมนุษย์ (ร้อยละ 43.00) ค) โลมาและปลาวาฬ การสํ า รวจทางอากาศในช่ ว งเวลาเดี ย วกั น กั บ การสํ า รวจพะยู น พบโลมาเป็นบางปี โดยโลมาที่พบทั้งหมดเป็นโลมาหลังโหนกบริเวณปากแม่นำ ้ กระบี่และบริเวณร่องน้ำ เกาะศรีบอยา มีจํานวนประชากร 3-20 ตัว แม้การบินสํารวจมีโอกาสพบเจอโลมาน้อย แต่จากข้อมูลการพบเห็นโดยชุมชน ในปี พ.ศ. 2555, 2556, 2557 และ 2558 นั้น พบว่ า จํานวนครั้งที่พบเห็น คิดเป็ นร้อยละ 53.57, 7.41, 34.22 และ 10.63 ตามลําดับ จากจํานวน 100 ครั้ง ในการออกทําประมง ซึ่งการพบบริเวณรอบเกาะพีพี เกาะรอก มีโอกาส ที่จะพบเห็นโลมาปากขวด โลมาลายแถบ โลมาจุด และโลมากระโดด ซึ่งเป็ นกลุ่มประชากรเดียวกันกับที่พบ บริเวณฝั่งตะวันตกของจังหวัดภูเก็ตพังงา (รูปที่ 3.3.4-3) กรมทางหลวงชนบท 3-370 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จังหวัดกระบี่ (2561) รูปที่ 3.3.4-2 พื้นที่แพร่กระจายและพื้นที่วางไข่ของเต่าทะเลบริเวณพื้นที่เกาะลันตา เกาะไม้ไผ่ เกาะศรีบอยา เกาะจำ เกาะปู เกาะพีพี ปี 2555-2558 กรมทางหลวงชนบท 3-371 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : ระบบฐานข้อมูลกลางและมาตรฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (https://marinegiscenter.dmcr.go.th/gis/) รูปที่ 3.3.4-3 พื้นที่แพร่กระจายพะยูนและโลมา บริเวณอ่าวทุ่งจีน อ่าวกระบี่ อ่าวทาเลน เกาะศรีบอยา เกาะจำ เกาะปู กรมทางหลวงชนบท 3-372 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ง) สาเหตุที่มีผลกระทบต่อทรัพยากร (Pressure) พะยูนที่เกยตื้นมากกว่า ร้อยละ 74.00 จะเสียชีวิต โดยมีสาเหตุหลักจากการจมน้ำขณะติด เครื่องมือประมง ได้แก่ อวนลอย (ส่วนใหญ่) เบ็ดราไว และโป๊ะน้ำตื้น พะยูนจํานวนหนึ่ง ซึ่งน่าจะมีโอกาสรอดชีวิต ก็ต้องมาเสียชีวิตลงจากการถูกฆ่า เนื่องจากความต้องการ “งา” (ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของฟันพะยูน) และชิ้นส่วนอื่น ๆ ของพะยูน พะยู นร้ อยละ 10.00 เสี ย ชีวิตจากการป่ วยโดยพยาธิ สภาพ ซึ่ ง อาจเชื่อมโยงกั บความเสื่อมโทรม ของสิ่งแวดล้อมจากสภาวะมลพิษ ทั้งนี้อาจเป็ นผลกระทบทางลบจากการสัญจรและกิจกรรมทางทะเล หรือการ เสื่อมโทรมลงของแหล่ งหญ้าทะเลโดยเฉพาะหญ้าทะเลจําพวกใบมะขามที่พะยูนชอบกิน สาเหตุของการเกยตื้น สําหรับเต่าทะเล (ประมาณร้อยละ 74.00) เกิดจากเครื่องมือประมง โดยเฉพาะเครื่องมือประมงชายฝั่ ง ได้แก่ อวนลอย ตลอดจนกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับการประมง ในขณะที่โลมาและปลาวาฬมีสาเหตุการเกยตื้นส่ วนใหญ่ จากการป่วยตามธรรมชาติ (ประมาณร้อยละ 63.00) โดยพบการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจมากที่สุด ขยะเป็ น สาเหตุการเกยตื้น ซึ่งมีแนวโน้มของปัญหาเพิ่มขึ้นทุกปี ค่าเฉลี่ยของเต่าทะเลและโลมาที่กลืนขยะและเข้าไปสะสม อยู่ในระบบทางเดินอาหารมีร้อยละ 2.00-3.00 แต่หากนับจํานวนของการเกยตื้นที่มีขยะทะเลเกี่ยวพันภายนอก โดยเฉพาะขยะจําพวกอวน ซึ่งพบมากในเต่าทะเลจะมีจำนวนของการเกยตื้นจากสาเหตุขยะสูงถึง ร้อยละ 20.00 – ร้อยละ 40.00 - ข้อมูลทางวิชาการไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ สัตว์ทะเลหายากในน่านน้ำไทย มีการกระจาย อยู่ทั่วไปทั้งตามแนวชายฝั่ งทะเล และในทะเลเปิด การศึกษาวิจัยจึงกระทําได้ ยาก เนื่องจากต้องใช้งบประมาณ และกําลัง คนมาก แม้ ว่าในปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยอย่ างต่อเนื่อง แต่ ยังไม่สามารถได้ ข้อมูลที่ครบถ้ วนสมบูรณ์ โดยเฉพาะข้อมูลเชิงลึกที่จําเป็นในการใช้บริหารจัดการ - ภัยจากเครื่องมือประมง เนื่องจากสัต ว์ทะเลหายากกลุ่ มที่อยู่ตามแนวชายฝั่ง เช่น เต่าทะเล พะยูน โลมาอิรวดี โลมาหลังโหนก โลมาหัวบาตรหลังเรียบ และโลมาปากขวด กลุ่ มนี้มีความใกล้ชิดกับ พื้นที่ทําการประมงมาก มีเครื่องมือประมงหลายชนิดที่เป็ นอันตรายต่อสัตว์ทะเลเหล่านี้ จากข้อมูลการตายของ สัตว์ทะเลหายากต่าง ๆ พบว่า เครื่องมือทําการประมงที่เป็ นสาเหตุการตายที่สําคัญ ได้แก่ อวนลอย เบ็ดราว อวนล้อม โป๊ะน้ำตื้น ฯลฯ - มลพิษและความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้ อม ขยะในทะเล และการเสื่อมโทรมของ สภาพแวดล้อม ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่มีผลกระทบโดยตรงกับสัตว์ ทะเลหายากที่อาศัยตามแนวชายฝั่ง ซึ่งนอกจาก การเป็นพิษโดยตรงจากการกินอาหารที่มีการสะสมของสารพิษ เป็ นสาเหตุทําให้เกิดการเจ็บป่วยเสียชีวิตแล้ว แหล่งชายฝั่ งที่มีภาวะเสื่อมโทรมทําให้ สัตว์น้ำที่ เป็นอาหารลดลง เป็ นเหตุให้ แหล่ งอาหารขาดแคลนอี กด้ ว ย นอกจากนั้นการทิ้งขยะโดยเฉพาะประเภทเศษอวนและถุงพลาสติกลงในทะเล ก็เป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้สัตว์ทะเล บาดเจ็บหรือตายได้ ดังตัวอย่างการตายของเต่าทะเลและโลมาหลายกรณี พบว่า สัตว์ทะเลหลายชนิดเข้าไปติดใน เศษอวนตาย หรือเมื่อกินถุงพลาสติกเข้ าไปและไม่สามารถย่อยได้ ถุงพลาสติกจึงไปติดในลําใส้ ทําให้ลําไส้อุดตัน และตายในที่สุด - การเจ็บป่ วยตามธรรมชาติ และภัยจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ สัตว์ ทะเลหายาก ทั้งเต่าทะเล พะยูน โลมาและปลาวาฬ เป็ นสัตว์ที่หายใจด้ วยปอดอาศัยอยู่ ในน้ำ ดังนั้น การเกิดภัยพิบัติใน ธรรมชาติหรือการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ สภาพแวดล้อม และอุณหภูมิของน้ำ จึงมีผลต่อสุขภาพของโลมาเช่นกัน ดังที่พบโลมาเกยตื้นเป็ นจํานวนมากที่แสดงอาการของการเจ็บป่ วยและโรคพยาธิ โรคที่พบมาก ได้แก่ โรคปอด นิวโมเนีย และพยาธิในอวัยวะภายในที่สําคัญ เช่น หัวใจและตับ เป็นต้น กรมทางหลวงชนบท 3-373 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - การลักลอบจับสัตว์ทะเลหายาก ในปัจจุบันแม้ว่าจะมีการรณรงค์การอนุรักษ์สัตว์ทะเล หายาก อย่างกว้างขวางแล้วก็ตาม แต่ยังมีรายงานข้อมูลการลักลอบเก็บไข่ เต่าทะเล การลักลอบกินเนื้อพะยูน และโลมาอยู่เนือง ๆ (ข้อมูลการรับแจ้งของหน่วยงาน สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเลและ ป่าชายเลน ปี 2553) และจากข้อมูลการจับกุมผู้กระทําผิดของเจ้าหน้าที่ เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2553 ที่จังหวัด ชุมพร มีการจับกุมผู้ กระทําความผิดขนย้ ายโลมามีชีวิต ซึ่งเป็ นโลมาหลังโหนก 2 ตัว เพื่อส่ งสถานเลี้ยงโลมา ซึ่งและภายหลังได้ นํากลับไปปล่ อยคืนสู่ถิ่นอาศัยที่อ่าวตะเสะ จังหวัดตรัง นอกจากนี้การให้ ข้อมูลของชาวบ้ าน ท้องถิ่น ว่ามีการลักลอบจับโลมาในบางพื้นที่ โดยเฉพาะแหล่ งโลมาที่จังหวัดตรัง และแหล่ งโลมาจังหวัดตราด จึงเป็นที่เชื่อถือได้ ว่ามีการพยายามลักลอบจับโลมาเพื่อการค้ าอยู่ เนื่องจากโลมามีชีวิตสามารถขายได้ ในราคา ที่สูงมาก จึงตราบใดที่ยังมีแหล่งเลี้ยงโลมาบางแห่งที่มีความต้องการอยู่ - การรบกวนและอุบัติเหตุจากการท่องเที่ยวทางทะเล พื้นที่บางแห่งที่มีสัตว์ทะเลหายาก เช่น พะยูน โลมา มาอาศัยประจําที่ หรือมีการเดินทางเข้ ามาหากินเป็ นประจําและมีช่ วงเวลาที่แน่ นอนนั้ น สามารถใช้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวที่สร้างรายได้อย่างดีเข้าสู่ชุมชน ดังเช่นในปัจจุบันหลายแห่งจัดให้มีการ ท่องเที่ยวชมโลมาแต่ไม่มีการจัดระเบียบปฏิบัติที่ชัดเจนบนพื้นฐานทางวิชาการ ความพยายามที่จะนํานักท่องเที่ยว เข้าใกล้ตัวโลมาให้ มากที่สุดด้ วยการต้อนโลมาให้นักท่ องเที่ยวได้ เห็นใกล้ ๆ นั้น เป็นการรบกวนโลมาอย่ างยิ่ง ในบางครั้งอาจเกิดอุบัติเหตุทําให้ โลมาบาดเจ็บหรือตายจากการถูกใบพัดเรือได้ ดังการพบหลักฐานจากสัตว์ทะเล ตายเกยตื้นในบางกรณี - บุคลากรและองค์ความรู้ด้านสัตว์ทะเลหายากไม่เพียงพอ และความร่วมมือการอนุรักษ์ ไม่แพร่หลาย ประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับชีววิทยา ความสําคัญของสัตว์ทะเลหายากในระบบนิเวศ และความ เชื่อมโยงของสิ่งมีชีวิตเหล่ านี้ค่อนข้างน้อย จึงไม่สามารถมองเห็นภาพได้ชัดเจน ดังนั้นการให้ข้อมูลข่าวสารและ องค์ความรูท ้ ี่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการสร้างแนวร่วมในการอนุรักษ์ จึงมีความจําเป็นและต้องดําเนินการอย่างต่อเนื่อง - ขาดมาตรการบริ หารจั ด การเชิ ง พื้ น ที่ ข องสั ต ว์ ท ะเลหายากที่ เ หมาะสม ปั จ จุ บั น กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ซึ่งมีภารกิจโดยตรงในการศึกษา วิจัย อนุรักษ์ ฟื้นฟู และกําหนดมาตรการ อนุรักษ์สัตว์ทะเลหายากและใกล้สูญพันธุ์ ยังไม่มีการจัดทําแผนแม่บท และมาตรการบริหารจัดการสัตว์ทะเลหายาก เหล่านี้ที่ชัดเจนทั้งชนิดและในเชิงพื้นที่ (2) การสำรวจภาคสนาม ก. สัตว์ทะเลหายาก ดำเนินการสำรวจสัตว์หายากในทะเลจำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 วันที่ 21-25 กุมภาพันธ์ 2564 (ตั ว แทนฤดู แล้ ง ) และครั้ งที่ 2 วั น ที่ 14-18 มิ ถุ น ายน 2564 (ตั ว แทนฤดูฝน ) โดยใช้เรือหางยาวขนาด ความยาว 18 เมตร เครื่องยนต์ 110 แรงม้า ระหว่างเวลา 07.00-16.00 น. ในสภาพอากาศและสภาพท้องทะเลมี ความเหมาะสม (Beaufort sea state 0-2 และระยะการมองเห็นไม่ต่ำกว่า 1 กิโลเมตร) ความเร็วในการวิ่งเรือ สำรวจเฉลี่ย 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยวิ่งเรือสำรวจขนานไปกับชายฝั่งตามวิธีของ Wang et al. (2007) และ วิ่งสำรวจรอบเกาะใกล้เคียง หยุดเรือหรือเปลี่ยนทิศทางเพื่อติดตามบันทึกและสังเกตพฤติกรรมของสัตว์ทะเล หายากจากผิวน้ำ โดยพื้นที่สำรวจแสดงในรูปที่ 3.3.4-4 และรูปที่ 3.3.4-5 ทำการบันทึกข้อมูลความลึกบริเวณที่ สำรวจพบสัตว์ทะเลหายากด้วยอุปกรณ์วัดความลึก ( depth sounder) วัดระยะห่างจากฝั่งโดยวัดเป็นเส้นตรง ตั้งฉากระหว่างตำแหน่งที่พบสัตว์ทะเลหายากกับชายฝั่งด้วยโปรแกรม Google Earth บันทึกข้อมูล วันที่ เวลา นับจำนวนตัว ตำแหน่งพิกัดทางภูมิศาสตร์ด้วยเครื่องบันทึกพิ กัดทางภูมิศาสตร์ เมื่อสำรวจพบสัตว์ทะเลหายาก เพื่อนำมาจัดทำแผนที่แสดงพื้นที่การแพร่กระจายของสัตว์ทะเลหายาก บริเวณเกาะลันตา และหมู่เกาะใกล้เคียง ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ บันทึกภาพถ่ายครีบหลัง (ในกรณีที่พบโลมา) ด้วยกล้องดิจิตอล ( Nikon) รุ่น D 7000 DSLR เลนส์กำลังขยาย 70-300 มิลลิเมตร และกล้องดิจิตอล ( Nikon) D 7500 DSLR เลนส์ 70-400 มิลลิเมตร โดยถ่ายภาพให้เป็นมุมที่ตั้งฉากกับลำตัวโลมาและครีบหลังมากที่สุดเท่าที่ทำได้ เพื่อใช้แยกอัตลักษณ์เฉพาะตัว กรมทางหลวงชนบท 3-374 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.4-4 พื้นที่สำรวจสัตว์ทะเลหายากบริเวณเกาะลันตาและหมู่เกาะใกล้เคียง กรมทางหลวงชนบท 3-375 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.4-5 การสำรวจโดยใช้เรือหางยาว คัดเลือกภาพถ่ายครีบหลังของโลมาที่มีความชัดเจนสามารถใช้ระบุอัตลักษณ์ประจำตัวได้ ใช้วิธีตัดภาพ ( crop) ภาพเฉพาะส่วนของครีบหลัง ปรับแต่งแสงและความคมชัดด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จำแนกเส้นขอบ จากนั้นจำแนกซ้ำอีกครั้งด้วยสายตาโดยใช้เครื่องหมายธรรมชาติ (naturally mark) จากลักษณะ ที่ผิดปกติของครีบหลังและรอยแผลบนลำตัว ประกอบกับการสัมภาษณ์หัวหน้าเขตห้ามล่าพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งทะเล และข้อมูลการสัมภาษณ์ราษฎรในพื้นที่ เพื่อนำข้อมูลมาใช้เป็นข้อมูลวิธีการศึกษาสำรวจทางอ้อม ก) ครั้งที่ 1 วันที่ 21-25 กุมภาพันธ์ 2564 (ตัวแทนฤดูแล้ง) (ก) ผลการสำรวจ : พบสัตว์ทะเลหายากเพียง 1 ชนิด คือ โลมาหลังโหนกหรือโลมาเผือก (Indo-Pacific Humpback Dolphin, Sousa chinensis, (Osbeck, 1765)) ซึ ่ ง โลมาจั ด เป็นสัต ว์ เลี ้ ยงลู กด้วย น้ำนมจำพวกหนึ่งที่อาศัยอยู่ในทะเล มีรูปร่างคล้ายปลา คือ มีครีบ มีหาง แต่โลมามิใช่ปลา เพราะเป็นสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยน้ำนมที่มีรก จัดอยู่ในอันดับ Artiodactyla ในอันดับฐานวาฬและโลมา (Cetacea) มีสถานภาพที่ได้รับการ คุ้มครองโดยกฎหมายใช้ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 และเมื่อทำการตรวจสอบ สถานภาพเพื่อการอนุรักษ์ใช้เกณฑ์ของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ( Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning) พ.ศ. 25601 จัดอยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ ( Endangered-EN) และสถานภาพของสั ต ว์ ป ่ า ระดั บ โลกจาก Red Data List ของ International Union Conservation of Nature; IUCN (2022) 2 จั ด อยู่ ในสถานภาพมี แนวโน้ ม ใกล้ สู ญ พั น ธุ์ ( Vulnerable-VU) โดยผลการสำรวจพบครั้งนี้พบโลมาหลังโหนก จำนวน 13 ตัว ในวันที่ 24 และ 25 กุมภาพันธ์ 2564 บริเวณหน้า ท่าเรือศาลกรมหลวงชุมพรฯ และบริเวณทางทิศเหนือของเกาะนุ้ยใน ห่างฝั่งประมาณ 1 กิโลเมตร ซึ่งพบว่ามีโลมาฯ คู่แม่ลูก 2 คู่ และพฤติกรรมที่พบมีการรวมฝูงเพื่อล่าอาหาร พิกัด 7.52371, 99.10530 และ 7.55596, 99.09164 ความลึก 4 และ 2.8 เมตร เวลา 11.44 น. และ 07.28 น. ตามลำดับ โลมาหลังโหนกเป็นโลมาที่ชอบรวมกลุ่ม ตั้งแต่ 10-40 ตัว และมักว่ายน้ำช้า ๆ เมื่ออยู่ใกล้ชายฝั่ง กินปลา และปลาหมึกหลายชนิดตามชายฝั่งและแนว ปะการัง ซึ่งโลมาหลังโหนกจะไม่เคลื่อนย้ายจากแหล่งอาศัยมากนักมีอุปนิสัยอาศัยประจำที่หรือมีการย้ายที่อพยพ น้อยมากและอาศัยไม่ห่างจากชายฝั่งเกินระยะ 1 กิโลเมตร ดังแสดงในรูปที่ 3.3.4-6 ถึงรูปที่ 3.3.4-9 1 สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2560. สรุปชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ. 112 หน้า 2 The IUCN of Theratened species. 2022-1. Sousa chinensis. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา www.iucnredlist.org/search?query =Sousa%20chinensis&searchType=species (22 กันยายน 2565) กรมทางหลวงชนบท 3-376 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.4-6 แผนที่แสดงการสำรวจการแพร่กระจายสัตว์ทะเลหายาก (ครั้งที่ 1) กรมทางหลวงชนบท 3-377 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ข) ผลการสั มภาษณ์ ข้ อมู ล การพบเห็ น สั ต ว์ ท ะเลหายากด้ ว ยวิ ธ ี การสั ม ภาษณ์ ชาวประมงบริเวณเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง) โดยผลการดำเนินงานจากข้อมูล สัมภาษณ์ชาวประมง 2 2 คน บริเวณเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ วันที่ 5-9 พฤศจิกายน 256 3 (รูปที่ 3.3.4-10) พบโลมาหลังโหนก แพร่กระจายในบริเวณเกาะเลากุหลง เกาะศิลามาก เกาะสน และในคลองใกล้เกาะแร้ ง ส่วนโลมาปากขวด (Indo-Pacific Bottlenose Dolphin, Tursiops aduncus, (Ehrenberg, 1833) พบแพร่กระจาย บริเวณโดยรอบเกาะแร้ง เกาะปริง เกาะตะละเบ็ง เกาะกำใหญ่ และเกาะหม้อ สำหรับโลมาอิรวดีหรือโลมาหัวบาตร มีครีบหลัง (Orcaella brevirostris) พบแพร่กระจายบริเวณทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะแร้ง และฉลามวาฬ (Rhincodon typus) พบแพร่กระจายบริเวณทิศใต้ของเกาะแร้ง นอกจากนี้ข้อมูลการสัมภาษณ์หัวหน้าเขตห้ามล่า พันธุ์สัตว์ป่าทุ่งทะเล มีการพบโลมาหลังโหนกฝูงที่เคลื่อนที่ผ่านบริเวณโครงการจะอยู่รวมกันเป็นฝูงประมาณ 6-7 ตัว พบในเดือนพฤษภาคม-กันยายน (ช่วงมรสุม) ช่วงเวลา 6.00-12.00 น. สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง ว่ายผ่านทางร่อง น้ำใกล้กับแพขนานยนต์ รูปที่ 3.3.4-7 ลักษณะครีบหลังของโลมาหลังโหนก บริเวณเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รูปที่ 3.3.4-8 โลมาปากขวด (Tursiops aduncus) รูปที่ 3.3.4-9 โลมาหลังโหนก (Sousa chinensis) กรมทางหลวงชนบท 3-378 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.4-10 แผนที่แสดงการพบเห็นสัตว์ทะเลหายากด้วยวิธีการสัมภาษณ์ชาวประมง บริเวณเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ข้อมูลวันที่ 5-9 พฤศจิกายน 2563 (ครั้งที่ 1) กรมทางหลวงชนบท 3-379 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลมา เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมจำพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ทั้งในทะเล น้ำจืด และ น้ำกร่อย มีรูปร่างคล้ายปลา คือ มีครีบ มีหาง แต่โลมามิใช่ปลา เพราะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่มีรก จัดอยู่ใน อันดับ Artiodactyla ในอันดับฐานวาฬและโลมา (Cetacea) ซึ่งประกอบไปด้วย วาฬและโลมา ซึ่งโลมาจะมีขนาด เล็กกว่าวาฬมาก และจัดอยู่ในกลุ่มวาฬมีฟัน ( Odontoceti) เท่า นั้น โดยโลมาเป็นสัตว์ที่รับรู้กันเป็นอย่างดี ว่าเฉลียวฉลาด มีความเป็นมิตรกับมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะช่วยชีวิตมนุษย์เมื่อยามเรือแตก จนกลายเป็น ตำนานหรือเรื่องเล่าขานทั่วไป มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูง บางฝูงอาจมีจำนวนมากถึงหลักพันถึงหลายพันตัว ว่ายน้ำได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว รวมถึงสามารถกระโดดหมุนตั วขึ้นเหนือน้ำได้ ชอบว่ายน้ำขนาบข้าง หรือ ว่ายแข่งไปกับเรือ โลมา อาศัยอยู่กระจัดกระจายทั่วไปในมหาสมุทรโดยทั่วไป ลักษณะของโลมาที่ เป็นที่รู้จักกันดี คือ มีรูปร่างเพรียวยาวคล้ายตอร์ปิโดหรือกระสวย ส่วนใหญ่มีปลายปากยื่นแหลม แต่ก็มีบางชนิดที่ มีส่วนหัวกลมมนคล้ายแตงโมหรือบาตรพระ มีหางแบนในแนวนอน ไม่ใช่แนวตั้งเหมือนปลา เพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ ในแนวขึ้น -ลง ไม่มีขนปกคลุมลำตัว ไม่มีเกล็ด รวมทั้งไม่มีเมือก นอกจากนี้แล้วยังมีอวัยวะต่าง ๆ ทุกส่วน เหมือนกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป หากแต่ละส่วนของอวัยวะจะปรับเปลี่ยนต่างไปจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป ดังนี้ จมูกของโลมามีไว้เพื่อหายใจ แต่จมูกนั้นต่างไปจากจมูกของสัตว์อื่น ๆ เพราะตั้งอยู่กลางกระหม่อมเป็นรูกลม เพื่อให้สะดวกต่อการเชิดหัวขึ้นหายใจเหนือน้ำ จากจมูกมีท่อหายใจต่อลงมาถึงปอดในตัว จึงไม่จำเป็นต้องให้น้ำ ผ่านเหงือกเข้าไปในปอดเพื่อช่วยหายใจเหมือนปลาหรือสัตว์น้ำอย่างอื่น และจมูกของโลมาตรงส่วนนี้ไม่สามารถ ใช้ในการรับกลิ่นได้เหมือนกับสัตว์อื่นทั่วไป ซึ่งในบรรดาวาฬมีฟันทุกชนิดต่างก็เป็นเช่นนี้เหมือนกันหมด หูของ โลมานั้นเป็นเพียงแค่รูขนาดเล็กติดอยู่ด้านข้างของหัวเท่านั้น มีประสิทธิภาพสูงมาก สามารถรับคลื่นเสียงใต้น้ำได้ อย่างยอดเยี่ยม เพราะโลมาเหมือนวาฬตรงที่เป็นสัตว์ที่ติดต่อสื่อสารกันด้วยคลื่นเสียงที่ปล่อยออกมา โดยเฉพาะ กับภาษาที่โลมาสื่อสารกันด้วยเสียงที่มีคลื่นความถี่สูง โลมามีดวงตาไม่เล็กเหมือนอย่างวาฬ แววตาแจ่มใส เหมือน ตาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น มีเปลือกตาปิดได้ และในเวลากลางคืนตาก็จะเป็นประกาย คล้ายตาแมว ตาของโลมาไม่มีเมือกหุ้มเหมือนตาปลา และมองเห็นได้ไกลถึง 50 ฟุต เมื่ออยู่ในอากาศ สีผิวของโลมาแต่ละชนิด จะแตกต่างกัน ส่วนมากจะออกไปในโทนสีเทา ตั้งแต่เข้มเกือบดำจนกระทั่งถึง เกือบขาว แต่โดยทั่วไปโลมาจะมี สีผิวแบบ 2 สีตัดกัน ด้านบนเป็นสีเทาเข้ม ด้านล่างเป็นสีเกือบขาว เพื่อพรางตัวในทะเลไม่ให้ศัตรูเห็น เพราะเมื่อ มองจากด้านบน สีเข้มจะกลืนกับสีน้ำทะเล และถ้ามองจากด้านล่างขึ้นไปสีขาวก็จะกลืนเข้ากับแสงแดดเหนือ ผิวน้ำ โลมาถือเป็นสัตว์ ที่ว่ายน้ำได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว มีอัตราความเร็วในการว่ายน้ำประมาณ 55-58 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/โลมา) โลมานั้นเป็นสัตว์ที่มีความเฉลียวฉลาดมาก เชื่อว่า ความฉลาดของโลมานั้น เทียบเท่าเด็กตัวเล็ก ๆ เลยทีเดียว หรือเป็นไปได้ว่าอาจจะฉลาดกว่าชิมแปนซี ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับ มนุษย์มากที่สุดด้วยซ้ำ ที่เป็นเช่นนี้เพราะโลมามีขนาดของสมองเมื่อเทียบกับลำตัวแล้วนับว่าใหญ่มาก แถมภายใน สมองยังซับซ้อนอีกด้วย โดยเฉพาะโลมาปากขวดนั้นถึงกับมีขนาดของสมอง เมื่อเทียบกับลำตัวใหญ่แล้ว ถือเป็น สัตว์ที่มีขนาดสมองใหญ่เป็นที่สองรองจากมนุษย์และสมองส่วนซีรีบรัม อันเป็นส่วนของความจำและการเรียนรู้ ก็มีขนาดใหญ่มาก เป็นศูนย์รวมของประสาทการรับกลิ่น การมองเห็น และการได้ยิน จนอาจเชื่อได้ว่าแท้จริงแล้ว โลมาอาจมีความฉลาดเทียบเท่ากั บมนุษย์ก็เป็นได้ ซึ่งจากความฉลาดแสนรู้ของโลมา จึงทำให้เป็นที่นิยมนำมา ฝึกแสดงโชว์ต่าง ๆ ตามสวนสัตว์และสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำต่าง ๆ นอกจากนี้แล้ว โลมายังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรม ชอบช่วยเหลือมนุษย์ยามเมื่อเรือแตกหรือใกล้จะจมน้ำ ทั้งนี้เพราะโลมาเป็นสัตว์ที่รักส นุกและขี้เล่น ที่โลมา ช่วยชีวิตมนุษย์อาจเป็นเพราะต้องการเข้ามาเล่นสนุกเท่านั้น หรือไม่เช่นนั้นก็อาจเป็นสัญชาตญาณความเป็นแม่ ที่มักจะดุนลูกขึ้นไปหายใจบนผิวน้ำอยู่เสมอ โดยเฉพาะถ้าลูกโลมาเสียชีวิตระหว่างคลอด จะพบว่าแม่โลมา จะพยายามดุนศพลูกเอาไว้ให้ใกล้ผิวน้ำมากที่สุด โดยปกติแล้วเนื้อโลมาไม่ใช่อาหารหลักเหมือนสัตว์เศรษฐกิจ กรมทางหลวงชนบท 3-380 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ทั่วไป แต่ก็มีบางประเทศ อาทิ ญี่ปุ่นนิยมบริโภคเนื้อโลมาและวาฬ เดิมญี่ปุ่นนั้นล่าวาฬเป็นหลัก แต่ต่อมาได้มีการ อนุรักษ์และกฎหมายที่เข้มงวดขึ้นจึงหันมาล่าโลมาแทน โดยเพิ่มปริมาณการล่าโลมาขึ้นเป็นสี่เ ท่า ทำให้โลมา ในทะเลญี่ปุ่นลดน้อยลงเป็นอันมาก (ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/โลมา) ข) ครั้งที่ 2 วันที่ 14-18 มิถุนายน 2564 (ตัวแทนฤดูฝน) (ก) ผลการสำรวจ : จากการสำรวจไม่พบสัตว์ทะเลหายากในช่วงวันเวลาดังกล่าว (ข) ผลการสั มภาษณ์ : ข้ อมู ล การพบเห็ นสั ต ว์ ทะเลหายากด้ว ยวิ ธี การสัมภาษณ์ ชาวประมงบริเวณเกาะลันตา จำนวน 27 คน วันที่ 14 - 18 มิถุนายน 2564 (รูปที่ 3.3.4-11) พบโลมาหลังโหนก จำนวน 4 ตัว บริเวณท่าเทียบเรือคลองหมาก (ห่างจากแพขนานยนต์ประมาณ 1.5 กิโลเมตร) วันที่ 16 มิถุนายน 2564 ส่วนโลมาหลังโหนก จำนวน 5 ตัว บริเวณหน้าเกาะลาปูเล (ห่างจากแพขนานยนต์ประมาณ 1.3 กิโลเมตร) สภาพลักษณะภูมิอากาศของเกาะลันตาขึ้นอยู่กับอิทธิพลของลมมรสุมที่พัดผ่าน ได้แก่ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออก-เฉียงเหนือ จากอิทธิพลของลมมรสุมจึงทำให้เกาะลันตามี 2 ฤดูกาล คือ ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือน มิถุนายน-ธันวาคม และฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม-พฤษภาคม ซึ่งที่ ปรึกษาได้ดำเนินการสำรวจสัตว์ป่าในพื้นที่ศึกษาโครงการครอบคลุมทั้ง 2 ฤดูกาลของภาคใต้ แสดงดัง ตารางที่ 3.3.4-1 ตารางที่ 3.3.4-1 ผลการสำรวจโลมาและพะยูนในพื้นที่เกาะลันตา ช่วงเวลาสำรวจ ฤดูกาล ผลการสำรวจ วันที่ 21-25 ฤดูร้อน • สำรวจพบโลมาหลังโหนก 13 ตัว บริเวณหน้าท่าเรือศาลกรมหลวงชุมพร และบริเวณ กุมภาพันธ์ 2564 ทางทิศเหนือของเกาะนุ้ยใน ห่างฝั่งประมาณ 1 กิโลเมตร วันที่ 14-18 ฤดูฝน • การสำรวจภาคสนามไม่พบโลมาปากขวด โลมาหัวโหนก และพะยูน มิถุนายน 2564 • การสอบถามชาวประมงในพื้นที่ พบโลมาหลังโหนก 4 ตัว บริเวณท่าเทียบเรือคลองหมาก (ห่างจากแพขนานยนต์ประมาณ 1.5 กิโลเมตร) และพบโลมาหลังโหนก 5 ตัว บริเวณ หน้าเกาะลาปูเล (ห่างจากแพขนานยนต์ประมาณ 1.3 กิโลเมตร) ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 ผลตรวจสอบข้ อ มู ล การเกยตื้ น ของโลมาทั้ ง 2 ชนิ ด และสั ต ว์ ห ายากชนิ ด อื่ น ๆ จากศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามันตอนล่าง พบว่า ไม่มีการล่าโลมาหรือสัตว์ทะเลหายาก ในพื้นที่บริเวณอำเภอเกาะลันตา แต่มีข้อมูลการติดเครื่องมือประมงโดยบังเอิญ ซึ่งเป็นสาเหตุการเกยตื้นที่สำคัญ และจากการตรวจสอบบริเวณแนวเส้นทางก่อสร้างสะพานโครงการ (คลองช่องลาด) ไม่พบข้อมูลการเกยตื้นของ สัตว์ทะเลหายาก รวมทั้งจากการสัมภาษณ์ชาวประมงและชาวบ้านที่อาศัยอยู่บริเวณเกาะลันตา ไม่พบว่าในพื้นที่ เกาะลันตามีเต่าทะเลขึ้นมาวางไข่ สำหรับพื้นที่บริเวณหาดพระแอะ แหลมคอกวาง และปากคลองลัดบ่อแหน จะพบว่ามีเต่าทะเลและพะยูนเข้ามาอาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่แหล่งหญ้าทะเล ซึ่งจะมีข้อมูลเกยตื้นในพื้นที่ดังกล่าว แสดงดังรูปที่ 3.3.4-12 และรูปที่ 3.3.4-13 ทั้งนี้ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามันตอนล่าง ได้ดำเนินงานมาตรการ และการแก้ไขปัญหาการเกยตื้นของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ 1) ป้องกันการทำการประมงที่ผิด กฎหมายหรือหยุดการใช้เครื่องมือที่เป็นภัยคุกคามต่อสัตว์ทะเลหายาก 2) ให้ความรู้และการมีส่วนร่วมของชุมชน ในพื้นที่ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ดูแลทรัพยากร 3) จัดทำแผนบริหารจัดการแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลหายากเชิงพื้นที่ ในแต่ละชนิดให้เหมาะสมและยั่งยืน และ 4) สำรวจ ศึกษา วิจัย และวิเคราะห์ประเมินผล กรมทางหลวงชนบท 3-381 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.4-11 แผนที่แสดงการสำรวจการแพร่กระจายสัตว์ทะเลหายาก (ครั้งที่ 2) กรมทางหลวงชนบท 3-382 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน แนวเส้นทางโครงการ ที่มา : ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามันตอนล่าง รูปที่ 3.3.4-12 พื้นที่จุดแสดงการเกยตื้นสัตว์ทะเลหายากบริเวณพื้นที่เกาะลันตาและหมู่เกาะใกล้เคียง จังหวัดกระบี่ ปี 2560-2564 กรมทางหลวงชนบท 3-383 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.4-13 แผนที่พื้นที่ศักยภาพเป็นแหล่งหญ้าทะเล จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2563 กรมทางหลวงชนบท 3-384 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข. สัตว์บกหายาก การสำรวจสั ตว์ ในระบบนิ เวศในพื้ นที่ ศึ กษาโครงการ ได้ ด ำเนิ นการสำรวจภาคสนาม จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ วันที่ 16-20 มกราคม 2564 (ฤดูแล้ง) และวันที่ 23-29 มิถุนายน 2564 (ฤดูฝน) มีขอบเขต ครอบคลุมสัตว์ป่า 4 กลุ่ม คือ กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่ม นก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนม เพื่อรวบรวมข้อมูลความหลากหลายชนิดสัตว์ป่า บริเวณโดยรอบแนวเส้นทางโครงการฯ รวมทั้งศึกษา ระบบนิเวศของพื้นที่และการแพร่กระจายของสัตว์ป่าในพื้นที่มีสภาพนิเวศแต่ละลักษณะ เพื่อนำไปวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างชนิดและประเภทสัตว์ป่ากับ สภาพนิเวศของพื้นที่ ตลอดจนระบุปริมาณประชากรสัตว์ป่า โดยประเมิ น เป็ น ความชุ ก ชุ ม สั ม พั ท ธ์ พื้ น ที่ ศึ ก ษาโครงการในระยะ 500 เมตร จากแนวเส้ น ทางโครงการ เป็นอย่างน้อยหรือมากกว่าขึ้นอยู่กับกลุ่มสัตว์ป่าที่ทำการศึกษา ผลการสำรวจภาคสนามพบสัตว์บกหายาก 1 ชนิด คือ นากใหญ่ขนเรียบ ( Lutrogale perspicillata) พบบริเวณพื้นที่ลุ่มต่ำและแนวป่าชายเลน มีพื้นที่ครอบครองยาวประมาณ 7 – 12 กิโลเมตร ตามความยาวของแนวป่าชายเลน ออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน มักอยู่รวมกันเป็นฝูง ซึ่ง พบร่องรอยและ กองมูลบริเวณป่าชายเลนฝั่งเกาะกลางช่วง กม.0+400-กม.0+500 และฝั่งเกาะลันตาน้อย ช่วง กม.2+000-กม. 2+200 ระยะห่ า งจากแนวเส้ นทางโครงการประมาณ 400-500 เมตร ( รู ป ที่ 3.3.4-14) นากใหญ่ ขนเรียบ ( Lutrogale perspicillata ) มี ส ถานภาพตามกฎหมายเป็ น สั ต ว์ ป่ า คุ ้ ม ครองตามพระราชบั ญ ญั ต ิ ส งวนและ คุ ้ ม ครองสั ต ว์ ป ่ า พ.ศ. 2562 ส่ ว นสถานภาพตาม IUCN (2022) จั ด อยู ่ ใ นกลุ ่ ม มี แ นวโน้ ม ใกล้ ส ู ญ พั น ธุ ์ ( Vulnerable : VU) สำหรั บ สถานภาพตามสำนักงานนโยบายและแผนทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อม (2560) จั ด อยู่ ในกลุ่ ม มี แนวโน้ ม ใกล้ สู ญ พั น ธุ์ ( Vulnerable : VU) เช่ น เดี ย วกั บ สถานภาพตาม IUCN และ จากการสอบถามข้อมูลราษฎรพื้นที่ที่มีความอาวุโส และโดยเฉพาะราษฎรที่มีวิถีดำรงชีวิตหาเลี้ยงชีพด้วยก าร ทำประมงพื้นบ้านตามแนวชายฝั่งเขตขึ้น -ลงของน้ำทะเล และราษฎรพื้นที่ที่มีกิจกรรมในพื้นที่เกษตรสภาพต่างๆ และจากลักษณะกิจกรรมของเกษตรกรที่สัม พันธ์ กับช่วงเวลากิจ กรรมดำรงชีวิตของสัตว์ป่าทั้งกลางวัน และ กลางคืน และในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ที่เคลื่อนย้ายมาใช้พื้นที่ป่าชายเลน และลานเลนริมชายป่าโกงกางและ กลุ่มต้นไม้ที่ต่อเนื่องไปถึงชายหาดในแนวเส้นทางโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-385 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.3.4-14 ตำแหน่งที่พบนากใหญ่ขนเรียบ ( Lutrogale perspicillata) กรมทางหลวงชนบท 3-386 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3 .4 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 3.4.1 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดิน และสภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันตามแนวเส้นทางโครงการ (2) เพื่อนำข้อมูลไปประเมินผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากโครงการ 2) วิธีการศึกษา (1) รวบรวมข้อมูลและทบทวนข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งเอกสารรายงาน แผนที่ต่างๆ จากส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมพัฒนาที่ดิน กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมป่าไม้ และกรมส่งเสริมการเกษตร รวมทั้ง แผนการพัฒนาในพื้นที่ของภาครัฐและเอกชน (2) แปลภาพถ่ายดาวเทียมโดยใช้ข้อมูลปั จจุบันที่สุดบริเวณพื้นที่ศึกษาของโครงการ เพื่อทำการ แปลภาพถ่ายตามลักษณะหน่วยแผนที่ โดยแบ่งเป็นพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ชุมชน พื้นที่แหล่งน้ำ และพื้นที่อื่นๆ และทำการตรวจสอบลักษณะการใช้ที่ดินโดยรอบจากแนวทางโครงการระยะ 500 เมตร 3) ผลการศึกษา (1) การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ศึกษาโครงการ ผลการสำรวจการใช้ที่ดินบริเวณพื้นที่โครงการ ในระยะ 500 เมตร และข้อมูลการใช้ที่ดิน ของกรมพัฒนาที่ดิน พบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็น ป่าชายเลนสมบูรณ์ มีขนาดพื้นที่ 321 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 16.99 รองลงมาเป็นพื้นที่ปลูกยางพารา มีขนาดพื้นที่ 316 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 16.73 เป็นพื้นที่ปาล์มน้ำมัน มีขนาดพื้นที่ 96 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.08 ตามลำดับ ส่วนพื้นที่ที่เหลือมีการใช้ประโยชน์ เป็นพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง สถานที่เพาะเลี้ยงกุ้ง ปาล์มน้ำมัน ไม้ยืนต้น เกษตรผสมผสาน นาร้าง และพื้นที่ เบ็ดเตล็ดอื่นๆ แสดงดังตารางที่ 3.4.1-1 และรูปที่ 3.4.1-1 ตารางที่ 3.4.1-1 การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ ระยะ 500 เมตร ลำดับ สัญลักษณ์ ประเภทการใช้ที่ดิน พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ 1 A0 เกษตรผสมผสาน 2 0.11 2 A100 นาร้าง 16 0.85 3 A3 ไม้ยืนต้น 16 0.85 4 A302 ยางพารา 316 16.73 5 A303 ปาล์มน้ำมัน 96 5.08 6 A903 สถานที่เพาะเลี้ยงกุ้ง 30 1.59 7 F301 ป่าชายเลนสมบูรณ์ 321 16.99 8 M พื้นที่เบ็ดเตล็ดอื่นๆ 59 3.12 9 U พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 53 2.81 10 W1 แหล่งน้ำธรรมชาติ 3 0.16 รวม 912 48.28 นอกเขต 977 51.72 รวมทั้งหมด 1,889 100.00 ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน, และการสำรวจโดยที่ปรึกษา, 2563 กรมทางหลวงชนบท 3-387 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.1-1 การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการระยะ 500 เมตร กรมทางหลวงชนบท 3-388 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (2) การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่เกาะลันตา การรวบรวมข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่เกาะลันตาจากกรมพัฒนาที่ดิน ในปี พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2561 เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์ที่ดินและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในช่วงที่ผ่าน พบว่าในเขตพื้นที่เกาะลันตาช่วงปี พ.ศ. 2552-2561 มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินประเภทพื้นที่ ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเพิ่มขึ้นจำนวนมาก (ร้อยละ 224.76) ส่วนพื้นที่ เบ็ดเตล็ดมีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 23.59 และพื้นที่เกษตรกรรมมีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 8.11 พื้นที่ป่าไม้มีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 3.17 และพื้นที่แหล่งน้ำมีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 0.34 แสดงดังตารางที่ 3.4.1-2 และรูปที่ 3.4.1-2 ถึงรูปที่ 3.4.1-4 ่ กาะลันตา พ.ศ. 2552-2561 ตารางที่ 3.4.1-2 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพื้นทีเ ปี 2552 ปี 2555 ปี 2561 การเปลีย่ นแปลง ลำดับ พื้นที่ พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ (ร้อยละ) 1 พื้นที่เกษตรกรรม 31,027 32.97 31,256 33.21 28,740 30.54 - 8.11 2 พื้นที่ป่าไม้ 55,085 58.54 54,926 58.37 53,182 56.51 - 3.17 3 พื้นที่เบ็ดเตล็ด 3,141 3.34 3,132 3.33 2,391 2.54 - 23.59 4 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 2,229 2.37 2,168 2.30 7,178 7.63 224.76 5 แหล่งน้ำ 2,624 2.79 2,624 2.79 2,615 2.78 - 0.34 รวม 94,106 หมายเหตุ : + หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขนาดพื้นที่ในลักษณะเพิ่มจำนวนขึ้น - หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขนาดพื้นที่ในลักษณะลดจำนวนลง (3) ผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย ผลการตรวจสอบแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จำแนกประเภทท้ายประกาศกฎกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่ -เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ (2559) พบว่า แนวเส้นทางโครงการ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ดินประเภทโล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (เขตสีฟ้า) และอยู่ในพื้นที่ดินประเภทอนุรกั ษ์ ป่าไม้ (เขตสีเขียวอ่อนมีเส้นทแยงสีขาว) แสดงดังรูปที่ 3.4.1-5 ผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีนโยบายและมาตรการ เพื่อจัดระบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมขนส่งและบริการสาธารณะให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและสอดคล้องกับการขยายตัว ของชุมชนในอนาคต รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีสาระสำคัญดังต่อไปนี้ • ส่งเสริมและพัฒนาให้เกาะลันตาใหญ่และเกาะลันตาน้อยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส ำคัญ ของภาคใต้ • ส่งเสริมการพัฒนาด้านที่อยู่อาศัย การบริการ การคมนาคมและขนส่ง ที่มีคุณภาพเพียงพอ สะดวก ได้มาตรฐาน ตลอดจนพัฒนาสาธารณูปโภคและสาธารณูปการให้สอดคล้องกับการขยายตัวของชุมชน และระบบเศรษฐกิจของเกาะลันตาใหญ่และเกาะลันตาน้อย • ดำรงรักษารูปแบบการตั้งถิ่นฐาน วิถีชีวิตดั้งเดิม และประเพณี ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน • สงวนรักษาสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงามกลมกลืนกับวัฒนธรรมท้องถิ่น ตามแนวทางการพัฒนาแบบยั่งยืน • ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและสนับสนุนบทบาทด้านเกษตรกรรมควบคู่กับการพัฒนา การท่องเที่ยว กรมทางหลวงชนบท 3-389 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.1-2 การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพื้นที่เกาะลันตา พ.ศ. 2552 กรมทางหลวงชนบท 3-390 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.1-3 การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพื้นที่เกาะลันตา พ.ศ. 2555 กรมทางหลวงชนบท 3-391 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.1-4 การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพื้นที่เกาะลันตา พ.ศ. 2561 กรมทางหลวงชนบท 3-392 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ่ ด้จำแนกประเภทท้ายกฎกระทรวงให้ใช้บง รูปที่ 3.4.1-5 แผนผังกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามทีไ ั คับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 กรมทางหลวงชนบท 3-393 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข้อ 5 การใช้ประโยชน์ที ่ดิ นตามแผนผังกํ าหนดการใช้ประโยชน์ที ่ดิ น ตามที่ได้จําแนก ประเภทท้ายกฎกระทรวงนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้ (1) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 1 ที่กำหนดไว้เป็นสีเหลืองมีเส้นทแยงสีขาว ให้เป็นที่ดิน ประเภท อนุรักษ์เพื่อการอยู่อาศัย (2) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 2.1 ถึงหมายเลข 2.11 ที่กําหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็นที่ดิน ประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (3) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 3.1 ถึงหมายเลข 3.8 ที่กำหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดิน ประเภท ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (4) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 4.1 และหมายเลข 4.2 ที่กําหนดไว้ เป็นสีแดง ให้เป็นที ่ ดิ น ประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (5) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 5.1 ถึงหมายเลข 5.18 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็นที่ดิน ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (6) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 6 ที่กำหนดไว้เป็นสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว ให้เป็นที่ดิน ประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (7) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 7.1 ถึงหมายเลข 7.14 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็นที่ดิน ประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (8) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 8.1 ถึงหมายเลข 8.4 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน มีเส้นทแยงสี ขาว ให้เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ (9) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 9.1 ถึงหมายเลข 9.13 ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้เป็นที่ดิน ประเภทสถาบันการศึกษา (10) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 10.1 และหมายเลข 10.2 ที่กําหนดไว้เป็นสี ฟ้า ให้เป็นที่ดิน ประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (11) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 11 ที่กําหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันศาสนา (12) ที่ดินในบริเวณหมายเลข 12.1 ถึงหมายเลข 12.6 ที่กําหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน ให้เป็นที่ดิน ประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผังกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามที่ได้จำแนกประเภท แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง และรายการประกอบแผนผังท้ายกฎกระทรวงนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้ ข้อ 13 ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครองดูแลรักษา หรือบำรุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน้ำ ลำธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่ นๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายเกี่ยวกับ การป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว หรือสาธารณประโยชน์ เป็น ส่วนใหญ่ สำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสามสิบของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจกรรมตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้ - โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน - คลังน้ำมัน สถานที่เก็บรักษาน้ำมัน ลักษณะที่สาม สถานีบริ การน้ำมันประเภท ก สถานี บริการน้ำมันประเภท ข สถานีบริการน้ำมันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริ การน้ำมันประเภท จ ลักษณะ ที่สอง แสะสถานีบริการน้ำมันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อการจำหน่าย กรมทางหลวงชนบท 3-394 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บและสถานีบริการ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง - โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม - จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม - จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม - จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย - จัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ - การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว - การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม - คลังสินค้า - กำจัดมูลฝอย - ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้ (1) ให้มีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต และให้ดำเนินการ หรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 6 เมตร แต่ไม่หมายความรวมถึงโครงสร้างสำหรับใช้ในกิจการ สาธารณูปโภคที่อยู่ห่างจากแนวชายฝั่งทะเลไม่น้อยกว่า 200 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับ พื้นดินที่ก่อสร้างถึงส่วนที่สูงที่สุดของอาคาร (2) ในระยะ 50 เมตร จากแนวชายฝั่งทะเล ให้มีที่ว่างตามแนวขนานแนวชายฝั่งตามสภาพ ธรรมชาติของทะเลไม่น้อยกว่า 30 เมตร และให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 6 เมตร และมีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต การวัดความสูงของอาคารให้ วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงส่วนที่สูงที่สุดของอาคาร (3) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลำคลองหรือแหล่งน้ ำสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมทางน้ำหรือการสาธารณูปโภค (4) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางถนนสาธารณะไม่น้อยกว่า 3 เมตร ข้อ 12 ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเฉพาะที่ดิน ซึ่งเป็นของรัฐ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การก่อสร้างเพื่อการคมนาคมทางน้ำที่เป็นของรัฐ การสาธารณูปโภค หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับ เกษตรกรรม การสาธารณูปโภคหรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้ (1) ให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 6 เมตร แต่ไม่หมายความ รวมถึงโครงสร้างสำหรับใช้ในกิจการสาธารณูปโภค การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้าง ถึงส่วนที่สูงที่สุดของอาคาร (2) ให้มีที่ ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลำคลองหรือแหล่ง น้ำสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมทางน้ำหรือการสาธารณูปโภค (3) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางถนนสาธารณะไม่น้อยกว่า 3 เมตร กรมทางหลวงชนบท 3-395 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (4) พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม การตรวจสอบพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ศึกษาโครงการกับสำนักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ตามหนังสือเลขที่ ทส.1011.3/1642 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564 พบว่าแนวเส้นทางโครงการอยู่ในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากร - ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอ เมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประกาศ ณ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2559 (รูปที่ 3.4.1-6) ดังนั้น จึงเข้าข่ายต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องจัดทำ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงาน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งประกาศ ณ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555 และวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2562 ผลการตรวจสอบพื ้ น ที ่ โ ครงการกั บ สำนั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม (สผ.) พบว่าพื้นที่โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ อยู่ในเขตพื้นที่ที่ให้ใช้มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ตามประกาศกระทรวงฯ จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 รวม 3 บริเวณ ได้แก่ บริเวณที่ 1 เขตอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าชายเลน บริเวณที่ 3 เขตน่านน้ำ เพื่อคุ้มครองทรัพยากรทางทะเล ประมงและชายฝั่ง และบริเวณที่ 4 เขตการจัดการชายฝั่งทะเลและเกาะ ซึ่งหาก มีการดำเนินการโครงการดังกล่าวจะต้องปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงฯ ได้แก่ ข้อ 5 (1) (ก) (3) (ค) (4) (ก) ข้อ 7 (5) และ ข้อ 11 (2) (ก) - ข้อ 5 ในพื้นที่ตามข้อ 3 ห้ามกระทำการหรือกิจกรรมใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ภายในบริเวณ ดังต่อไปนี้ • บริเวณที่ 1 ▪ (ก) การใช้ประโยชน์ไม่ว่าด้วยประการใดๆ • บริเวณที่ 3 ▪ (ค) เก็บ ทำลาย หรือกระทำด้วยประการใดๆ ที่อาจเป็นอันตรายหรือมีผลกระทบ ต่อปะการัง ซากปะการัง หินปะการัง กัลปังหา หรือหญ้าทะเล เว้นแต่เป็นการศึกษาและวิจัยทางวิชาการ ซึ่งได้รับ อนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช อธิบดีกรมประมง หรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี • บริเวณที่ 4 ▪ (ก) การกระทำใดๆ ที ่ ก่ อให้ เ กิ ด การเปลี ่ ย นแปลงลั กษณะทางธรณี ส ั ณ ฐาน หรือสภาพทางธรรมชาติของชายหาดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หรือทำให้ทัศนียภาพบริเวณชายหาดเสียไป - ข้อ 7 ในพื้นที่ตามข้อ 3 ห้ามกระทำหรือประกอบกิจกรรม ดังต่อไปนี้ • (5) การปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งอื่นใดล่วงล้ำลำแม่น้ำ เว้นแต่กรณีที่ได้รับอนุญาต ตามข้อ 4 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 63 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 และกระชังเลี้ยงสัตว์น้ำที่ได้รับอนุญาตตามกฎกระทรวงที่ออกตามกฎหมายว่าด้วย การเดินเรือในน่านน้ำไทยและกฎหมายว่าด้วยการประมง - ข้อ 11 ในพื้นที่ตามข้อ 3 นอกจากต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในประกาศนี้แล้ว ก่อนการก่อสร้างอาคาร หรือดำเนินโครงการหรือประกอบกิจการ ให้จัดทำและเสนอรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม เบื้องต้น หรือรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม แล้วแต่กรณี ต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร- ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระเบียบปฏิบัติที่กำหนดไว้ ตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ดังต่อไปนี้ กรมทางหลวงชนบท 3-396 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน • (2) การจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ▪ โครงการหรือกิจการตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งกำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริ มและรักษาคุณ ภาพสิ่ง แวดล้ อมแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2535 รูปที่ 3.4.1-6 พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2559) กรมทางหลวงชนบท 3-397 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.1-6 พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2559) (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-398 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.4.2 การคมนาคมขนส่ง 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาสภาพการคมนาคมและปริมาณการจราจรโดยรอบแนวเส้นทางโครงการ โดยเฉพาะ โครงข่ายของถนนที่เชื่อมโยงกับโครงการ ตลอดจนรายละเอียดการตัดผ่านโครงข่ายถนนของแนวเส้นทางโครงการ (2) เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินผลกระทบต่อการคมนาคมและ ระบบการขนส่งในพื้นที่ เนื่องจากการพัฒนาโครงการทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะ ดำเนินการ 2) วิธีการศึกษา (1) รวบรวมและทบทวนข้อมูลทุติยภูมิสภาพโครงข่ายการคมนาคมขนส่งในปัจจุบัน และความ เชื่อมโยงของการจราจรขนส่งในระดับภูมิภาค (2) รวบรวมและทบทวนข้อมูลการศึกษาแนวโครงข่ายเชื่อมโยงกับแนวเส้นทางโครงการ (3) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถิติปริมาณจราจร ( ADT) และสถิติการเกิดอุบัติเหตุในปัจจุบันบนถนน สายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการจากการศึกษาการจราจรของโครงการ เพื่อนำไปสู่การประเมินผลกระทบต่อพื้นที่ (4) พิจารณาผลการศึกษาด้านการจราจรและขนส่งจากการศึกษาด้านวิศวกรรมของโครงการ เพื่อประเมินความคล่องตัวและปริมาณการจราจรในอนาคต (5) สำรวจและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดถนนที่แนวเส้นทางโครงการตัดผ่าน 3) ผลการศึกษา การรวบรวมข้อมูลโครงข่ายถนนภายในพื้นที่โ ครงการ เพื่อให้ทราบลักษณะของโครงข่า ยการ ให้บริการด้านการจราจร ตลอดจนลักษณะทางกายภาพของถนน นอกจากนี้ยังได้รวบรวมข้อมูลปริมาณการจราจร ที่กรมทางหลวงได้ดำเนินการสำรวจเป็นประจำทุกปี โดยสำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง เพื่อให้ การรวบรวมข้อมูลเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงส่งเสริมให้ที่ปรึกษาวิเคราะห์ข้อมูลการจราจรได้อย่างแม่นยำ ยิ่งขึ้น (1) ข้อมูลสถิติปริมาณจราจร ข้อมูลที่ที่ปรึกษาได้ทำการรวบรวม คือ ข้อมูลปริมาณการจราจรที่กรมทางหลวงได้ดำเนินการ สำรวจเป็นประจำทุกปี โดยสำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง ได้ทำการเก็บปริมาณจราจรแยกตาม ประเภทยานพาหนะบนทางหลวงแต่ละช่วงทางหลวงควบคุม รายละเอียด ประกอบด้วย หมายเลขทางหลวง (Route No.) และช่วงควบคุม ( Control Section) โดยทางหลวงสายหนึ่งอาจมีหลายช่วงควบคุมในแต่ละช่วง ควบคุมจะมีข้อมูลปริมาณจราจร ดังแสดงสถิติปริมาณจราจรบนโครงข่ายทางหลวงสายหลักในพื้นที่โครงการไว้ ในตารางที่ 3.4.2-1 และรูปที่ 3.4.2-1 ถึงรูปที่ 3.4.2-2 สรุปได้ดังนี้ - ทางหลวงหมายเลข 4 เป็นเส้นทางที่รองรับการเดินทางตั้งแต่กรุงเทพมหานครจนสิ้นสุด เส้นทางที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยบริเวณ กม. 979+327 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 45,808 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 8.27 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็น ร้อยละ 16.26 ต่อปี กรมทางหลวงชนบท 3-399 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.4.2-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถจักรยาน รถ อัตรา หมายเลข รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร สัดส่วน หมายเลข ตอน หลัก กม. พ.ศ. ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง รวม 2 ล้อ และ จักรยานยนต์ การ ควบคุม ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รถขนาดใหญ่ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ > 3 เพลา > 3 เพลา 3 ล้อ รถสามล้อ ขยายตัว 4 1102 ตลาดเก่า-คลองท่อม 979+327 2558 6,950 2,916 1,412 1,246 228 11,116 460 341 208 200 25,077 10.70 3 3,710 16.26 TALAT KAO- 2559 8,612 4,272 2,391 223 274 13,797 559 274 309 200 30,911 5.95 10 5,727 KHLONG THOM 2560 11,062 4,394 3,194 250 230 13,037 537 300 241 132 33,377 5.06 14 4,310 2561 9,499 8,423 6,551 928 743 12,429 768 601 406 194 40,542 8.98 22 5,435 2562 12,055 11,415 6,395 1,003 792 12,153 783 613 387 212 45,808 8.27 36 7,618 4 1103 คลองท่อม-นาวง 1010+765 2558 1,159 1,787 108 243 125 2,061 192 166 147 69 6,057 15.43 10 1,310 16.75 KHLONG THOM- 2559 1,796 1,605 171 169 126 1,776 307 354 323 186 6,813 21.50 8 1,196 NA WONG 2560 2,039 1,735 217 264 134 2,614 234 266 228 107 7,838 15.73 15 1,500 2561 3,075 2,782 453 272 226 3,931 359 369 287 202 11,956 14.35 14 2,146 2562 3,460 2,600 488 318 210 2,734 533 436 302 173 11,254 17.52 17 2,191 4 1103 คลองท่อม-นาวง 1016+865 2558 2,010 1,776 171 35 112 2,751 203 162 133 107 7,460 10.08 0 1,452 6.95 KHLONG THOM- 2559 2,237 2,002 122 30 87 3,117 200 171 134 93 8,193 8.73 0 1,142 NA WONG 2560 1,878 1,594 122 161 109 2,289 264 286 214 69 6,986 15.79 9 1,186 2561 1,947 1,758 258 515 216 2,259 378 442 382 152 8,307 25.10 49 1,377 2562 2,722 2,525 341 498 283 1,962 416 445 347 222 9,761 22.65 62 1,461 4 1103 คลองท่อม-นาวง 1046+265 2558 1,769 1,619 182 434 192 1,501 659 430 241 145 7,172 29.29 33 1,469 3.51 KHLONG THOM- 2559 1,966 1,772 119 286 175 1,270 467 418 225 184 6,882 25.50 19 1,477 NA WONG 2560 1,738 1,698 71 171 109 1,848 524 526 207 159 7,051 24.05 26 1,202 2561 1,955 2,030 119 245 189 1,523 808 420 270 268 7,827 28.11 28 1,335 2562 1,944 2,127 212 283 289 1,143 761 569 472 432 8,232 43.09 120 1,351 4033 100 ในช่อง-ในไร่ 3+000 2558 1,820 1,372 488 434 408 677 583 610 493 132 7,017 37.91 100 1,603 -24.66 NAI CHONG-NAI RAI 2559 1,690 817 655 425 420 810 471 368 342 197 6,195 35.88 141 1,515 2560 1,271 385 187 272 122 350 126 144 147 53 3,057 28.26 61 880 2561 1,429 230 130 8 40 213 71 99 173 15 2,408 16.86 9 964 2562 1,211 254 128 23 19 169 162 142 115 38 2,261 22.07 1 565 4034 100 ปากน้ำกระบี่-เขาทอง 11+400 2558 2,102 1,065 221 368 67 3,058 139 50 42 5 7,117 9.43 18 2,673 2.84 PAKNAM KRABI- 2559 1,014 771 374 172 63 2,111 83 46 40 7 4,681 8.78 33 2,104 KHAO THONG 2560 1,108 600 294 132 51 1,791 90 32 98 0 4,196 9.60 23 1,844 2561 2,366 170 799 30 54 1,841 106 24 34 35 5,459 5.18 11 2,193 2562 4,407 782 221 12 20 2,304 104 65 27 18 7,960 3.09 23 3,683 4037 100 เหนือคลอง-สองแพรก 23+000 2558 3,848 3,044 93 117 99 1,331 492 378 621 154 10,177 18.29 44 2,337 -3.36 NUEA KHLONG- 2559 3,205 2,751 49 24 52 1,307 673 504 544 162 9,271 21.13 23 2,165 SONG PHRAEK 2560 2,782 2,369 67 24 52 1,083 691 544 706 204 8,522 26.06 23 1,875 2561 3,567 2,740 112 61 44 1,377 295 267 303 122 8,888 12.29 14 1,705 2562 2,052 1,330 319 103 103 3,598 392 300 435 243 8,875 17.76 64 1,864 4038 100 คลองท่อม-ทุ่งใหญ่ 5+000 2558 558 550 225 184 190 180 162 158 161 160 2,528 40.15 36 377 -1.21 KHLONG THOM- 2559 718 638 244 224 155 341 187 182 150 114 2,953 34.27 39 564 THUNG YAI 2560 497 371 195 142 102 224 184 185 153 92 2,145 40.00 20 436 2561 990 680 39 58 21 1,221 114 135 159 60 3,477 15.77 2 637 2562 868 717 41 89 27 1,099 142 149 132 48 3,312 17.72 27 966 กรมทางหลวงชนบท 3-400 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.4.2-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 (ต่อ) รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถจักรยาน รถ อัตรา หมายเลข รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร สัดส่วน หมายเลข ตอน หลัก กม. พ.ศ. ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง รวม 2 ล้อ และ จักรยานยนต์ การ ควบคุม ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รถขนาดใหญ่ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ > 3 เพลา > 3 เพลา 3 ล้อ รถสามล้อ ขยายตัว 4038 100 คลองท่อม-ทุ่งใหญ่ 48+000 2558 338 224 95 56 66 1,486 223 242 243 85 3,058 29.73 24 1,101 -0.60 KHLONG THOM- 2559 504 218 15 61 17 1,431 128 107 126 54 2,661 18.53 29 964 THUNG YAI 2560 379 168 35 32 12 1,142 151 102 140 72 2,233 22.79 9 1,020 2561 760 552 32 89 11 1,430 131 126 146 50 3,327 16.62 9 939 2562 708 546 26 26 13 1,035 144 196 214 77 2,985 22.45 3 747 4041 100 บางผึ้ง-โคกยาง 2+000 2558 448 104 26 0 0 513 44 39 4 0 1,178 7.39 1 818 8.39 BANG PHUENG- 2559 196 50 12 3 4 348 29 11 6 4 663 8.60 10 436 KHOK YANG 2560 217 87 10 0 3 458 49 13 17 4 858 10.02 12 514 2561 411 133 11 2 4 575 43 23 25 15 1,242 9.02 15 902 2562 527 246 49 10 7 652 63 34 27 11 1,626 9.35 28 956 4046 200 สิเกา-ควนกุน 41+865 2558 2,195 2,008 135 44 66 1,930 131 183 70 76 6,838 8.34 12 1,864 1.55 SIKAO-KHUAN KUN 2559 2,008 1,792 64 25 34 1,801 78 86 42 57 5,987 5.38 8 1,831 2560 1,975 1,765 47 12 17 1,731 56 70 39 47 5,759 4.19 4 1,729 2561 2,313 1,938 181 74 78 2,033 149 205 131 117 7,219 10.45 17 1,997 2562 2,428 1,525 222 106 114 2,128 239 203 181 125 7,271 13.31 57 2,111 4151 400 บางขัน-ลำทับ 100+693 2558 1,196 821 125 136 38 1,564 309 204 229 138 4,760 22.14 6 1,064 -7.81 BANG KHAN- 2559 1,898 2,148 143 87 29 1,092 234 225 203 213 6,272 15.80 11 1,106 LAMTHAP 2560 2,329 1,592 110 88 38 823 331 192 259 131 5,893 17.63 0 974 2561 1,021 976 56 36 22 1,564 253 295 548 197 4,968 27.19 0 755 2562 841 540 81 109 20 1,218 160 158 224 87 3,438 22.05 10 923 4156 100 เขาพนม-ทุ่งใหญ่ 5+000 2558 2,672 2,589 108 72 79 739 509 355 203 124 7,450 18.01 22 1,974 -4.69 KHAO PHANOM- 2559 2,620 2,490 58 49 31 949 608 425 201 83 7,514 18.59 9 1,840 THUNG YAI 2560 2,640 2,623 76 44 25 864 584 369 240 148 7,613 18.52 20 1,828 2561 2,159 2041 48 67 15 1,686 208 109 162 51 6,546 9.35 2 1,371 2562 1,863 1,794 111 20 29 1,731 187 121 226 65 6,147 10.54 3 1,449 4156 100 เขาพนม-ทุ่งใหญ่ 36+200 2558 2,390 2,392 222 181 131 1,096 610 404 261 200 7,887 22.66 2 1,864 -15.24 KHAO PHANOM- 2559 2,444 2,243 209 162 112 931 613 522 355 281 7,872 25.98 5 1,735 THUNG YAI 2560 2,476 2,506 129 115 59 981 700 513 274 57 7,810 22.00 2 1,825 2561 834 327 83 23 10 2,141 173 85 199 49 3,924 13.74 12 1,171 2562 895 253 18 48 8 2,295 170 70 225 89 4,071 14.98 3 1,681 4201 100 ช่องพลี-อ่าวพระนาง 2+000 2558 2,859 1,506 299 628 58 1,047 134 24 4 7 6,566 13.02 28 3,156 4.91 CHONG PHLI- 2559 1,202 832 669 289 236 624 227 134 79 53 4,345 23.43 109 1,588 AO PHRA NANG 2560 1,233 985 649 425 307 725 380 94 43 36 4,877 26.35 132 1,715 2561 2,994 1,125 1,552 3 30 2,144 161 35 4 2 8,050 2.92 16 6,288 2562 3,887 1,010 1,360 16 4 1,581 69 16 7 3 7,953 1.45 13 5,449 4202 100 ช่องพลี- 4+000 2558 505 720 202 112 163 852 41 16 0 2 2,613 12.78 57 2,075 26.55 หาดนพรัตน์ธารา 2559 709 906 182 111 114 1,060 60 38 1 10 3,191 10.47 81 2,366 CHONG PHLI-HAT 2560 1,403 1,447 336 170 143 1,357 71 53 5 2 4,987 8.90 69 2,250 NOPPHARAT 2561 1,825 541 771 50 50 2,134 99 8 0 0 5,478 3.78 22 4,400 THARA 2562 2,408 970 440 38 27 2,580 228 7 1 2 6,701 4.52 17 7,708 กรมทางหลวงชนบท 3-401 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.4.2-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 (ต่อ) รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถจักรยาน รถ อัตรา หมายเลข รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร สัดส่วน หมายเลข ตอน หลัก กม. พ.ศ. ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง รวม 2 ล้อ และ จักรยานยนต์ การ ควบคุม ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รถขนาดใหญ่ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ > 3 เพลา > 3 เพลา 3 ล้อ รถสามล้อ ขยายตัว 4203 100 อ่าวน้ำเมา- 4+000 2558 2,145 1,122 344 324 112 2,905 102 20 0 0 7,074 7.89 29 4,845 6.01 หาดนพรัตน์ธารา 2559 2,146 962 1,399 60 54 2,686 119 34 2 0 7,462 3.60 33 4,701 AO NAM MAO-HAT 2560 2,478 2,382 544 150 104 2,736 151 89 5 0 8,639 5.78 59 4,232 NOPPHARAT 2561 4,933 2,943 2,877 164 102 4,784 304 42 5 1 16,155 3.83 19 6,911 THARA 2562 3,418 1,432 1,555 8 42 2,268 146 59 2 3 8,933 2.91 22 7,342 4204 100 ไสไทย-สุสานหอย 3+000 2558 1,207 524 50 13 20 2,440 109 110 12 0 4,485 5.89 15 1,862 4.77 75 ล้านปี 2559 1,151 1,861 29 10 22 1,743 189 62 8 1 5,076 5.75 19 2,224 SAI THAI-FOSSIL 2560 1,577 1,526 7 4 7 2,252 152 76 5 0 5,606 4.35 21 2,001 SHELL BEACH 2561 1,430 819 567 4 29 1,433 130 50 14 5 4,481 5.81 17 1,928 2562 2,341 1,291 339 30 6 1,164 136 70 26 1 5,404 4.98 18 3,241 4206 100 ห้วยน้ำขาว-เกาะกลาง 3+000 2558 675 405 214 174 4 2,082 174 100 52 12 3,892 13.26 3 1,142 6.89 HUAI NAM KHAO- 2559 849 533 210 289 7 2,521 163 175 66 1 4,814 14.56 0 1,068 KO KLANG 2560 982 739 81 234 6 1,584 92 51 13 1 3,783 10.49 26 797 2561 930 658 183 3 1 1,976 119 55 30 13 3,968 0.84 6 707 2562 1,105 921 263 13 0 2,350 197 109 80 43 5,081 8.70 17 952 4225 100 สวนปาล์ม-คลองชี 1+300 2558 830 115 0 4 0 554 54 54 64 2 1,677 10.61 0 680 -9.20 SUAN PAM- 2559 674 146 1 1 0 442 58 29 55 1 1,407 10.23 5 685 KHLONG CHI 2560 470 141 1 0 0 437 67 29 41 4 1,190 11.85 2 624 2561 367 125 0 0 0 542 50 28 12 2 1,126 8.11 0 551 2562 437 156 0 0 0 427 54 31 24 11 1,140 10.53 0 591 4225 100 สวนปาล์ม-คลองชี 17+700 2558 294 118 4 0 0 836 48 12 5 0 1,317 4.94 4 942 -5.13 SUAN PAM- 2559 211 122 9 0 0 925 45 28 10 4 1,354 6.43 0 935 KHLONG CHI 2560 269 78 2 0 0 685 42 30 15 4 1,125 8.09 0 790 2561 193 59 0 0 0 691 64 39 14 1 1,061 11.12 0 7 2562 132 82 7 0 0 764 54 23 5 0 1,067 7.69 2 701 4225 100 สวนปาล์ม-คลองชี 31+500 2558 381 80 2 0 0 770 50 34 16 2 1,335 7.64 4 862 -2.03 SUAN PAM- 2559 284 85 3 1 0 900 39 17 7 1 1,337 4.86 2 8 KHLONG CHI 2560 220 89 0 0 0 1,017 78 47 6 1 1,458 9.05 0 830 2561 155 77 0 0 0 1,074 69 43 5 0 1,423 8.22 0 846 2562 139 62 0 0 0 941 57 27 4 0 1,230 7.15 2 796 4236 100 ถนนแพรก-ลำนาว 1+400 2558 682 292 6 0 0 1,359 114 110 2 0 2,565 8.81 15 1,459 -4.99 THANON PHRAEK- 2559 522 265 1 0 1 1,197 93 56 4 0 2,139 7.10 4 1,363 LAM NAO 2560 360 224 0 0 0 978 91 70 13 48 1,784 12.44 0 1,047 2561 352 228 0 0 0 1,067 86 76 33 29 1,871 11.97 0 971 2562 497 319 0 1 0 969 139 96 46 23 2,090 14.59 2 923 4236 100 ถนนแพรก-ลำนาว 37+380 2558 205 146 66 36 2 1,161 90 46 16 2 1,770 10.85 4 1,080 -8.66 THANON PHRAEK- 2559 216 91 27 7 1 1,097 80 45 16 8 1,588 9.89 4 969 LAM NAO 2560 191 64 0 0 0 980 85 48 7 2 1,377 10.31 0 812 2561 143 69 1 0 0 988 63 38 6 0 1,308 8.18 0 805 2562 113 43 1 0 0 992 48 29 5 1 1,232 6.74 2 803 กรมทางหลวงชนบท 3-402 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.4.2-1 สถิติปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปี (AADT) ช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 (ต่อ) รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถจักรยาน รถ อัตรา หมายเลข รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร สัดส่วน หมายเลข ตอน หลัก กม. พ.ศ. ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่งพ่วง รวม 2 ล้อ และ จักรยานยนต์ การ ควบคุม ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รถขนาดใหญ่ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ > 3 เพลา > 3 เพลา 3 ล้อ รถสามล้อ ขยายตัว 4252 100 ทุ่งใหญ่-ควนปริง 1+000 2558 1,842 1,533 23 9 0 723 439 187 17 0 4,773 13.66 7 1,572 -26.76 THUNG YAI-KHUAN 2559 1,934 1,651 20 14 10 562 378 106 12 6 4,693 11.21 8 1,564 PRING 2560 1,989 1,927 16 8 4 611 479 133 5 0 5,172 12.16 10 1,486 2561 482 330 77 37 9 115 127 65 24 5 1,271 21.01 19 521 2562 585 347 53 32 9 149 126 65 5 2 1,373 17.41 19 787 4258 200 บ้านซา-ควนชัน 11+000 2558 33 1 8 0 0 307 4 0 0 0 353 1.13 0 675 2.98 BAN SA-KHUAN 2559 27 1 10 0 0 368 3 0 0 0 409 0.73 0 703 CHAN 2560 15 0 10 0 0 428 3 0 0 0 456 0.66 0 693 2561 8 0 5 0 0 406 1 0 0 0 420 0.24 0 715 2562 0 0 2 0 0 395 0 0 0 0 397 0 0 769 4276 100 ท่าประดู่-สวนหมาก 2+000 2558 0 0 0 0 0 187 0 0 0 0 187 0 0 188 0.13 THA PRADU-SUAN 2559 0 0 0 0 0 146 0 0 0 0 146 0 0 241 MAK 2560 0 0 0 0 0 231 0 0 0 0 231 0 0 249 2561 0 0 0 0 0 193 0 0 0 0 193 0 0 290 2562 0 0 0 0 0 188 0 0 0 0 188 0 0 0 4278 100 ทอนแจ้-อ่าวตง 2+000 2558 3 0 0 0 0 278 0 0 0 0 281 0 0 372 0.00 THON CHAE-AO 2559 0 0 0 0 0 343 0 0 0 0 343 0 0 442 TONG 2560 44 36 4 0 0 255 20 153 2 2 516 34.30 4 365 2561 20 7 0 0 0 193 6 3 0 0 229 3.93 0 309 2562 23 0 0 0 0 249 9 0 0 0 281 3.20 0 411 4345 100 ควนกุน-หนองชุมแสง 2+000 2558 244 160 5 6 0 226 40 30 2 2 715 11.19 0 613 18.67 KHUAN KUN- 2559 172 103 4 0 1 325 26 20 2 1 654 7.65 2 485 NONG CHUM 2560 209 108 0 2 0 388 39 106 2 0 854 17.45 2 545 SAENG 2561 191 106 0 10 0 533 76 75 0 0 991 16.25 31 742 2562 475 138 14 23 11 596 89 69 3 0 1,418 13.75 22 854 4348 100 ห้วยเจ-ควนอารีย์ 1+500 2558 342 168 0 0 4 932 29 10 2 0 1,487 3.03 14 975 -6.12 HUAI CHE-KHUAN 2559 247 95 1 0 2 828 28 38 6 3 1,248 6.17 5 925 A-RI 2560 221 50 0 1 3 846 36 36 7 8 1,208 7.53 7 878 2561 235 102 0 0 8 888 30 20 2 1 1,286 4.74 7 845 2562 139 78 2 0 0 898 19 19 0 0 1,155 3.29 2 866 กรมทางหลวงชนบท 3-403 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-1 แผนที่แสดงปริมาณจราจรบนทางหลวงแผ่นดินในพื้นที่ศึกษา พ.ศ. 2562 กรมทางหลวงชนบท 3-404 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-2 แผนที่แสดงปริมาณรถขนาดใหญ่บนทางหลวงแผ่นดินในพื้นที่ศึกษา พ.ศ. 2562 - ทางหลวงชนบทหมายเลข 4033 เป็นเส้นทางที่รองรับการเดินทางที่ตั้งอยู่บนตำบลทับปริก อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ โดยบริเวณ กม.3+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 2,261 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 22.07 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 24.66 ต่อปี - ทางหลวงชนบทหมายเลข 4034 รองรับการเดินทางที่ตั้งอยู่บนตำบลไสไทย อำเภอเมือง กระบี่ จังหวัดกระบี่ โดยบริเวณ กม.11+400 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 7,960 คันต่อวัน รถบรรทุก ขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 3.09 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 2.84 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4037 รองรับการเดินทางเข้า-ออก ระหว่างอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จนสิ้นสุดเส้นทางที่อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม. 23+000 มีปริมาณจราจร ในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 8,875 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 17.76 มีอัตราการลดลงคิดเป็น ร้อยละ 3.36 ต่อปี กรมทางหลวงชนบท 3-405 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ทางหลวงหมายเลข 4038 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1,009+121 ที่สามแยกคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ตัดขึ้นไปทางตะวันออก ผ่านอำเภอลำทับ เข้าสู่เขตจังหวัดนครศรีธรรมราช ผ่านอำเภอทุ่งใหญ่ สิ้นสุดที่ทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 41 (ถนนสายเอเชีย) โดยที่บริเวณ กม.5+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 3,312 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 17.72 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 1.21 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4041 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 994+500 ที่อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ตัดขึ้นไปทางทิศเหนือ สิ้นสุดที่ทางหลวงชนบท กบ.1007 โดยที่บริเวณ กม.2+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 1,626 คัน ต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 9.35 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 8.39 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4046 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1043+000 ที่จุดตัดสามแยกถนนเพชรเกษม ตัดขึ้นไปทางทิศใต้ สิ้นสุดที่จุดตัดถนนบางรัก อำเภอบางรัก จังหวัดตรัง โดยที่บริเวณ กม.41+865 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 7,271 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 13.31 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 1.55 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4151 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางแยกจากทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4038 ตัดไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 408 จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยที่บริเวณ กม.100+693 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 3,438 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 22.05 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 7.81 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4156 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางแยกจากทางหลวง ชนบทหมายเลข กบ.1025 ตัดไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุด ที่บ้านท่ายาง จังหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม.5+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 6,147 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 10.54 มีอัตราการ ลดลงคิดเป็นร้อยละ 4.69 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4201 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางแยกจากทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4201 ไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่จุดตัดทางแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4203 โดยที่ บริเวณ กม.2+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 7,953 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็น ร้อยละ 1.45 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 4.91 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4202 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบลบ้านช่องพลี ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4203 โดยที่บริเวณ กม.4+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 6,701 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 4.52 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 26.55 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4203 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดสามแยกทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4203 ตัดไปทางทิศตะวันตก สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4203 จั งหวัดกระบี่ โดยที่ บริเวณ กม.4+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 8,933 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็น ร้อยละ 2.91 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 6.01 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4204 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางแยกจากทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4034 ตัดไปทางทิศใต้ สิ้นสุดหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ (สุสานหอย) จั งหวัดกระบี่ โดยที่ บริเวณ กม.3+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 5,404 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็น ร้อยละ 4.98 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 4.77 ต่อปี กรมทางหลวงชนบท 3-406 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ทางหลวงหมายเลข 4206 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดสามแยกถนนเพชรเกษม ตัดไปทางทิศตะวันตก สิ้นสุดที่ท่าเทียบแพขนานยนต์หัวหิน จังหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม.3+000 มีปริมาณจราจร ในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 5,081 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 8.70 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็น ร้อยละ 6.89 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4225 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางแยกจากทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1052+000 ตัดไปทางทิศเหนือ สิ้นสุดที่จุดตัดทางแยก หลวงแผ่นดินหมายเลข 4225 จั งหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม.1+300 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 1,140 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 10.53 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 9.20 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4236 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางแยกจากทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 403 ตัดไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่โรงเรียนหนองบัว จั งหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม.1+400 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 2,090 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 14.59 มีอัตรา การลดลงคิดเป็นร้อยละ 4.99 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4252 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นบ้านท่ายาง สิ้นสุดที่บ้าน ยางสองขนาน จังหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม.1+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 1,373 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 17.41 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 26.76 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4258 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดสามแยกจากทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 403 บริเวณกิโลเมตรที่ 84+000 ตัดไปทางทิศตะวันตก สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4276 บริเวณกิโลเมตรที่ 21+000 โดยที่บริเวณ กม.11+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 397 คันต่อวัน มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 2.98 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4276 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางแยกจากทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4225 บริเวณกิโลเมตรที่ 32+000 ตัดไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1068+000 จั งหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม.2+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 188 คันต่อวัน มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 0.13 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4278 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1048+000 ตัดไปทางทิศเหนือ สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4225 บริเวณกิโลเมตรที่ 1048+000 โดยที่บริเวณ กม.2+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 281 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 3.2 มีอัตราการขยายตัวคงตัว - ทางหลวงหมายเลข 4345 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางแยกจากทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1044+000 ตัดไปทางทิศเหนือ สิ้นสุดที่โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลอ่าวตง จั งหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม.2+000 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 1,418 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 13.75 มีอัตราการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 18.67 ต่อปี - ทางหลวงหมายเลข 4348 รองรับการเดินทางตั้งแต่จุดเริ่มต้นจุดตัดทางแยกจากทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1057+000 ตัดไปทางทิศเหนือ สิ้นสุดที่ทางห ลวง แผ่นดินหมายเลข 4276 บริเวณกิโลเมตรที่ 17+000 จังหวัดกระบี่ โดยที่บริเวณ กม.1+500 มีปริมาณจราจรในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 1,155 คันต่อวัน รถบรรทุกขนาดใหญ่คิดเป็นร้อยละ 3.29 มีอัตราการลดลงคิดเป็นร้อยละ 6.12 ต่อปี กรมทางหลวงชนบท 3-407 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (2) โครงข่ายและสภาพการคมนาคมขนส่ง เส้นทางเชื่อมเกาะลันตามีแนวเส้นทางเชื่อมในแนว เหนือ-ใต้ โดยมีจุดเริ่มต้นโครงการบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน (เกาะลันตา) และจุดสิ้นสุดโครงการบริเวณท่าเรือ คลองหมาก เกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นการเปิดเส้นทางแนวใหม่ ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหา การเดินทางจากแผ่นดินไปยังเกาะลันตา ทั้งยังจะเป็นการช่วยเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่ขึ้นเพื่อรองรับปริมาณ นักท่องเที่ยวและการเดินทางที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยในปัจจุบันหากพิจารณาโครงข่ายคมนาคมขนส่งในพื้นที่ อิทธิพลจะประกอบด้วยแนวเส้นทางหลัก (รูปที่ 3.4.2-3) ดังนี้ - ทางหลวงหมายเลข 4206 มีเส้นทางเริ่มตั้งแต่สามแยกห้วยน้ำขาว (0+000) ไปทางตะวันตก โดยมีจุดเชื่อมต่อกับโครงข่ายถนนสายต่างๆ อาทิ ถนนเพชรเกษม ทางหลวงชนบท กบ.4023 และถนนสายย่อย อื่นๆ โดยทางหลวงหมายเลข 4206 เป็นถนนทางหลักเพื่อใช้ในการเดินทางสู่เกาะลันตาและมีจุดสิ้นสุดอยู่ที่ท่าเรือ บ้านหัวหิน (เกาะลันตา) (27+094) มีขนาด 4 ช่องจราจรไป-กลับ รวมระยะทาง 27.094 กิโลเมตร - ทางหลวงชนบท กบ.4245 มีเส้นทางเริ่มต้นที่บ้านศาลาด่านไปทางทิศใต้ โดยมีจุดเชื่อมโยง กับสถานที่ท่องเที่ยวบนเกาะลันตามากมาย อาทิ หาดคลองดาว หาดพระแอะ หาดคลองหิน หาดบากันเตียง หาดคลองจาก โดยทางหลวงชนบท กบ.4245 เป็นถนนหลักเพื่อใช้ในการเดินทางภายในเกาะลันตาใหญ่ และมี จุดสิ้นสุดอยู่ที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา ปัจจุบันมีขนาด 4 ช่องจราจรไป-กลับระยะทาง 26 กิโลเมตร - ทางหลวงชนบท กบ.5036 มีเส้นทางเริ่มต้นที่แยกทางหลวงชนบท กบ.6022 (กม. 4+500) ไปทางทิศใต้ เป็นเส้นทางที่ใช้เดินทางบนเกาะลันตาน้อย และมีจุดสิ้นสุดอยู่ที่ท่าเทียบแพหลังสอด ปัจจุบันมีขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ประมาณระยะทาง 3 กิโลเมตร - ทางหลวงชนบท กบ.6019 มีเส้นทางเริ่มต้นที่จุดตัดทางแยกทางหลวงชนบท กบ.6022 โดยทางหลวงชนบท กบ.4245 เป็นถนนที่ใช้ในการเดินทางภายในเกาะลันตาน้อย ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงการเดินทาง ไปถึงท่าเรือบ้านโล๊ะใหญ่ที่เป็นจุดสิ้นสุดเส้นทาง ปัจจุบันมีขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ระยะทาง 9 กิโลเมตร - ทางหลวงชนบท กบ.6022 มีเส้นทางเริ่มต้นที่ท่าเรือบ้านคลองหมากไปทางทิศตะวันตก โดยมีจุดเชื่อมโยงกับทางหลวงชนบท กบ.5036 โดยทางหลวงชนบท กบ.6022 เป็นถนนหลักเพื่อใช้ในการเดินทาง ภายในเกาะลันตาน้อย และมีจุดสิ้นสุดอยู่ที่บ้านหลังสอด ปัจจุบันมีขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ระยะทาง 8 กิโลเมตร การเดินทางระหว่างบ้านหัวหิน-เกาะลันตาน้อย ปัจจุบันการเดินทางไปเกาะลันตาจะต้องเดินทางผ่านทางหลวงหมายเลข 4206 สู่บ้านหัวหิน ซึ่งเป็นจุดลงแพขนานยนต์ไปยังเกาะลันตาใหญ่ โดยจะต้องลงแพขนานยนต์ คือ บ้านหัวหิน -เกาะลันตาน้อย และใช้สะพานสิริลันตาซึ่งเปิดให้ประชาชนใช้ตั้งแต่วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ข้ามไปยังเกาะลันตาใหญ่ จึงจะถึงตัวเมือง ย่านชุมชนและการค้า และชายหาดต่างๆ จนไปสุดถนนที่ท้ายเกาะบริเวณที่ทำการอุทยาน แห่ ง ชาติ หมู่ เกาะลั นตา ซึ่ ง การใช้ แพขนานยนต์ ในการข้ ามจากบ้ านหั ว หิ นไปเกาะลั นตาน้ อยในปัจ จุ บั นนั้น มีระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร แต่เนื่องจากแพขนานยนต์สามารถบรรทุกรถได้ประมาณ 60 คันต่อเที่ย ว ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้เวลาในการเดินทาง 1-2 ชั่วโมง ทำให้เกิดรถติดสะสมยาวหลายกิโลเมตร โดยเฉพาะช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว ตั้งแต่เดือนธันวาคมถึงเดือนพฤษภาคม นอกจากนี้แพขนานยนต์ดังกล่าวให้บริการ เฉพาะช่วงเวลา 06.00-22.00 น. เท่านั้น ความถี่ในการให้บริการส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับปริมาณผู้ใช้บริการเมื่อมี ผู้ใช้บริการแพขนานยนต์เต็มแพผู้ให้บริการแพขนานยนต์จะออกจากท่าทันที หรือถ้านอกเวลาเร่งด่วน ความถี่ในการ ให้บริการอยู่ที่ 2 ชั่วโมงต่อหนึ่งลำ กรณีผู้ใช้บริการเกิดกรณีฉุกเฉินกลางคืน มีคนป่วยหรือเกิดเหตุเร่งด่วนที่ต้องการ เดิ นทางไปยั งแผ่นดินใหญ่ จะต้ องเหมาแพขนานยนต์ เที ่ ย วละ 2,500 บาท อั ต ราค่ า โดยสารแพขนานยนต์ จะแบ่งออกตามประเภทของพาหนะที่ใช้บริการ ซึ่งมีค่าบริการที่แตกต่างกันออกไป โดยมีรายละเอียดดัง ตารางที่ 3.4.2-2 และรูปที่ 3.4.2-4 กรมทางหลวงชนบท 3-408 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-3 โครงข่ายคมนาคมขนส่งในพื้นที่โครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-409 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.4.2-2 อัตราค่าโดยสารแพขนานยนต์ท่าเรือหัวหิน-ท่าเรือคลองหมาก ลำดับ ค่าโดยสาร รายการ ที่ ท่าเรือหัวหิน-ท่าเรือคลองหมาก 1 ข้าราชการในเครื่องแบบ พระภิกษุสามเณร โต๊ะอิหม่าม กอเต็บ บิหลั่น - (ไม่รวมพาหนะ) และนักเรียนแต่งเครื่องแบบทุกประเภท ไม่เก็บค่าโดยสาร 2 ประชาชนภูมิลำเนาอำเภอเกาะลันตา 3 นักท่องเที่ยวชาวไทยและประชาชนทั่วไป 10 นักท่องเที่ยวต่างประเทศ 20 3 รถจักรยาน รถจักรยานยนต์ 5 4 รถจักรยานมีรถพ่วงรถเข็น 20 5 รถยนต์ 4 ล้อ (รถเก๋ง รถจิ๊บ รถกระบะ รถตู้) ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 100 6 รถบัส 6 ล้อ ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 400 รถบัสขนาดใหญ่ 8 ล้อขึ้นไป ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 600 7 รถบรรทุก 4 ล้อ ไม่บรรทุกสิ่งของ ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 150 8 รถบรรทุก 4 ล้อ บรรทุกสิ่งของ น้ำหนักรวมรถไม่เกินที่กฎหมายกำหนด 200 ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 9 รถบรรทุก 4 ล้อใหญ่ และรถบรรทุก 6 ล้อเล็ก ไม่บรรทุกสิ่งของ ไม่รวมคน 250 โดยสาร ยกเว้นคนขับ 10 รถบรรทุก 4 ล้อใหญ่ และรถ 6 ล้อเล็ก บรรทุกน้ำหนักรวมไม่เกินน้ำหนัก 300 ที่กฎหมายกำหนด ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 11 รถบรรทุก 6 ล้อใหญ่ ไม่บรรทุกสิ่งของ ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 350 12 รถบรรทุก 6 ล้อใหญ่ บรรทุกน้ำหนักรวมรถไม่เกินน้ำหนักที่กฎหมายกำหนด 400 ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 13 รถบรรทุก 10 ล้อ ไม่บรรทุกสิ่งของ ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 450 14 รถบรรทุก 10 ล้อ บรรทุกสิ่งของน้ำหนักรวมรถ ไม่เกินน้ำหนักที่กฎหมาย 650 กำหนด ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 15 รถบรรทุก 10 ล้อ บรรทุกปูนผง รถผสมปูน ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 1,100 16 รถบรรทุก 10 ล้อ บรรทุกสิ่งของ มีความยาวแนวท้ายรถออกไปไม่เกิน 1 คิดเพิ่มเมตรละ เมตร ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 10 บาท 17 รถบรรทุก 10 ล้อพ่วง ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 1,000 18 รถบรรทุก 10 ล้อ บรรทุกน้ำมันเชื้อเพลิง ไม่รวมคนโดยสาร ยกเว้นคนขับ 1,100 ที่มา : บริษัท ส่งเสริม ทรานเซอร์วิส จำกัด, พฤษภาคม 2563 กรมทางหลวงชนบท 3-410 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-4 การเดินทางระหว่างบ้านหัวหิน-เกาะลันตาน้อย จากการรวบรวมประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการของแพขนานยนต์เกาะลันตาจากสมาคม ธุรกิจการท่องเที่ยวเกาะลันตาสรุปได้ดังนี้ - มีความเสี่ยงต่อผู้โดยสารที่จะต้องไปขึ้นเครื่องบินไม่สามารถกำหนดเวลาว่าต้องเดินทาง ล่วงหน้ากี่ชั่วโมง โดยหากไม่รวมเวลาข้ามฟากจากเกาะลันตาไปสนามบินกระบี่ใช้เวลา ประมาณ 1-2 ชั่วโมง หรือมากกว่านั้น - เวลาที่นักท่องเที่ยวสิ้นเปลืองไปกับการข้ามฟากเป็นอุปสรรคมากสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทย หรือนักท่องเที่ยวที่มีเวลาน้อย - รถโดยสารที่ต้องล่าช้าจากเรือข้ามฟากเมื่อขึ้นฝั่งต้องขับรถให้เร็วกว่าปกติมาก มีความเสี่ยง กับการเกิดอุบัติเหตุซึ่งย่อมส่งผลกับภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของจังหวัดกระบี่ - เมื่อหลายปีก่อนเคยเกิดปัญหาเรื่องการล่าช้าในการข้ามฟาก ปีนั้นมีนักท่องเที่ยวลงมา เกาะลันตาเป็นจำนวนมากแต่ผลจากการไม่สามารถบริหารเวลาช่วงข้ามฟาก (เคยติดนานสุด 6 ชั่วโมง) ส่งผลให้ จำนวนนักท่องเที่ยวในปีถัดมาลดลงเป็นจำนวนมาก กรมทางหลวงชนบท 3-411 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 2) งานสำรวจข้อมูลด้านจราจร การสำรวจและจัดเก็บข้อมูลด้านการจราจร รวมทั้งศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการจราจรบนถนน หรือทางหลวงที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนศึกษาสภาพแวดล้อมอื่นๆ อันเนื่องมาจากแผนการพัฒนาด้านต่างๆ ที่มี ผลกระทบต่อปริมาณจราจร เพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการคาดการณ์ปริมาณการจราจรและการวิเคราะห์ระดับการ ให้บริการของโครงการ บริเวณทางแยกและบริเวณใกล้เคียง รวมถึงส่วนต่อเนื่องในปีที่กำหนด เพื่อใช้เป็นข้อมูล ในการออกแบบถนนและเส้นทางเชื่อมต่อโครงการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) การสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน (Mid-Block Classified Counts) ที่ปรึกษาได้ทำการ สำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนนโดยแยกประเภทยานพาหนะและทิศทางการเดินทาง โดยวัตถุประสงค์ของการ สำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน คือ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับแก้แบบจำลองจราจรและขนส่งให้เป็นปัจจุบัน ทั้งนี้ ตำแหน่งที่ดำเนินการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนนมีทั้งสิ้น 7 จุด บริเวณพื้นที่โดยรอบโครงการ ดังแสดง ในรูปที่ 3.4.2-5 สำหรับการสำรวจข้อมูลปริมาณจราจรบนช่วงถนน ที่ปรึกษาได้ทำการสำรวจในแต่ละจุดเป็น เวลา 2 วัน ซึ่งจัดเก็บวันต่างกันตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ โดยทำการแจงนับปริมาณจราจรทุกๆ 15 นาที ตลอดระยะเวลา 24 ชั่วโมง จำนวน 1 จุด คือ MB-01 ตั้งแต่เวลา 07. 00 น. จนถึง 07. 00 น. ของวันถัดไป ตลอดระยะเวลา 12 ชั่วโมง จำนวน 6 จุด ตั้งแต่เวลา 07.00 น. ถึง 19.00 น. (2) การสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก ( Turning Movement Counts) การสำรวจ ปริมาณการจราจรบนทางแยกจะทำให้ทราบถึงสัดส่วนการเดินทางในทิศทางต่างๆ ที่เกิดขึ้น ณ ทางแยกนั้นๆ ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการจัดการจราจรบริเวณทางแยก สำหรับการสำรวจนี้ที่ปรึกษาได้ทำ การนั บ ปริ ม าณจราจรโดยแยกทิ ศทางของรถที ่ ว ิ ่ ง ผ่ านในแต่ ล ะทิ ศทาง ( Approach) ของทางแยก โดยการ แจงนับปริมาณจราจรทุกๆ 15 นาที เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 07. 00 น. ถึง 19.00 น. ซึ่งตำแหน่งของการ สำรวจมีทั้งสิ้น 2 จุด ที่ตำแหน่ง TMC-01 และ TMC-02 โดยทำการสำรวจในวันเดียวกันกับการสำรวจปริมาณ จราจรบนช่วงถนน ( Mid-Block Classified Counts) โดยที่ปรึกษาได้ทำการสำรวจในแต่ละจุดเป็นเวลา 2 ครั้ง ซึ่งจัดเก็บวันต่างกันตามความเหมาะสม (3) การสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทางของการเดินทาง ( Origin-Destination Survey) การสำรวจนี้ได้ดำเนินการสัมภาษณ์ผู้เดินทางโดยวิธีการสัมภาษณ์ริมทางบนถนนทั้ง 2 ทิศทาง ข้อมูลที่ได้จากการ สำรวจจะครอบคลุมการเดินทางโดยยวดยานส่วนบุคคล รถขนส่งสินค้า และการเดินทางท่องเที่ยว โดยคำถามที่ใช้ ในการสัมภาษณ์จะประกอบด้วยประเด็นต่างๆ ได้แก่ จุดต้นทางและจุดปลายทางของการเดินทาง วัตถุประสงค์ ของการเดินทาง ประเภทของยวดยานที่ใช้ในการเดินทาง ระดับรายได้ จำนวนที่นั่งและผู้โดยสาร น้ำหนักบรรทุก (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) และประเภทสินค้า (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) โดยวัตถุประสงค์ของการสำรวจนี้ เพื่อให้ทราบถึงพฤติกรรมของการเดินทางต่างๆ ในพื้นที่ศึกษาโครงการ รวมทั้งเพื่อให้ทราบถึงปริมาณการจราจร ภายในพื้นที่ศึกษา การจราจรผ่านพื้นที่ศึกษา และการจราจรเข้าสู่หรือออกจากพื้นที่ศึกษา เพื่อใช้เป็นข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนาแบบจำลองความต้องการเดินทาง สำหรับ ตำแหน่งที่จะดำเนินการสัมภาษณ์จุดต้ นทาง และจุดปลายทางการเดินทางมีทั้งสิ้น 5 จุด บริเวณพื้นที่โดยรอบโครงการ โดยจะทำการสัมภาษณ์เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 07.00 น. ถึง 19.00 น. ในวันเดียวกันกับการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน (Mid-Block Classified Counts) ทั้งนี้ ที่ปรึกษาได้กำหนดจำนวนตัวอย่ างที่ต้องการสำรวจจุดต้นทางและปลายทางการ เดินทาง โดยวิธีสัมภาษณ์ข้อมูลข้างทางซึ่งพิจารณาจากสมการ ดังต่อไปนี้ กรมทางหลวงชนบท 3-412 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-5 ตำแหน่งสำรวจปริมาณจราจร กรมทางหลวงชนบท 3-413 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน n = NZ 2pq Nd2 + Z2pq เมื่อ d = ค่าคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ Z = ค่า Z จากตารางการแจกแจงแบบปกติที่ระดับความเชื่อมั่นที่กำหนด p = สัดส่วนของสิ่งที่สนใจ (ในที่นี้ให้ p = 0.5 จะทำให้ได้ค่า n ที่ใหญ่ที่สุด) q = 1-p N = ปริมาณจราจร (ที่มา : มัลลิกา บุนนาค “สถิติเพื่อการตัดสินใจ” ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2536) (4) การสำรวจเวลาในการเดินทางบนโครงข่าย (Travel Time Survey) การสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับ Speed Flow Curve ในแบบจำลองแจกแจงการเดินทาง ( Traffic Assignment) ให้มีความเหมาะสมกับลักษณะพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ ลักษณะทางกายภาพของถนน และลักษณะเฉพาะ ของสภาพการจราจรในพื้นที่โครงการ รวมทั้งเป็นข้อมูลประกอบในการปรับแก้แบบจำลองจราจรและขนส่ง ให้เป็นปัจจุบัน ทั้งนี้ ที่ปรึกษาได้สำรวจความเร็วในช่วงเวลาชั่วโมงเร่งด่วนเช้า ชั่วโมงเร่งด่วนเย็น และนอกชั่วโมง เร่งด่วน โดยใช้รถทดสอบสำรวจความเร็วแบบ Average Car Technique หรือการขับรถด้วยความเร็วเฉลี่ย โดยไม่คำนึงถึงจำนวนรถที่แซงและถูกแซง โดยที่ปรึกษาได้ดำเนินการสำรวจในวันเดียวกันกับการสำรวจบนช่วง ถนน (Mid-Block Classified Counts) โดยได้ทำการสำรวจใน 3 ช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า 07.00 น. ถึง 09.00 น. ช่วงนอกเวลาเร่งด่วน 11.30 น. ถึง 14.30 น. และช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น 16.00 น. ถึง 19.00 น. ทั้งนี้ ที่ปรึกษาอาจพิจารณาประยุกต์ใช้อุปกรณ์ GPS (Global Positioning System) สำหรับติดรถยนต์ในการบันทึก ความเร็วในการเดินทาง (5) การสำรวจโครงข่าย การสำรวจนี้เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโครงข่ายถนน ต่างๆ ทั้งโครงข่ายถนนทางหลวงและถนนสายสำคัญในเขตพื้นที่ศึกษาโครงการ เพื่อเก็บข้อมูลสภาพปัจจุบัน และปรับปรุงข้อมูลของโครงข่ายที่ได้รวบรวมมาจากแหล่งต่างๆ ในเรื่องลักษณะทางกายภาพของโครงข่ายถนน เช่น จำนวนช่องจราจร ความยาว ผิวจราจร ลักษณะทางแยก เป็นต้น 3) ผลการสำรวจด้านจราจร การสำรวจและจั ด เก็ บ ข้ อมู ล ปริ ม าณจราจรในพื ้ น ที ่ ศึ กษาครอบคลุ ม พื ้ น ที ่ อำเภอเกาะลั น ตา จังหวัดกระบี่ ในระหว่างวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา โดยผลจาก การสำรวจฯ มีรายละเอียด ดังนี้ (1) ผลการสำรวจปริ มาณจราจรบนช่ วงถนน ( Mid-Block Classified Counts) ที ่ ป รึ กษา ได้ทำการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ( Mid-Block Classified Counts) มีตำแหน่งสำรวจจำนวนทั้งสิ้น 7 จุด ที่ตำแหน่ง MB-01, MB-02, MB-03, MB-04, MB-05, MB-06 และ MB-07 ที่ปรึกษาดำเนินการสำรวจ 2 วันที่แตกต่างกัน (วันทำงาน : วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 และวันหยุด : วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2563) โดยจุดสำรวจข้างต้นได้แบ่งระยะเวลาสำรวจออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ 1) การสำรวจระยะเวลา 12 ชั่วโมง (07.00-19.00 น.) จำนวน 6 จุด (MB-02, MB-03, MB-04, MB05, MB-06 และ MB-07) และ 2) การ สำรวจระยะเวลา 24 ชั่วโมง (07.00-07.00 น.) จำนวน 1 จุด (MB-01) กรมทางหลวงชนบท 3-414 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ผลการสำรวจมีรายละเอียด (ตารางที่ 3.4.2-3) ดังนี้ - จุ ด สำรวจ MB- 01 บนถนนทางหลวงหมายเลข 4206 มี จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น ที ่ จ ุ ด ตั ด สามแยก ถนนเพชรเกษม ตัดไปทางทิศตะวันตกสิ้นสุดที่ท่าเทียบแพขนานยนต์ มีขนาด 2 ช่องจราจรไปและกลับ (ไม่มี เกาะกลาง) ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 4 ,473 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ ร้อยละ 1) และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 4,753 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ ร้อยละ 2) - จุดสำรวจ MB-02 บนถนนทางหลวงชนบทหมายเลข กบ.6022 มีเส้นทางเริ่มต้นที่ท่าเรือ บ้านคลองหมากไปทางทิศตะวันตก มีจุดสิ้นสุดอยู่ที่บ้านหลังสอด โดยถนนทางหลวงชนบท กบ.6022 เป็นถนนหลัก เพื่อใช้ในการเดินทางภายในเกาะลันตาน้อย ปัจจุบันมีขนาด 2 ช่องจราจรไปและกลับ (ไม่มีเกาะกลาง) ซึ่งจาก ผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 3,118 PCU/วัน (มีสัดส่วน รถใหญ่ร้อยละ 3) และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 3,557 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 3) - จุ ด สำรวจ MB-03 บนถนนทางหลวงชนบทหมายเลข กบ.4245 มี เส้ น ทางเริ ่ ม ต้ น ที่ บ้านศาลาด่านไปทางทิศใต้ โดยเป็นถนนหลักเพื่อใช้ในการเดินทางภายในเกาะลันตาใหญ่ มีขนาด 4 ช่องจราจร ไปและกลับ (ไม่มีเกาะกลาง) ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจร เฉลี่ย 4,962 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 1) และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณ จราจรเฉลี่ย 6,590 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 1) - จุดสำรวจ MB-04 บนถนนสายศาลาด่าน-บ้านสังกาอู้ มีเส้นทางเริ่มต้นที่จุดตัดทางแยก ทางหลวงชนบท กบ.4245 ไปทางทิศตะวันออก ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 1 ,978 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 2) และสำหรับปริมาณจราจรในช่วง วันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 2,123 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 3) - จุดสำรวจ MB-05 บนถนนทางหลวงชนบทหมายเลข กบ.6019 มีเส้นทางเริ่มต้นที่จุดตัด ทางแยกทางหลวงชนบท กบ.6022 สิ้นสุดที่ท่าเรือโล๊ะใหญ่ โดยเป็นถนนหลักที่ใ ช้เดินทางภายในเกาะลันตาน้อย มีขนาด 2 ช่องจราจรไปและกลับ (ไม่มีเกาะกลาง) ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 1,227 PCU/วัน และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจร เฉลี่ย 1,331 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 1) - จุดสำรวจ MB-07 บนถนนทางหลวงชนบทหมายเลข กบ.5035 มีเส้นทางเริ่มต้นที่จุดตัด ทางแยกทางหลวงชนบท กบ.6019 ไปทางทิศตะวันออก ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 359 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 1) และสำหรับปริมาณจราจร ในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 404 PCU/วัน กรมทางหลวงชนบท 3-415 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.4.2-3 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน ณ จุดสำรวจ รถ รถยนต์นั่ง รถ รถ รถ รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถ รถ สัดส่วน วันที่ทำการ รถยนต์นั่ง รวม รวม ทางหลวง ทิศทาง จักรยานยนต์ ไม่เกิน โดยสาร โดยสาร โดยสาร ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ บรรทุก บรรทุก รถขนาด สำรวจ เกิน 7 คน คัน/วัน PCU/วัน รถสามล้อ 7 คน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ พ่วง กึ่งพ่วง ใหญ่ MB-01 วันศุกร์ที่ กระบี่-เกาะลันตา 912 772 185 23 2 0 574 13 12 2 2 2,497 1% 2,076 ทางหลวง 31 ก.ค. 2563 เกาะลันตา-กระบี่ 1,214 918 191 32 1 1 586 11 11 4 1 2,970 1% 2,397 หมายเลข รวม 2,126 1,690 376 55 3 1 1160 24 23 6 3 5467 1% 4,473 4206 วันเสาร์ที่ กระบี่-เกาะลันตา 949 819 225 59 0 1 616 48 7 8 2 2,734 2% 2,336 1 ส.ค. 2563 เกาะลันตา-กระบี่ 1,328 772 180 68 1 1 591 44 7 10 2 3,004 2% 2,417 รวม 2,277 1,591 405 127 1 2 1,207 92 14 18 4 5,738 2% 4,753 MB-02 วันศุกร์ที่ ท่าเรือคลองหมาก- 792 478 171 2 0 0 366 46 13 0 0 1,868 3% 1,531 ทางหลวง 31 ก.ค. 2563 บ้านศาลาด่าน ชนบท บ้านศาลาด่าน- 791 563 141 3 0 0 402 28 13 0 0 1,941 2% 1,587 กบ.6022 ท่าเรือคลองหมาก รวม 1,583 1,041 312 5 0 0 768 74 26 0 0 3,809 3% 3,118 วันเสาร์ที่ ท่าเรือคลองหมาก- 908 624 213 3 0 0 462 64 7 0 0 2,281 3% 1,898 1 ส.ค. 2563 บ้านศาลาด่าน บ้านศาลาด่าน- 911 481 176 18 0 0 400 55 9 0 0 2,050 6% 1,659 ท่าเรือคลองหมาก รวม 1,819 1,105 389 21 0 0 862 119 16 0 0 4,331 3% 3,557 MB-03 วันศุกร์ที่ 31 บ้านศาลาด่าน- 791 563 141 3 0 0 402 28 13 0 0 1,941 2% 1,587 ทางหลวง ก.ค. 2563 อุทยานหมูเ่ กาะลันตา ชนบท อุทยานหมู่เกาะลันตา- 2,647 984 297 65 0 0 657 19 5 0 0 4,674 1% 3,375 กบ.4245 บ้านศาลาด่าน รวม 3,438 1,547 438 68 0 0 1,059 47 18 0 0 6,615 1% 4,962 วันเสาร์ที่ บ้านศาลาด่าน- 2,407 859 334 52 0 0 713 36 13 0 0 4,414 1% 3,260 1 ส.ค. 2563 อุทยานหมู่เกาะลันตา อุทยานหมูเ่ กาะลันตา- 2,422 1,002 272 43 0 0 666 44 24 0 0 4,473 2% 3,330 บ้านศาลาด่าน รวม 4,829 1,861 606 95 0 0 1,379 80 37 0 0 8,887 1% 6,590 MB-04 วันศุกร์ที่ บ้านศาลาด่าน- 906 197 42 20 4 0 230 13 12 0 0 1,424 2% 1,000 ถนนสาย 31 ก.ค. 2563 บ้านสังกาอู้ ศาลาด่าน- บ้านสังกาอู้- 826 224 46 23 0 0 230 12 9 0 0 1,370 2% 978 บ้านสังกาอู้ บ้านศาลาด่าน รวม 1,732 421 88 43 4 0 460 25 21 0 0 2,794 2% 1,978 วันเสาร์ที่ บ้านศาลาด่าน- 912 218 56 13 0 0 250 22 19 0 0 1,490 3% 1,075 1 ส.ค. 2563 บ้านสังกาอู้ บ้านสังกาอู้- 862 219 46 21 0 0 255 25 13 0 0 1,441 3% 1,048 บ้านศาลาด่าน รวม 1,774 437 102 34 0 0 505 47 32 0 0 2,931 3% 2,123 MB-05 วันศุกร์ที่ บ้านคลองหมาก- 463 206 25 1 0 0 174 2 0 0 0 871 - 642 ทางหลวง 31 ก.ค. 2563 บ้านโล๊ะใหญ่ ชนบท บ้านโล๊ะใหญ่- 388 129 25 1 0 0 232 2 0 0 0 777 - 585 กบ.6019 บ้านคลองหมาก รวม 851 335 50 2 0 0 406 4 0 0 0 1,648 - 1,227 วันเสาร์ที่ บ้านคลองหมาก- 560 142 18 0 0 0 181 3 1 0 0 905 - 629 1 ส.ค. 2563 บ้านโล๊ะใหญ่ บ้านโล๊ะใหญ่- 575 130 27 0 0 0 247 5 0 0 0 984 1% 702 บ้านคลองหมาก รวม 1,135 272 45 0 0 0 428 8 1 0 0 1,889 1% 1,331 MB-07 วันศุกร์ที่ บ้านคลองหมาก- 184 28 5 0 1 0 49 1 0 0 0 268 1% 178 ทางหลวง 31 ก.ค. 2563 แหลมงู ชนบท แหลมงู-บ้านคลอง 181 31 4 4 0 0 47 2 0 0 0 269 1% 181 กบ.5035 หมาก รวม 365 59 9 4 1 0 96 3 0 0 0 537 1% 359 วันเสาร์ที่ บ้านคลองหมาก- 230 20 7 0 0 0 47 1 0 0 0 305 - 191 1 ส.ค. 2563 แหลมงู แหลมงู- 248 25 11 0 0 0 53 0 0 0 0 337 - 213 บ้านคลองหมาก รวม 478 45 18 0 0 0 100 1 0 0 0 642 - 404 ที่มา : ประมวลโดยที่ปรึกษา หมายเหตุ : ปริมาณจราจรที่สำรวจ 2 วันแตกต่างกัน (วันธรรมดาและวันหยุด) โดย MB-01 เป็นการสำรวจระยะเวลา 24 ชั่วโมง (07.00-07.00 น.) กรมทางหลวงชนบท 3-416 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (2) การสำรวจปริ ม าณจราจรบริ เ วณทางแยก ( Turning Movement Counts) สำหรั บ การสำรวจปริ ม าณจราจรบริ เวณทางแยก ( Turning Movement Counts) มี ต ำแหน่ ง สำรวจ จำนวนทั้งสิ้น 2 จุด ที่ตำแหน่ง TMC-01 และ TMC-02 ซึ่งการสำรวจมี 2 วัน ที่แตกต่างกัน (วันทำงาน : วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 และวันหยุด : วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2563) และระยะเวลาการสำรวจ 12 ชั่วโมง (07.00-19.00 น.) จำนวน 2 วัน เช่นเดียวกันกับการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน - จุ ด สำรวจ TMC- 01 บริ เ วณสามแยกห้ วยน้ ำ ขาว จากผลการสำรวจปริ ม าณจราจร บนทางแยก (TMC-01) ระยะเวลา 12 ชั่วโมง (07.00-19.00 น.) พบว่า ในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) มีปริมาณ จราจรเฉลี่ย 17,693 PCU/วัน และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 16 ,832 PCU/วัน (รูปที่ 3.4.2-6 ถึงรูปที่ 3.4.2-8) - จุดสำรวจ TMC-02 บริเวณทางหลวงชนบท กบ.6022 ตัดทางหลวงชนบท กบ.6019 จากผลการสำรวจปริมาณจราจรบนทางแยก (TMC-02) ระยะเวลา 12 ชั่วโมง (07.00-19.00 น.) พบว่า ในช่วงวัน ทำงาน (วันศุกร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 3,458 PCU/วัน และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 3,979 PCU/วัน (รูปที่ 3.4.2-9 ถึงรูปที่ 3.4.2-11) รูปที่ 3.4.2-6 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 (วันทำงาน) เวลา 07.00-19.00 น. กรมทางหลวงชนบท 3-417 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-7 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563 (วันหยุด) เวลา 07.00-19.00 น. รูปที่ 3.4.2-8 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-01) ระหว่างวันทำงานและวันหยุด กรมทางหลวงชนบท 3-418 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-9 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 (วันทำงาน) เวลา 07.00-19.00 น. รูปที่ 3.4.2-10 ผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม 2563 (วันหยุด) เวลา 07.00-19.00 น. กรมทางหลวงชนบท 3-419 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-11 สรุปผลการสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (TMC-02) ระหว่างวันทำงานและวันหยุด (3) ผลการสำรวจจุดต้นทางและจุดปลายทางของการเดินทาง ( Origin-Destination Survey) การสำรวจนี้ได้ดำเนินการสัมภาษณ์ผู้เดินทางโดยวิธีการสัมภาษณ์ริมทางบนถนนทั้ง 2 ทิศทาง มี 4 จุดสำรวจ ประกอบด้วย 1) บนถนนทางหลวงหมายเลข 4206 ( OD-01) จำนวน 888 ตัวอย่าง 2) บนถนนทางหลวงชนบท กบ.5036 (OD-02) จำนวน 504 ตัวอย่าง 3) บนถนนทางหลวงชนบท กบ.4245 ( OD-03) จำนวน 618 ตัวอย่าง และ 4) บนถนนทางหลวงชนบท กบ.4245 ( OD-04) จำนวน 396 ตัวอย่าง รวม 4 จุดสำรวจ จำนวน 2 ,406 ตัวอย่าง ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจจะครอบคลุมการเดินทางโดยยวดยานส่วนบุคคลรถขนส่งสินค้าและการเดินทาง ท่องเที่ยว - ประเภทยานพาหนะที่ทำการสำรวจจุดต้นทาง-ปลายทาง สำหรับประเภทของยวดยาน ที่ใช้ในการเดินทางที่สุ่มสำรวจฯ ซึ่งจากผลการสำรวจ พบว่า ร้อยละ 43 เป็นรถยนต์ส่วนบุคคล รองลงมา คือ ร้อยละ 33 เป็นรถจักรยานยนต์ และร้อยละ 15 เป็นรถบรรทุกขนาดเล็ก 4 ล้อ ส่วนรถโดยสารขนาด 4 ล้อ รถบรรทุกขนาด 6 ล้อ และ 10 ล้อ คิดเป็นร้อยละ 4 ร้อยละ 3 และร้อยละ 2 ตามลำดับ (รูปที่ 3.4.2-12) - วัตถุประสงค์การเดินทาง สำหรับวัตถุประสงค์ของการเดินทาง พบว่า ผู้เดินทางส่วนใหญ่ (ร้อยละ 46) เดินทางเพื่อไปทำงาน รองลงมา คือ การเดินทางไปทำธุระส่วนตัว (ร้อยละ 43) และการเดินทาง เพื่อการท่องเที่ยว และอื่นๆ ร้อยละ 10 และร้อยละ 1 ตามลำดับ (รูปที่ 3.4.2-13) - รายได้ผู้เดินทาง สำหรับผลการสำรวจระดับรายได้ของผู้ตอบแบบสำรวจ พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 21 มีระดับรายได้ประมาณ 10,000-12,500 บาท/เดือน รองลงมา คือ ร้อยละ 18 มีระดับรายได้ประมาณ 7,500-10,000 บาท/เดือน และร้อยละ 17 มีระดับรายได้ประมาณ 12 ,500-15,000 บาท/เดือน เป็นต้น (รูปที่ 3.4.2-14) - จำนวนผู้โดยสาร สำหรับผลการสำรวจข้อมูลจำนวนผู้โดยสารบนรถ พบว่า ส่วนใหญ่ เดินทาง 1 คนต่อคัน คิดเป็นร้อยละ 49 และเดินทาง 2 คนต่อคัน และ 3 คนต่อคัน คิดเป็นร้อยละ 33 และ ร้อยละ 9 ตามลำดับ (รูปที่ 3.4.2-15) กรมทางหลวงชนบท 3-420 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-12 ประเภทของยวดยานที่ใช้ในการเดินทาง รูปที่ 3.4.2-13 วัตถุประสงค์ของการเดินทาง รูปที่ 3.4.2-14 ระดับรายได้ของผู้ตอบแบบสำรวจ กรมทางหลวงชนบท 3-421 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-15 จำนวนผู้โดยสารบนรถ - ประเภทสินค้า สำหรับผลการสำรวจประเภทของสินค้าบนรถบรรทุก พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 52 ไม่มีสินค้า รองลงมา คือ ร้อยละ 22 เป็นสินค้าอุปกรณ์วัสดุก่อสร้าง และร้อยละ 11 เป็นสินค้าเกษตร และประมง เป็นต้น (รูปที่ 3.4.2-16) - น้ำหนักบรรทุก สำหรับผลการสำรวจปริมาณสินค้าที่บรรทุก พบว่า ร้อยละ 53 เป็นรถเปล่า/ ไม่มีสินค้า ร้อยละ 19 บรรทุกเต็มคัน และบรรทุก 1/2 คัน บรรทุก 1/4 คัน และ 3/4 คัน คิดเป็นร้อยละ 15 ร้อยละ 7 และร้อยละ 6 ตามลำดับ (รูปที่ 3.4.2-17) - จุดต้นทาง-ปลายทางการเดินทาง สำหรับรายละเอียดผลการสำรวจข้อมูลจุดต้นทาง- ปลายทางการเดินทาง (ระดับตำบล) จำนวน 128 พื้นที่ย่อย โดยในตารางที่ 3.4.2-4 ที่ปรึกษาได้ดำเนินการ รวมข้อมูลเป็นระดับอำเภอ จากจำนวนผู้ตอบแบบสำรวจ จำนวน 2,406 ตัวอย่าง ผลการสำรวจฯ พบว่า ปริมาณ การเดินทางของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ภายในจังหวัดกระบี่ ประมาณ 2,206 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 92 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด) ปริมาณการเดินทางภายในอำเภอเกาะลันตา ประมาณ 1,823 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 76 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด) ส่วนปริมาณการเดินทางระหว่างจัง หวัดกระบี่และพื้นที่อื่นๆ ภายนอก ประมาณ 200 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 8 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด) รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 3.4.2-4 (4) ผลการสำรวจความเร็ วเฉลี่ ยในการเดินทางบนโครงข่า ย ที่ปรึกษาได้ดำเนินการสำรวจ ความเร็วในการเดินทาง (Travel Speed) บนโครงข่ายถนนโดยใช้รถทดสอบสำรวจความเร็วแบบ Average Car Technique หรือการขับรถด้วยความเร็วเฉลี่ย โดยไม่คำนึงถึงจำนวนรถที่แซงและถูกแซง เพื่อให้ได้ความเร็วเฉลี่ย ของกระแสจราจรที่ใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริงที่สุด ในการสำรวจได้ใช้รถยนต์นั่งส่วนบุคคล วิ่งด้วยความเร็ว เฉลี่ยในเส้นทางและทิศทางที่กำหนดไว้ ทำการสำรวจใน 3 ช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า ช่วงนอกเวลา เร่งด่วน และช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น รายละเอียดดังแสดงในรูปที่ 3.4.2-18 ถึงรูปที่ 3.4.2-20 (5) ผลการคาดการณปริมาณจราจร การคาดการณ์ปริมาณจราจรในอนาคตเป็นการวิเคราะห์ สภาพการจราจรบนโครงข่ายถนนในอนาคต ซึ่งประกอบด้วย โครงข่ายถนนในปัจจุบันและโครงการจากหน่วยงาน ต่างๆ ที่ได้รับการอนุมัติแล้ว โดยใช้แบบจำลองด้านการจราจรและขนส่งคาดการณ์สภาพการจราจรในอนาคต ที่ปรึกษาได้กำหนดปีเป้าหมายในการคาดการณ์ปริมาณจราจรของโครงการฯ ที่มีความสอดคล้องกับแผนดำเนิน โครงการ โดยผลการคาดการณ์ปริมาณจราจรแสดงดังตารางที่ 3.4.2-5 กรมทางหลวงชนบท 3-422 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-16 ประเภทสินค้า (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) รูปที่ 3.4.2-17 ปริมาณสินค้าที่บรรทุก (กรณีที่เป็นรถขนส่งสินค้า) กรมทางหลวงชนบท 3-423 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.4.2-4 ข้อมูลตารางจุดต้นทางและปลายทางของการเดินทางในพื้นที่ศึกษา กทม. และปริมณฑล อ.ปลายพระยา ภาคตะวันออก จุดต้นทาง-ปลายทาง อ.เหนือคลอง ภาคตะวันตก อ.เกาะลันตา อ.เมืองกระบี่ อ.คลองท่อม รวม อ.เขาพรม ของการเดินทาง ภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคกลาง อ.อ่าวลึก อ.ลำทับ ภาคใต้ อ.เกาะลันตา 1,283 131 42 7 7 180 8 5 - 1 9 3 - 2 183 1,861 อ.คลองท่อม 166 1 - - - 1 - - - - - - - - 2 170 อ.เหนือคลอง 71 - - - - - - - - - - - - - - 71 อ.ลำทับ 9 - - - - - - - - - - - - - - 9 อ.เขาพนม 8 - - - - - - - - - - - - - - 8 อ.เมืองกระบี่ 144 1 - - - - - - - - - - - - - 145 อ.อ่าวลึก 6 - - - - - - - - - - - - - - 6 อ.ปลายพระยา 2 - - - - - - - - - - - - - - 2 ภาคเหนือ 1 - - - - - - - - - - - - - - 1 ภาคกลาง 1 - - - - - - - - - - - - - - 1 กทม. และปริมณฑล 7 - - - - - - - - - - - - - - 7 ภาคตะวันตก - - - - - - - - - - - - - - - - ภาคอีสาน - - - - - - - - - - - - - - - - ภาคตะวันออก 1 - - - - - - - - - - - - - - 1 ภาคใต้ 124 - - - - - - - - - - - - - - 124 รวม 1,823 133 42 7 7 181 8 5 - 1 9 3 - 2 185 2,406 ที่มา : ประมวลโดยที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 3-424 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-18 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า กรมทางหลวงชนบท 3-425 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-19 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงนอกเวลาเร่งด่วน กรมทางหลวงชนบท 3-426 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-20 ผลการสำรวจความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง (Average Speed) ในช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น กรมทางหลวงชนบท 3-427 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.4.2-5 ผลการคาดการณ์ปริมาณจราจรกรณีมีโครงการของยานพาหนะแต่ละประเภท ปริมาณจราจรของยานพาหนะกรณีมีโครงการ (คัน/วัน) ความเร็วเฉลี่ ย แนวเส้นทาง รถยนต์ รถยนต์ รถจั กรยานยนต์ ปริมาณจราจรรวม ปีคาดการณ์ รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก ของยานพาหนะ โครงการ นัง ่ ส่วนบุคคล นัง ่ ส่วนบุคคล รถบรรทุกพ่วง และสามล้อ (คัน/วัน) ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ กึง ่ พวง (กิโลเมตร/ชั่วโมง) ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน เครื่อง ไป ต.เกาะลันตาน้อย 1,438 988 337 5 0 0 732 101 11 0 1034 4,646 56.60 พ.ศ. 2570 ไป ต.เกาะกลาง 1,443 762 279 29 0 0 633 87 14 0 917 4,163 57.90 ไป ต.เกาะลันตาน้อย 1,642 1,128 385 5 0 0 835 116 13 0 1,168 5,292 56.20 พ.ศ. 2575 ไป ต.เกาะกลาง 1,647 870 318 33 0 0 723 99 16 0 1,036 4,742 56.40 ไป ต.เกาะลันตาน้อย 1,844 1,267 433 6 0 0 938 130 14 0 1,308 5,941 54.40 พ.ศ. 2580 ไป ต.เกาะกลาง 1,850 977 357 37 0 0 812 112 18 0 1,160 5,324 56.20 ไป ต.เกาะลันตาน้อย 2,043 1,404 479 7 0 0 1,040 144 16 0 1,439 6,572 54.80 พ.ศ. 2585 ไป ต.เกาะกลาง 2,050 1,082 396 41 0 0 900 124 20 0 1,276 5,889 54.90 ไป ต.เกาะลันตาน้อย 2,237 1,537 525 7 0 0 1,138 158 17 0 1,568 7,187 52.60 พ.ศ. 2590 ไป ต.เกาะกลาง 2,244 1,185 434 44 0 0 985 135 22 0 1,391 6,441 55.00 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-428 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (6) แหล่งวัสดุและเส้นทางลำเลียงขนส่ง การประเมินปริมาณงานวัสดุที่ใช้ในงานก่อสร้างโครงการและจำนวนเที่ยวการขนส่ง (ตารางที่ 3.4.2-6) มีรายละเอียดดังนี้ - ปริมาณเสาเข็มคอนกรีตหล่อสำเร็จอัดแรงรูปกลมกลวง (ขนาด 0.60 เมตร) ความยาวรวม 25,800 เมตร คิดเป็นจำนวนเสาเข็มหล่อสำเร็จ ความยาวท่อนละ 18 เมตร จำนวนประมาณ 1,440 ต้น - ปริมาณเสาเข็มเจาะขนาด 1.50 เมตร ความยาวรวม 2,520 เมตร - ปริมาณคอนกรีต จำนวน 39,100 ลูกบาศก์เมตร - ปริมาณเหล็กเสริม จำนวน 7,050 ต้น - Stayed Cable จำนวน 220 ตัน ตารางที่ 3.4.2-6 จำนวนเที่ยวการขนส่งวัสดุก่อสร้างของโครงการ รวม จำนวน จำนวน จำนวน App Balance ความยาว/ จำนวน ค่าโดย รายการ ปริมาณ เสาเข็ม เที่ยว เที่ยว Bridge d Bridge ท่อน (ม.) ท่อน ประมาณ (ม.) (ต้น/เที่ยว) ขนส่ง ขนส่ง/วัน Spun Pile 13,200 12,600 25,800 18 1,433 1,440 10 144 1 รวม จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน App Balanced รายการ ปริมาณ บรรทุก เที่ยว วันที่ทำ เที่ยว Bridge Bridge (ลบ.ม.) (ลบ.ม.)/ค้น บรรทุก การขนส่ง ขนส่ง/วัน คอนกรีต (ทุกประเภทรวมกัน) 21,820 17,280 39,100 5 7,820 500 16 รวม จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน App Balanced รายการ ปริมาณ บรรทุก เที่ยว วันที่ทำ เที่ยว Bridge Bridge (ตัน.) (ต้น.)/ค้น บรรทุก การขนส่ง ขนส่ง/วัน เหล็กเสริม 3,000 4,050 7,050 25 282 300 1 (ทุกขนาด-ทุกประเภทรวมกัน) การลำเลียงวัสดุก่อสร้างที่เป็นผลิตภัณฑ์คอนกรีตสำเร็จรูป คือ เสาเข็มคอนกรีตแบบหล่อสำเร็จ และเหล็กเสริมนั้น เป็นวัสดุที่มีน้ำหนักมาก ดังนั้นเพื่อไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่อทางหลวงหมายเลข 4206 โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง สะพานข้ามคลองยางที่ประชาชนในพื้นที่เกรงว่าสะพานอาจเสี่ยงต่อความเสียหายได้ จึงกำหนดให้ทำการลำเลียงวัสดุที่มีขนาดใหญ่มากและมีน้ำหนักมากในการก่อสร้างโครงการฯ คือ เสาเข็มหล่อสำเร็จและเหล็กเสริม ซึ่งสามารถขนส่งทางบกมายังท่าเรือกระบี่ แล้วจึงใช้เรือท้องแบนขนส่ง มายังพื้นที่คลองบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง และส่วนวัสดุการก่อสร้างต่างๆ ที่จะขนส่งผ่านทางหลวงหมายเลข 4206 จะใช้รถบรรทุกที่บรรทุกน้ำหนักตามกฎหมาย ซึ่งในปัจจุบันมีการขนวัสดุก่อสร้างมายังงานก่อสร้างในเกาะลันตา เป็นประจำอยู่แล้ว และไม่ก่อให้เกิดปัญหาแก่สะพานข้ามคลองยางแต่อย่างใด ทั้งนี้ รถขนวัสดุก่อสร้างทุกคัน ต้องมีการชั่งน้ำหนักที่สถานีซื้อตั๋วแพขนานยนต์ ท่าเรือบ้านหัวหิน และทางบริษัทที่ปรึกษาได้ตรวจสอบสภาพ ของสะพานข้ามคลองยาง พบว่า โครงสร้างสะพานส่วนล่าง โครงสร้างสะพานส่วนบน การป้องกันการกัดเซาะ คอสะพานอยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรง ไม่มีลักษณะของรอยร้าวที่เป็นสัญญาณการสูญเสียความมั่นคงแข็งแรง แต่อย่างใด โดยแหล่งวัสดุก่อสร้างและเส้นทางขนส่ง สรุปได้ดังตารางที่ 3.4.2-7 และรูปที่ 3.4.2-21 กรมทางหลวงชนบท 3-429 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.4.2-7 แหล่งวัสดุก่อสร้างและเส้นทางขนส่ง ระยะทาง แหล่งวัสดุก่อสร้าง เส้นทางขนส่ง (กิโลเมตร) หินทราย-ผสมคอนกรีต - จากท่าทรายนายหั วมวล เลขที่ 395 หมู่ 9 ตำบลปกาสัย อ.เหนือ คลอง 53 ติดถนนเพชรเกษม กม.663.65 เทศบาลเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81130 เส้นทางการขนส่ง ทล.4 ผ่านทางแยกห้วยน้ำขาว เข้า ทล.4206 โรงหล่อเสาเข็มคอนกรีต - บริษัท เหนือคลองซีแพค จำกัด ตำบลเหนือคลอง อำเภอเหนือคลอง ติดถนน 20 อัดแรงสำเร็จรูป เพชรเกษม เทศบาลเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81130 เส้นทางการขนส่ง ทล.4 ไปยังท่าเรือกระบี่ ระยะทางประมาณ 20 กม. แล้วใช้เรือท้องแบน ขนส่ง ทางเรือไปยังคลองช่องลาดเกาะลันตา แหล่งน้ำสะอาด - สำหรับใช้ผสมคอนกรีต จากโรงกรองน้ำการประปาส่วนภูมิภาค สาขากระบี่ 72 ติ ด ถนนเพชรเกษม เทศบาลเมื อ งกระบี่ จั ง หวั ด กระบี่ 81130 เส้ น ทาง การขนส่ง ทล.4 ไปยัง ทล. 4026 แหล่งปูนซีเมนต์ผง - จากบริ ษ ั ท ปู น ซี เ มนต์ น ครหลวง จำกั ด (มหาชน) ติ ด ถนนเพชรเกษม 62 ตำบลเหนือคลอง อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ 81130 เส้นทางการขนส่ง ทล.4 ไปยัง ทล. 4026 แหล่งวัสดุเหล็กเส้น - จากบริษัท กระบี่ค้าเหล็ก จำกัด ติดถนนเพชรเกษม เทศบาลเมืองกระบี่ 85 และลวดอัดแรง จังหวัดกระบี่ 81130 เส้นทางการขนส่ง ทล.4 ไปยัง ทล. 4026 การขนส่งวัสดุก่อสร้างที่สำคัญของสะพานคานขึงที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ คือ สายเคเบิ้ล และอุปกรณ์ประกอบในการยึดรั้งสายเคเบิ้ล นำเข้ามายังท่าเรือแหลมฉบัง โดยบรรจุตู้คอนเทนเนอร์มา แล้วใช้ การขนส่งทางบกด้วยรถกึ่งพ่วง จากชลบุรี (ทล.3 + ทล.34 + ทางด่วนขั้นที่ 1) ผ่าน กทม. ลงสู่ภาคใต้ (ทล.35 + ทล.4) จนถึงกระบี่ คลองท่อม แยกห้วยน้ำขาว เข้าสู่พื้นที่โครงการ ด้วย ทล.4206 โดยมีจำนวนตู้สินค้าที่ใช้ขนส่ง ประมาณ 10 ตู้ (7) วิธีการก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเล ด้วยเครื่องจักรบนเรือท้องแบน - เครื ่ องจั กรก่ อ สร้ า งสำหรั บ ติ ด ตั ้ ง ปลอกเหล็ กถาวรอยู ่ บ นเรื อท้ องแบน ทำการติ ด ตั้ ง ปลอกเหล็กถาวรป้องกันหลุมเจาะพัง โดยใช้วิธีการก่อสร้างเสาเข็มเจาะระบบเปียก การเจาะวิธีนี้ อุปกรณ์เจาะ จะติดตั้งอยู่กับแกนเจาะที่สามารถยืด – หดได้ การเจาะจะทำทีละขั้นตอนจนถึงความลึกที่กำหนด จนถึงความลึก ปลายเสาเข็มที่ต้องการ แสดงดังรูปที่ 3.4.2-22 - ก้านเจาะจะทำการขุดเจาะดินจากพื้นที่ทะเล แล้วนำมาใส่ไว้ในกระบะพักดินที่อยู่บนเรือ ท้องแบน แสดงดังรูปที่ 3.4.2-23 - จัดเตรียมเรือท้ องแบนสำหรับ ให้รถบรรทุ กดินขุดเจาะเสาเข็ มเจาะในทะเล ไปรับดิน จากกระบะพักดินบนเรือท้องแบน เพื่อนำเรือท้องแบนขนดินไปยังท่าเรือบ้านคลองหมาก ฝั่งเกาะลันตาน้อย แสดงดังรูปที่ 3.4.2-24 และรูปที่ 3.4.2-25 กรมทางหลวงชนบท 3-430 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-21 แหล่งวัสดุก่อสร้างและเส้นทางขนส่ง กรมทางหลวงชนบท 3-431 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-22 ติดตั้งปลอกเหล็กถาวรเสาเข็มเจาะ รูปที่ 3.4.2-23 กิจกรรมการขุดเจาะดิน-หินภายในปลอกเหล็กถาวรในทะเล กรมทางหลวงชนบท 3-432 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่จอดรถบรรทุกรอรับวัสดุ จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล ทางลาดปรับระดับได้ตามสภาพ ระดับน้ําทะเลขึ้น ลง ตัวอย่างเรือท้องแบนสําหรับให้รถบรรทุกดินและวัสดุที่ได้จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล มาใส่กระบะรถบรรทุกที่ อยู่บนเรือท้องแบน เมื่อมีปริมาณวัสดุเหมาะสมแก่การบรรทุกแล้ว เรือท้องแบนจะส่งรถบรรทุกไปยังฝัง ่ ต่อไป ที่จอดรถบรรทุกรอรับวัสดุ จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล ทางลาดปรับระดับได้ตามสภาพ ระดับน้ําทะเลขึ้น ลง ตัวอย่างเรือท้องแบนสําหรับให้รถบรรทุกดินและวัสดุที่ได้จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล มาใส่กระบะรถบรรทุกที่ ่ ต่อไป อยู่บนเรือท้องแบน เมื่อมีปริมาณวัสดุเหมาะสมแก่การบรรทุกแล้ว เรือท้องแบนจะส่งรถบรรทุกไปยังฝัง รูปที่ 3.4.2-24 เรือท้องแบนสำหรับบรรทุกดินและวัสดุจากการเจาะเสาเข็มในทะเล กรมทางหลวงชนบท 3-433 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ่ เกาะกลาง และฝัง รูปที่ 3.4.2-25 ท่าเรือขนดินจากการเจาะเสาเข็มในทะเลฝัง ่ เกาะลันตาน้อย การขนส่ ง เศษมวลดิ น และหิ น จากกิ จ กรรมขุ ด เจาะฐานรากในทะเลไปไว้ ในพื ้ น ที ่ กองดิ น ฝั่งเกาะลันตาน้อย โดยใช้เรือท้องแบนและรถบรรทุกวัสดุ ทำการขนส่งมายังพื้นที่กองเก็บบนฝั่ง ซึ่งโครงการฯ ได้จัดเตรียมรถเครนขนาดใหญ่ตั้งอยู่บนฝั่งท่าเรือบ้านหัวหิน เพื่อทำการยกวัสดุขึ้นรถบรรทุกลำเลียงมาตาม ถนน ทล.4206 แล้วนำวัสดุขนาดใหญ่มากองเก็บไว้ที่ลานกองวัสดุ ส่วนวัสดุขนาดเล็กนั้นจะมากองเก็บไว้ในอาคาร กองเก็บวัสดุ ขั้นตอนการจัดการดินที่ได้จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล ที่ทิ้งดินจากกิจกรรมการขุดเจาะ เสาเข็มเจาะของโครงการ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ • พื้นที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะกลาง มีขนาดพื้นที่ประมาณ 4.6 ไร่ ระยะห่างจาก พื้นที่โครงการ 4.2 กิโลเมตร ดังแสดงในรูปที่ 3.4.2-26 และรูปที่ 3.4.2-27 • พื้นที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะลันตาน้อย มีขนาดพื้นทีป ่ ระมาณ 2.0 ไร่ ระยะห่าง จากพื้นทีโ ่ ครงการ 9.1 กิโลเมตร ดังแสดงในรูปที่ 3.4.2-28 และรูปที่ 3.4.2-29 ซึ่งได้มีการประสานงานเรื่องการอนุญาตให้นำดินทิ้งจากโครงการ โดยกิจกรรมการก่อสร้าง เสาเข็มเจาะเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดดินขุดเจาะ และจำเป็นต้องนำไปทิ้งยังพื้นที่ทิ้งดินดังกล่าวข้างต้น โดยการ ก่อสร้างเสาเข็มเจาะบนบกฝั่งตำบลเกาะกลางทั้งหมด จะนำไปทิ้งที่พื้นที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะกลาง มีขนาดพื้นที่ประมาณ 4.6 ไร่ ระยะห่างจากพื้นที่โครงการ 4.2 กิโลเมตร โดยดินขุดเจาะในกรณีนี้ จะไม่มีปัญหา ที่เกี่ยวกับดินเค็มแต่อย่างใด ส่วนการขุดเจาะในทะเล จะนำไปทิ้งข้าง อบต.เกาะลันตาน้อย มีความประสงค์ ในการถมที่เพื่อปรับระดับให้เหมาะสมต่อการพัฒนาพื้นที่เพื่อสาธารณประโยชน์ในอนาคตต่อไป โดยมิได้มีการ ใช้พื้นที่เพื่อการเพาะปลูกพืชแต่อย่างใด แต่จะมีการกำหนดมาตรการทั้งป้องก้นและปรับปรุงดินเค็มที่ได้จาก การเจาะเสาเข็มในทะเล กรมทางหลวงชนบท 3-434 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-26 ตำแหน่งที่ทิ้งดินของโครงการ พื้นที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะกลาง กรมทางหลวงชนบท 3-435 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-27 สภาพพื้นที่บริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต.เกาะกลาง กรมทางหลวงชนบท 3-436 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-28 ตำแหน่งที่ทิ้งดินของโครงการ พื้นที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-437 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-29 สภาพพื้นที่บริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต.เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-438 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สำหรับกิจกรรมการก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเล วิธีการก่อสร้างจะใช้การติดตั้งเหล็กปลอก ถาวรที่ ท ำให้ การขุ ด เจาะไม่ เกิ ด การฟุ้ งกระจายของตะกอนดิ น ปริ ม าณดิ น ที่ไ ด้ จ ากการขุ ด เจาะในทะเลนั้น เป็นดินทรายที่มีลักษณะเป็นดินเค็มเพียงร้อยละ 15.00 ส่วนอีกร้อยละ 85.00 เป็นหินดินดานและหินทราย การก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเล รวมทั้งการก่อสร้างเสาเข็มเจาะบนบกฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย จะนำไปทิ้งที่พน ื้ ที่ สาธารณประโยชน์ของ อบต. เกาะลันตาน้อย มีขนาดพื้นที่ประมาณ 2.0 ไร่ ระยะห่างจากพื้นที่โครงการ 9.1 กิโลเมตร พื้นที่ทิ้งดินดังกล่าว จัดเป็นที่ดินประเภทสถาบันราชการ ตามผังเมืองรวมเกาะลันตา (รูปที่ 3.4.2-30) ซึ่งสภาพปัจจุบันของพื้นที่ทิ้งดินฝั่งเกาะลันตาน้อยเป็นพื้นที่ลุ่มระหว่างชายทะเลเกาะลันตาน้อยและคลอง (น้ำทะเล) หลังที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา สภาพพื้นดินเป็นดินทรายที่มีการระบายน้ำได้ดี โดยระบายน้ำลงสู่คลอง (น้ำทะเล) หลังที่ว่าการอำเภอเกาะลันตาได้สะดวก พื้นที่ถูกปกคลุมด้วยหญ้าและวัชพืช ไม่มีการใช้ประโยชน์ ทางการเกษตร ไม่มีต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่ทิ้งดิน (มีเพียงต้นสนริม ทล.6022 เท่านั้น) ดังแสดงในรูปที่ 3.4.2-31 มาตรการจัดการดินทิ้งจากการเจาะเสาเข็ม - การป้องกันการแพร่กระจายของดินเค็ม โดยการสร้างคันดินสูง 0.5 เมตร พร้อมขุดร่องน้ำ เพื่อกันไม่ให้น้ำเค็มไหลออกสู่สาธารณะ - ให้ใช้ยิปซัมจากธรรมชาติ หรื อยิปซัมจากโรงงานอุ ตสาหกรรม ผสมกับปูนขาวในอั ตรา หนึ่งต่อหนึ่งส่วน เพื่อรองพื้นที่ทิ้งดิน โดยใช้ตามอัตราแนะนำของกรมพัฒนาที่ดิน รูปที่ 3.4.2-30 ผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย กับพื้นที่บริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต.เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-439 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.2-31 สภาพปัจจุบันของพื้นที่บริเวณที่ทิ้งดินของโครงการ อบต. เกาะลันตาน้อย 3.4.3 การระบายน้ำ 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของระบบระบายน้ำในบริเวณพื้นที่แนวเส้นทางโครงการ (2) เพื่อนำข้อมูลไปประเมินผลกระทบจากการดำเนินงานของโครงการที่มีผลต่อการจัดการน้ำท่วม และการระบายน้ำในประเด็นการกีดขวางการไหลของน้ำ หรือลดประสิทธิภาพการระบายน้ำตามสภาพทางธรรมชาติ จากกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ 2) วิธีการศึกษา (1) ทำการสำรวจสถิติน้ำท่วมและความเสียหายในอดีตที่ผ่านมาในบริเวณพื้นที่โครงการ และบริเวณ พื้นที่ใกล้เคียง จากผู้นำชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่นในพื้นที่ (2) ทำการสำรวจภาคสนามเกี่ยวกับสภาพการระบายน้ำในปัจจุบันของพื้นที่โครงการและบริเวณ พื้นที่ใกล้เคียง และทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิและภาคสนาม 3) ผลการศึกษา (1) สภาพการระบายน้ำในพื้นที่โครงการ พื้นที่ศึกษาฝั่งเกาะกลางมีขนาดพื้นที่รับน้ำประมาณ 7.8 ตารางกิโลเมตร มีลักษณะเป็นพื้นที่ ลาดเอียงจากเนินเขาทางทิศเหนือลงสู่คลองช่องลาดทางทิศใต้ มีแนวสันปันน้ำอยู่ที่ระยะประมาณ 2.9 กิโลเมตร จากแนวคลอง โดยในพื้นที่ศึกษาแบ่งพื้นที่รับน้ำย่อยออกเป็น 5 พื้นที่ สภาพการระบายน้ำแต่ละพื้นที่จะมีทางน้ำ ธรรมชาติ เป็ น ร่ องน้ ำ ขนาดเล็ กรั บ น้ ำ จากแนวเทื อกเขาไหลลงสู่ คลองระบายน้ ำหลั ก ได้ แก่ คลองช่ องลาด กรมทางหลวงชนบท 3-440 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน แล้วระบายลงทะเลอันดามันต่อไป สำหรับพื้นที่ศึกษาฝั่งเกาะลันตาน้อยมีขนาดพื้นที่รับน้ำประมาณ 12.9 ตาราง กิโลเมตร มีลักษณะเป็นพื้นที่ลาดเอียงจากเนินเขาทางทิศใต้ลงสู่คลองช่องลาดทางทิศเหนือ แนวสันปันน้ำอยู่ที่ ระยะประมาณ 2.4 กิโลเมตร แบ่งพื้นที่รับน้ำย่อยออกเป็น 3 พื้นที่ สภาพการระบายน้ำส่วนใหญ่จะเป็นการไหลบ่า (Flood plain) ลงคลองช่องลาดดังแสดงในรูปที่ 3.4.3-1 ผลการตรวจสอบภาคสนาม สภาพการระบายน้ำในพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียง พบว่า ในพื้นที่ดำเนินการก่อสร้างโครงการ ไม่มีปัญหาการระบายน้ำ ทิศทางหรือทางระบายน้ำไหลจากที่สูงลงสู่ที่ราบต่ำ และไหลลงทะเล (2) ระบบระบายน้ำ ก) ระบบระบายน้ำบริเวณโครงสร้างสะพาน กำหนดให้การระบายน้ำผ่านท่อระบายน้ำขนาด 100 มิลลิเมตร ที่ติดตั้งไว้ทุกระยะ 3 เมตร บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทางทั้ง 2 ด้าน รวบรวมน้ำ จากพื้ นสะพานทั้ง 2 ด้ า น เข้ า สู่ระบบท่ อ HDPE ในโครงสร้าง Box Girder และเสาตอม่อ เพื่อรวบรวมน้ำฝนจากพื้นสะพาน ระบายน้ำลงสู่บ่อรับน้ำที่โคนเสาตอม่อบนพื้นที่ ทะเล ทุกเสาตอม่อ แล้วระบายน้ำฝนลงสู่ทะเล รายละเอียดของระบบระบายน้ำ ดังแสดงใน รูปที่ 3.4.3-2 และรูปที่ 3.4.3-3 สำหรับรูปตัดตามขวางของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาด และรูปตั ด ตามยาวของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาดตามลำดับ ข) ระบบระบายน้ำบนทางระดับดิน การระบายน้ำบนทางระดับดินตั้งแต่บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการถึง เชิงลาดสะพานฝั่ง ตำบล เกาะกลาง ช่วง กม.0+000 – กม.0+568 ระยะทางประมาณ 568 เมตร น้ำจากผิวจราจรระบายลงสู่รางระบายน้ำ ค.ส.ล. รู ป ตั ว V แบบมาตรฐาน ขนาด 27×45×100 เซนติ เมตร อยู่บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทางของทางหลวง หมายเลข 4206 ทั้งสองฝั่งทาง เพื่อระบายลงสู่ ทะเลต่อไป ส่วนการระบายน้ำบริเวณฝั่ง ตำบลเกาะลันตาน้อย ช่วง กม.2+000 – กม.2+200 ระยะทาง 200 เมตร จากผิวจราจรระบายลงสู่รางระบายน้ำ ค.ส.ล. รูปตัว V แบบ มาตรฐาน ขนาด 27×45×100 เซนติเมตร บริเวณพื้นที่ริมไหล่ทาง เพื่อรวบรวมน้ำระบายลงสู่พื้นที่ป่าชายเลน และทะเลต่อไป แสดงดังรูปที่ 3.4.3-4 กรมทางหลวงชนบท 3-441 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.3-1 ทิศทางการระบายน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-442 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.3-2 รูปตัดตามขวางของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาด รูปที่ 3.4.3-3 รูปตัดตามยาวของระบบระบายน้ำบนสะพานช่วงตัดผ่านคลองช่องลาด กรมทางหลวงชนบท 3-443 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ระบบระบายน้ำตามยาว ช่วง กม.0+000 – กม.0+568 รูปที่ 3.4.3-4 ผังแสดงระบบระบายน้ำของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-444 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.4.4 สาธารณูปโภค 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในปัจจุบันของพื้นที่แนวเส้นทางโครงการและพื้นที่ ใกล้เคียง (2) เพื่ อนำข้ อมู ล ไปประเมิ นผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมเบื้ องต้น ที่ เกิ ดจากกิ จ กรรมการดำเนินงาน ของโครงการ ซึ่งอาจต้องทำการรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคในพื้นที่ เช่น ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ เป็นต้น ในกรณี ที่มีระบบสาธารณูปโภคอยู่ในพื้นที่ดำเนินโครงการ โดยพิจารณาจากปริมาณของระบบสาธารณูปโภค 2) วิธีการศึกษา รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับระบบสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ เป็นต้น ตามแนว เส้นทางโครงการที่ต้องรื้อย้าย 3) ผลการศึกษา ระบบสาธารณูปโภคที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ คือ ระบบสาธารณูปโภคที่ อยู่บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 (ฝั่งเกาะกลาง) และระบบสาธารณูปโภคที่อยู่บนทางหลวงชนบท กบ.6022 (ฝั่งเกาะลันตาน้อย) สรุปได้ดังนี้ (1) บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 ประกอบด้ วย เสาไฟฟ้าขนาด 69kV และแรงต่ำของการไฟฟ้ าส่ วนภูมิ ภาค ซึ่ ง อยู่ ริมถนน และเสาไฟฟ้าแสงสว่างแบบกิ่งเดี่ยวทั้งสองฝั่ง (รูปที่ 3.4.4-1) รูปที่ 3.4.4-1 เสาไฟฟ้าขนาด 69kV และแรงต่ำ บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 (2) บนทางหลวงชนบท กบ.6020 ประกอบด้วย เสาไฟฟ้าขนาด 22kV และแรงต่ำของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งอยู่ริมถนนทั้งสอง ฝั่งและเสาไฟฟ้าแสงสว่างแบบกิ่งเดี่ยว (รูปที่ 3.4.4-2) (3) บนทางหลวงชนบท กบ.6019 และ กบ.5035 ประกอบด้ว ย เสาไฟฟ้ าขนาด 22 kV และแรงต่ำของการไฟฟ้ าส่ว นภู มิ ภาค ซึ่ ง อยู่ริมถนน ทั้งสองฝั่งและเสาไฟฟ้าแสงสว่างแบบกิ่งเดี่ยว (รูปที่ 3.4.4-3) กรมทางหลวงชนบท 3-445 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.4-2 เสาไฟฟ้าขนาด 22kV และแรงต่ำ บนทางหลวงชนบท กบ.6020 รูปที่ 3.4.4-3 เสาไฟฟ้าขนาด 22kV และแรงต่ำ บนทางหลวงชนบท กบ.6019 และ กบ.5035 (4) ระบบสาธารณูปโภคในทะเลบริเวณคลองช่องลาด ประกอบด้วย ระบบสายเคเบิ้ลใต้ทะเล ขนาด 33 KV. ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จำนวน 2 วงจร คือ เป็นระบบสายไฟฟ้าอากาศ 1 วงจร และเป็นระบบสายไฟฟ้าใต้ทะเล จำนวน 1 วงจร ที่วางอยู่ ทางด้านทิศตะวันออกของเกาะปลิง (รูปที่ 3.4.4-4 และ รูปที่ 3.4.4-5) กรมทางหลวงชนบท 3-446 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.4-4 (1) ระบบสายไฟฟ้าอากาศ ขนาด 33 KV. ในทะเลบริเวณคลองช่องลาด รูปที่ 3.4.4-4 (2) ระบบสายเคเบิ้ลใต้ทะเล ขนาด 33 KV. ในทะเลบริเวณคลองช่องลาด (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-447 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.4-5 ตำแหน่งเสาตอม่อสะพานโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-448 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (5) ผลการสำรวจตำแหน่งระบบสาธารณูปโภคฝั่งตำบลเกาะกลาง ที่ปรึกษาได้สำรวจพื้นที่ในตำบลเกาะกลางบริเวณใกล้ท่าเทียบเรือบ้านหัวหิน พบว่า มีแนวของ สายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่เป็นเสาโครงเหล็กสูงพาดผ่านข้ามไปยังเกาะปลิงที่ อยู่ในคลองช่องลาดเข้าสู่เกาะลันตาน้อยบริเวณถนนสาย กบ.5035 ช่วง กม.3+400 ถึง กม.3+500 ดังรูปที่ 3.4.4-6 และรูปที่ 3.4.4-7 รูปที่ 3.4.4-6 บริเวณท่าเทียบเรือบ้านหัวหิน รูปที่ 3.4.4-7 แนวสายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ตำบลเกาะกลาง ผ่านแนวเกาะปลิง ในคลองช่องลาด กรมทางหลวงชนบท 3-449 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (6) ผลการสำรวจระบบสาธารณูปโภคฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ที่ปรึกษาได้สำรวจพื้นที่ในตำบลเกาะลันตาน้อย พบแนวของสายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่พาดผ่านมาจากเกาะปลิง เพื่อขึ้นสู่เกาะลันตาน้อยบริเวณถนนสาย กบ.5035 ช่วง กม. 3+400 ถึง กม.3+500 ที่อยู่ในแนวศึกษาโครงการฯ และยังพบตำแหน่งของแนวท่อร้อยสายไฟใต้น้ำ ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้ามมาจากตำบลเกาะกลางมาขึ้นฝั่งที่บริเวณเดียวกัน และยังมีแนวของสายสื่อสาร CAT TOT TUC และ กฟภ. ที่บริเวณหน้ากูโบร์ทุ่งหยุม หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะลันตาน้อย ดังรูปที่ 3.4.4-8 และรูปที่ 3.4.4-9 สรุประบบสาธารณูปโภคที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ รูปแบบการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จำเป็นต้อรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคที่กีดขวางอยู่ในพื้นที่ดำเนินการ ( รูปที่ 3.4.4-10) สรุปได้ดังนี้ ฝั่งตำบลเกาะกลาง - เสาไฟฟ้าของ กฟภ. ริม ทล.4206 จำนวน 24 ต้น - เสาไฟฟ้าแสงสว่างของกรมทางหลวง ริม ทล.4206 จำนวน 8 ต้น - ป้ายจราจรของกรมทางหลวง ริม ทล.4206 จำนวน 4 ป้าย - สายสื่อสารที่ติดตั้งบนเสาไฟฟ้า ริม ทล.4206 จำนวน 600 เมตร ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย - เสาไฟฟ้าของ กฟภ. ริมถนน กบ.5035 จำนวน 8 ต้น - สายสื่อสารที่ติดตั้งบนเสาไฟฟ้า ริมถนน กบ.5035 จำนวน 340 เมตร - ท่อระบายน้ำ Cross Drain ผ่านถนน กบ.5035 - ขนาดท่อ RCP 0.80 เมตร (DAI.) ของ ทช. จำนวน 15 เมตร - ขนาดท่อ RCP 1.00 เมตร (DAI.) ของ ทช. จำนวน 30 เมตร กรมทางหลวงชนบท 3-450 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.4.4-8 แนวท่อใต้น้ำสายไฟฟ้า 33kV การไฟฟ้าส่วนภูมิผ่านเกาะปลิงในคลองช่องลาด รูปที่ 3.4.4-9 แนวท่อสายสื่อสารในบริเวณเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-451 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ้ ที่ดำเนินโครงการ รูปที่ 3.4.4-10 ผังตำแหน่งรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคในพืน กรมทางหลวงชนบท 3-452 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ้ ที่ดำเนินโครงการ (ต่อ) รูปที่ 3.4.4-10 ผังตำแหน่งรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคในพืน กรมทางหลวงชนบท 3-453 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (5) การประชุมหารือหน่วยงานระบบสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้อง สรุปการประชุมร่วมสาธารณูปโภคเบื้องต้น วันที่ 24 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุมแขวง ทางหลวงชนบทกระบี่ มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ดังนี้ (รูปที่ 3.4.4-11) - การไฟฟ้าภูมิภาค จังหวัดกระบี่ มีความประสงค์ที่จะขอฝาก สายส่งขนาด 33 kv. จำนวน 4 วงจรกับโครงสร้างสะพาน - กรณีแนวสายไฟฟ้า ปัจจุบันทั้งสายเดิน อากาศและฝังใต้ ทะเลอยู่ในแนวก่อสร้างสะพาน จะต้อง มีการประชุมร่วมกัน เพื่อกำหนดแนวสาย ไฟฟ้าชั่วคราวระหว่าง รื้อย้ายและวางแนว สายไฟฟ้าใหม่ - ในโอกาสถัดไป การไฟฟ้าฯ กระบี่จะขอประชุมร่วมเพื่อกำหนดมาตรการลดผลกระทบ กรณีมีการรื้อย้ายแนวสายไฟฟ้าเดิม ที่อยู่ในแนวก่อสร้าง สะพาน - ทาง TOT มีความประสงค์จะขอฝากสายเคเบิ้ลใยแก้ว กับโครงสร้างสะพาน - ปัจจุบันไม่มีแนวสายสื่อสารข้ามมาเกาะลันตา - การประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อมมีความประสงค์จะขอฝากท่อประปาขนาด 315 มิลลิเมตร (HDPE) จำนวน 2 ท่อกับโครงสร้างสะพานข้ามไปเกาะลันตา - ที่ปรึกษาแจ้ง หน่วยงานสาธารณูปโภค โครงสร้างสะพานช่วงที่เป็นคานขึง สามารถยืด - หดตัวได้มาก ถึง 54 เซนติเมตร จึงขอให้พิจารณาจุดเชื่อมต่อของสาธารณูปโภคให้สอดคล้องกันด้วย - ที่ปรึกษาขอความอนุเคราะห์ข้อมูลประมาณการราคาค่ารื้อย้าย แนวสายไฟฟ้าเบื้องต้ น จากการไฟฟ้าฯ ด้วย - ที่ปรึกษาแจ้งว่าแบบเบื้องต้นของโครงการจะแล้วเสร็จในเดือนมกราคม 2564 ขอให้ หน่วยงานสาธารณูปโภคทำหนังสือถึงผู้อำนวยการสำนักก่อสร้างสะพาน แจ้งความประสงค์ขอใช้โครงสร้างสะพาน วางแนวระบบสาธารณู ปโภคข้ามไปเกาะลัน ตา และขอแบบเบื้ องต้นของโครงการเพื่ อนำไปออกแบบระบบ สาธารณูปโภคของแต่ละหน่วยงานที่จะฝากไว้กับตัวโครงสร้างสะพานของโครงการและเพื่อพิจารณาตั้งงบประมาณ ก่อสร้างให้สอดคล้องกับระยะเวลาของงานก่อสร้างสะพาน หากโครงการได้อนุมัติจาก EIA ภายในปี พ.ศ. 2564 ทางกรมทางหลวงชนบทก็จะก่อสร้างในปี พ.ศ. 2565 ใช้เวลาก่อสร้างประมาน 3 ปี รูปที่ 3.4.4-11 ผู้เข้าประชุมหารือระบบสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้อง กรมทางหลวงชนบท 3-454 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (6) การหารือกับทางโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ ดำเนินการเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2563 แสดงดังรูปที่ 3.4.4-12 - ผังเมืองปีล่าสุดที่มีผลบังคับใช้ พ.ศ. 2559 - การควบคุมในการจัดการขยะ อยู่ในความรับผิดชอบสำนักงานพัฒนาท้องถิ่นจังหวัดกระบี่ ซึ่งการจัดการขยะจากตำบลเกาะกลาง ทางจังหวัดกระบี่ใช้ขนขยะเข้ามาสู่ตำบลคลองท่อม แล้วเข้าสู่ระบบการ กำจัดขยะของจังหวัด โดยที่ปรึกษาจะประสานงานกับสำนักงานท้องถิ่นเพิ่มเติมในครั้งถัดไป - ที่ปรึกษาจะติดต่อกับหน่วยงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่อีกครั้ง เมื่อรายงาน EIA ผ่านการพิจารณา รูปที่ 3.4.4-12 การประชุมหารือทางโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ (7) การประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) การประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) การรื้อย้ายสายไฟฟ้าแรงสูงชั่วคราว ขนาด 33 KV. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สำนักงานใหญ่ ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 12 อาคาร 1 กรมทางหลวงชนบท เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2564 ดังรูปที่ 3.4.4-13 - หารือเรื่องรื้อย้ายสายไฟฟ้าบริเวณเชิงลาดสะพาน - หารือการรื้อย้ายสายไฟฟ้าแรงสูงเป็นการชั่วคราว ขนาด 33 KV. - หารือเรื่องการออกแบบร่วมกัน เพื่อนำแนวสายไฟฟ้าแรงสูงขนาด 110 KV. เกาะไปกับ โครงสร้างสะพาน รูปที่ 3.4.4-13 การประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) กรมทางหลวงชนบท 3-455 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.5 คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 3.5.1 เศรษฐกิจ-สังคม 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่ อศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสั งคม โครงสร้างความสัมพั น ธ์ท างสังคมของบุ คคลในชุมชน จำนวนประชากร ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากร การประกอบอาชีพและรายได้ของประชากรและชุมชน ในบริเวณพื้นที่โครงการ (2) เพื่อวิเคราะห์สภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม และประชากร ตลอดจนวิถีชีวิต ของชุมชนและครัวเรือนประชาชนในพื้นที่ศึกษาในกรณีที่มีการพัฒนาโครงการ (3) เพื่อนำไปประเมินผลกระทบต่อโครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมของชุมชน และด้านเศรษฐกิจ ของชุมชนที่อาจเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการ ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ 2) วิธีการศึกษา (1) ทำการรวบรวมข้อมูลจากรายงานการศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านเศรษฐกิจ -สังคม และประชากรศาสตร์ เช่น จำนวนคนและครัวเรือน เพศ วัย จำนวนเฉลี่ยต่อครัวเรือน อาชีพ รายได้ เป็นต้น ของประชากรในบริเวณพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียง (2) สำรวจภาคสนามเพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของพื้นที่ รวมทั้งข้อมูลจากการสอบถาม จากผู้นำชุมชน พื้นที่อ่อนไหวทางด้านสิ่งแวดล้อม และครัวเรือนที่อาศัยอยู่ตามแนวเส้นทางโครงการ เพื่อประกอบ การจัดทำรายงานให้มีความถูกต้องครบถ้วน 3) ผลการศึกษา (1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้อง ก) ด้านเศรษฐกิจของจังหวัดกระบี่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกระบี่ ปี พ.ศ. 2561 (Gross Provincial Product : GPP) ณ ราคาประจำปีมีมูลค่าเท่ากับ 86,684 ล้านบาท ลดลงจาก 86,841 ล้านบาท ในปี 2560 เท่ากับ 157 ล้านบาท มีมูลค่าเป็นลำดับที่ 2 ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน รองจากจังหวัดภูเก็ต ลำดับที่ 6 ของภาคใต้ และลำดับที่ 33 ของประเทศ โดยโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ของจังหวัดกระบี่ ขึ้นอยู่กับสาขาการผลิต ภาคการเกษตร มีมูลค่า 19,932 ล้านบาทมีสัดส่วนร้อยละ 23.0 การผลิตภาคนอกเกษตร มีมูลค่า 66,753 ล้านบาท มีสัดส่วนร้อยละ 77.0 แสดงดังตารางที่ 3.5.1-1 และรูปที่ 3.5.1-1 ข) มู ลค่ าผลิ ตภั ณ ฑ์ จั งหวั ด กระบี่ สำหรับ ผลิ ตภั ณ ฑ์ มวลรวมจั งหวั ดกระบี่ ปี พ.ศ. 2561 มีผลิตภัณฑ์มวลรวมคิดเป็นมูลค่าประมาณ 53,788 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2554 ซึ่งมีมูลค่าเท่ากับ 39,649 ล้านบาท มีอัตราการขยายตัวร้อยละ 4.45 ต่อปี ในช่วงปี พ.ศ. 2554-2561 ดังแสดงในรูปที่ 3.5.1-2 และตารางที่ 3.5.1 -2 สำหรับ สัด ส่ว นผลิต ภัณ ฑ์ม วลรวมจัง หวัด กระบี่ ปี พ.ศ. 2561 พบว่า มีมูล ค่า ผลิต ภัณ ฑ์จ ากสาขา การบริการประมาณร้อยละ 38.73 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ สาขาการเกษตรป่าไม้และ การประมงประมาณร้อยละ 13.60 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมทั้งหมด อันดับสาม ได้แก่ สาขาการโรงแรมภัตตาคาร ร้อยละ 12.12 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมทั้งหมด และสาขาอื่นๆ ก็มีสัดส่วนลดหลั่นลงไป ดังแสดงในรูปที่ 3.5.1-3 กรมทางหลวงชนบท 3-456 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ตามราคาประจำปี จำแนกตามสาขาการผลิต ปี พ.ศ. 2560 - 2561 โครงสร้างการผลิต อัตราขยายตัว สาขาการผลิต ณ ราคาประจำปี 2560r 2561p 2560r 2561p 1. ภาคเกษตร 7.1 1.3 26.5 23.0 เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง 7.1 1.3 26.5 23.0 2. ภาคนอกเกษตร 3.8 3.2 73.5 77.0 ภาคอุตสาหกรรม 4.4 -3.5 6.9 6.3 การทำเหมืองแร่และเหมืองหิน -28.6 12.0 0.5 0.6 การผลิต 12.0 -7.1 4.9 4.2 การไฟฟ้า ก๊าซไอน้ำ และระบบปรับอากาศ -1.3 3.1 1.3 1.2 การจัดหาน้ำ การจัดการ และการบำบัดน้ำเสีย ของเสีย และสิ่งปฏิกูล 0.4 3.6 0.2 0.2 ภาคบริการ 3.8 3.9 66.6 70.8 การก่อสร้าง -23.6 10.2 2.5 2.8 การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ 4.9 -9.3 10.4 9.6 การขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า 0.2 6.9 17.8 18.9 ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 11.2 6.7 17.0 19.1 ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 14.5 20.7 0.6 0.7 กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 6.0 7.5 4.1 4.4 กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ 13.5 -9.2 2.2 2.1 กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 3.0 31.9 0.03 0.04 กิจกรรมการบริหารและการบริการสนับสนุน 22.7 9.6 4.0 4.5 การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ -7.4 10.9 3.1 3.6 การศึกษา -1.6 -5.6 2.9 2.8 กิจกรรมด้านสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 0.1 5.6 1.6 1.7 ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 4.9 8.4 0.1 0.1 กิจกรรมบริการด้านอื่นๆ 2.0 28.7 0.3 0.4 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (ปริมาณลูกโซ่) 4.7 2.7 100.0 100.0 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2561 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2561 รูปที่ 3.5.1-1 โครงสร้างระบบเศรษฐกิจจังหวัดกระบี่ ราคาตลาด กรมทางหลวงชนบท 3-457 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 60,000.00 55,000.00 12.15 50,000.00 อัตราการขยายตัว ร้อยละต่อปี 45,000.00 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 40,000.00 35,000.00 7.51 30,000.00 4.74 25,000.00 20,000.00 2.41 2.73 15,000.00 1.77 10,000.00 0.34 255 2555 2556 255 255 255 2560 2561 ปี พ.ศ. ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด รูปที่ 3.5.1-2 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกระบี่ รูปที่ 3.5.1-3 สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-458 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-2 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกระบี่ ปี พ.ศ. 2554-2561 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกระบี่ ปี พ.ศ. (ล้านบาท) อัตราการขยายตัว กิจกรรมทางเศรษฐกิจ 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2554-2561 (ต่อปี) ภาคเกษตร 12,580 14,819 14,582 15,101 13,379 12,629 13,524 13,703 1.23 การเกษตรป่าไม้และการประมง 12,580 14,819 14,582 15,101 13,379 12,629 13,524 13,703 1.23 ภาคนอกเกษตร 28,015 30,129 31,453 34,532 36,669 38,681 40,166 41,466 5.76 อุตสาหกรรม 2,683 2,833 2,858 2,960 3,065 3,162 3,302 3,189 2.50 เหมือนแร่ 153 157 144 140 233 356 254 285 9.33 การผลิต 1,780 1,866 1,914 1,981 1,969 1,907 2,136 1,984 1.56 การไฟฟ้า ประปา และก๊าซ 855 943 915 964 999 1,066 1,053 1,085 3.45 จัดหาน้ำ การจัดการขยะมูลฝอยและการฟื้นฟู 65 68 62 61 78 90 90 93 5.34 บริการ 25,708 27,726 29,071 32,133 34,210 36,171 37,538 39,012 6.14 การก่อสร้าง 980 1,414 1,338 1,421 1,833 2,058 1,572 1,733 8.49 การขายปลีก ขายส่ง ซ่อมแซมยานยนต์ 4,646 4,394 3,524 3,540 3,715 4,107 4,308 3,906 -2.45 การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า คมนาคม 6,855 6,536 7,747 9,664 10,731 11,193 11,212 11,987 8.31 การโรงแรม ภัตตาคาร 5,246 6,594 8,554 8,705 9,613 10,291 11,440 12,207 12.82 ข้อมูลและการสื่อสาร 520 551 518 546 641 559 639 772 5.80 กิจกรรมทางการเงินและการประภันภัย 1,339 1,522 1,773 1,921 2,060 2,183 2,314 2,486 9.24 บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการทางธุรกิจ 1,694 2,052 1,786 2,740 1,902 1,800 2,040 1,851 1.28 กิจกรรมทางวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์และด้านเทคนิค 13 13 14 15 14 20 21 27 11.21 กิจกรรมการบริหารและการสนับสนุน 485 767 1,254 1,452 1,622 1,748 2,145 2,351 25.28 การบริหารสาธารณะและการประกันสังคมภาคบังคับ 2,052 2,350 1,815 1,541 1,540 1,646 1,524 1,690 -2.74 การศึกษา 1,514 1,459 1,373 1,453 1,360 1,308 1,288 1,215 -3.09 กิจกรรมด้านสุขภาพและกิจกรรมเพื่อสังคม 525 589 587 761 776 801 802 847 7.08 ศิลปะบันเทิงและนันทนาการ 38 44 44 45 52 71 74 80 11.11 กิจกรรมการบริการอื่นๆ 120 131 146 150 165 172 175 226 9.41 ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดกระบี่ 39,649 44,467 45,253 48,651 48,815 49,991 52,359 53,788 4.45 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรมทางหลวงชนบท 3-459 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ค) ประชากรและจำนวนครั ว เรื อ น จำนวนประชากร ประเทศไทยมี จ ำนวนประชากร ทั่วประเทศในปี พ.ศ. 2562 ทั้งสิ้น 66,558,935 คน โดยในภาคใต้มีจ ำนวนประชากรทั้ งสิ้ น 9,493,757 คน จังหวัดกระบี่มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 476,739 คน ส่วนอำเภอเกาะลันตามีจำนวนประชากรทั้งสิ้ น 35,506 คน ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2553-2562 จำนวนประชากรทั้งประเทศ มีแนวโน้มอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.46 ต่อปี สำหรับในภาคใต้ จังหวัดกระบี่ และอำเภอเกาะลันตา มีแนวโน้มอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.73 1.08 และ 1.48 ต่อปี รายละเอียดจำนวนและอัตราการขยายตัวของประชากร ดังแสดงในตารางที่ 3.5.1-3 จำนวนครัว เรือน จากข้อ มู ล กรมการปกครองในปี พ.ศ. 2562 ประเทศไทยมี จ ำนวน ครัวเรือนทั้งสิ้น 26,713,936 ครัวเรือน โดยในภาคใต้มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 3,624,216 ครัวเรือน จังหวัดกระบี่ มีจำนวนครัวเรือนรวมทั้งสิ้น 189,510 ครัวเรือน และอำเภอเกาะลันตามีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 14,527 ครัวเรือน ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2553-2562 จำนวนครัวเรือนทั้งประเทศมีแนวโน้มอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.35 ต่อปี สำหรับในภาคใต้ จังหวัดกระบี่ และอำเภอเกาะลันตา มีแนวโน้มอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.46 2.89 และ 3.91 ต่อปี ตามลำดับ มีรายละเอียดการขยายตัวของจำนวนครัวเรือนในปีต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 3.5.1- ง) การจ้างงาน ใน พ.ศ. 2562 นั้น พบว่า ประเทศไทยมีการจ้างแรงงานทั้งหมด 56.7 ล้านคน สำหรับภาคใต้มีการจ้างแรงงานประมาณ 7.46 ล้านคน และจังหวัดกระบี่มีการจ้างงานประมาณ 295 ,719 คน โดยอัตราการเติบโตของการจ้างงาน พบว่า ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 -2562 ประเทศไทยมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ย ต่อปีร้อยละ 0.57 ภาคใต้มีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 0.27 และในจังหวั ดกระบี่มีอัตราการจ้างงาน ลดลงเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 0.37 ดังแสดงในตารางที่ 3.5.1-5 จ) รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน ในปี พ.ศ. 2560 ประเทศไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนประมาณ 26,946 บาทต่อครัวเรือน สำหรับภาคใต้มีรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนประมาณ 26,913 บาทต่อครัวเรือ น จังหวัด กระบี่มีรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนประมาณ 34,052 บาทต่อครัวเรือน ซึ่งรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนของประเทศไทย ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2549 -2560 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 3.85 ส่วนจังหวัดกระบี่ มีอัตราการขยายตัวร้อยละ 5.73 แสดงดังตารางที่ 3.5.1-6 ทั้งนี้ สำหรับข้อมูลด้านรายได้ทางสำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ทำการเก็บสำรวจทุกๆ 2 ปี เฉพาะปี พ.ศ. ที่ลงท้ายด้วยเลขคู่ ซึ่งได้มีการเริ่มเก็บสำรวจนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ฉ) การศึกษา จากสถิติการศึกษาปี พ.ศ. 2562 ของจังหวัดกระบี่ พบว่า มีจำนวนนักเรียนที่ กำลังศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งสิ้น 58,120 คน ซึ่งเป็นผู้หญิง 29,409 คน และเป็นผู้ชาย 28,711 คน โดยมีตารางแจกแจงจำนวนนักเรียนตามอำเภอในจังหวัดกระบี่ แสดงดังตารางที่ 3.5.1- กรมทางหลวงชนบท 3-460 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-3 จำนวนและอัตราการขยายตัวของประชากรในพื้นที่ศึกษา ปี พ.ศ. อัตราการขยายตัว หัวข้อ 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2553-2562 (ต่อปี) ประเทศ 63,878,267 64,076,033 64,456,695 64,785,909 65,124,716 65,729,098 65,931,550 66,188,503 66,413,979 66,558,935 0.46 ภาคใต้ 8,893,050 8,971,855 9,060,189 9,131,425 9,217,504 9,290,708 9,341,162 9,399,578 9,454,193 9,493,757 0.73 จังหวัดกระบี่ 432,704 438,039 444,967 450,890 456,811 462,101 465,931 469,769 473,738 476,739 1.08 อำเภอเมืองกระบี่ 105,560 107,262 109,767 111,871 114,131 116,402 118,288 120,030 122,042 123,729 1.78 อำเภอเขาพนม 51,252 51,858 52,732 53,558 54,143 54,698 54,956 55,328 55,600 55,818 0.95 อำเภอคลองท่อม 72,383 73,185 74,265 74,894 75,674 76,413 76,798 77,188 77,734 77,950 0.83 อำเภออ่าวลึก 53,908 54,239 54,731 55,055 55,670 55,944 56,138 56,270 56,502 56,607 0.54 อำเภอปลายพระยา 37,352 37,536 37,745 38,150 38,356 38,452 38,578 38,580 38,707 38,712 0.40 อำเภอลำทับ 22,574 22,846 23,232 23,505 23,781 24,073 24,202 24,390 24,457 24,524 0.92 อำเภอเหนือคลอง 58,573 59,275 60,071 60,941 63,870 62,238 62,634 63,184 63,540 63,893 0.97 อำเภอเกาะลันตา 31,102 31,838 32,424 32,916 33,418 33,881 34,337 34,799 35,156 35,506 1.48 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 6,965 7,052 7,181 7,217 7,411 7,526 7,563 7,695 7,779 7,894 4.33 ตำบลเกาะลันตาน้อย 5,298 5,389 5,553 5,696 5,751 5,834 5,887 5,965 6,044 6,082 -2.75 ตำบลเกาะกลาง 7,716 7,819 7,942 8,055 8,115 8,199 8,300 8,414 8,488 8,499 1.08 ตำบลคลองยาง 5,663 5,729 5,835 5,892 5,984 6,066 6,100 6,113 6,123 6,204 1.02 ตำบลศาลาด่าน 5,460 5,849 5,913 6,056 6,157 6,256 6,487 6,612 6,722 6,827 2.51 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2561 กรมทางหลวงชนบท 3-461 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1- จำนวนและอัตราการขยายตัวของครัวเรือนในพื้นที่ศึกษา ปี พ.ศ. อัตราการขยายตัว หัวข้อ 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2553-2562 (ต่อปี) ประเทศ 21,681,635 22,240,259 22,836,819 23,466,417 24,091,404 24,712,420 25,233,077 25,723,807 26,208,994 26,713,936 2.35 ภาคใต้ 2,911,227 3,007,039 3,105,903 3,210,128 3,301,727 3,379,811 3,444,061 3,502,273 3,560,402 3,624,216 2.46 จังหวัดกระบี่ 146597 151850 157428 163076 167678 172,459 177,192 181,426 185,150 189,510 2.89 อำเภอเมืองกระบี่ 44,290 45,931 47,665 49,494 51,408 53,524 56,015 58,312 60,320 62,552 3.91 อำเภอเขาพนม 15,898 16,737 17,580 18,322 18,722 19,116 19,422 19,687 19,904 20,150 2.67 อำเภอคลองท่อม 22,188 22,882 23,750 24,581 25,163 25,708 26,106 26,488 26,934 27,316 2.34 อำเภออ่าวลึก 16,832 17,261 17,789 18,250 18,627 18,997 19,291 19,552 19,844 20,129 2.01 อำเภอปลายพระยา 11,066 11,362 11,707 12,065 12,290 12,533 12,719 12,850 13,013 13,239 2.01 อำเภอลำทับ 7,563 7,819 8,165 8,529 8,808 8,984 9,149 9,260 9,388 9,515 2.58 อำเภอเหนือคลอง 18,472 19,032 19,548 20,173 20,590 21,045 21,389 21,698 21,682 22,082 2.00 อำเภอเกาะลันตา 10,288 10,826 11,224 11,662 12,070 12,552 13,101 13,579 14,065 14,527 3.91 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 2,537 2,680 2,776 2,877 2,964 3,079 3,221 3,315 3,449 3,564 11.21 ตำบลเกาะลันตาน้อย 1,300 1,370 1,420 1,470 1,506 1,535 1,588 1,617 1,669 1,716 -1.48 ตำบลเกาะกลาง 1,876 1,962 2,012 2,062 2,101 2,129 2,177 2,238 2,283 2,327 2.42 ตำบลคลองยาง 1,341 1,396 1,448 1,496 1,543 1,600 1,623 1,667 1,714 1,739 2.93 ตำบลศาลาด่าน 3,234 3,418 3,568 3,757 3,956 4,209 4,492 4,742 4,950 5,181 5.38 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2561 กรมทางหลวงชนบท 3-462 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-5 จำนวนผู้มีงานทำ พ.ศ. อัตราการขยายตัว หัวข้อ 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2554-2562 (ต่อปี) ทั่วประเทศ 54,195,400 54,700,000 55,211,300 54,992,900 55,380,300 55,742,000 56,079,900 56,391,900 56,700,800 0.57 ภาคใต้ 7,302,100 7,414,400 7,528,000 7,160,600 7,223,700 7,286,000 7,346,600 7,402,700 7,460,500 0.27 จังหวัดกระบี่ ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป 304,526 309,999 315,522 286,215 288,284 290,330 292,958 294,093 295,719 -0.37 ผู้อยู่ในกำลังแรงงาน 228,008 241,070 244,762 212,330 212,857 211,694 211,378 219,458 219,490 -0.47 ผู้มีงานทำ 226,432 239,467 241,328 207,886 208,556 207,500 207,487 216,281 215,609 -0.61 ผู้ว่างงาน 1,054 1,420 2,843 4,357 4,158 4,194 3,890 3,177 3,881 17.69 ผู้ที่รอฤดูกาล 522 183 591 87 143 0 0 0 0 0.00 ผู้อยู่นอกกำลังแรงงาน 76,517 68,929 70,760 73,886 75,427 78,636 81,581 74,634 76,230 -0.05 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมทางหลวงชนบท 3-463 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-6 รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน (บาท) อัตราการขยายตัว ลำดับที่ แขวง/ตำบล 2549 2550 2552 2554 2556 2558 2560 เฉลี่ยต่อปี (ร้อยละ) 1 ทั่วประเทศ 17,787 18,660 20,904 23,236 25,194 26,915 26,946 3.85 2 ภาคใต้ 18,668 19,716 22,926 27,326 27,504 26,286 26,913 3.38 3 จังหวัดกระบี่ 18,446 18,852 23,647 33,350 27,275 31,011 34,052 5.73 ที่มา : การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตารางที่ 3.5.1- จำนวนนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2562 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Office of the Basic Education Commission อำเภอ รวม ชาย หญิง Total Male Female จังหวัดกระบี่ 58,120 28,711 29,409 อำเภอเมืองกระบี่ 13,311 6,419 6,892 อำเภอเขาพนม 7,004 3,543 3,461 อำเภอเกาะลันตา 5,533 2,793 2,740 อำเภอคลองท่อม 10,931 5,287 5,644 อำเภออ่าวลึก 6,892 3,375 3,517 อำเภอปลายพระยา 4,015 2,078 1,937 อำเภอลำทับ 3,634 1,827 1,807 อำเภอเหนือคลอง 6,800 3,389 3,411 ่ า : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดกระบี่ ทีม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 จังหวัดกระบี่ ช) ด้านเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ศึกษาโครงการ ผลการรวบรวมข้อมูลเขตการปกครอง จากองค์กรปกครองส่วนท้อ งถิ่น พบว่า แนวเส้นทางโครงการมีพื้นที่ศึกษาครอบคลุมพื้นที่ 1 อำเภอ 2 ตำบล 2 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน และหมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม (ก) ข้อมูลประชากร ข้อมูลประชากรระดับตำบล จำนวนประชากรระดับตำบลเกาะกลาง และตำบลเกาะลัน ตาน้อ ย อำเภอเกาะลัน ตา จัง หวัด กระบี ่ จากข้อ มูล สำนัก ทะเบีย น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2562 โดยแนวเส้นทางโครงการพาดผ่านพื้นที่จำนวน 2 ตำบล คือ ตำบลเกาะกลาง และตำบลเกาะลันตาน้อย มีจำนวนครัวเรือน 309 และ 275 ครัวเรือน แสดงดังตารางที่ 3.5.1- ตารางที่ 3.5.1- จำนวนประชากรบริเวณพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ จำนวนประชากร (คน) จำนวน จังหวัด อำเภอ ตำบล ชาย หญิง รวม ครัวเรือน (หลัง) 1. ตำบลเกาะกลาง 554 554 1,089 309 กระบี่ เกาะลันตา 2. ตำบลเกาะลันตาน้อย 533 534 1,067 275 ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2562 กรมทางหลวงชนบท 3-464 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ข) ลัก ษณะชุ มชน เนื่ องจากบริเวณพื้ น ที่ ชุ ม ชนตามแนวเส้ น ทางเลื อกตั ด ผ่า นชุ ม ชน รูปแบบทั้งชุมชนเขตชนบทที่มีลักษณะสังคมเกษตรกรรมเช่นเดียวกับเขตชนบททั่วไปของประเทศ ชุมชนลักษณะ เมืองและกึ่งชนบทที่เตรียมพัฒนากลายเป็ นเขตเมืองที่มีความเจริญต่อไปข้างหน้า แนวเส้นทางโครงการพาดผ่าน พื้ น ที่ ชุ ม ชนเขตชนบทที่ มี ลั กษณะสั งคมเกษตรกรรม มี การตั้ งถิ่น ฐานตามทางแยกถนนตั ด กัน ( Cross-Road Settlement) โดยบ้านเรือนจะอยู่ตามมุมถนน (ค) ศาสนา - ตำบลเกาะกลาง จากรายงานแผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2558 – 2560 ขององค์การ บริหารส่วนตำบลเกาะกลาง ได้ส รุปขอมูลการนับถือศาสนาของประชากรในตำบลเกาะกลาง พบว่า มีประชากร ที่นับถือศาสนาอิสลาม ประมาณ 98% และศาสนาพุทธ ประมาณ 2% - ตำบลเกาะลันตาน้อย จากรายงานแผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ. 2561 – 2565 ของ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย ได้สรุปข้อมูลการนับถือศาสนาของประชากรในตำบลเกาะกลาง พบว่า ประชากรที่มีชื่อในทะเบียนบ้านอาศัยในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คิดเป็นร้อยละ 99 ที่เหลื อนับ ถือศาสนาอื่น ๆ ประชาชนบนเกาะลัน ตาน้ อย ยังคงยึด มั่น ในศาสนาอิสลามเป็ น อย่างดี มี โรงเรีย น สอนศาสนา และมีศูนย์อบรมศาสนาและจริยธรรมประจำมัสยิดทุกมัสยิด นอกจากนี้ ยังมีการบรรจุการสอน หลักสู ต รอิ สลามศึกษาของทุ กโรงเรีย น มี การสอนศาสนาให้ กับ เด็ กในตอนกลางคืน และยั งมีการสอนให้ กับ ประชาชนทั่วไปในมัสยิดประจำหมู่บ้าน โดยแยกการสอนระหว่างชายและหญิง (ง) สถานศึกษา/สถาบันและองค์กรทางศาสนา/สาธารณสุข - สถานศึ ก ษา ตำบลเกาะกลาง จำนวน 7 แห่ ง ได้ แ ก่ โรงเรีย นบ้ า นร่า หมาด โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด โรงเรียนบ้านลิกี โรงเรียนบ้านปากคลอง โรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง และ กศน. อำเภอเกาะลันตา - สถานศึกษา ตำบลเกาะลันตาน้อย จำนวน 9 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านโละใหญ่ โรงเรียนบ้านทุ่งวิทยพัฒน์ โรงเรียนบ้านคลองโตนด ศพด.ลันตาน้อยสามัคคี โรงเรียนบ้านหลังสอด ศพด.บ้านโละใหญ่ ศพด.บ้านทุ่ง ศพด.บ้านคลองโตนด ศพด.ทุ่งหยุม - สถาบันและองค์กรทางศาสนา ตำบลเกาะกลาง จำนวน 12 แห่ง ได้แก่ มัสยิด บ้านอ่าวบุนโตด มัสยิดบ้านคลองย่าหนัด มัสยิดบ้านปากคลอง มัสยิดบ้านร่าหมาด มัสยิดบ้านร่าปู มัสยิดบ้านลีกี มัสยิดดารุ้ลมุตตากีน (บ้านนาทุ่งกลาง) มัสยิดอ่าวทองหลาง มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ หัวหิน มัสยิดนูรุลเอี๊ยะซาน - บ้านท่าคลอง มัสยิดมีฟตาฮุซซอล๊ะฮ์ และมัสยิดบ้านขุนสมุทร - สถาบันและองค์กรทางศาสนา ตำบลเกาะลันตาน้อย จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ มัสยิด บ้านโล๊ะใหญ่ มัสยิดบ้านหลังสอด มัสยิดสามัคคีมัสยิด บ้านคลองหมาก มัสยิดบ้านกลาง มัสยิดบ้านคลองโตนด มัสยิดบ้านทุ่งพัฒนา มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม และมัสยิดอัตตักวา - สาธารณสุ ข ข้ อ มู ล ระดั บ อำเภอ สถานบริ ก ารสาธารณสุ ข จากข้ อ มู ล ของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกระบี่ กระทรวงสาธารณสุข รายงานจำนวนสถานพยาบาล ปี พ.ศ. 2562 จำแนก ของภาครัฐ รพช. จำนวน 1 แห่ง (ขนาด 10 เตียง) รพ.สต. จำนวน 7 แห่ง ศูนย์สุขภาพชุมชน จำนวน 1 แห่ง และภาคเอกชน สถานพยาบาลที่ไม่รับผู้ ป่วยไว้ค้างคืน คลินิกเวชกรรม จำนวน 12 แห่ง คลินิกทันตกรรม คลินิก การพยาบาลและผดุงครรภ์ จำนวน 13 แห่ง คลินิกกายภาพบำบัด จำนวน 1 แห่ง กรมทางหลวงชนบท 3-465 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (จ) รายได้ของประชากร ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ประจำปี 2562 ในระดับราย ตำบลของอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พบว่า รายได้ต่อครัวเรือนของตำบลคลองยาง เฉลี่ย 222,151 บาท/ปี คิดเป็นรายได้ต่อบุคคลเฉลี่ย 59,597 บาท/ปี รายได้ต่อครัวเรือนของตำบลเกาะกลางเฉลี่ย 202,855 บาท/ปี คิดเป็นรายได้ต่อบุคคลเฉลี่ย 57,487 บาท/ปี รายได้ต่อครัวเรือนของตำบลเกาะลันตาน้อยเฉลี่ย 195,672 บาท/ปี คิดเป็ นรายได้ ต่อบุคคลเฉลี่ ย 55,455 บาท/ปี รายได้ต่อครัวเรือนของตำบลศาลาด่านเฉลี่ย 198,128 บาท/ปี คิดเป็นรายได้ต่อบุคคลเฉลี่ย 65,057 บาท/ปี รายได้ต่อครัวเรือนของตำบลเกาะลันตาใหญ่เฉลี่ย 278,778 บาท/ปี คิดเป็นรายได้ต่อบุคคลเฉลี่ย 90,221 บาท/ปี รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 3.5.1- สำหรับรายจ่ายเฉลี่ยของประชาชนในพื้นที่โครงการ พบว่า รายจ่ายต่อครัวเรือนของ ตำบลคลองยางเฉลี่ย 194,712 บาท/ปี คิดเป็นรายจ่ายต่อบุคคลเฉลี่ย 52 ,236 บาท/ปี รายจ่ายต่อครัวเรือนของ ตำบลเกาะกลางเฉลี่ย 164,691 บาท/ปี คิดเป็นรายจ่ายต่อบุคคลเฉลี่ย 46,672 บาท/ปี รายจ่ายต่อครัวเรือนของ ตำบลเกาะลันตาน้อยเฉลี่ย 135,257 บาท/ปี คิดเป็นรายจ่ายต่อบุคคลเฉลี่ย 38,333 บาท/ปี รายจ่ายต่อครัวเรือน ของตำบลศาลาด่านเฉลี่ย 124,160 บาท/ปี คิดเป็นรายจ่ายต่อบุคคลเฉลี่ย 40,769 บาท/ปี รายจ่ายต่อครัวเรือน ของตำบลเกาะลัน ตาใหญ่ เฉลี่ย 218 ,293 บาท/ปี คิดเป็นรายจ่ายต่อบุคคลเฉลี่ย 70 ,646 บาท/ปี ตามลำดับ รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 3.5.1-10 ตารางที่ 3.5.1- รายได้บุคคลเฉลี่ยต่อปีของประชากรในพื้นที่โครงการ ปี 2562 แหล่งรายได้ครัวเรือน (บาท/ปี) รายได้ครัวเรือน รายได้บุคคล จำนวน จำนวน พื้นที่ ปลูก เลีย้ง ่ เฉลีย ่ เฉลีย ครัวเรือน คน อาชีพหลัก อาชีพรอง รายได้อื่น หาเอง (บาท/ปี) (บาท/ปี) ตำบลคลองยาง 1,270 4,734 163,410 35,771 10,601 12,370 222,151 59,597 ตำบลเกาะกลาง 1,638 5,780 159,538 25,085 9,839 8,393 202,855 57,487 ตำบลเกาะลันตาน้อย 1,141 4,026 142,957 31,790 10,086 10,839 195,672 55,455 ตำบลศาลาด่าน 1,166 3,551 162,340 23,995 6,208 5,585 198,128 65,057 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 1,412 4,363 233,971 24,217 12,050 8,540 278,778 90,221 ทุกพื้นที่ 6,627 22,454 862,216 140,858 48,783 45,727 1,097,584 327,817 ที่มา : ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ระดับตำบล ปี 2562 ตารางที่ 3.5.1-10 รายจ่ายบุคคลเฉลี่ยต่อปีของประชากรในพื้นที่โครงการ ปี 2562 แหล่งรายจ่ายของครัวเรือน (บาท/ปี) รายจ่าย รายจ่าย จำนวน จำนวน อุปโภค อุปโภค ครัวเรือน บุคคล พื้นที่ ต้นทุน ชำระ ครัวเรือน คน บริโภคที่ บริโภคที่ไม่ เฉลี่ย เฉลี่ย การผลิต หนี้สิน จำเป็น จำเป็น (บาท/ปี) (บาท/ปี) ตำบลคลองยาง 1,270 4,734 38,834 114,473 21,301 20,104 194,712 52,236 ตำบลเกาะกลาง 1638 5,780 23,834 94,851 17,357 28,649 164,691 46,672 ตำบลเกาะลันตาน้อย 1,141 4,026 26,637 70,087 21,647 16,886 135,257 38,333 ตำบลศาลาด่าน 1,166 3,551 26,058 73,377 16,093 8,632 124,160 40,769 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 1,412 4,363 40,912 136,071 17,963 23,347 218,293 70,646 ทุกพื้นที่ 6,627 22,454 156,275 488,859 94,361 97,618 837,113 248,656 ที่มา : ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ระดับตำบล ปี 2562 กรมทางหลวงชนบท 3-466 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (2) การสำรวจภาคสนาม แนวเส้นทางโครงการ มีจุดเริ่มต้นที่ กม.0+000 เชื่อมต่อกลับทางหลวงหมายเลข 4206 (กม. 26+620) บริเวณบ้ านหั วหิ น ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และจุดสิ้ นสุ ดโครงการที่ กม. 2+527 เชื่อมต่อกับทางหลวงชนบท กบ.5035 บริเวณบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะ ลันตา จังหวัดกระบี่ ในการสำรวจสภาพเศรษฐกิจ -สัง คมของโครงการ มีพื้นที่เป้าหมายครอบคลุมพื้นที่ในเขต ทางและพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งกลางแนวเส้นทางโครงการเป็นอย่างน้อยหรือมากกว่าขึ้นกับประเด็น การศึกษา แต่ทั้งนี้ จากการสำรวจภาคสนามในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งกลางแนวเส้นทางโครงการ พบ แหล่งชุมชนอาศัยอยู่น้อยและตั้งบ้านเรือนแบบกระจายตัวห่างๆ ตามแนวถนนที่มีอยู่ในปัจจุบัน ดัง นั้น เพื่อให้ การศึกษาด้านเศรษฐกิจ-สังคมของโครงการครั้งนี้มีความเหมาะสม จึงพิจารณาครอบคลุมพื้นที่มากกว่าพื้นที่ศึกษา ระยะ 500 เมตร จากกึ่งกลางแนวเส้นทางโครงการ ครอบคลุมพื้นที่เกาะลันตา 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลศาลาด่าน ตำบลเกาะกลาง และตำบลคลองยาง เนื่องจากเป็นผู้ได้ประโยชน์จากการ ดำเนินโครงการ แสดงดังตารางที่ 3.5.1-11 และรูปที่ 3.5.1- การสำรวจเศรษฐกิจและสังคมของโครงการครั้งนี้ ได้กำหนดกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ ก) การกำหนดกลุ่มประชากรตัวอย่าง แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ • กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้นำชุมชน เป็นบุคคลในชุมชน ที่มีศักยภาพในการประสานความร่วมมือ ระว่างคนในชุมชนเป็นที่เคารพนักถือของคนในชุมชน ในการศึกษานี้ ผู้นำเป็นผู้ที่ดได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ มีหน้าที่ดูแลทุกข์สุขชองประชาชน ได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้นำทางการเมือง ได้แก่ นายกองค์การบริหาร ส่วนตำบล หรือนายกเทศมนตรี • กลุ่มที่ 2 กลุ่มครัวเรือน เป็นหัวหน้าครัวเรือนหรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งสามารถ ตัดสินใจและให้ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง • กลุ่มที่ 3 กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่ งแวดล้อม ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ศึกษาโครงการ ได้แ ก่ สถานศึ กษา สถานพยาบาล และศาสนสถานที่มีความสำคัญ ซึ่ง เป็น กลุ่ม ที่อ่ อนไหวต่อ การได้รับผลกระทบ โดยการสำรวจจะพิจารณาผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจสูงสุดหรือตัวแทนที่ได้รับมอบหมาย ได้แก่ ผู้อำนวยการ โรงเรียน เจ้าอาวาส ผู้อำนวยการโรงพยาบาล • กลุ่มที่ กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบด้านการเวนคืนที่ดินและทรัพย์สิน เป็นเจ้าของที่ดิน หรือทรัพย์สินที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการพัฒนาโครงการ • กลุ่ ม ที่ 5 สถานประกอบการ เป็ น เจ้ า ของสถานประกอบการหรือ ผู้ แทนที่ ได้ รับ มอบหมาย ซึ่งสามารถตัดสินใจและให้ ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง โดยสถานประกอบการที่พิจารณาจะเป็นสถานที่ซึ่ง ผู้ประกอบการใช้ประกอบกิจการเป็นประจำและหมายความรวมถึงสถานที่ซึ่งใช้เป็นที่ผลิตหรือเก็บสินค้าเป็น ประจำ กรมทางหลวงชนบท 3-467 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-11 พื้นที่เป้าหมายการสำรวจสภาพเศรษฐกิจ-สังคม จังหวัด อำเภอ ตำบล ้น หมู่บา 1. หมู่ที่ 1 บ้านร่าปู 2. หมู่ที่ 2 บ้านร่าหมาด 3. หมู่ที่ 3 บ้านปากคลอง 4. หมู่ที่ 4 บ้านคลองย่าหนัด 1. ตำบลเกาะกลาง 5. หมู่ที่ 5 บ้านลิกี 6. หมู่ที่ 6 บ้านนาทุ่งกลาง 7. หมู่ที่ 7 บ้านอ่าวทองหลาง 8. หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 9. หมู่ที่ 9 บ้านท่าคลอง 10. หมู่ที่ 10 บ้านขุนสมุทร 1. หมูท่ ี่ 1 บ้านหลังสอด 2. หมู่ที่ 2 บ้านคลองหมาก 2. ตำบลเกาะลันตาน้อย 3. หมู่ที่ 3 บ้านนาทุ่ง 4. หมู่ที่ 4 บ้านโละใหญ่ 5. หมู่ที่ 5 บ้านคลองโตนด 6. หมู่ที่ 6 บ้านทอนลิบง กระบี่ เกาะลันตา 1. หมูท ่ ี่ 1 บ้านพระแอะ 2. หมู่ที่ 2 บ้านศาลาด่าน 3. ตำบลศาลาด่าน 3. หมู่ที่ 3 บ้านทุ่งยุง (โล๊ะบาหรา) 4. หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งหยีเพ็ง 5. หมู่ที่ 5 บ้านโล๊ะดุหยง 1. หมู่ที่ 1 บ้านหัวแหลม 2. หมู่ที่ 2 บ้านศรีราชา 3. หมู่ที่ 3 บ้านเจ๊ะหลี 4. ตำบลลันตาใหญ่ 4. หมู่ที่ 4 บ้านเกาะปอ 5. หมู่ที่ 5 บ้านคลองหิน 6. หมู่ที่ 6 บ้านคลองนิน 7. หมู่ที่ 7 บ้านสังกาอู้ ่ ี่ 8 บ้านคลองโตบ 8. หมูท 1. หมู่ที่ 1 บ้านเขาฝาก 2. หมู่ที่ 2 บ้านคลองยาง 3. หมู่ที่ 3 บ้านโคกยูง 5. ตำบลคลองยาง 4. หมู่ที่ 4 บ้านไท 5. หมู่ที่ 5 บ้านหลังโสด 6. หมู่ที่ 6 บ้านท่าควน 7. หมู่ที่ 7 บ้านต้นทัง 1 จังหวัด 1 อำเภอ 5 ตำบล 36 หมู่บ้าน ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 3-468 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1- พื้นที่ศึกษาด้านเศรษฐกิจ-สังคมครอบคลุมพื้นที่ 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลศาลาด่าน ตำบลเกาะกลาง และตำบลคลองยาง กรมทางหลวงชนบท 3-469 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) ขนาดกลุ่มตัวอย่างและการสุ่มตัวอย่าง กลุ่ม ตัวอย่าง (Sample) หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่น ำมาศึกษาซึ่งเป็น ตัวแทน ของประชากร การที่กลุ่มตัวอย่างจะเป็นตัวแทนที่ดีของประชากรเพื่อการอ้า งอิงไปยังประชากรอย่างน่าเชื่อ ถือ ได้นั้น จะต้องมีการเลือกตัวอย่างและขนาดตัวอย่างที่ เหมาะสม ซึ่งจะต้องอาศัยสถิติเข้ามาช่วยในการสุ่มตัวอย่าง และการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง1 การสุ่มตัวอย่าง (Sampling) หมายถึง กระบวนการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่มีความเป็นตัว แทนที่ดีของประชากร 2 (ก) กลุ่มที่ 1 ผู้นำชุมชน พิจารณาในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้นทาง โครงการ การสำรวจโดยวิธีลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาสทางสถิติด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) แต่เนื่องจากพื้นที่ศึกษาส่วนใหญ่ตั้งอยู่ ในทะเลและพื้นที่ชายฝั่งของหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง และหมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะกลาง จังหวัดกระบี่ มีผู้นำชุมชน จำนวน 2 รายเท่านั้น ดังนั้น เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างมีความเหมาะสมและสามารถเป็นตัวแทนของพื้นที่ศึกษา จึงได้ พิจารณาครอบคลุมพื้นที่ม ากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้น ทางโครงการ ครอบคลุมพื้นที่ เกาะลันตา 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลศาลาด่าน ตำบลเกาะกลาง และ ตำบลคลองยาง จำนวน 1 ราย แสดงดังรูป ที่ 3.5.1 -5 โดยดำเนิน การสำรวจโดยเลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบ ไม่ เป็ น ไปตามโอกาสทางสถิติ ด้ วยการสุ่ ม ตั ว อย่ า งแบบเจาะจง ( Purposive Sampling) ทำการเก็บ ตั ว อย่ า ง ทั้งหมด (ร้อยละ 100.00) แสดงดังตารางที่ 3.5.1-12 (ข) กลุ่ ม ที่ 2 ครัวเรือน พิ จ ารณาในพื้ น ที่ ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้น ทาง โครงการ แต่เนื่องจากในพื้นที่ศึกษาโครงการเป็นพื้นที่ชายฝั่งทะเล มีครัวเรือนตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่ไม่หนาแน่น ดังนั้น การเก็บตัวอย่างครั้งนี้ จึงใช้ภาพถ่ายทางอากาศในปีล่าสุด (2563) ร่วมกับงานสำรวจภาคสนาม เพื่อกำหนด ตำแหน่งครัวเรือนในขอบเขตพื้นที่ศึกษาโครงการ ซึ่งนับครัวเรือนทั้งหมดได้ จำนวน 3 ครัวเรือน แสดงดังรูปที่ 3.5.1-6 การสำรวจโดยเลือกวิธีกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาสทางสถิติ ด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ทำการเก็บตัวอย่างทั้งหมด (ร้อยละ 100.00) (ค) กลุ่ มที่ 3 กลุ่ มพื้ น ที่ อ่อนไหวด้า นสิ่งแวดล้ อม ได้แ ก่ สถานศึกษา สถานพยาบาล และศาสนสถานที ่มีค วามสำคัญ ที่ตั้ง อยู่ ในพื ้น ที ่ศึก ษาระยะ 500 เมตร จากกึ่ง แนวเส้น ทางโครงการ แต่ เนื่องจากในพื้น ที่ศึกษาโครงการเป็น พื้น ที่ช ายฝั่ง ทะเล ผลการสำรวจภาคสนามจึงไม่พ บพื้น ที่อ่อ นไหวด้า น สิ่งแวดล้อมตั้งอยู่ ดังนั้น เพื่อให้กลุ่ม ตัว อย่างมีความเหมาะสมและสามารถเป็ นตัวแทนของพื้นที่ ศึกษา จึงได้ พิจารณาครอบคลุมพื้นที่ มากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้น ทางโครงการ ครอบคลุมพื้นที่ เกาะลันตา 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลศาลาด่าน ตำบลเกาะกลาง และ ตำบลคลองยาง โดยดำเนินการสำรวจโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental sampling) เป็นการเลือก กลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ได้จำนวนตามต้องการโดยไม่มีหลักเกณฑ์ กลุ่มตัวอย่างโดยการสำรวจจะพิจารณาผู้ที่มีอำนาจ ในการตัดสินใจสูงสุดหรือตัวแทนที่ได้รบ ั มอบหมาย ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน เจ้าอาวาส ผู้อำนวยการโรงพยาบาล จำนวน 103 แห่ง แสดงดังรูปที่ 3.5.1- แสดงดังตารางที่ 3.5.1-13 1 กัลยา วานิชย์บัญชา. 2542. การวิเคราะห์สถิติ : สถิติเพื่อการตัดสินใจ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์วิทยาลัย. 2 ั ทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และปกเจริญผล. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2540. ระเบียบวิธีการวิจย กรมทางหลวงชนบท 3-470 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-5 ตำแหน่งผู้นำชุมชนบริเวณพื้นที่ศึกษา กรมทางหลวงชนบท 3-471 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-12 ้ ที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ กลุ่มผู้นำชุมชนในพื้นที่มากกว่าพืน จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย 1. หมู่ที่ 1 บ้านร่าปู 1. นายก อบต.เกาะกลาง 2. หมู่ที่ 2 บ้านร่าหมาด 2. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านร่าปู 3. หมู่ที่ 3 บ้านปากคลอง 3. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านร่าหมาด 4. หมู่ที่ 4 บ้านคลองย่าหนัด 4. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านปากคลอง 5. หมู่ที่ 5 บ้านลิกี 5. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านคลองย่าหนัด เกาะกลาง 6. หมู่ที่ 6 บ้านนาทุ่งกลาง 6. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านลิกี 7. หมู่ที่ 7 บ้านอ่าวทองหลาง 7. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านนาทุ่งกลาง 8. หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 8. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านอ่าวทองหลาง 9. หมู่ที่ 9 บ้านท่าคลอง 9. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 10. หมู่ที่ 10 บ้านขุนสมุทร 10. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 9 บ้านท่าคลอง 11. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 10 บ้านขุนสมุทร 1. หมู่ที่ 1 บ้านหลังสอด 1. นายก อบต.เกาะลันตาน้อย 2. หมู่ที่ 2 บ้านคลองหมาก 2. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านหลังสอด 3. หมู่ที่ 3 บ้านนาทุ่ง 3. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านคลองหมาก เกาะลันตาน้อย 4. หมู่ที่ 4 บ้านโละใหญ่ 4. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านนาทุ่ง 5. หมู่ที่ 5 บ้านคลองโตนด 5. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านโละใหญ่ กระบี่ เกาะลันตา 6. หมู่ที่ 6 บ้านทอนลิบง 6. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านคลองโตนด 7. ผูใ้ หญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านทอนลิบง 1. หมู่ที่ 1 บ้านพระแอะ 1. นายก อบต.ศาลาด่าน 2. หมู่ที่ 2 บ้านศาลาด่าน 2. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านพระแอะ 3. หมู่ที่ 3 บ้านทุ่งยุง (โล๊ะบาหรา) 3. ผูใ ้ หญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านศาลาด่าน ศาลาด่าน 4. หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งหยีเพ็ง 4. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านทุ่งยุง (โล๊ะบาหรา) 5. หมู่ที่ 5 บ้านโล๊ะดุหยง 5. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านทุ่งหยีเพ็ง 6. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านโล๊ะดุหยง 1. หมู่ที่ 1 บ้านหัวแหลม 1. ผู้ใหญ่บ้านนายก อบต.ลันตาใหญ่ 2. หมู่ที่ 2 บ้านศรีราชา 2. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านหัวแหลม 3. หมู่ที่ 3 บ้านเจ๊ะหลี 3. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านศรีราชา 4. หมู่ที่ 4 บ้านเกาะปอ 4. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านเจ๊ะหลี ลันตาใหญ่ 5. หมู่ที่ 5 บ้านคลองหิน 5. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านเกาะปอ 6. หมู่ที่ 6 บ้านคลองนิน 6. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านคลองหิน 7. หมู่ที่ 7 บ้านสังกาอู้ 7. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านคลองนิน 8. หมู่ที่ 8 บ้านคลองโตบ 8. ผูใ ้ หญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านสังกาอู้ 9. ผูใ ้ หญ่บ้านหมู่ที่ 8 บ้านคลองโตบ 1. หมู่ที่ 1 บ้านเขาฝาก 1. ผู้ใหญ่บ้านนายก อบต.คลองยาง 2. หมู่ที่ 2 บ้านคลองยาง 2. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านเขาฝาก 3. หมู่ที่ 3 บ้านโคกยูง 3. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านคลองยาง 4. หมู่ที่ 4 บ้านไท 4. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านโคกยูง คลองยาง 5. หมู่ที่ 5 บ้านหลังโสด 5. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านไท 6. หมู่ที่ 6 บ้านท่าควน 6. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านหลังโสด 7. หมู่ที่ 7 บ้านต้นทัง 7. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านท่าควน 8. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านต้นทัง 1 จังหวัด 1 อำเภอ 5 ตำบล ่ ้าน 36 หมูบ 1 ราย ่ รึกษา, 2564 ที่มา : ทีป กรมทางหลวงชนบท 3-472 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-6 ตำแหน่งครัวเรือนในบริเวณพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-473 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ้ ที่อ่อนไหวบริเวณพื้นที่อำเภอเกาะลันตา รูปที่ 3.5.1- ตำแหน่งพืน กรมทางหลวงชนบท 3-474 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-13 ้ ที่มากกว่าพื้นที่ศก พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพืน ึ ษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ลำดับที่ พื้นที่อ่อนไหว ที่ตั้ง 1 มัสยิดดารุลซุนนะฮ์ ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 2 มัสยิดบ้านขุนสมุทร ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3 มัสยิดบ้านร่าปู ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 4 มัสยิดบ้านคลองย่าหนัด ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 5 มัสยิดบ้านร่าหมาด ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 6 มัสยิดลิกี ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 7 มัสยิดอ่าวทองหลาง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 8 มัสยิดบ้านอ่าวขุนโตด ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 9 มัสยิดบ้านท่าคลอง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 10 มัสยิดบ้านปากคลอง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 11 มัสยิดบ้านนาทุ่งกลาง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 12 มัสยิดมีฟตาฮุซซอล๊ะฮ์ ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 13 โรงเรียนบ้านร่าปู ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 14 โรงเรียนบ้านร่าหมาด ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 15 โรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 16 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองโตนด ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 17 โรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 18 โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 19 โรงเรียนบ้านปากคลอง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 20 โรงเรียนบ้านลิกี ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 21 ศูนย์พัฒนาเด็กเล้กบ้านท่าคลอง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 22 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านขุนรายา ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 23 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านร่าปู ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 24 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านร่าปู ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 25 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทุ่งกลาง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 26 มัสยิดญันนาตุ้ลฮาซานะ (คลองโตบ) ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 27 มัสยิดบ้านเจ๊ะหลี ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 28 มัสยิดดารุสลาม ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 29 มัสยิดบ้านเกาะปอ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 30 มัสยิดบ้านคลองหิน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 31 มัสยิดบ้านคลองนิน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 32 มัสยิดนูรุลฮูดา ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 33 มัสยิดนูรุ้ลอีหม่าน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 34 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวแหลม (นูรุลฮูด้า) ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 35 โรงเรียนบ้านคลองนิน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 36 โรงเรียนเมตตาธรรมวิทยา ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 37 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเจ๊ะหลี ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 38 โรงเรียนวัดเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 39 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองโตบ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 40 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองนิน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 41 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคลองหิน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 42 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศรีรายา ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-475 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-13 ้ ที่มากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพืน จากแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) ลำดับที่ พื้นที่อ่อนไหว ที่ตั้ง 43 โรงเรียนบ้านสังกาอู้ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 44 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระแอะ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 45 โรงเรียนบ้านเจ๊ะหลี ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 46 โรงพยาบาลเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 47 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองโตบ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 48 มัสยิดหลังสอด ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 49 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 50 มัสยิดบ้านคลองหมาก ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 51 มัสยิดดารุลยันน๊ะฮ์ (คลองโตนด) ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 52 มัสยิดบ้านกลาง ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 53 มัสยิดบ้านทุ่งพัฒนา ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 54 มัสยิดตักวา ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 55 มัสยิดบ้านโละใหญ่ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 56 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลังสอด ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 57 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกาะลันตาน้อยสามัคคี (ทุ่งหยุ่ม) ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 58 โรงเรียนบ้านคลองโตนด ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 59 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่ง ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 60 โรงเรียนบ้านทุ่งวิทยาพัฒน์ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 61 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโล๊ะใหญ่ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 62 โรงเรียนบ้านโล๊ะใหญ่ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 63 โรงเรียนบ้านพระแอะ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 64 โรงเรียนลันตาราช ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 65 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองโตนด ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 66 มัสยิดบ้านคลองยาง ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 67 มัสยิดบ้านเขาฝาก ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 68 มัสยิดไทยอิสลามสามัคคี (บ้านโคกยูง) ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 69 มัสยิดอามีนันมุสลีมีน ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 70 มัสยิดอัลยุมอ้าตุลอิสลาม ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 71 มัสยิดนูรุ้ลอีหม่านบ้านท่าควน ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 72 มัสยิดดารูล ้ เอี๋ยะซาน ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 73 มัสยิดบ้านหลังโสด (ลันตา) ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 74 โรงเรียนพัฒนศาสน์วิทยาคลองยาง ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 75 โรงเรียนคลองยางประชานุสรณ์ ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 76 โรงเรียนบ้านเขาฝาก ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 77 โรงเรียนบ้านคลองยาง ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 78 โรงเรียนบ้านโคกยูง ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 79 โรงเรียนบ้านหลังโสด ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 80 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองยาง ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 81 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองยาง ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 82 มัสยิดบ้านโละดูหยง ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 83 มัสยิดบ้านสมพรพรุกม ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-476 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-13 ้ ที่มากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพืน จากแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) ลำดับที่ พื้นที่อ่อนไหว ที่ตั้ง 84 มัสยิดบ้านโล๊ะบาหรา ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 85 มัสยิดทุ่งหยีเพ็ง ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 86 มัสยิดบ้านคลองโขง ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 87 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองโขง ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 88 โรงเรียนชุมชนบ้านศาลาด่าน ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 89 โรงเรียนบ้านพระแอะ ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 90 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระแอะ ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 91 ศูนย์พัฒนาเด็กโละดุหยง ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 92 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมพรพรุกม ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 93 โรงเรียนทุ่งหยีเพ็ง ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 94 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโล๊ะบาหรา ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 95 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาด่าน ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 96 โรงพยาบาลตำบลคลองโตนด ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 97 วัดเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 98 สำนักป่าสงฆ์หิมพานต์ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 99 โรงพยาบาลตำบลคลองยาง ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 100 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองยาง ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 101 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งกลาง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 102 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะกลาง ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 103 โรงพยาบาลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (ง) กลุ่มที่ ผู้ได้รับผลกระทบด้านการเวนคืนที่ ดินและทรัพย์สิน เป็นเจ้าของที่ดินหรือ ทรัพ ย์สิน ที่ไ ด้รับ ผลกระทบโดยตรงจากการพัฒ นาโครงการ ดำเนิน การสำรวจโดยเลือกกลุ่ ม ตัว อย่า งแบบ ไม่เป็นไปตามโอกาสทางสถิติ ด้ว ยการสุ่ม ตัวอย่างแบบเจาะจง ( Purposive Sampling) จำนวน 1 ราย คือ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลั น ตาน้อย จัง หวั ดกระบี่ ทำการเก็บตัวอย่างทั้งหมด (ร้อยละ 100.00) แสดงดังรูปที่ 3.5.1- (จ) กลุ่ ม ที่ 5 สถานประกอบการ เป็ น เจ้ า ของสถานประกอบการหรือ ผู้ แ ทนที่ ได้ รับ มอบหมาย ซึ่งสามารถตัดสินใจและให้ข้อมูลได้อย่างถูกต้อ ง โดยสถานประกอบการที่พิจารณาจะเป็นสถานที่ซึ่ง ผู้ป ระกอบการใช้ป ระกอบกิจ การเป็น ประจำและหมายความรวมถึง สถานที่ซึ่ง ใช้เป็น ที่ผ ลิต หรื อเก็บ สิน ค้ า เป็นประจำ โดยดำเนินการสำรวจสถานประกอบการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้นทาง โครงการ แต่เนื่องจากในพื้นที่ศึกษาโครงการเป็นพื้นที่ชายฝั่งทะเล ผลการสำรวจภาคสนามพบสถานประกอบการ เพียง 1 แห่ง คือ บริษัท ส่งเสริม ทรานเซอร์วิส จำกัด (แพขนานยนต์) ดังนั้น เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างมีความเหมาะสม และสามารถเป็น ตัวแทนของพื้น ที่ศึกษา จึงได้พิจารณาครอบคลุมพื้นที่มากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้นทางโครงการ ดำเนินการสำรวจโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental sampling) เป็น การเลือกกลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ได้จำนวนตามต้องการโดยไม่มีหลักเกณฑ์ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ทำการสำรวจจะพิจารณา ผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจสูงสุดหรือตัวแทนที่ได้รับมอบหมาย แต่ทั้งนี้ในระยะเวลาที่ดำเนินการศึกษาเก็บตัวอย่าง นั้น (ณ เดือน ธันวาคม 2563) เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในจังหวัดกระบี่ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสถานประกอบการ ทำให้ต้องหยุดกิจการทั้งชั่วคราวและถาวร เนื่องจากไม่มีนักท่องเที่ยว กรมทางหลวงชนบท 3-477 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ทั้งที่เป็นชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาในจังหวัดกระบี่ จึงเหลือเพียงสถานประกอบการณ์บางรายเท่านั้น ที่ยังคงเปิดให้บริการ ซึ่งได้ทำการคัดเลือกตัวแทนสถานประกอบการเพื่อเป็นตัวแทนของพื้นที่โครงการได้ จำนวน 6 ราย ได้แก่ แสดงดังตารางที่ 3.5.1-1 สรุปกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดในการดำเนินการศึกษาด้านเศรษฐกิจ-สังคม โครงการสะพาน เชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลัน ตาน้อย อำเภอเกาะลัน ตา จังหวัดกระบี่ แสดงดังตารางที่ 3.5.1-15 ตารางที่ 3.5.1-1 สถานประกอบการในพื้นที่ศึกษา ลำดับที่ สถานประกอบการ ที่ตั้ง 1 บริษัท ส่งเสริมทรานเซอร์วส ิ จำกัด 68 หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 2 บริษัท ทัวร์ริส เซ็นเตอร์ 458 ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3 บริษัท ลันตาทรานสปอร์ต จำกัด 108 หมู่ที่ 2 ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 4 ลันตา เพิร์ลบีช รีสอร์ท 233 หมูท่ ี่ 3 ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 5 กลุ่มท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ทุ่งหยีเพ็ง ธุรกิจ ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 6 ร้านจันทนา (ร้านสะดวกซื้อ) 79 หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ตารางที่ 3.5.1-15 สรุปจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ดำเนินการศึกษาด้านเศรษฐกิจ-สังคม โครงการสะพานเชื่อม เกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จำนวน จำนวนตัวอย่าง กลุ่มเป้าหมาย วิธีการสำรวจ ตัวอย่าง สำรวจจริง กลุม่ ที่ 1 ผู้นำชุมชน แบบเจาะจง (Purposive Sampling) 41 41 กลุ่มที่ 2 กลุ่มครัวเรือน แบบเจาะจง (Purposive Sampling) 39 39 กลุ่มที่ 3 กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม แบบบังเอิญ (Accidental sampling) 103 103 กลุ่มที่ 4 ผู้ได้รับผลกระทบด้านการเวนคืน แบบเจาะจง (Purposive Sampling) 1 1 ที่ดนิ และทรัพย์สิน กลุ่มที่ 5 สถานประกอบการ แบบบังเอิญ (Accidental sampling) 6 6 รวม 10 10 กรมทางหลวงชนบท 3-478 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1- ั ผลกระทบด้านการเวนคืนที่ดินและทรัพย์สิน ตำแหน่งผู้ได้รบ กรมทางหลวงชนบท 3-479 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (3) ผลการสำรวจข้อมูลภาคสนาม ขั้นตอนการอบรมพนักงานสัมภาษณ์ มีรายละเอียดดังนี้ - รวบรวมข้อมูล ขอบเขตการปกครองในพื้น ที่เพื่ อทราบชุม ชนที่เป็น กลุ่ม เป้าหมายของ การเตรีย มความพร้อ มชุม ชน จากนั้น ติด ต่อประสานงานทีม งานในพื้น ที่ก ลุ่ม เป้า หมายเพื่อ นัด วัน เวลาและ สถานที่ในการเข้าพบ - จั ด เตรีย มข้ อมู ล รายละเอี ย ดโครงการเบื้ องต้ น แผนการศึก ษาโครงการ แล ะแผนการ ดำเนินงานการมีส่วนร่ว มของประชาชน โดยจัดทำเป็ นสื่อประกอบการหารือที่เข้าใจง่าย เช่น แผ่นพับ เอกสาร สรุปรายละเอียดโครงการ สื่อวีดีทัศน์รายละเอียดโครงการ เป็นต้น - ประชุมความพร้อมทีมงานก่อนลงพื้นที่เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในโครงการก่อนที่จะ นำเสนอให้กับกลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ โดยทำการอบรมอธิบายรายละเอียดความเป็นมาของโครงการการดูแผน ที่ใน Google map สอนการลงพิกัดตามจุดแต่ละพื้นที่ และสอบถามความเข้าใจของทีมงานรายบุคคล รายละเอียด เจ้าหน้าที่ประกอบด้วย - การอบรมเกี่ยวกับเครื่องมือแบบสอบถามของโครงการ ในวัน ที่ 20 -21 ตุลาคม 2563 เป็นการอธิบายวัตถุประสงค์ของแบบสอบถาม เทคนิค วิธีการ และขั้น ตอนในการสัม ภาษณ์โดยผู้เชี่ยวชาญ ด้านเศรษฐกิจและสังคม ชื่อ-สกุล อายุ ระดับการศึกษา ภาษา 1. 37 ปริญญาโท ไทย – ใต้ 2. 31 ปริญญาโท ไทย – ใต้ 3. 25 ปริญญาตรี ไทย – ใต้ 4. 29 มัธยมศีกษา 6 ไทย – ใต้ 5. 27 มัธยมศีกษา 6 ไทย – ใต้ 6. 34 มัธยมศีกษา 6 ไทย – ใต้ 7. 63 ปริญญาตรี ไทย – ใต้ 8. 45 ปริญญาตรี ไทย – ใต้ หมายเหตุ : * เป็นเจ้าหน้าที่ส่วนกลางจากบริษัทที่ปรึกษา - พนักงานที่เป็นเจ้าหน้าที่บริษัทที่ปรึกษาทำการสัมภาษณ์หน่วยงานราชการและผู้นำชุมชน - พนักงานในพื้นที่รับผิดชอบสัมภาษณ์กลุ่มครัวเรือน ทั้งนี้ ผู้สัมภาษณ์จากส่วนกลางเป็นพนักงานบริษัทที่ร่วมศึกษาโครงการและอยู่ในพื้นที่โครงการตลอดระยะเวลาการศึกษา 1 ้ ักก่อนการ ปี ซึ่งได้เรียนรู้วัฒนธรรมและเข้าใจในโครงการเป็นอย่างดี รวมทั้งกิจกรรมการมีส่วนร่วม ผู้ให้สัมภาษณ์ได้ทำความรูจ สัมภาษณ์ผู้นำชุมชนแล้ว ส่วนพนักงานคนสัมภาษณ์ในพื้นที่จะมีการอบรมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ และผลการศึกษา ด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในโครงการก่อนการสัมภาษณ์ กรมทางหลวงชนบท 3-480 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ก) ผู้นำชุมชน พิ จารณาในพื้ นที่ ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้น ทางโครงการ การ สำรวจโดยวิธีลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาสทางสถิติด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ( Purposive Sampling) แต่เนื่องจากพื้นที่ศึกษาส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทะเลและพื้นที่ชายฝั่งของหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง และหมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะกลาง จังหวัดกระบี่ มีผู้นำชุมชน จำนวน 2 ราย เท่ านั้ น ดั งนั้ น เพื่ อให้ กลุ่ ม ตั ว อย่ างมี ความเหมาะสมและสามารถเป็ น ตั วแทนของพื้ น ที่ ศึกษา จึงได้ พิ จารณา ครอบคลุมพื้นที่มากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้นทางโครงการ ครอบคลุมพื้นที่เกาะลันตา 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลศาลาด่าน ตำบลเกาะกลาง และตำบลคลองยาง รวมทั้งสิ้น 41 ราย โดยบรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นผู้นำชุมชน แสดงดังรูปที่ 3.5.1- (ภาคผนวก ซ.2) ดังนี้ รูปที่ 3.5.1- บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นผู้นำชุมชนในพื้นที่โครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-481 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ข้อมูลผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เป็นผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งมี สัดส่วนที่เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 36.59 โดยส่วนใหญ่มีระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 5-6 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.39 รองลงมา ดำรงตำแหน่ง 3-4 ปี คิดเป็นร้อยละ 21.95 ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 95.12 และ เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 4.88 อายุผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่จะอยู่ที่ช่วงอายุ 40-49 ปี คิดเป็นร้อยละ 43.90 รองลงมา อายุ 50-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 41.46 ตามลำดับ สำหรับระดับการศึกษาของผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่จบปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 26.83 รองลงมามีระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 21.95 และมัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 17.07 ตามลำดับ ส่วนการนับถือศาสนาผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คิดเป็น ร้อยละ 85.37 และนับ ถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 14.63 ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เกิด ที่นี่/เป็นคนท้องถิ่น คิด เป็น ร้อยละ 60.98 รองลงมาย้า ยมาจากที่ อื่น 1-5, 21 -30 และมากกว่ า 30 ปีขึ้น ไป มี สัด ส่ว นที่ เท่า กั น คิด เป็น ร้อยละ 9.67 ตามลำดับ สาเหตุที ่ย้า ยมาจากที่อื่น เนื่องจากแต่งงานกับ คนหมู่บ้านนี้ คิด เป็น ร้อ ยละ 50.00 รองลงมา ย้ายมาทำงาน คิดเป็นร้อยละ 37.50 และย้ายตามครอบครัว/ญาติ คิดเป็นร้อยละ 12.50 - ข้ อมู ลพื้ นฐานชุ มชน การสอบถามผู้ ให้ สั มภาษณ์ ถึง ระยะเวลาการตั้ งถิ่ น ฐานของ หมู่บ้าน/ชุมชนส่วนใหญ่มีการตั้งถิ่นฐานของหมู่บ้าน/ชุมชนมากกว่า 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 70.73 รองลงมา มีการ ตั้งถิ่นฐาน 21 - 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 9.76 ส่วนการประกอบอาชีพหลักของชุมชนส่วนใหญ่ จะประกอบอาชีพ เกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 78.05 รองลงมามีอาชีพประมง/ท่องเที่ยว คิดเป็นร้อยละ 36.59 ตามลำดับ ในส่วน การประกอบอาชีพรองหรือเสริม ของประชาชนในชุ ม ชน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ประมง/ท่องเที่ยว คิดเป็น ร้อยละ 39.02 รองลงมา ประกอบอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 31.71 ตามลำดับ สำหรับความสัมพันธ์ของคน ในชุมชนส่วนใหญ่นั้นมีความสัมพันธ์ผูกพันกันอย่างเหนียวแน่น คิดเป็นร้อยละ 80.49 และมีความสัมพันธ์ผูกผันกัน ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 17.07 และมีปัญหาขัดแย้งกันบ้างไม่รุนแรง คิดเป็น ร้อยละ 2.44 โดยภายในชุมชน ส่วนใหญ่มีการจัดตั้งกลุ่ม/องค์กรในชุมชน เช่น กลุ่มสหกรณ์, กลุ่มสตรี เป็นต้น คิดเป็นร้อยละ 85.37 ส่วนที่ไม่มี การจัดตั้งกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 14.63 - การเข้าร่วมกิจกรรมที่สำคัญของชุมชน การร่วมกิจกรรมที่สำคัญในโอกาสต่างๆ ของ ชุมชน ส่วนใหญ่เข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมปีใหม่ กิจกรรมทางศาสนา กิจกรรมวันสงกรานต์ กิจกรรมทำบุญ ประจำปีของชุมชน กิจกรรพัฒนาชุมชน และกิจกรรมสำคัญของทางราชการ โดยใช้สถานที่ของวัด/มัสยิด อบต./ เทศบาล โรงเรียน และศาลาประชาคม แสดงดังตารางที่ 3.5.1-16 - ข้อมูล ระบบคมนาคมและสภาพแวดล้อมในปัจ จุ บัน การสำรวจสภาพแวดล้อม ความสวยงามของธรรมชาติ/ทัศนียภาพโดยรวมของชุมชน ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าสภาพแวดล้อมดี/สวยงาม รื่นรมย์มาก คิดเป็นร้อยละ 68.29 รองลงมา คือ สวยงามปานกลาง คิด เป็น ร้อยละ 29.27 และสวยงามน้อย คิดเป็นร้อยละ 2.44 ในส่วนสถานที่ที่มีความสำคัญต่อชุมชน ส่วนใหญ่เป็นแหล่งศาสนสถาน คิดเป็นร้อยละ 68.29 รองลงมา มีแหล่งธรรมชาติ คิดเป็นร้อยละ 63.41 และมีโบราณสถาน คิดเป็นร้อยละ 12.20 ตามลำดับ ในด้าน ความพึ งพอใจโดยรวมต่ อการดำเนิ นชี วิ ตของชุ มชน มี ความพึ งพอใจในระดั บพอใจมาก คิดเป็ นร้อยละ 56.10 รองลงมา มีความพอใจในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 36.59 สำหรับ สภาพปัญหาของชุมชนด้านการประกอบ อาชีพ ส่วนใหญ่ พบปั ญหารายได้ ไม่ แน่ นอน คิดเป็ น ร้อยละ 53.66 รองลงมา มี ปั ญ หารายได้ ขึ้น อยู่ กับ ฤดู กาล ท่องเที่ยว คิดเป็นร้อยละ 29.27 ในด้านสั งคมส่วนใหญ่พบปัญหายาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 65.85 รองลงมา เป็นปัญหาลักขโมย คิดเป็นร้อยละ 24.39 ตามลำดับ - ปัญ หาสิ่ งแวดล้ อมที่ มีผ ลกระทบกั บ ชุมชนในปั จจุ บัน จากการสอบถามเกี่ยวกับ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า ปัญ หาอันดับแรกที่ผู้นำชุ มชนส่วนใหญ่ได้รับ คือ ปัญ หาด้านการคมนาคม และอุบัติเหตุ และปัญหาขยะ ซึ่งปัญหาต่างๆ ส่วนใหญ่มีผลกระทบในระดับน้อย-ปานกลาง รายละเอียดแสดงดัง ตารางที่ 3.5.1-1 กรมทางหลวงชนบท 3-482 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-16 การเข้าร่วมกิจกรรมที่สำคัญของชุมชนของผู้นำชุมชน จำนวนผู้ให้สัมภาษณ์ N = 1 คน การเข้าร่วมกิจกรรม ประเด็นพิจารณา มีและเข้าร่วม มีแต่ไม่เข้าร่วม สถานที่จัดกิจกรรม ไม่มีกิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรมปีใหม่ 29.27 2.44 6 .2 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน (12) (1) (2 ) และศาลาประชาคม กิจกรรมทางศาสนา .56 2.44 0.00 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน ( 0) (1) (0) และศาลาประชาคม กิจกรรมวันสงกรานต์ 9.76 7.32 2. 3 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน (4) (3) (3 ) และศาลาประชาคม กิจกรรมทำบุญประจำปีของชุมชน .05 0.00 21.95 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน (32) (0) (9) และศาลาประชาคม กิจกรรพัฒนาชุมชน .56 2.44 0.00 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน ( 0) (1) (0) และศาลาประชาคม กิจกรรมสำคัญของทางราชการ 5.12 2.44 2.44 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน (3 ) (1) (1) และศาลาประชาคม ตารางที่ 3.5.1-1 ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้รับในปัจจุบันของผู้นำชุมชน จำนวนผู้ให้สัมภาษณ์ N = 1 คน ผลกระทบร้อยละ ระดับผลกระทบร้อยละ (จำนวน) (จำนวน) ั ผลกระทบและ ช่วงเวลาที่ได้รบ ลักษณะผลกระทบ มี ไม่มี สาเหตุการเกิดผลกระทบ มาก ปานกลาง น้อย ผลกระทบ ผลกระทบ ่ ละออง/มลพิษ ฝุน 43.90 56.10 33.33 3. 27.78 ช่วงเช้า กลางวัน และเย็น ทางอากาศ (18) (23) (6) () (5) จากการก่อสร้างต่างๆและการขนส่ง เสียง 43.90 56.10 27.78 33.33 3. ช่วงเช้า กลางวัน และเย็น (18) (23) (5) (6) () จากการขนส่ง ร้านอาหาร/รีสอร์ท ่ สะเทือน ความสัน 21.95 .05 22.22 22.22 55.56 ช่วงเช้า กลางวัน และเย็น (9) (32) (2) (2) (5) จากการก่อสร้างต่างๆและการขนส่ง น้ำเสีย 36.59 63. 1 33.33 6.6 20.00 ช่วงเช้า กลางวัน และเย็น (15) (26) (5) () (3) จากชุมชน ตลาด ร้านอาหาร/รีสอร์ท การคมนาคมและอุบัติเหตุ 65. 5 34.15 18.52 51. 5 29.63 ช่วงเย็นและกลางคืน (2 ) (14) (5) (1 ) (8) จากการขนส่ง แสงสว่างไม่เพียงพอ ขยะ 6 .2 31.71 53.5 42.86 3.57 ช่วงเช้าและกลางวัน (2 ) (13) (15) (12) (1) จากชุมชน ตลาด ร้านอาหาร/รีสอร์ท น้ำท่วม/การระบายน้ำ 31.71 6 .2 30.77 15.38 53. 5 ช่วงเช้าและกลางวัน (13) (2 ) (4) (2) () จากชุมชน ตลาด ร้านอาหาร/รีสอร์ท กรมทางหลวงชนบท 3-483 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ข้ อมูล ระบบคมนาคม การสำรวจ พบว่า ประเภทบริการที่ ใช้ ในการเดิ น ทางข้า ม ระหว่างเกาะกลาง – เกาะลันตาน้อย (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้รับการบริการ คิดเป็นร้อยละ 90.24 ส่วนผู้ที่ใช้บริการแพขนานยนต์ คิดเป็นร้อยละ 7.32 เรือสปีทโบ๊ท คิดเป็น ร้อยละ และ เรือหัวโทง มีสัดส่วนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 4.88 ตามลำดับ - การรับทราบข่าวสารโครงการ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่รับทราบข้อมูลข่า วสาร เกี่ยวกับโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ทราบข้อมูลจากเคยเข้าร่วมประชุมโครงการ คิดเป็น ร้อยละ 80.49 รองลงมา ทราบข้อมูลจากหน่วยงานราชการอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 60.98 และทราบข้อมูลจากทราบข้อมูลจาก ผู้นำชุมชน คิดเป็นร้อยละ 56.10 ตามลำดับ (รูปที่ 3.5.1-10) รูปที่ 3.5.1-10 การรับทราบข่าวสารโครงการของผู้นำชุมชน - ความคิดเห็ นต่ อโครงการ ประชาชนในพื้ นที่ ส่ วนใหญ่ มี ความเห็ นในเรื่องผลดีแ ละ ผลประโยชน์ของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) เพิ่มความสะดวกสบายในการเดิ นทาง คิดเป็นร้อยละ 100.00 รองลงมา สร้างความเจริญในชุมชน คิดเป็นร้อยละ 97.56 และประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทาง คิดเป็น ร้อยละ 92.68 และตามลำดับ (รูปที่ 3.5.1-11) ส่วนในเรื่องผลเสียและผลกระทบโดยรวม (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ประชาชนส่วนใหญ่เห็นไม่มีผลเสีย/ผลกระทบ คิดเป็นร้อยละ 53.66 รองลงมา มีปริมาณรถยนต์เพิ่มขึ้น คิดเป็น ร้อยละ 39.02 และเกิดอุบัติเหตุเพิ่มมากขึ้นในช่วงก่อสร้าง คิดเป็นร้อยละ 19.51 ตามลำดับ (รูปที่ 3.5.1-12) - ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ ประชาชนในพื้นที่ ส่วนใหญ่ ไม่มีความวิตก กังวลต่อโครงการ คิดเป็นร้อยละ 82.90 และมีประเด็นห่วงกังวล เนื่องจากโครงการจะล่าช้า, อาจกระทบต่อ ประมงในระยะสั้น คิดเป็นร้อยละ 17.10 (รูปที่ 3.5.1-13) - ความคิ ด เห็ น โดยรวมของท่ า นต่ อ โครงการ ผู้ น ำชุ ม ในพื้ น ที่ ทั้ งหมดเห็น ด้ว ยต่อ โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100.00 (รูปที่ 3.5.1-1 ) กรมทางหลวงชนบท 3-484 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-11 ความคิดเห็นต่อโครงการของผู้นำชุมชน ในเรื่องผลดีและผลประโยชน์ของโครงการ รูปที่ 3.5.1-12 ความคิดเห็นต่อโครงการของผู้นำชุมชน ในเรื่องผลเสียและผลกระทบโดยรวม กรมทางหลวงชนบท 3-485 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-13 ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการของผู้นำชุมชน รูปที่ 3.5.1-1 ความคิดเห็นโดยรวมต่อโครงการ ของผู้นำชุมชน ความคิด เห็นต่อโครงการและความวิตกกังวลต่อการพัฒ นาโครงการสะพานเชื่อม เกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ของผู้นำชุมชนแต่ละราย ที่ทำการสำรวจ สรุปได้ดังตารางที่ 3.5.1-1 กรมทางหลวงชนบท 3-486 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-1 ความคิดเห็นต่อโครงการของผู้นำชุมชนในพื้นที่โครงการ จำนวนผู้ให้สัมภาษณ์ N = 1 คน ข้อวิตกกังวลต่อการ ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ พัฒนาโครงการ ตำบลเกาะกลาง 1 สมาชิกองค์การบริหารส่วน เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้สะพานเกิดขึ้น การขนส่งขนวัสดุก่อสร้าง ตำบล ผู้แทน นายกองค์การ โดยเร็วพี่น้องประชาชนมีความต้องการ ช่วงดำเนินการ ถนนแคบ บริหารส่วนตำบลเกาะกลาง มากที่สุดและความหวังคนเกาะลันตา อาจเกิดอุบัติเหตุของ ประชาชนได้ 2 กำนันตำบลเกาะกลาง เห็นด้วยกับโครงการ เพื่อเพิ่มศักยภาพ ไม่มีข้อวิตกกังวล ระบบคมนาคมและพัฒนาไปสู่การ ท่องเที่ยวเพื่อสร้างความเจริญให้อำเภอ เกาะลันตา อีกอย่างเพื่อสร้างความรัก ความผูกพันธ์ระหว่างญาติพี่นอ ้ งที่อยู่ ระหว่างเกาะกันได้ไปมาหาสูก ่ ันได้อย่าง สะดวกสบายขึ้นในอนาคต 3 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้สะพาน ไม่มีข้อวิตกกังวล บ้านร่าปู เกิดขึ้นโดยเร็วพี่น้องประชาชนมีความ ต้องการมากที่สุดและความหวัง ของคนเกาะลันตา 4 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล บ้านร่าหมาด 5 ้ น ผู้แทน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการและขอให้ดำเนินการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 โดยเร็วที่สุด บ้านคลองย่าหนัด 6 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา้ น ผู้แทน เห็นด้วยกับโครงการ เพื่อความสะดวก ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านลิกี สบายของคนที่มาเกาะลันตาและประหยัด ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง 7 ้ น ผู้แทน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ เมื่อมีโครงการจะทำ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านนา ให้การเดินทางไปติดต่อราชการสะดวกขึ้น กลางทุ่ง 8 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 เห็นด้วยกับโครงการ ี ้อวิตกกังวล ไม่มข บ้านอ่าวทองหลาง 9 ผูใ้ หญ่บ้านหมู่ที่ 7 8 เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้เร่งดำเนิน ไม่มีข้อวิตกกังวล บ้านหัวหิน ก่อสร้างโครงการ เพราะชาวบ้านตั้ง ความหวังกับโครงการอย่างมาก 10 ้ น ผู้แทน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 9 บ้านท่าคลอง 11 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 10 เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล บ้านขุนสมุทร กรมทางหลวงชนบท 3-487 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-1 ความคิดเห็นต่อโครงการของผู้นำชุมชนในพื้นที่โครงการ (ต่อ) ข้อวิตกกังวลต่อการ ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ พัฒนาโครงการ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 1 สมาชิกองการบริหาร เห็นด้วยกับโครงการ ให้มีการออกแบบ ไม่มีข้อวิตกกังวล ส่วนตำบล ผู้แทนนายก สะพานให้มีความสวยงามและมีทางเดิน 2 องค์การบริหารส่วนตำบล ข้างทางเป็นสะพาน เกาะลันตาใหญ่ 2 กำนัน เห็นด้วยกับโครงการ ทำให้เกิดความ ไม่มีข้อวิตกกังวล สะดวกสบายในการเดินทาง มีสินค้าอุปโภค บริโภคถูกลงทำให้ชาวบ้านเข้าถึงโครงการ ของรัฐง่ายขึ้น 3 ้น ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ เนื่องจากเกาะลันตา ไม่มีข้อวิตกกังวล ผูแ้ ทนผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เป็นหมู่บ้านหมู่เกาะที่สวยงามน่า บ้านหัวแหลม ท่องเที่ยวน่าลงทุนเมื่อมีสะพานแล้วจะทำ ให้ประชาชนนักท่องเที่ยวมาเที่ยวเพิ่มมาก ขึ้นสามารเดินทางได้ตลอด 24 ชั่วโมง 4 ้น ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มขี ้อวิตกกังวล ผู้แทนผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านศรีราชา 5 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 โครงการมีเกิดประโยชน์กับชุมชนทำให้ ไม่มีข้อวิตกกังวล บ้านเจ๊ะหลี ความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจดีขึ้นการติดต่อ กับแผ่นดินใหญ่สะดวก การเข้าถึงการ บริการภาครัฐสะดวกขึ้นทางโครงการควร ออกแบบระบบถนนเพิ่มเติมเพื่อรองรับ โครงการทั้งเกาะ 6 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 เห็นควรสร้างสะพานเพื่อลดค่าใช้จ่ายลด ไม่มีข้อวิตกกังวล มลพิษเพิ่มศักยภาพทางด้านการท่องเทีย ่ว ลดปัญหาในการขนส่งผู้ป่วยสู่จังหวัด 7 ่ ยผู้ใหญ่บา ผู้ชว ้น เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้แทนผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านคลองหิน 8 ้น ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ เพราะลดค่าใช้จ่ายลด โครงการนี้ต้องดำเนินการ ผู้แทนผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 มลพิษเพิ่มศักยภาพทางด้านการท่องเที่ยว โดยเร็วเพื่อสร้างความเจริญ บ้านสังกาอู้ และลดปัญหาในการขนส่งผู้ป่วยสู่จังหวัด ให้เกาะลันตาสู่ระบบการ เดินทางแบบบ้านเมืองอื่น เช่น ชลบุรี เกาะสมุย ภูเก็ต 9 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล บ้านคลองโตบ เกาะลันตาน้อย 1 ปลัด เห็นด้วยกับโครงการ ทำให้เกิดผลดีและ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้แทนนายกองค์การบริหาร ประหยัดในการเดินทาง นักท่องเที่ยวและ ส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย ประชาชนได้รับความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น แก้ปัญหาขยะได้ สามารถขนส่งขยะไปยัง จุดรับซื้อได้สะดวกขึ้น กรมทางหลวงชนบท 3-488 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-1 ความคิดเห็นต่อโครงการของผู้นำชุมชนในพื้นที่โครงการ (ต่อ) ข้อวิตกกังวลต่อการ ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ พัฒนาโครงการ 2 สารวัตรกำนัน เห็นด้วยกับโครงการ เพราะทำให้เกิดผลดี ี ้อวิตกกังวล ไม่มข และประหยัดในการเดินทาง นักท่องเทีย ่ว และประชาชนได้รับความสะดวกรวดเร็ว ยิ่งขึ้น แก้ปัญหาขยะได้ สามารถขนส่งขยะ ไปยังจุดรับซื้อได้สะดวกขึ้น 3 ผู้ใหญ่บ้าน 1 บ้านหลังสอด เห็นด้วยกับโครงการ ทำให้เกิดความเจริญ ไม่ควรใช้เวลาส่วนการ ในพื้นที่ ก่อสร้างให้นานเกินไป 4 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล คลองหมาก 5 ้ น ผู้แทน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ ทำให้เกิดความเจริญ อยากให้ดำเนินการก่อสร้าง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านนาทุ่ง ในพื้นที่ ความสะดวก และความประหยัด โดยเร็ว 6 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา้ น ผู้แทน เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านโละ ใหญ่ 7 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้าน เห็นด้วยกับโครงการ ถ้าโครงการเกิดขึ้นจะ จะมีประโยชน์มากขึ้นถ้า คลองโตนด ทำให้เกิดความสะดวกสบายประหยัด หากมีการออกแบบให้ ค่าใช้จ่าย น้ำประปาพ่วงมาด้วย ตำบลศาลาด่าน 1 สมาชิกสภาเทศบาลตำบล เห็นด้วยกับโครงการ เพราะเป็นการ อยากให้โครงการนี้เดินหน้า ศาลาด่าน เสริมสร้างความเป็นอยู่คุณภาพชีวิตของ เกิดประสิทธิภาพโดยเรา ประชาชนให้ดข ่ ะถูก ี ึ้น การท่องเที่ยวทีจ ประชาชนในเขตอำเภอเกาะ พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ลันตาที่ผ่านมาขาดโอกาส ในการพัฒนาอย่างมาก หาก โครงการนี้สำเร็จเท่ากับเพิ่ม โอกาสเพิ่มศักยภาพในการ พัฒนาในทุกๆ ด้าน 2 ้ น ผู้แทน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ เพื่อความเจริญเติบโต กลัวว่าโครงการจะไม่ผ่าน กำนัน ของอำเภอเกาะลันตา การสร้างสะพาน หรือถ้าผ่านแล้วอาจใช้เวลา เป็นบันไดขั้นแรกในการพัฒนา ก่อสร้างนานเกินไป กลัวว่า แพขนานยนต์จะขึ้นราคา จากปัจจุบัน 3 ผูช ้ น ผู้แทน ้ ่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านพระแอะ 4 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา ้ น ผู้แทน เห็นด้วยกับโครงการ เพื่อความเจริญเติบโต ควรกำหนดระยะเวลาใน ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านทุ่งยุง ของ อ.เกาะลันตา การสร้างสะพานเป็น การก่อสร้างที่ชัดเจน ความ (โล๊ะบาหรา) บันไดขั้นแรกในการพัฒนา ต่อเนื่องในการก่อสร้าง บทสรุปต้องชัดเจนในการ จบรายงาน EIA กรมทางหลวงชนบท 3-489 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-1 ความคิดเห็นต่อโครงการของผู้นำชุมชนในพื้นที่โครงการ (ต่อ) ข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนา ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ โครงการ 5 ้ น ผู้แทน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านทุ่งหยีเพ็ง 6 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 โครงการก่อสร้างสะพานข้ามเกาะลันตา ควรให้ภาครัฐวางมาตรการ/ บ้านโล๊ะดุหยง ควรมีการก่อสร้างเพราะจะเกิดประโยชน์ แผนงานในการพัฒนา ต่อพี่น้องชาวอำเภอเกาะลันตา และคนที่ อ.เกาะลันตา อย่างเป็น สัญจรไป-มา ประชาชนมีความสะดวกสบาย ระบบ ในการเดินทางประหยัดค่าใช้จา ่ ยทำให้ ราคาสินค้าเกษตรมีราคาดีขึ้นควรดำเนิน ตามความเหมาะสม ตำบลคลองยาง 1 รองนายกองค์การบริหาร เห็นด้วยกับโครงการ ก่อสร้างสะพานข้าม ไม่มีข้อวิตกกังวล ส่วนตำบลคลองยาง เกาะลันตาควรมีการก่อสร้างเพราะจะเกิด ประโยชน์ต่อพี่น้องชาวอำเภอเกาะลันตา และคนที่สัญจรไปมา ประชาชนมีความ สะดวกสบายในการเดินทาง 2 สารวัตรกำนัน เห็นด้วยกับโครงการ เพราะสร้างความ อยากให้สร้างโครงการ มั่นคงทางเศรษฐกิจ โดยเร็ว 3 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เห็นด้วยกับโครงการ ี ้อวิตกกังวล ไม่มข บ้านเขาฝาก 4 ผูช ้ น ผู้แทน ้ ่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ สะดวกสบายในการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 เดินทาง บ้านคลองยาง 5 ้ น ผู้แทน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ เพราะโครงการมีการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 จัดการที่ดีในทุกๆ ด้าน บ้านโคกยูง 6 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านไท เห็นด้วยกับโครงการ เพราะสะดวกในการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ทำธุระต่างๆ และประหยัดงบในการ เดินทาง 7 ้ น ผู้แทน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านท่าควน 8 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 เห็นด้วยกับโครงการ เพราะทำให้ ไม่มีข้อวิตกกังวล บ้านต้นทัง ประหยัดเวลาในการเดินทางมากขึ้น ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : ผู้แทนผู้นำชุมชนที่ให้สัมภาษณ์ ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้นำชุมชนแล้ว กรมทางหลวงชนบท 3-490 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) กลุ่ มครัวเรือนในพื้ นที่ โครงการ พิ จ ารณาในพื้ น ที่ ศึ กษาระยะ 500 เมตร จากกึ่ งแนว เส้นทางโครงการ แต่เนื่องจากในพื้นที่ศึกษาโครงการเป็นพื้นที่ชายฝั่งทะเล มีครัวเรือนตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่ ไม่หนาแน่น ดังนั้น การเก็บตัวอย่างครั้งนี้ จึงใช้ภาพถ่ายทางอากาศในปีล่าสุด (2563) ร่วมกับงานสำรวจภาคสนาม เพื่ อกำหนดตำแหน่ งครัวเรือนในขอบเขตพื้ นที่ ศึกษาโครงการ ทั้ งนี้ ในการสำรวจ กลุ่มครัวเรือนในพื้ น ที่ ศึกษา จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 21 -24 เมษายน 2564 ได้จ ำนวน 34 ราย และครั้งที่ 2 เมื่อวัน ที่ 16 มกราคม 2565 ได้จำนวน 5 ราย มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 39 ราย สรุปผลการดำเนินงานดังตารางที่ 3.5.1-1 โดย บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นกลุ่มครัวเรือนในพื้นที่โครงการ แสดงดังรูปที่ 3.5.1-15 ถึงรูปที่ 3.5.1-1 (ภาคผนวก ซ.2) สรุปได้ดังนี้ ตารางที่ 3.5.1-1 การดำเนินการสำรวจกลุ่มครัวเรือนในพื้นที่โครงการ การสำรวจ จำนวน ผลการสำรวจ กลุ่มเป้าหมาย วิธีการสำรวจ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครัวเรือน (ร้อยละ) (21-2 เม.ย. 6 ) (16 ม.ค. 65) ครัวเรือน หมู่ที่ 8 26 ลงพื้นที่สัมภาษณ์ 26 - 100.00 บ้านหัวหิน ต.เกาะกลาง บ้านร้าง 4 จัดส่งจดหมายสอบถามและ 1 3 100.00 ลงพื้นที่สัมภาษณ์ ู้ ักอยู่อาศัย บ้านไม่มีผพ 9 จัดส่งจดหมายสอบถามและ 7 2 100.00 ลงพื้นที่สัมภาษณ์ รวม 3 - 3 5 - รูปที่ 3.5.1-15 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นกลุ่มครัวเรือนในพื้นที่โครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-491 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-16 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นเจ้าของบ้านร้าง กรมทางหลวงชนบท 3-492 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-1 ่ าศัย บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นเจ้าของบ้านที่ไม่มีผู้พักอยูอ กรมทางหลวงชนบท 3-493 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ส่วนใหญ่ผู้ให้สัมภาษณ์เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 56.41 และเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 43.59 อายุของผู้ให้สัมภาษณ์ส่ว นใหญ่อยู่ในช่ว งอายุ 30-39 ปี คิดเป็น ร้อยละ 30.77 รองลงมามีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 20.51 โดยผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่มีสถานภาพ สมรส คิดเป็นร้อยละ 64.10 รองลงมา โสด คิดเป็นร้อยละ 17.95 สถานภาพในครัวเรือนผู้ให้สัมภาษณ์ส่ วนใหญ่ เป็นหัวหน้าครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 43.59 รองลงมา เป็ นคู่สมรส คิดเป็นร้อยละ 28.21 ตามลำดับ ส่วนระดับ การศึกษาของผู้ให้สัมภาษณ์ ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 56.41 รองลงมา ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีสัดส่วนที่เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 20.51 ตามลำดับ การนับถือศาสนาส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คิดเป็นร้อยละ 89.74 และนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 10.26 ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 48.72 รองลงมา ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 17.95 ตามลำดับ - ข้อมูล เศรษฐกิจ -สังคมของครัวเรือนในพื้นที่ศึก ษา จำนวนสมาชิกในครัว เรือ น (รวมผู้ให้สั ม ภาษณ์ ) ส่ วนใหญ่ เฉลี่ย อยู่ ที่ 3-4 คน/ครัวเรือน การประกอบอาชีพ หลักของครัว เรือนส่ว นใหญ่ ประกอบอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 46.15 รองลงมา ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 25.64 ส่วนการ ประกอบอาชีพเสริมของครัวเรือนส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม คิดเป็นร้อย 58.97 รองลงมามีอาชีพเสริม (ปศุสัตว์/ ประมง/เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ) คิดเป็นร้อยละ 41.03 สำหรับภาวะการเงินของครัวเรือนส่วนใหญ่ไม่มีเงินออมและมีหนี้ คิดเป็นร้อยละ 14.29 รองลงมา ไม่มีเงินออมแต่ไม่มีหนี้ คิดเป็น ร้อยละ 9.24 ตามลำดับ - การเข้าร่วมกิจกรรมที่สำคัญของชุมชน การร่วมกิจกรรมที่สำคัญในโอกาสต่างๆ ของ ชุมชน ส่วนใหญ่เข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมปีใหม่ กิจกรรมทางศาสนา กิจกรรมวันสงกรานต์ กิจกรรมทำบุญ ประจำปีของชุมชน กิจกรรพัฒนาชุมชน และกิจกรรมสำคัญของทางราชการ โดยใช้สถานที่ของ วัด/มัสยิด อบต./ เทศบาล โรงเรียน และศาลาประชาคม แสดงดังตารางที่ 3.5.1-20 ตารางที่ 3.5.1-20 การเข้าร่วมกิจกรรมที่สำคัญของชุมชนของครัวเรือน จำนวนผู้ให้สัมภาษณ์ N = 3 คน การเข้าร่วมกิจกรรม ประเด็นพิจารณา มีและเข้าร่วม มีแต่ไม่เข้าร่วม สถานที่จัดกิจกรรม ไม่มีกิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรมปีใหม่ 5.88 10.08 16. 1 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน (7) (12) (20) และศาลาประชาคม กิจกรรมทางศาสนา .1 7.69 5.13 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน (3 ) (3) (2) และศาลาประชาคม กิจกรรมวันสงกรานต์ 0.00 43.59 56. 1 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน (0) (17) (22) และศาลาประชาคม กิจกรรมทำบุญประจำปีของชุมชน 1. 12.82 15.38 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน (2 ) (5) (6) และศาลาประชาคม กิจกรรพัฒนาชุมชน 53. 5 28.21 17.95 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน (21) (11) (7) และศาลาประชาคม กิจกรรมสำคัญของทางราชการ 35.90 .2 15.38 วัด/มัสยิด อบต./เทศบาล โรงเรียน (14) (1 ) (6) และศาลาประชาคม กรมทางหลวงชนบท 3-494 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ข้อมูลระบบคมนาคมและสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน สภาพแวดล้อมความสวยงาม ของธรมชาติ/ทัศนียภาพ โดยรวมของชุมชน ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าสภาพแวดล้อมดี/สวยงามรื่นรมย์มาก คิด เป็ น ร้อยละ 58.97 และสวยงามปานกลาง คิด เป็ น ร้อยละ 35.90 โดยในพื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ มี ศาสนสถานที่ มี ความสำคัญต่อชุมชน คิดเป็นร้อยละ 76.92 และมีแหล่งธรรมชาติ คิดเป็นร้อยละ 20.51 ตามลำดับ ความพึงพอใจ โดยรวมในการดำเนินชีวิตของชุมชนมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 51.28 รองลงมามีความพอใจ ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 41.03 และมีความพอใจในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 7.69 ส่วนสภาพปัญหาของชุมชน ด้านการประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่ มีรายได้ไม่แน่นอน คิดเป็นร้อยละ 46.15 รองลงมา มีรายได้ขึ้น อยู่กับฤดูกาล ท่ องเที่ ย ว คิดเป็ นร้อยละ 20.51 ส่ วนทางด้ านสั งคม ส่ วนใหญ่ พ บไม่ มีปั ญ หาทางสังคม คิด เป็ น ร้อยละ 58.97 รองลงมาเป็นปัญหายาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 38.46 และปัญหาลักขโมย คิดเป็นร้อยละ 5.13 - ปัญ หาสิ่ งแวดล้ อมที่ มีผ ลกระทบกับ ชุมชนในปั จจุ บัน จากการสอบถามเกี่ยวกับ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า ปัญหาอันดับแรกที่ ครัวเรือนส่วนใหญ่ได้รับ คือ ปัญหาด้านการคมนาคมและ อุบั ติเหตุ และปัญหาขยะ ซึ่งปัญ หาต่างๆ ส่วนใหญ่ มีผลกระทบในระดับ น้อย-ปานกลาง รายละเอียดแสดงดัง ตารางที่ 3.5.1-21 ตารางที่ 3.5.1-21 ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้รับในปัจจุบันของผู้นำชุมชน จำนวนผู้ให้สัมภาษณ์ N = 3 คน ผลกระทบร้อยละ ระดับผลกระทบร้อยละ (จำนวน) (จำนวน) ั ผลกระทบและ ช่วงเวลาที่ได้รบ ลักษณะผลกระทบ มี ไม่มี สาเหตุการเกิดผลกระทบ มาก ปานกลาง น้อย ผลกระทบ ผลกระทบ ฝุ่นละออง/มลพิษ 53.85 46.15 19.05 71.43 9.52 ช่วงเช้า กลางวัน และเย็น ทางอากาศ (21) (18) (4) (15) (2) จากการก่อสร้างต่างๆ และการขนส่ง เสียง 64.10 35.90 44.00 56.00 0.00 ช่วงเช้า กลางวัน และเย็น (25) (14) (11) (14) (0) จากการขนส่ง ร้านอาหาร/รีสอร์ท ความสั่นสะเทือน 17.95 82.05 71.43 28.57 0.00 ช่วงเช้า กลางวัน และเย็น (7) (32) (5) (2) (0) จากการก่อสร้างต่างๆและการขนส่ง น้ำเสีย 2.56 97.44 0.00 0.00 100.00 ช่วงเช้า กลางวัน และเย็น (1) (38) (0) (0) (1) จากชุมชน ตลาด ร้านอาหาร/รีสอร์ท การคมนาคมและอุบัติเหตุ 28.21 71.79 9.09 72.73 18.18 ช่วงเย็นและกลางคืน (11) (28) (1) (8) (2) จากการขนส่ง แสงสว่างไม่เพียงพอ ขยะ 10.26 89.74 25.00 75.00 0.00 ช่วงเช้าและกลางวัน (4) (35) (1) (3) (0) จากชุมชน ตลาด ร้านอาหาร/รีสอร์ท น้ำท่วม/การระบายน้ำ 7.69 92.31 0.00 66.67 33.33 ช่วงเช้าและกลางวัน (3) (36) (0) (2) (1) จากชุมชน ตลาด ร้านอาหาร/รีสอร์ท กรมทางหลวงชนบท 3-495 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ข้อมูลการเดินทาง จากการสำรวจในชุมชนประเภทบริการที่ใช้ในการเดินทางข้าม ระหว่างเกาะกลาง – เกาะลั นตาน้อย (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ใช้บริการแพขนานยนต์ อย่างน้อย 1 ครั้ง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 97.44 และไม่ได้รับบริการ คิดเป็นร้อยละ 2.56 โดยความถี่ของการ เดินทางของสมาชิกในครอบครัว ส่วนใหญ่ ไป-กลับ มากกว่า 1 ครั้ง/วัน คิดเป็นร้อยละ 35.90 และไม่ค่อยได้ใช้ นานๆ ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 28.21 ตามลำดับ จากการสำรวจครัวเรือนในพื้นที่มีวัตถุประสงค์หลักในการเดินทาง ข้ามเกาะ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์หลักในการเดินทางข้ามเกาะเพื่อเยี่ยม ญาติ คิดเป็น ร้อยละ 51.28 รองลงมา คือ เพื่อเดินทางไปที่ทำงาน คิดเป็นร้อยละ 41.03 และอื่นๆ เช่น เดินทาง ไปทำการเกษตร เพื่อเดินทางไปโรงพยาบาล/คลิกนิค คิดเป็นร้อยละ 20.51 ตามลำดับ แสดงดังรูปที่ 3.5.1-1 สำหรับปัญหา/อุปสรรคในการเดินทางข้ามเกาะ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ส่วนใหญ่ใช้ระยะเวลาในการเดินทางข้าม เกาะนาน คิดเป็นร้อยละ 82.05 รองลงมา คือ ไม่สามารถกำหนดเวลาได้ชัด เจน คิดเป็น ร้อยละ 74.36 และ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางสูง คิดเป็นร้อยละ 58.97 ตามลำดับ แสดงดังรูปที่ 3.5.1-1 - ความคิดเห็นต่อโครงการ ประชาชนในชุมชนส่วนใหญ่รับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ โครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ทราบข้อมูลจากผู้นำชุมชน คิดเป็นร้อยละ 79.49 รองลงมา ทราบข้อมูลจาก เพื่อนบ้าน/ญาติ คิดเป็นร้อยละ 69.23 และทราบข้อมูลจากเคยเข้าร่วมประชุมโครงการ คิ ดเป็นร้อยละ 43.59 ตามลำดับ (รูปที่ 3.5.1 -21) และคิดว่าโครงการควรมีการประชาสัมพันธ์/ชี้แจงข้อมู ลข่าวสารโครงการเพิ่มเติม (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่เห็นว่า แจ้งข้อมูลข่าวสารผ่านผู้นำชุมชน คิดเป็นร้อยละ 89.74 รองลงมา คือ ติดประกาศข้อมูลตามสถานที่ราชการ เช่ น อำเภอ/อบต./เทศบาล คิดเป็นร้อยละ 64.10 ตามลำดับ แสดงดังรูปที่ 3.5.1-22 ซึ่งประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่มีความเห็นในเรื่องผลดีและผลประโยชน์ของโครงการว่าเพิ่ม ความสะดวกสบายในการเดินทาง คิดเป็นร้อยละ 97.44 รองลงมา ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทาง คิดเป็นร้อยละ 87.18 และสร้างความเจริญในชุมชน คิดเป็นร้อยละ 69.23 ตามลำดับ (รูปที่ 3.5.1-23) ส่วนใน เรื่องผลเสียและผลกระทบโดยรวม (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ประชาชนส่วนใหญ่เห็นว่าเสียงดัง ฝุ่นละอองมาก หรือ อื่นๆ ที่เกิดจากการก่อสร้าง คิดเป็น ร้อยละ 46.15 รองลงมา คือ ปริมาณรถยนต์เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 43.59 และจะมีการเกิดอุบัติเหตุเพิ่มมากขึ้นในช่วงการก่อสร้าง คิดเป็นร้อยละ 41.03 ตามลำดับ แสดงดังรูปที่ 3.5.1-23 - ความวิตกกังวลต่ อ การพั ฒ นาโครงการ ครัวเรือนในพื้ น ที่ทั้ งหมด ไม่มี ความวิต ก กังวลต่อโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100.00 แสดงดังรูปที่ 3.5.1-2 - ความคิดเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ ครัวเรือนในพื้นที่ ส่วนใหญ่ เห็นด้วยต่อ โครงการ คิดเป็นร้อยละ 92.31 และไม่มีความคิดเห็นต่อเรื่องนี้ คิดเป็นร้อยละ 7.69 แสดงดังรูปที่ 3.5.1-25 ความคิดเห็น ต่อโครงการและความวิต กกังวลต่อการพั ฒ นาโครงการสะพานเชื่อม เกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ของครัวเรือนในพื้นที่ แต่ละรายที่ทำการสำรวจ สรุปได้ดังตารางที่ 3.5.1-22 กรมทางหลวงชนบท 3-496 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-1 วัตถุประสงค์หลักในการเดินทางข้ามเกาะลันตา ของครัวเรือน รูปที่ 3.5.1-1 ปัญหาและอุปสรรคของท่านในการเดินทางข้ามเกาะ กรมทางหลวงชนบท 3-497 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-20 การทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการของครัวเรือน รูปที่ 3.5.1-21 การประชาสัมพันธ์และชี้แจงข้อมูลข่าวสารโครงการเพิ่มเติม กรมทางหลวงชนบท 3-498 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-22 ความคิดเห็นต่อโครงการของครัวเรือน ในเรื่องผลดีและผลประโยชน์ของโครงการ รูปที่ 3.5.1-23 ความคิดเห็นต่อโครงการของครัวเรือน ในเรื่องผลเสียและผลกระทบโดยรวม กรมทางหลวงชนบท 3-499 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-2 ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการของครัวเรือน รูปที่ 3.5.1-25 ความคิดเห็นโดยรวมต่อโครงการของครัวเรือน กรมทางหลวงชนบท 3-500 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-22 ความคิดเห็นต่อโครงการของกลุ่มครัวเรือนในพื้นที่โครงการ ข้อวิตกกังวล ลำดับ ชื่อ-สกุล ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ ต่อการพัฒนาโครงการ 1 เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้มีสะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 2 เห็นด้วยต่อโครงการ ต้องการสะพานข้ามไปยังเกาะลั นตาโดยเร็วที่สุด ไม่มีข้อวิตกกังวล เพื่อความสะดวกสบายยิ่งขึ้น 3 เห็นด้วยต่อโครงการ ต้องการสะพานข้ามเกาะลันตาโดยเร็ว ไม่มีข้อวิตกกังวล เพราะใช้ในการข้ามแพขนานยนต์เป็นเวลานาน 4 เห็นด้วยต่อโครงการ ต้องการสะพานข้ามเกาะลันตาโดยเร็ว ไม่มีข้อวิตกกังวล เพื่อความสะดวกสบาย 5 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้สร้างสะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 6 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้สร้างสะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 7 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้มีสะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 8 เห็นด้วยต่อโครงการ ต้องการสะพานโดยเร็วที่สุด เพื่อความสะดวกสบาย ไม่มีข้อวิตกกังวล 9 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้มีสะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 10 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้สร้างสะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 11 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้มีสะพานเร็วๆ ให้ความสะดวกสบาย ไม่มีข้อวิตกกังวล 12 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้มีสะพานเร็วๆ ให้ความสะดวกสบาย ไม่มีข้อวิตกกังวล 13 เห็นด้วยต่อโครงการ ให้ดำเนินในเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 14 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้สะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 15 เห็นด้วยต่อโครงการ ต้องการสะพานโดยเร็วที่สุดเพราะการไป-มา ไม่มีข้อวิตกกังวล จะได้สะดวกสบายยิ่งขึ้น 16 เห็นด้วยต่อโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 17 เห็นด้วยต่อโครงการ และขอให้รีบดำเนินการด่วน ไม่มีข้อวิตกกังวล 18 เห็นด้วยต่อโครงการเนื่องจากมีการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น ไม่มีข้อวิตกกังวล 19 เห็นด้วยต่อโครงการ เนื่องจากช่วยให้การติดต่อราชการที่อำเภอ ไม่มีข้อวิตกกังวล และไปโรงพยบาลสะดวกขึ้น 20 เห็นด้วยต่อโครงการ และทำให้มีนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น ไม่มีข้อวิตกกังวล 21 เห็นด้วยต่อโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 22 เห็นด้วยต่อโครงการเนื่องจากช่วยให้การติดต่อราชการที่อำเภอ ไม่มีข้อวิตกกังวล และเดินทางไปยังโรงพยาบาลสะดวกขึ้น 23 เห็นด้วยต่อโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 24 เห็นด้วยต่อโครงการเนื่องจากเพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง ไม่มีข้อวิตกกังวล 25 เห็นด้วยต่อโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 26 เห็นด้วยต่อโครงการเนื่องจากทำให้สินค้าอุปโภค-บริโภคบนเกาะถูกลง ไม่มีข้อวิตกกังวล 27 เห็นด้วยต่อโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 28 เห็นด้วยต่อโครงการเนื่องจากช่วยให้การติดต่อราชการที่อำเภอ ไม่มีข้อวิตกกังวล และเดินทางไปยังโรงพยาบาลสะดวกขึ้น 29 เห็นด้วยต่อโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 30 เห็นด้วยต่อโครงการเนื่องจากเพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง ไม่มีข้อวิตกกังวล 31 เห็นด้วยต่อโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 32 เห็นด้วยต่อโครงการเนื่องจากทำให้สินค้าอุปโภค-บริโภคบนเกาะถูกลง ไม่มีข้อวิตกกังวล 33 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้มีสะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 34 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้สร้างสะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล กรมทางหลวงชนบท 3-501 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-22 ความคิดเห็นต่อโครงการของกลุ่มครัวเรือนในพื้นที่โครงการ (ต่อ) ข้อวิตกกังวล ลำดับ ชื่อ-สกุล ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ ต่อการพัฒนาโครงการ 35 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้สร้างสะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 36 เห็นด้วยต่อโครงการ อยากให้มีสะพานเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 37 เห็นด้วยต่อโครงการ ต้องการสะพานโดยเร็วที่สุด เพื่อความสะดวกสบาย ไม่มีข้อวิตกกังวล 38 เห็นด้วยต่อโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 39 เห็นด้วยต่อโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ที่มา : ที่ปรึกษา 2564 ค) กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สถานศึกษา สถานพยาบาล และศาสนสถานที่ มีความสำคัญ ที่ตั้งอยู่ ในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้นทางโครงการ แต่เนื่องจากในพื้นที่ศึกษา โครงการเป็น พื้น ที่ช ายฝั่งทะเล ผลการสำรวจภาคสนามจึงไม่พบพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้ อมตั้งอยู่ ดังนั้น เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างมีความเหมาะสมและสามารถเป็นตัวแทนของพื้นที่ศึกษา จึงได้พิจารณาครอบคลุมพื้นที่ มากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้นทางโครงการ ครอบคลุมพื้นที่เกาะลันตา 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลเกาะลัน ตาน้อ ย ตำบลเกาะลัน ตาใหญ่ ตำบลศาลาด่า น ตำบลเกาะกลาง และตำบลคลองยาง โดย ดำเนินการสำรวจโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental sampling) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ได้ จำนวนตามต้องการโดยไม่มีหลักเกณฑ์ กลุ่มตัวอย่างโดยการสำรวจจะพิจารณาผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจสูงสุด หรือตัวแทนที่ได้รบั มอบหมาย ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน เจ้าอาวาส ผู้อำนวยการโรงพยาบาล มีจำนวน 103 ราย โดยบรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นกลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม แสดงดังรูปที่ 3.5.1-26 (ภาคผนวก ซ.3) สรุปได้ดังนี้ - ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่ผู้อำนวยการโรงเรียนหรือ ครูตัวแทน คิดเป็นร้อยละ 48.57 รองลงมา เป็นคณะกรรมการของวัด/มัสยิด โต๊ะอิหม่าม/ครูผู้ดูแลศูนย์เด็กเล็ก คิดเป็นร้อยละ 42.72 และผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล/เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล คิดเป็นร้อยละ 8.74 โดยส่วนใหญ่มีระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งประมาณมากกว่า 10 ปี คิดเป็นร้อยละ 36.89 รองลงมา ดำรงตำแหน่งประมาณ 3-4 ปี คิดเป็นร้อยละ 22.33 และดำรงตำแหน่งประมาณ 5-6 ปี คิดเป็น ร้อยละ 14.56 ตามลำดับ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 50.49 และเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 49.51 ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 40 -49 ปี คิดเป็นร้อยละ 45.63 รองลงมา อยู่ในช่วงอายุ 30-39 ปี คิดเป็น ร้อยละ 20.39 ตามลำดับ มีระดับการศึกษาส่วนใหญ่ อ ยู่ในระดับปริญ ญาตรี คิดเป็นร้อยละ 48.54 รองลงมา อยู่ในระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 15.53 และมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. คิดเป็นร้อยละ 14.56 ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม คิดเป็ นร้อยละ 89.32 และนับ ถือศาสนาพุท ธ คิดเป็น ร้อยละ 10.68 ซึ่ง ส่วนใหญ่ อาศั ย ในท้องถิ่น /ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 73.79 รองลงมา ย้ายมาจากที่อื่น 11-20 ปี คิดเป็น ร้อยละ 10.68 และย้าย มาจากที่อื่น 1-5 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.83 สาเหตุที่ย้ายมาจากที่อื่นเนื่องจากย้ายมาทำงานและย้ายมาแต่งงาน กับคนหมู่บ้านนี้ มีสัดส่วนที่เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 48.15 กรมทางหลวงชนบท 3-502 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-26 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นกลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม สถานศึกษา สถานศึกษาในพื้นที่ส่วนใหญ่มีจำนวนครูในสถานศึกษามากกว่า 10 คน ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 40.00 รองลงมา มีจำนวนครู 1-2 คน คิดเป็นร้อยละ 28.00 และมีจำนวนครู 3-4 คน คิดเป็น ร้อยละ 14.00 ตามลำดับ และส่วนใหญ่สถานศึกษามีบุคลากรประจำ จำนวน 3-4 คน คิดเป็นร้อยละ 32.00 รองลงมา มีบุคลากรประจำ จำนวน 1-2 คน คิดเป็นร้อยละ 34.00 ตามลำดับ ส่วนใหญ่มีจำนวนนักเรียนน้อยกว่า 500 คน คิดเป็นร้อยละ 96.00 ส่วนสถานศึกษาที่มีจำนวนนักเรียน 501-1,000 คน และจำนวน 1,501-2,000 คน มีสัดส่วนที่เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 2.00 ด้านอาคารเรียน สถานศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่ามีอาคารเรียน 1-2 หลัง คิดเป็นร้อยละ 56.00 รองลงมา มีอาคารเรียน 3-4 หลัง คิดเป็นร้อยละ 34.00 ส่วนจำนวนบ้านพักครู ส่วนใหญ่ ไม่มสี ิ่งปลูกสร้าง คิดเป็นร้อยละ 44.00 รองลงมา มีสิ่งปลูกสร้าง จำนวน 1-2 หลัง คิดเป็นร้อยละ 34.00 และ สิ่งปลูกสร้าง จำนวน 3-4 หลัง คิดเป็นร้อยละ 16.00 ตามลำดับ กรมทางหลวงชนบท 3-503 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน สถานพยาบาล สถานพยาบาลในพื้นที่ส่วนใหญ่มีบุคลากรทางแพทย์ประจำ 5-6 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 รองลงมา มีบุคลากรทางแพทย์ประจำ จำนวน 3-4 คน คิดเป็นร้อยละ 22.22 มีจำนวน เตีย งผู้ป่ว ยอยุ่ระหว่าง 1 -50 เตีย ง คิ ดเป็น ร้อยละ 100.00 จำนวนอาคารรักษาพยาบาล ส่ว นใหญ่มีอาคาร 1-2 หลัง คิดเป็นร้อยละ 66.67 และมีจำนวน 3-4 หลัง คิดเป็นร้อยละ 33.33 จำนวนบ้านพักเจ้าหน้าที่ ส่วนใหญ่ มีจำนวน 1-2 หลัง คิดเป็นร้อยละ 77.78 และมีจำนวนอาคาร จำนวน 3-4 หลัง คิดเป็นร้อยละ 22.22 ตามลำดับ โดยสถานพยาบาลส่วนใหญ่จำนวนสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ 1-2 หลัง คิดเป็นร้อยละ 55.56 และมีจำนวน 9-10 หลัง คิดเป็นร้อยละ 22.22 ศาสนสถาน/โบราณสถาน ศาสนสถานและแหล่งโบราณสถานในพื้นที่ส่ วนใหญ่ มี โต๊ะอิหม่าม จำนวน 1-2 คน คิดเป็นร้อยละ 43.18 รองลงมา มีโต๊ะอิหม่าม จำนวน 3-4 คน คิดเป็นร้อยละ 20.45 ส่วนใหญ่มีอาคารประกอบกิจกรรมทางศาสนา 1-2 หลัง คิดเป็นร้อยละ 68.18 รองลงมา มีจำนวนอาคาร 3-4 หลัง คิดเป็น ร้อยละ 15.91 จำนวนสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ ส่วนใหญ่ มีจำนวน 1-2 หลัง คิดเป็นร้อยละ 40.91 รองลงมา มีสิ่งปลูกสร้าง 3-4 หลัง คิดเป็นร้อยละ 25.00 ตามลำดับ สำหรับระยะเวลาการก่อตั้งศาสนสถาน/โบราณสถาน ส่วนใหญ่มีระยะเวลาเฉลี่ยมากกว่า 10 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 95.15 รองลงมา อยู่ในช่วง 9-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 1.94 โดยลักษณะการตั้งพื้นที่ศาสนสถาน/โบราณสถาน ส่วนใหญ่ตั้งอยู่บริเวณใกล้เคียงหรือติดกับแหล่งชุมชน คิดเป็นร้อยละ 89.32 และอยู่ห่างจากชุมชนปานกลาง (ไม่เกิน 1 กิโลเมตร) คิดเป็นร้อยละ 9.71 ลักษณะโดยรวม ของศาสนสถานและแหล่ งโบราณสถาน ส่ วนใหญ่ มี ลั กษณะที่ ทั น สมั ย งดงาม คิดเป็ น ร้อยละร้อยละ 63.11 รองลงมา มีความทรุดโทรมบ้างเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ 30.10 - ความคิ ด เห็ น ต่ อ โครงการ ผู้ ให้ สั ม ภาษณ์ ส่ ว นใหญ่ ท ราบข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ โครงการจากผู้นำชุมชน คิดเป็นร้อยละ 82.52 รองลงมา ทราบข้อมูลจากหน่วยงานราชการอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 52.43 และทราบข้อมูลจากเพื่อนบ้าน/ญาติ คิดเป็นร้อยละ 38.83 ตามลำดับ แสดงดังรูปที่ 3.5.1-2 ส่วนใน ด้านการประชาสัมพันธ์/ชี้แจงข้อมูลข่าวสารโครงการเพิ่มเติม ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่ต้องการให้เพิ่มเติมข้อมูล โดยวิ ธีการแจ้งข้อมู ล ข่าวสารผ่ านผู้ น ำชุ ม ชน คิดเป็ น ร้อยละ 71.84 รองลงมา ทำจดหมาย/เอกสาร แจ้ งต่ อ ประชาชนโดยตรง คิดเป็นร้อยละ 60.19 และติดประกาศข้อมูลตามสถานที่ราชการ เช่น อำเภอ อบต.เทศบาล คิดเป็ นร้อยละ 57.28 ตามลำดั บ แสดงดั งรูป ที่ 3.5.1 -2 สำหรับความคิดเห็ นประชาชนในพื้ นที่ ส่ วนใหญ่ มี ความเห็นในเรื่องผลดีและผลประโยชน์ของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) เพิม ่ ความสะดวกสบายในการเดินทาง คิดเป็นร้อยละ 97.09 รองลงมา ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทาง คิดเป็นร้อยละ 87.38 และช่วยให้การ ติดต่อราชการที่อำเภอสะดวกขึ้น คิดเป็นร้อยละ 81.55 ตามลำดับ แสดงดังรูปที่ 3.5.1-2 ส่วนในเรื่องผลเสี ย และผลกระทบโดยรวม (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ประชาชนส่วนใหญ่เห็นว่าไม่มีผลเสีย/ผลกระทบ คิดเป็นร้อยละ 44.66 รองลงมา มีปริมาณรถยนต์เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 42.72 และผลกระทบด้านเสียงดัง ฝุ่นละออง และอื่นๆ ที่เกิดจากการก่อสร้าง คิดเป็นร้อยละ 22.33 ตามลำดับ แสดงดังรูปที่ 3.5.1-30 - ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่ไม่มีความวิตก กังวลต่อโครงการ คิดเป็นร้อยละ 91.26 และมีข้อวิตกกังวลเนื่องจากกังวลเรื่องระยะเวลาการก่อสร้าง คิดเป็น ร้อยละ 8.74 แสดงดังรูปที่ 3.5.1-31 - ความคิดเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่เห็น ด้ว ยต่อ โครงการ คิดเป็นร้อยละ 97.09 และไม่มีความคิดเห็นต่อเรื่องนี้ คิดเป็นร้อยละ 2.91 แสดงดังรูปที่ 3.5.1-32 ความคิดเห็น ต่อโครงการและความวิต กกังวลต่อการพั ฒ นาโครงการสะพานเชื่อม เกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลัน ตา จังหวัดกระบี่ ของกลุ่มพื้นที่อ่อนไหว ด้านสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่แต่ละรายที่ทำการสำรวจ สรุปได้ดังตารางที่ 3.5.1-23 กรมทางหลวงชนบท 3-504 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-2 การรับทราบข้อมูลข่าวสารของโครงการ กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม รูปที่ 3.5.1-2 การประชาสัมพัน์และการชี้แจงข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติม กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม กรมทางหลวงชนบท 3-505 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-2 ่ พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ผลดี/ผลประโยชน์โดยรวม กลุม รูปที่ 3.5.1-30 ผลเสีย/ผลกระทบโดยรวม กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม กรมทางหลวงชนบท 3-506 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-31 ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม รูปที่ 3.5.1-32 ความคิดเห็นโดยรวมต่อโครงการ กลุ่มพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม กรมทางหลวงชนบท 3-507 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ้ ที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพืน ตารางที่ 3.5.1-23 ความคิดเห็นต่อโครงการของพืน ึ ษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ้ ที่มากกว่าพื้นที่ศก ลำดับที่ พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ ข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ 1 มัสยิดดารุลซุนนะฮ์ กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 2 มัสยิดบ้านขุนสมุทร กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ได้เดินทางสะดวกไม่เสียเวลา ไม่มีข้อวิตกกังวล 3 มัสยิดบ้านร่าปู กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 4 มัสยิดบ้านคลองย่าหนัด โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างโดยเร็ว 5 มัสยิดบ้านร่าหมาด โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 6 มัสยิดลิกี กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 7 มัสยิดอ่าวทองหลาง ผู้ใหญ่บ้าน* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 8 มัสยิดบ้านอ่าวขุนโตด โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ชาวบ้านได้รับผลประโยชน์มาก ไม่มีข้อวิตกกังวล 9 มัสยิดบ้านท่าคลอง กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 10 มัสยิดบ้านปากคลอง กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 11 มัสยิดบ้านนาทุ่งกลาง ผู้ใหญ่บ้าน* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 12 มัสยิดมีฟตาฮุซซอล๊ะฮ์ ภรรยาตัวแทนโต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 13 โรงเรียนบ้านร่าปู ครู* เห็นด้วยกับโครงการ เพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง ไม่มีข้อวิตกกังวล 14 โรงเรียนบ้านร่าหมาด ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 15 โรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 16 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองโตนด ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 17 โรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง ครู* เห็นด้วยกับโครงการ เพื่อความสะดวกและปลอดภัย อยากให้ดำเนินการสร้างให้เร็วที่สุด 18 โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 19 โรงเรียนบ้านปากคลอง ครู* เห็นด้วยกับโครงการ เพราะสร้างความสะดวกในการ ไม่มีข้อวิตกกังวล เดินทางและประหยัดค่าใช้จา ่ ยในการเดินทาง 20 โรงเรียนบ้านลิกี ้ ำนวยการโรงเรียน ผูอ เห็นด้วยกับโครงการ เพราะทำให้ประชาชนสะดวกต่อการ ไม่มีข้อวิตกกังวล เดินทางสัญจร ประหยัดเวลารวมทั้งค่าใช้จ่าย 21 ศูนย์พัฒนาเด็กเล้กบ้านท่าคลอง ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 22 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านขุนรายา ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 23 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านร่าปู ครู* เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างโดยเร็ว 24 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพ * เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ตำบลบ้านร่าปู กรมทางหลวงชนบท 3-508 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ้ ที่มากกว่าพื้นที่ศก ตารางที่ 3.5.1-23 ความคิดเห็นต่อโครงการของพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพืน ึ ษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) ลำดับที่ พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ ข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ 25 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพ* เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างโดยเร็ว ตำบลบ้านนาทุ่งกลาง 26 มัสยิดญันนาตุ้ลฮาซานะ กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ เพราะเป็นโครงการที่ดีและทำให้ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างโดยเร็ว (คลองโตบ) ่ ยในการเดินทาง ประหยัดค่าใช้จา 27 มัสยิดบ้านเจ๊ะหลี โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 28 มัสยิดดารุสลาม กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 29 มัสยิดบ้านเกาะปอ โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 30 มัสยิดบ้านคลองหิน กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 31 มัสยิดบ้านคลองนิน โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างสะพาน โดยเร็วที่สุด 32 มัสยิดนูรุลฮูดา โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 33 มัสยิดนูรุ้ลอีหม่าน กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 34 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวแหลม ครู* เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างสะพาน ุ ฮูด้า) (นูรล โดยเร็ว 35 โรงเรียนบ้านคลองนิน ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 36 โรงเรียนเมตตาธรรมวิทยา ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 37 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเจ๊ะหลี ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 38 โรงเรียนวัดเกาะลันตา ครู* ต้องการให้สะพานเสร็จเร็วๆ ไม่มีข้อวิตกกังวล 39 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองโตบ ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 40 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองนิน พยาบาลวิชาชีพ* เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างสะพาน โดยเร็วที่สุด 41 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคลองหิน ครู* เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างสะพาน โดยเร็วทีส่ ุด 42 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศรีรายา ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 43 โรงเรียนบ้านสังกาอู้ ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 44 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระแอะ ครู* เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างสะพาน โดยเร็วที่สด ุ กรมทางหลวงชนบท 3-509 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ้ ที่มากกว่าพื้นที่ศก ตารางที่ 3.5.1-23 ความคิดเห็นต่อโครงการของพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพืน ึ ษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) ลำดับที่ พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ ข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ 45 โรงเรียนบ้านเจ๊ะหลี ครู* เห็นด้วยกับโครงการ เพราะประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายใน อยากให้เร่งดำเนินการสร้างสะพาน การเดินทาง โดยเร็วที่สุด 46 โรงพยาบาลเกาะลันตา หัวหน้าฝ่ายบริหาร ่ย เห็นด้วยกับโครงการ เพราะสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายผู้ปว อยากให้เร่งดำเนินการสร้างสะพาน และทำให้ประหยัดเวลาในการเดินทางเป็นอย่างมาก โดยเร็วที่สุด 47 โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตำบล พยาบาลวิชาชีพ* เห็นด้วยกับโครงการ เพราะในด้านด้านสาธารณสุขสะดวก ไม่มีข้อวิตกกังวล บ้านคลองโตบ รวดเร็วในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย 48 มัสยิดหลังสอด โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้มีสะพานเพื่อเพิ่มความ อยากให้ดำเนินการโดยเร็ว สะดวกในการเดินทาง 49 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 50 มัสยิดบ้านคลองหมาก โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 51 มัสยิดดารุลยันน๊ะฮ์ (คลองโตนด) โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 52 มัสยิดบ้านกลาง ้น ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 53 มัสยิดบ้านทุ่งพัฒนา โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 54 มัสยิดตักวา กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 55 มัสยิดบ้านโละใหญ่ ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 56 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลังสอด ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 57 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกาะลันตาน้อย ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล สามัคคี (ทุ่งหยุ่ม) 58 โรงเรียนบ้านคลองโตนด ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 59 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่ง ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 60 โรงเรียนบ้านทุ่งวิทยาพัฒน์ ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 61 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโล๊ะใหญ่ ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 62 โรงเรียนบ้านโล๊ะใหญ่ ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 63 โรงเรียนบ้านพระแอะ ผู้อำนวยการโรงเรียน เห็นด้วยกับโครงการ สร้างความเจริญและทำให้การเดินทาง การควบคุมระยะเวลาโครงการให้ ระหว่างเกาะสะดวกยิ่งขึ้น เป็นไปตามเป้าหมายตามระยะเวลา ที่กำหนด กรมทางหลวงชนบท 3-510 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ้ ที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพืน ตารางที่ 3.5.1-23 ความคิดเห็นต่อโครงการของพืน ึ ษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) ้ ที่มากกว่าพื้นที่ศก ลำดับที่ พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ ข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ 64 โรงเรียนลันตาราช พยาบาลวิชาชีพ* เห็นด้วยกับโครงการ สร้างความสะดวกในการเดินทาง กังวลว่าโครงการอาจจะเกิดความ ล่าช้า 65 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้มีสะพานเพื่อเพิ่มความ อยากให้ดำเนินการโดยเร็ว ตำบลคลองโตนด สะดวกในการเดินทาง 66 มัสยิดบ้านคลองยาง โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ เพราะสะดวกสบายต่อการคมนาคม ไม่มีข้อวิตกกังวล 67 มัสยิดบ้านเขาฝาก โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 68 มัสยิดไทยอิสลามสามัคคี โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ กังวลว่างบประมาณ (บ้านโคกยูง) จะตกหล่น 69 มัสยิดอามีนันมุสลีมีน โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 70 มัสยิดอัลยุมอ้าตุลอิสลาม โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 71 มัสยิดนูรุ้ลอีหม่านบ้านท่าควน โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้ดำเนินการสร้างโดยเร็ว 72 มัสยิดดารูล ้ เอี๋ยะซาน โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 73 มัสยิดบ้านหลังโสด (ลันตา) โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 74 โรงเรียนพัฒนศาสน์วิทยาคลองยาง ผู้อำนวยการโรงเรียน เห็นด้วยกับโครงการ เพราะหากมีการจัดทำโครงการทำให้ อยากให้ดำเนินการสร้างโดยเร็ว มีความสะดวกในการติดต่อ 75 โรงเรียนคลองยางประชานุสรณ์ ครู* เห็นด้วยกับโครงการ กังวลว่าจะไม่เกิดโครงการ 76 โรงเรียนบ้านเขาฝาก ครู* เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างโดยเร็ว 77 โรงเรียนบ้านคลองยาง ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 78 โรงเรียนบ้านโคกยูง ผู้อำนวยการโรงเรียน เห็นด้วยกับโครงการ อยากให้ดำเนินการสร้างโดยเร็ว 79 โรงเรียนบ้านหลังโสด ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 80 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองยาง ครู* เห็นด้วยกับโครงการ กังวลว่าจะไม่เกิดโครงการขึ้น 81 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล พยาบาลวิชาชีพ* เห็นด้วยกับโครงการ เพราะทำให้การเดินทางสะดวกและ กังวลว่าโครงการอาจจะถูกยกเลิก คลองยาง ประหยัดเวลามากขึ้น 82 มัสยิดบ้านโละดูหยง โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ อยากมีสะพานโดยเร็วที่สุดเพื่อความ อยากให้เร่งดำเนินการสร้างโครงการ สะดวกสบายและเพือ ่ รถพยาบาลฉุกเฉินตอนกลางวันและ กลางคืน กรมทางหลวงชนบท 3-511 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ้ ที่มากกว่าพื้นที่ศก ตารางที่ 3.5.1-23 ความคิดเห็นต่อโครงการของพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพืน ึ ษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ (ต่อ) ลำดับที่ พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง ความเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ ข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ 83 มัสยิดบ้านสมพรพรุกม โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ ให้เร่งดำเนินการสร้างโครงการ 84 มัสยิดบ้านโล๊ะบาหรา โต๊ะอิหม่าม เห็นด้วยกับโครงการ เพื่อความสะดวกสบาย ให้เร่งดำเนินการสร้างโครงการ 85 มัสยิดทุ่งหยีเพ็ง กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ให้เร่งดำเนินการสร้างโครงการ 86 มัสยิดบ้านคลองโขง กรรมการมัสยิด เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 87 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองโขง ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 88 โรงเรียนชุมชนบ้านศาลาด่าน ครู* เห็นด้วยกับโครงการ เพื่อความสะดวกสบาย ไม่มีข้อวิตกกังวล 89 โรงเรียนบ้านพระแอะ ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 90 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระแอะ ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 91 ศูนย์พัฒนาเด็กโละดุหยง ครู* เห็นด้วยกับโครงการ เดินทางสะดวกสบาย ให้เร่งดำเนินการสร้างโครงการ 92 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมพรพรุกม ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 93 โรงเรียนทุ่งหยีเพ็ง ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไม่มีข้อวิตกกังวล 94 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโล๊ะบาหรา ครู* เห็นด้วยกับโครงการ ทำให้การคมนาคมสะดวกมากขึ้น อยากให้มีการสร้างโดยรวดเร็ว 95 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพ* เห็นด้วยกับโครงการ รีบดำเนินการก่อสร้าง ตำบลศาลาด่าน 96 โรงพยาบาลตำบลคลองโตนด พยาบาลวิชาชีพ* เห็นด้วยกับโครงการ เดินทางสะดวกและปลอดภัย ไม่มีข้อวิตกกังวล 97 วัดเกาะลันตา คณะกรรมการวัด* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 98 สำนักป่าสงฆ์หิมพานต์ พระภิกษุ* เห็นด้วยกับโครงการและอยากให้มีสะพานโดยเร็ว ไม่มีข้อวิตกกังวล 99 โรงพยาบาลตำบลคลองยาง รองนายก อบต.คลองยาง* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 100 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองยาง รองนายก อบต.คลองยาง* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 101 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ้ น* ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ตำบลบ้านนาทุ่งกลาง 102 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะกลาง กำนันตำบลเกาะกลาง* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล 103 โรงพยาบาลเกาะลันตาน้อย รองผู้อำนวยการ* เห็นด้วยกับโครงการ ไม่มีข้อวิตกกังวล ที่มา : สำรวจภาคสนามปี 2564-2565 หมายเหตุ : * เป็นตัวแทนที่ได้รับมอบหมาย กรมทางหลวงชนบท 3-512 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ง) ผู้ได้รับผลกระทบด้านการเวนคืนที่ดินและทรัพย์สิน ทำการสำรวจเจ้าของที่ดินหรือทรัพย์สิน ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการพัฒ นาโครงการ โดยดำเนินการสำรวจโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไป ตามโอกาสทางสถิติ ด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) มีจำนวน 1 ราย คือ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ ทำการเก็บตัวอย่างทั้งหมด (ร้อยละ 100.00) โดยบรรยากาศการสำรวจความคิด เห็ น ผู้ ได้ รับ ผลกระทบด้ านการเวนคืน ที่ ดิ น แแสดงดั ง รูปที่ 3.5.1-33 (ภาคผนวก ซ. ) ผลการสอบถาม ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว เป็นคนท้องถิ่น เกิดที่นี่ มีสมาชิกในครัวเรือน 4 คน ได้รับทราบข้อมูล โครงการจากผู้นำชุมชนและเคยเข้าร่วมประชุมโครงการ มีความเห็นด้วยต่อการพัฒนาโครงการ เนื่องจากโครงการจะสร้างความเจริญ มีความสะดวกและปลอดภัยต่อ การเดินทาง โดยในพื้นที่ดินที่ได้รับผลกระทบหรือต้องถูกเวนคืนจากการพัฒนาโครงการ เป็นที่ดิน สค.1 พื้นที่ เวนคืน 0-0-44 ไร่ ปัจจุบันใช้ประโยชน์ปลูกปาล์มน้ำมัน ไม่มีบ้านเรือนในที่ดินแปลงนี้ โดยพื้นที่ที่ถูกเวนคืนที่ดิน ในครั้งนี้เป็นพื้นที่บางส่วนเท่านั้น ซึ่งไม่ทำการเกิดปัญหาในการดำรงชีวิตในปัจจุบัน ทั้งนี้ เจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืนจากโครงการ ได้ทำหนังสื อแสดงความ ประสงค์ เรื่องการอุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการเข้าไปดำเนินการเพื่อให้มีประโยชน์ ร่ว มกัน แสดงดัง รูป ที่ 3.5.1 -3 ดัง นั้น การก่อสร้า งโครงการสะพานเชื่อมเกาะลัน ตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จึงไม่ต้องมีการจ่ายค่าจัดกรรมสิท ธิ์ที่ดินหรือค่าเวนคืน ที่ดินแต่อย่างใด รูปที่ 3.5.1-33 การสำรวจความคิดเห็นผู้ได้รับผลกระทบด้านการเวนคืนที่ดิน กรมทางหลวงชนบท 3-513 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-3 หนังสือแสดงความประสงค์ เรื่องการอุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการ เข้าไปดำเนินการเพื่อให้มีประโยชน์ร่วมกัน กรมทางหลวงชนบท 3-514 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-3 หนังสือแสดงความประสงค์ เรื่องการอุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการ เข้าไปดำเนินการเพื่อให้มีประโยชน์ร่วมกัน (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-515 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-3 หนังสือแสดงความประสงค์ เรื่องการอุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการ เข้าไปดำเนินการเพื่อให้มีประโยชน์ร่วมกัน (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-516 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.1-3 หนังสือแสดงความประสงค์ เรื่องการอุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการ เข้าไปดำเนินการเพื่อให้มีประโยชน์ร่วมกัน (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-517 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน จ) กลุ่ม สถานประกอบการ เป็นเจ้าของสถานประกอบการหรือผู้แทนที่ได้รับ มอบหมาย ซึ่งสามารถตัดสินใจและให้ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง โดยสถานประกอบการที่พิจารณาจะเป็นสถานทีซ ่ ึ่งผู้ประกอบการ ใช้ป ระกอบกิจ การเป็น ประจำ และหมายความรวมถึง สถานที ่ซึ ่ง ใช้เป็น ที ่ผ ลิต หรือ เก็บ สิน ค้ า เป็น ประจำ โดยดำเนินการสำรวจสถานประกอบการที่ตั้งอยู่ในพื้น ที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนวเส้นทางโครงการ แต่เนื่องจากในพื้นที่ศึกษาโครงการเป็นพื้นที่ชายฝั่งทะเล ผลการสำรวจภาคสนามพบสถานประกอบการเพียง 1 แห่ง คือ บริษัท ส่งเสริม ทรานเซอร์วิส จำกัด (แพขนานยนต์) ดังนั้น เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างมีความเหมาะสมและสามารถ เป็น ตัวแทนของพื้นที่ศึกษา จึงได้พิจ ารณาครอบคลุมพื้น ที่มากกว่า พื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งแนว เส้นทางโครงการ ดำเนินการสำรวจโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental sampling) เป็นการเลือกกลุ่ม ตัวอย่าง เพื่อให้ได้จำนวนตามต้องการโดยไม่มีหลักเกณฑ์ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ทำการสำรวจจะพิจารณาผู้ที่มีอำนาจ ในการตัด สิน ใจสูงสุด หรือตัว แทนที่ไ ด้รับมอบหมาย แต่ทั้งนี้ในระยะเวลาที่ดำเนินการศึกษาเก็บ ตัว อย่างนั้น (ณ เดือน ธันวาคม 2563) เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในจังหวัดกระบี่ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสถานประกอบการ ทำให้ต้องหยุดกิจการทั้งชั่วคราวและถาวร เนื่องจากไม่มีนักท่องเที่ยวทั้ง ที่เป็นชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาในจังหวัดกระบี่ จึงเหลือเพียงสถานประกอบการณ์บางรายเท่านั้นที่ ยังคงเปิดให้บริการ และเพื่อสอบถามความคิดเห็นต่อโครงการของกลุ่มสถานประกอบการด้ านการท่องเที่ยวใน พื้นที่ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่ อ.เกาะลันตา แบ่งกลุ่มสถานประกอบออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ บริษัทนำเที่ยว บริการขนส่งสาธารณะ ธุรกิจ/รีสอร์ท บริการนำเที่ยว/มัคคุเทศก์ และร้านค้าทั่วไป จำนวน รวม 6 ราย โดยบรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นกลุ่มสถานประกอบการ แสดงดังรูปที่ 3.5.1-35 สรุปความ คิดเห็นต่อโครงการของกลุ่มสถานประกอบการ ดังตารางที่ 3.5.1-2 รูปที่ 3.5.1-35 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นกลุ่มสถานประกอบการ กรมทางหลวงชนบท 3-518 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-2 ความคิดเห็นต่อโครงการของสถานประกอบการ ข้อวิตกกังวล ชื่อสถานประกอบการ ั ภาษณ์ ผู้ให้สม ความคิดเห็นต่อโครงการ ต่อการพัฒนาโครงการ บริษัทส่งเสริมทรานเซอร์วิส จำกัด - เห็นด้วย สร้างความเจริญใน - ผลกระทบจากการมี (แพขนานยนต์) ชุมชน เพิ่มความสะดวกสบาย สะพานนี้ จะทำให้ไม่ ในการเดินทาง ทำให้มี สามารถเดินแพขนานยนต์ นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น ในเส้นทางเดิมได้อีกต่อไป บริษัท ทัวร์ริส เซ็นเตอร์ - เห็นด้วย เป็นการพัฒนา - ให้ใช้เวลาก่อสร้างในระยะ (บริษัทนำเที่ยว) พื้นที่เพื่อประโยชน์ของ สั้น ประชาชนในพื้นที่ บริษัท ลันตาทรานสปอร์ต จำกัด - เห็นด้วย ต้องการได้สะพาน - ไม่มี (บริษัทบริการขนส่งสาธารณะ) อย่างยิ่ง ลันตา เพิร์ลบีช รีสอร์ท - เห็นด้วย เป็นโครงการที่ดี - ไม่มีข้อวิตกใด ขอให้มีการ (ธุรกิจโรงงแรม/รีสอร์ท) ช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี ก่อสร้างโดยเร็ว และสร้างรายได้ต่อประชาชน ในพื้นที่ กลุ่มท่องเที่ยว เชิงนิเวศ ทุ่งหยีเพ็ง - เห็นด้วย - ช่วงก่อสร้าง อาจเป็น ธุรกิจ (บริการนำเที่ยว/มัคคุเทศก์) อุปสรรคต่อการเดินทาง ของประชาชนในพื้นที่ ร้านจันทนา - เห็นด้วย ต้องการให้เร่ง - ไม่มี (ร้านสะดวกซื้อ) ก่อสร้างสะพานโดยเร็ว ที่ปรึกษา : 2564 ฉ) พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องมีการติดตั้งกำแพงกันเสียง ดำเนินการสำรวจความ คิดเห็นเจ้าของบ้านที่ตั้งอยู่ ริมเส้นทางโครงการที่กำหนดให้มีการติด ตั้งกำแพงกัน เสีย งเฉพาะในระยะก่อ สร้า ง บริเวณริม ทางหลวงหมายเลข 4206 บ้า นหัว หิน อยู่ห่า งจากกึ่ง กลางเส้น ทาง 25 เมตร โดยได้ดำเนิ นการ สัมภาษณ์เจ้าของบ้าน คือ ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยบรรยากาศการสำรวจความคิดเห็น แสดงดังรูปที่ 3.5.1-36 สรุปความคิดเห็นต่อมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบด้านเสียงในระยะก่อสร้าง ดังนี้ ▪ ไม่เห็นด้วยต่อการติดตั้งกำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีท เนื่องจากบดบังทางเข้า- ออกบ้าน อาจจะทำให้เกิดอุบัติเหตุตอนกลางคืนในพื้นที่ที่มีแสงน้อยหรือไม่มีแสงไฟ ▪ กิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดเสียงดังสูง ให้ดำเนินการเฉพาะช่วงเวลากลางวันเท่านั้น ▪ ก่อนติดตั้งกำแพงกันเสียงให้มีการสอบถามประชาชนอีกครั้ งว่ามีความต้องการหรือ ยินยอมให้ติดกำแพงกันเสียงหรือไม่ กรมทางหลวงชนบท 3-519 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ั ผลกระทบด้านเสียงในระยะก่อสร้าง รูปที่ 3.5.1-36 บรรยากาศการสำรวจความคิดเห็นผู้ที่ได้รบ ( ) การประชุมหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก) การประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดกระบี่ (รูปที่ 3.5.1-3 ) ดำเนินการประชุม หารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดกระบี่ เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุมแขวงทางหลวงชนบท กระบี่ ซึ่งผลจากการประชุมหารือในครั้งนี้ สรุปได้ว่าการไฟฟ้าภูมิภาค จังหวัดกระบี่ มีความประสงค์ที่จะขอฝาก สายส่งขนาด 33 kv. จำนวน 4 วงจร กับโครงสร้างสะพาน สำหรับแนวสายไฟฟ้าที่มีอยู่ในปัจจุบันทั้งสายเดิน อากาศ และฝังใต้ทะเลที่วางอยู่ใกล้กับแนวก่อสร้างสะพานนั้น ทางโครงการจะต้องมีการประชุมหารือร่วมกัน เพื่อกำหนด แนวสายไฟฟ้าชั่วคราวระหว่างการรื้อย้ายและวางแนวสายไฟฟ้าใหม่ นอกจากนี้ ทางบริษัท TOT ยังมีความประสงค์ จะขอฝากสายเคเบิ้ลใยแก้วกับโครงสร้างสะพานในครั้งนี้ เนื่องจากปัจจุบันไม่มีแนวสายสื่อสารเข้ามาพื้นที่เกาะลันตา รูปที่ 3.5.1-3 บรรยาการการประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-520 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) การประชุ มหารือการประปาส่ วนภู มิ ภาคสาขาคลองท่ อม (รูปที่ 3.5.1-3 ) ดำเนิ นการ ประชุมหารือกับการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ณ ห้องประชุมสภา องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อ ย โดยผู้แทนการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม นำโดยน ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม พร้อมด้วย หัวหน้างานบริการ และควบคุมน้ำสูญเสีย เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย เพื่อชี้แจงรายละเอียด การขอใช้ ที่ดินสำหรับดำเนินการตามแผนงานของการประปาส่วนภูมิภาค แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายการประปา ส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม อำเภอคลองท่อม - เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (โครงการเพื่อพัฒนาปี 2565 งบประมาณ ประจำปี 2566) ณ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลั นตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งที่ประชุมมีมติ เห็นชอบให้การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อมใช้ที่ดินสำหรับโครงการดังกล่าว จำนวน 2 ไร่ รูปที่ 3.5.1-3 บรรยากาศการประชุมหารือการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม ต่อมา เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เวลา 09.00 น. การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม ภายใต้การบริหารงานโดย ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม ในการนี้ ผู้อำนวยการกองแผนงานโครงการ 1 พร้อมด้วย ผู้จัดการ การประปาส่วนภูมิภ าค สาขาคลองท่อมและคณะ ได้เข้าร่วมการประชุมเพื่ อชี้แจงพิ จารณาจัด ทำประชาคม เรื่องการใช้น้ำประปาของ กปภ. ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ หมู่ที่ 5 , 6 และ 8 สำหรับดำเนินการตามแผนงาน ของการประปาส่วนภูมิภาค แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่ อม อำเภอคลองท่อม - เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (โครงการเพื่อพัฒนาปี 2565 งบประมาณประจำปี 2566) ณ โรงแรม เซาเทิร์น ลันตารีสอร์ท อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้ การประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อมสามารถดำเนินงานตามแผนงานโครงการก่อสร้างดังกล่าวได้ (รูปที่ 3.5.1-3 ) กรมทางหลวงชนบท 3-521 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : ข่าวภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค รูปที่ 3.5.1-3 การประชุมเพื่อชี้แจงพิจารณาจัดทำประชาคมเรื่องการใช้น้ำประปา ของการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) เดินหน้าเร่งก่อสร้างระบบผลิตน้ำประปาจากผิวดินและ จากน้ำทะเล ขนาดกำลังผลิตวันละ 2,400 ลบ.ม. เพื่อส่งจ่ายน้ำประปาให้บริการแก่ประชาชนและนักท่องเที่ ยวบน เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ภายหลังได้รับการสนับ สนุน จากประชาชนในพื้นที่ เนื่องจากบนเกาะใช้น้ำ ประปา จากท้องถิ่น ซึ่งมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้น้ำประปาที่เพิ่มขึ้นมาก กปภ.เขต 4 และ กปภ. สาขา คลองท่อม จึงสำรวจความคิด เห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การจัดทำโครงการก่อสร้างระบบผลิตน้ำประปาใน พื้นที่หมู่ 5 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลปรากฏว่าประชาชนให้การสนับสนุนอย่าง เต็มที่ กปภ. จึงขออนุมัติ ใช้ที่ ดินสาธารณประโยชน์คลองจาก ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณพื้ นที่หมู่ 5 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เนื้อที่ประมาณ 15 ไร่ 60 ตารางวา นอกจากนี้ กปภ. ยังจะได้จัดสรรงบประมาณ ในปี 2555 จำนวน 239.329 ล้านบาท เพื่อก่อสร้างโรงสูบน้ำแรงต่ำและระบบผลิตน้ำประปา 2 ระบบ คือ ระบบ ผลิตน้ำประปาจากผิวดิน โดยใช้แหล่งน้ำดิบจากฝายทดน้ำคลองจาก และระบบผลิตน้ำประปาจากน้ำทะเล (R.O.) บริเวณอ่าวนุ้ย ขนาดกำลังผลิตวันละ 2,400 ลูกบาศก์เมตร ก่อสร้างถังน้ำใสขนาด 3,000 ลบ.ม. และหอถังสูง ขนาด 250 ลูกบาศก์เมตร ตลอดจนวางท่อจ่ายน้ำ ความยาวรวมประมาณ 47 กิโลเมตร คาดว่าเมื่อการก่อสร้าง แล้วเสร็จ จะสามารถให้บริการแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาพักผ่อนบนเกาะลันตาได้อย่างเพียงพอ และทั่วถึง (ข่าวภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค) การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม มีแผนดำเนินการโครงการปรับปรุงขยายประปา ส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม มายังเกาะลันตา ซึ่งเป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ของการประปาภูมิภาค โดยในกรณี ที่มีการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา การประปาภูมิภาคจะประสานงานกับกรมทางหลวงชนบทในการขอติดตั้ง ระบบท่อประปาภายในโครงสร้าง Segmental Box Girder ของสะพานเชื่อมเกาะลันตาต่อไป กรมทางหลวงชนบท 3-522 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ค) การประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สำนักงานใหญ่ (รูปที่ 3.5.1-40) การประชุม หารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สำนักงานใหญ่ เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2564 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 12 อาคาร 1 กรมทางหลวงชนบท ซึ่งมีประเด็นการรื้อย้ายสายไฟฟ้าแรงสูงชั่วคราว ขนาด 33 KV. ขั้นตอนการรือ ้ ย้ายสายไฟฟ้า บริเวณเชิงลาดสะพานและการรื้อย้ายสายไฟฟ้ าแรงสูงเป็ นการชั่วคราว ขนาด 33 KV. รวมทั้งหารือเกี่ย วกับ รูปแบบการพัฒนาโครงการ เพื่อการออกแบบร่วมกันและจัดเตรียมแผนฯ เพื่อนำแนวสายไฟฟ้าแรงสู งขนาด 110 KV. เกาะไปกับโครงสร้างสะพานของโครงการ รูปที่ 3.5.1-40 บรรยากาศการประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สำนักงานใหญ่ ง) การประชุมหารือโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ ได้ดำเนินการเข้าหารือโยธาธิการ และผัง เมืองจังหวัดกระบี่ เมื่ อวัน ที่ 8 ธัน วาคม 2564 เพื่อขอทราบแนวทางการใช้บังคับ ผัง เมืองรวมชุ ม ชน เกาะลันตาใหญ่ -เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ ซึ่งมี โยธาธิก ารและผัง เมือ งจัง หวัด กระบี่ เป็นประธานการประชุม (รูปที่ 3.5.1-41) สรุปได้ว่าผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 ได้ประกาศใช้ บังคับเป็ นกฏกระทรวงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ที่ 133 ตอนที่ 112 ก เมื ่อวัน ที ่ 29 ธันวาคม 2559 ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ประกอบด้วย 8 หมู่บ้าน และพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน มีพื้นที่ประมาณ 181.139 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 113,211 ไร่ มีบทบาทเป็น ชุมชนศูนย์กลางที่ให้บริการด้านเศรษฐกิจ สังคม สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ กรมทางหลวงชนบท 3-523 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ เป็นประธานการประชุม รูปที่ 3.5.1-41 บรรยากาศการประชุมเข้าหารือกับโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ การใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่ -เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ การใช้ บังคับผั งเมืองรวมฯ จะมีการประเมิ นผลผังเมืองรวมทุกๆ 4 ปี ซึ่งที่ผ่านมาได้มี การจัดประชุ มคณะกรรมการ พิจารณาด้านการผังเมือง ครั้งที่ 6/2564 เมื่ อวันพุธที่ 24 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุม 41501 อาคาร 4 ชั้น 15 กรมโยธาธิการและผังเมือง ถนนพระราม 9 กรุงเทพฯ โดยมี อธิบดีกรมโยธาธิการและ ผังเมือง เป็น ประธานการประชุม ซึ่ง ผลจากการประชุม ในครั้งนี้ พบว่า ผัง เมืองรวมชุม ชนเกาะลันตาใหญ่ - เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 ได้กำหนดเป้าหมายการวางผัง ปี พ.ศ. 2571 โดยใช้อัต ราการเพิ่ม ร้อยละ 3.33 ต่อปี ให้สามารถรองรับประชากรได้ 47,300 คน และจากการศึกษาสภาพการณ์ และสิ่งแวดล้อม การใช้บังคับผังเมืองรวมฯ มีการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมไปไม่มาก โดยผลจากการประเมินปัจจัย ในด้านต่างๆ ได้แก่ ความหนาแน่นของประชากร การใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพเศรษฐกิจและสังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การคมนาคมและการขนส่ง และนโยบายหรือโครงการรัฐ พบว่าพื้นที่ยังสามารถรองรับการขยายตัว ของชุม ชนได้ในอนาคตและยัง มีค วามเพีย งพอต่อการให้บ ริการ โดย มติที่ป ระชุม จึงเห็นชอบการประเมิน ผลกฎกระทรวงให้ใ ช้บัง คับ ผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่ -เกาะลันตาน้อย จัง หวัด กระบี่ พ.ศ. 255 โดยไม่ปรับปรุงฯ ขั้นตอนการขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจ โรงแรมในพื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การ จดทะเบียนประกอบธุรกิจโรงแรมต้องดำเนินการตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยสิ่ งแวดล้อม กฎหมายว่าด้วยควบคุมอาคาร กฎหมายว่าดัวยผังเมือง และกฎหมายอื่น ๆ โดยมีขั้นตอนการขออนุญาตก่อสร้างฯ ดังนี้ (ก) ผู้ ข ออนุ ญ าตนำโฉนดที่ ดิ น มาขอตรวจสอบข้ อ กำหนดต่ า งๆ ตามกฎหมายอื่ น ที่ เกี่ยวข้องกับสำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ ได้แก่ - กฎกระทรวงให้ ใช้ บั งคับ ผั งเมื องรวมชุ ม ชนเกาะลัน ตาใหญ่ - เกาะลั น ตาน้ อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 และใช้อยู่ถึงปัจจุบัน - กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 กรมทางหลวงชนบท 3-524 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้า มก่ อสร้าง ดัด แปลง หรือเปลี่ยนการใช้อ าคาร บางชนิดหรือ บางประเภท ในพื้น ที่บางส่วนในท้องที่อำเภอเกาะลัน ตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง และอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 ตาม พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 - กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้า มก่อสร้ าง ดัด แปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคาร บางชนิด หรือ บางประเภท ในพื้นที่บ างส่ว นในท้อ งที่อำเภอเกาะลัน ตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ พ.ศ. 2557 ตาม พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 - ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่ และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้ องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 - ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิ ธีการ และ เงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (วันที่ 4 มกราคม 2562) ตาม พรบ. ส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ดังเอกสารท้ายประกาศ 6 ขั้นตอนในการเสนอรายงานการประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดังแสดงในตารางที่ 3.5.1-25 (ข) ในกรณีที่สำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ พิจารณาตรวจสอบโฉนดที่ดินแล้ว ว่าไม่ขัดต่อกฎหมายใดๆ ให้ผู้ขออนุญาตฯ จัดส่งเอกสารหลักฐานต่างๆ ได้แก่ โฉนดที่ดิน แบบแปลนแผนผัง พร้อมรายการประกอบแบบแปลนแผนผังอาคารโรงแรมที่วิศวกรและสถาปนิก ผู้ได้รับอนุญาตตามกฎหมายลงชื่อ รับรอง แผนที่แสดงบริเวณและสถานที่ตั้งของโรงแรมและสถานที่ใกล้เคียง รวมทั้งหลักฐานแสดงความเป็นเจ้าของ อาคารหรือสถานที่ที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรมหรือหนั งสือยินยอมให้ใช้อาคารหรือสถานที่ที่ขออนุญาตประกอบ กิจการพาณิชย์ในกรณีที่อาคารหรือสถานที่นั้นเป็นของผู้อื่น ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ ในพื้นที่ที่ขออนุญาต พิจารณาตรวจสอบ (ค) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดส่ง หนั งสือและเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการขออนุญาตให้สำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่พิจารณา เพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม การหารื อ ด้ า นการจั ด การขยะมู ล ฝอยกั บ สำนั ก งานส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น จังหวัดกระบี่ ได้ติดต่อประสานงานกับผู้แทนสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดกระบี่ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 เกี่ยวกับแผนการบริหารจั ดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ จังหวัดกระบี่ พบว่า จังหวัดกระบี่ บริหารจัดการขยะภายใต้แผนแม่ทบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ จังหวัดกระบี่ โดยสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดกระบี่ ได้ประสานองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ทุกแห่งให้ดำเนินการบริหารจัดการขยะตามแผนแม่ทบการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ของประเทศ (พ.ศ. 2559-2564) ดำเนินการภายใต้แนวทาง 3 ขั้ นตอน คือ ต้นทางมีการลดปริมาณ และคัดแยก ขยะมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด ด้วยการรณรงค์ให้ลดการใช้ หรือใช้เท่าที่จำเป็น นำมาใช้ซ้ำหรือการนำมาใช้ใหม่ ส่วนขยะเปียก นำมาทำขยะอินทรีย์หรือปุ๋ยชีวภาพ และมีอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอย กลางทาง เพิ่มประสิ ทธิภาพการจัดเก็บขยะมูลฝอย ของ อปท. โดยแบ่งประเภทถังขยะ เพื่อง่ ายต่อการคัดแยก เช่น ถังเขียวใส่ขยะอินทรีย์ ถังขยะสีเหลืองใส่ขยะรีไซเคิล ถังขยะสีน้ำเงินใส่ขยะทั่วไป และถังขยะสีส้มหรือแดง ใส่ขยะอันตราย และมีกิจกรรมเสริมเช่น ขยะแลกไข่ ส่วนปลายทางมีการกำจัดขยะอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ซึ่งการบริหารจัดการขยะได้มีการวางแผนและการกำหนดเวลาจัดเก็บที่ไม่กระทบต่อพื้นที่ กรมทางหลวงชนบท 3-525 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.1-25 ประเภทโครงการหรือกิจการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลำดับ ประเภทโครงการ กิจการ หรือการดําเนินการ ขนาด ขั้นตอนในการเสนอรายงาน 2 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษตามกฎหมายว่า ที่ มี ค วามสู งตั้ ง แต่ 23 ในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหากใช้ ด้วยการควบคุมอาคารซึ่งมีลักษณะที่ตั้งหรือการใช้ เมตร ขึ้นไปหรือมีพื้ นที่ วิธีก ารแจ้ งต่ อ เจ้ าพนั ก งานท้ อ งถิ่ น ประโยชน์ในอาคารอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ รวมกั น ทุ ก ชั้ น หรื อ ชั้ น ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม 2.7.1 อาคารทีต ่ ั้งอยู่ริมแม่น้ำตามเอกสารท้ายประกาศ 2 หนึ่ งชั้ นใดในหลั งเดี ย ว อาคาร โดยไม่ ยื่ น ขอรับ ใบอนุ ญ าต ฝั่งทะเล หรือทะเลสาบ หรือชายหาด หรือที่ตั้ง กันตั้งแต่ 10,000 ตาราง ให้เสนอในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน อยู่ใกล้ หรืออยู่ในอุทยานแห่งชาติหรืออุทยาน เมตรขึ้นไป ท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นบริเวณที่อาจจะก่อให้เกิด ผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2.7.2 อาคารที่ ใช้ ในการประกอบธุ ร กิ จ ค้ าปลี ก หรื อ ค้าส่ง 27.3 อาคารที่ใช้เป็นสํานักงานหรือที่ทําการของเอกชน 2 การจัดสรรที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่ อาศัยหรือเพื่อประกอบ ที่ มี จํ า นวนที่ ดิ น แปลง ในขั้ น ขออนุ ญ าตจั ด สรรที่ ดิ น ตาม การพาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ย่อย ตั้งแต่ 500 แปลง กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ขึ้ น ไปหรื อ มี เนื้ อ ที่ เกิ น กว่า 100 ไร่ 2 โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย ที่ มี เตี ย งสํ า หรับ ผู้ ป่ ว ย ในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหากใช้ สถานพยาบาล ไว้ค้างคืนตั้งแต่ 30 เตียง วิธีก ารแจ้ งต่ อ เจ้ าพนั ก งานท้ อ งถิ่ น 29.1 กรณี ตั้งอยู่ ใกล้ แม่ น้ ำ ตามเอกสารท้ ายประกาศ ขึ้นไป ที่มี เตีย งสําหรับ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม 2 ฝั่ ง ทะเล ทะเลสาบหรื อ ชายหาด ในระยะ ผู้ป่ วยไว้ค้ างคื น ตั้ งแต่ อาคาร โดยไม่ ยื่ น ขอรั บ ใบอนุ ญ าต 50 เมตร 60 เตียงขึ้นไป ให้เสนอในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน 29.2 กรณีโครงการที่ไม่อยู่ในข้อ 29.1 ท้องถิ่น แล้วแต่กรณี 30 โรงแรมหรือสถานที่พั กตากอากาศตามกฎหมายว่า ที่มีจํานวนห้องพักตั้งแต่ ในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหากใช้ ด้วยโรงแรม 80 ห้ อ งขึ้ น ไป หรื อ มี วิธีก ารแจ้งต่ อ เจ้ าพนั ก งานท้ อ งถิ่ น พืน ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม ้ ที่ใช้สอยตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไป อาคาร โดยไม่ ยื่ น ขอรับ ใบอนุ ญ าต ให้เสนอในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น แล้วแต่กรณี 31 อาคารอยู่อาศัยรวมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม ที่มีจํ านวนห้องชุดหรือ ในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหากใช้ อาคาร ห้องพัก ตั้งแต่ 80 ห้ อง วิธีก ารแจ้งต่ อ เจ้ าพนั ก งานท้ อ งถิ่ น ขึ้ น ไป หรื อ มี พื้ น ที่ ใ ช้ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม สอยตั้งแต่ 4,000 ตาราง อาคาร โดยไม่ ยื่ น ขอรับ ใบอนุ ญ าต เมตรขึ้นไป ให้เสนอในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ที่มา : ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำ รายงานการประเมิ น ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อ มและหลัก เกณฑ์ วิธี ก าร และเงื่อ นไขในการจั ด ทำรายงานการประเมิ น ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 136 ตอนพิเศษ 3 ง วันที่ 4 มกราคม 2562) กรมทางหลวงชนบท 3-526 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน การกำจั ดขยะระบบปิ ด แบบเผาตรงจะไม่ ส่งกระทบในเรื่องของกลิ่ น ควัน และมลพิ ษ รวมถึงน้ำชะขยะสามารถนำไปบำบัดและกลับมาใช้ในระบบโรงไฟฟ้าได้ทั้งหมด เป็นเทคโนโลยีจากเยอรมั น แต่นำมาประยุกต์ใช้ในเชิงดีไซน์ เนื่องจากขยะประเทศไทยมีความชื้นสูงกว่าและมีขยะหลากหลายชนิด อย่างไรก็ตาม เนื่องจากขยะเก่าในจังหวัดกระบี่มีอยู่ประมาณ 800 ,000 ตัน และต้องมี การกำจัดขยะใหม่ด้วย จึงได้ตั้งเป้ า จะกำจัดขยะเก่าให้หมดภายใน 10 ปี และจะปรับปรุงพื้นที่เป็นสวนสาธารณะ ประชาชนสามารถเข้ามาใช้บริการได้ สิ่งสำคัญที่สามารถกำจัดขยะสดได้นั้น คือ การเผาไหม้ที่มีอุณหภูมิความร้อนสูงถึง 1,000 องศาเซลเซียส ซึ่งไอร้อน ที่เกิดขึ้นมีระบบทำความสะอาดที่เข้มข้นกว่า 5 ระบบ ก่อนที่อากาศจะออกจากปล่อง ซึ่งต้องบริสุท ธิ์และได้ตาม มาตรฐาน” องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น ได้มี การจัด ทำกลุ่ม Cluster โดยจังหวัดกระบี่ ตอนใต้ เป็ น cluster ที่มี อบต.พรุดินนา อ.คลองท่อม เป็นเจ้าภาพ ส่วน Cluster ตอนบนมีเทศบาลเมืองกระบี่เป็นเจ้าภาพ อปท.16 แห่ง และหน่วยงานอื่นๆ ร่วมทำ MOU นำขยะเข้าสู่โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ (รูปที่ 3.5.1-42) ตั้งอยู่ที่ ตำบลไสไทย อ.เมือง จ.กระบี่ ซึ่งเป็นการลงทุนร่วมกับ บริษัท อันไล แอนดซ์ คลีน เพาเวอร์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัท ย่อยในเครือบริษัท ACE รับปริมาณขยะได้วันละ 500 ตัน ผลิตไฟฟ้าจากขยะ 6 เมกกะวัตต์ เสนอขายการไฟฟ้า 4.4 เมกกะวัตต์ ซึ่งปัจจุบันได้เริ่มเดินเครื่องจำหน่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ (COD) ให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เรียบร้อยตั้งแต่วันที่ 28 ธันวาคม 2563 รูปที่ 3.5.1-42 โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ ตั้งอยู่ที่ตำบลไสไทย อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-527 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.5.2 การโยกย้ายและเวนคืน 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาพื้นที่ที่อาจส่งผลกระทบต้องดำเนินการเวนคืนที่ดินและสิ่งก่อสร้าง โดยพิจารณา จากรูปแบบก่อสร้างของโครงการ (2) เพื่อประเมินผลกระทบต่อการโยกย้ายและเวนคืนที่ดิน อันเนื่องจากการดำเนินโครงการ 2) วิธีการศึกษา (1) ตรวจสอบแนวเขตทาง (Right of Way) ของโครงการ โดยการสำรวจภาคสนาม (2) ประเมินผลกระทบต่อการโยกย้ายหรือชดเชยทรัพย์สิน 3) ผลการศึกษา การตรวจสอบแนวเขตทาง (Right of Way) และพื้นที่ดำเนินการของโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จะส่งผลกระทบต่อการโยกย้ายและ การเวนคืนที่ดินจำนวน 1 ราย 1 แปลง เนื้อที่ดิน จำนวน 0 ไร่ 0 งาน 44 ตารางวา โดยรายชื่อผู้ถูกเวนคืนที่ดินและ ทรัพย์สินอันเนื่องจากการพัฒนาโครงการ คือ เป็นเอกสารสิทธิ์ สค.1 แสดงดังรูปที่ 3.5.2-1 ถึงรูปที่ 3.5.2-3 รูปที่ 3.5.2-1 ผู้ถูกเวนคืนที่ดินและทรัพย์สินอันเนื่องจากการพัฒนาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-528 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.2-2 แปลงกรรมสิทธิที่ดินที่ถูกเขตทาง กรมทางหลวงชนบท 3-529 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน แปลงที่ดินของ ตำบลเกาะลันตาน้อย รูปที่ 3.5.2-3 ผังจัดกรรมสิทธิ์ของโครงการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-530 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.5.3 การสาธารณสุข 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลด้านสภาวะสุขภาพ การเจ็บป่วย สถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ บริเวณพื้นที่โครงการและใกล้เคียง (2) เพื่อประเมินผลกระทบจากกิจกรรมการพัฒนาโครงการ ทั้งในระยะก่อสร้างและระยะดำเนินการ ที่อาจมีต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนบริเวณพื้นที่โครงการและใกล้เคียง 2) วิธีการศึกษา (1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ รวบรวมข้อมูลการบริการด้านสาธารณสุข เช่น สถานที่ตั้ง จำนวน ความสามารถในการรองรับผู้ป่วย ชนิดของโรคและอัตราการเจ็บป่วย โรคระบาด โรคประจำถิ่น จากหน่วยงาน สาธารณสุขในพื้นที่ (2) การวิเคราะห์ข้อมูลการสาธารณสุข เพื่อนำเสนอข้อมูลสภาพแวดล้อมปัจจุบันที่เป็นอยู่บริเวณ พื้นที่ศึกษาโครงการ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดจะนำมาใช้ประกอบการประเมินผลกระทบต่อการบริการสาธารณสุขระดับ ชุมชนต่อไป 3) ผลการศึกษา (1) สถิติประชากรและครัวเรือน จากการรวบรวมจำนวนประชากรจากสำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ย้อนหลัง 3 ปี พ.ศ. 2561-2563 พบว่า ประชากรในพื้นที่อำเภอเกาะลันตา ซึ่งเป็นอำเภอที่อยู่ในพื้นที่โครงการ แนวโน้มเพิ่มขึ้น เล็กน้อย โดย พ.ศ. 2561 มีจำนวนประชากร 34,799 คน พ.ศ. 2562 มีจำนวนประชากร 35,052 คน และ พ.ศ. 2563 มีประชากร จำนวน 35,506 คน แต่ละปีมีจำนวนเพศชายมากกว่าเพศหญิงเล็กน้อย ดังตารางที่ 3.5.3-1 ตารางที่ 3.5.3-1 จำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ปี 2561-2563 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 อำเภอ ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม เกาะลันตา 17,580 17,219 34,799 17,687 17,365 35,052 17,927 17,579 35,506 ที่มา : สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย (2) สภาวะสุขภาพอนามัย ข้อมูลสถิติรายงานผู้ป่วยนอกรายโรค (รง. 504) ปี พ.ศ. 2561 - 2563 กลุ่มโรคของอำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นพื้นที่ตั้งของโครงการ พบว่า ประชากรในพื้นที่ป่วยด้วยการติดเชื้อของทางเดินหายใจ ส่วนบนแบบเฉียบพลั น อื่น ๆ ความดั น โลหิต สู งที่ ไม่มี สาเหตุ น ำ เนื้ อเยื่อผิด ปกติ โรคอื่น ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอเดนัม ความผิดปกติอื่นๆ ของฟันและโครงสร้าง คออักเสบเฉียบพลันและต่อมทอนซิลอักเสบ เฉียบพลัน การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่นๆ, ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย ตามลำดับ รายละเอียดสถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ (21 กลุ่มโรค) รง.504 ในระหว่างปี พ.ศ. 2561 - 2563 โดยรายละเอียดสาเหตุการเกิดโรคของผู้ป่วยนอก (รง.504) 10 อันดับแรก แสดงดังตารางที่ 3.5.3-2 ถึงตารางที่ 3.5.3-4 กรมทางหลวงชนบท 3-531 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข้อมูลสถิติรายงานผู้ป่วยในรายโรค (รง.505) ปี พ.ศ. 2561 - 2563 กลุ่มโรคของอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นพื้นที่ตั้งของโครงการ พบว่า ประชากรในพื้นที่ป่วยด้วยปอดบวม ไข้จ ากไวรัส ที่นำโดยแมลง และไข้เลือดออกที่เกิดจากไวรัสอื่นๆ ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ของการตั้งครรภ์ และการคลอด โรคจากแบคทีเรียอื่นๆ โรคของท่อและเนื้อเยื่อระหว่างท่อในไต ตามลำดับ ตารางที่ 3.5.3-2 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ (21 กลุ่มโรค) รง.504 ในระหว่างปี พ.ศ. 2561 ลำดับ กลุ่มโรค จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ (ครั้ง) 1 การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอื่นๆ 12,481 2 ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนำ 10,601 3 เบาหวาน 5,628 4 เนื้อเยื่อผิดปกติ 5,082 5 โรคอื่นๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอเดนัม 4,124 6 ความผิดปกติอื่นๆ ของฟันและโครงสร้าง 3,642 7 คออักเสบเฉียบพลันและต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 3,458 8 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่นๆ , ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย 2,677 9 พยาธิสภาพของหลังส่วนอื่นๆ 2,153 10 โรคอื่นๆ ของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 1,948 ที่มา : https://kbi.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php หมายเหตุ : * สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ 10 อันดับแรก ตารางที่ 3.5.3-3 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ (21 กลุ่มโรค) รง.504 ในระหว่างปี พ.ศ. 2562 ลำดับ กลุ่มโรค จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ (ครั้ง) 1 การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอื่นๆ 12,181 2 ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนำ 10,385 3 เบาหวาน 5,461 4 เนื้อเยื่อผิดปกติ 4,580 5 โรคอื่นๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอเดนัม 3,681 6 ความผิดปกติอื่นๆ ของฟันและโครงสร้าง 3,617 7 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่นๆ, ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย 2,477 8 คออักเสบเฉียบพลันและต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 2,073 9 สมองพิการและกลุ่มอาการอัมพาตอื่นๆ 1,943 10 โรคอื่นๆ ของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 1,467 ที่มา : https://kbi.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php หมายเหตุ : * สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ 10 อันดับแรก กรมทางหลวงชนบท 3-532 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.3-4 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ (21 กลุ่มโรค) รง.504 ในระหว่างปี พ.ศ. 2563 ลำดับ กลุ่มโรค จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ (ครั้ง) 1 ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนำ 11,805 2 การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอื่นๆ 9,209 3 เบาหวาน 5,513 4 ฟันผุ 5,071 5 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่นๆ , ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย 4,103 6 เนื้อเยื่อผิดปกติ 4,012 7 โรคอื่นๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอเดนัม 3,861 8 ความผิดปกติอื่นๆ ของฟันและโครงสร้าง 2,534 9 คออักเสบเฉียบพลันและต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 1,683 10 โรคอื่นๆ ของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 1,496 ที่มา : https://kbi.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php หมายเหตุ : * สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ 10 อันดับแรก รายละเอียดสถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุ (75 กลุ่มโรค) รง. 505 ในระหว่างปี พ.ศ. 2561 – 2563 โดยรายละเอียดสาเหตุการเกิดโรคของผู้ป่วยใน (รง.505) 10 อันดับแรก แสดงดังตารางที่ 3.5.3-5 ถึงตารางที่ 3.5.3-7 ตารางที่ 3.5.3-5 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุ (75 กลุ่มโรค) รง.505 ในระหว่างปี พ.ศ. 2561 ลำดับ กลุ่มโรค จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ (ครั้ง) 1 ไข้จากไวรัสที่นำโดยแมลงและไข้เลือดออกที่เกิดจากไวรัสอื่นๆ 335 2 ปอดบวม 310 3 ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ของการตั้งครรภ์ และการคลอด 81 4 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่นๆ, ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย 73 5 คออักเสบเฉียบพลันและต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 54 6 โรคของท่อและเนื้อเยื่อระหว่างท่อในไต 51 7 เบาหวาน 50 8 การบาดเจ็บภายในกระโหลกศีรษะ 48 9 โรคอักเสบติดเชื้อของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 46 10 หัวใจล้มเหลว 40 ที่มา : https://kbi.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php หมายเหตุ : * สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุ 10 อันดับแรก กรมทางหลวงชนบท 3-533 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.3-6 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุ (75 กลุ่มโรค) รง.505 ในระหว่างปี พ.ศ. 2562 ลำดับ กลุ่มโรค จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ (ครั้ง) 1 ปอดบวม 351 2 ไข้จากไวรัสที่นำโดยแมลงและไข้เลือดออกที่เกิดจากไวรัสอื่นๆ 283 3 ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ของการตั้งครรภ์ และการคลอด 108 4 โรคจากแบคทีเรียอื่นๆ 86 5 โรคของท่อและเนื้อเยื่อระหว่างท่อในไต 75 6 คออักเสบเฉียบพลันและต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 62 7 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่นๆ, ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย 52 8 โรคอักเสบติดเชื้อของผิวหนังและนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 51 9 หัวใจล้มเหลว 41 10 การดูแลมารดาอื่นๆ ที่มีปัญหาเกี่ยวกับทารกในครรภ์ และถุงน้ำคร่ำ 39 และปัญหาที่อาจจะเกิดได้ในระยะคลอด ที่มา : https://kbi.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php หมายเหตุ : * สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุ 10 อันดับแรก ตารางที่ 3.5.3-7 สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุ (75 กลุ่มโรค) รง.505 ในระหว่างปี พ.ศ. 2563 ลำดับ กลุ่มโรค จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ (ครั้ง) 1 ปอดบวม 221 2 ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ของการตั้งครรภ์ และการคลอด 74 3 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่นๆ, ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย 50 4 เบาหวาน 47 5 หลอดลมอักเสบเฉียบพลันและหลอดลมเล็กอักเสบเฉียบพลัน 46 6 โรคจากแบคทีเรียอื่นๆ 45 7 โรคอักเสบติดเชื้อของผิวหนังและนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 37 8 ไข้จากไวรัสที่นำโดยแมลงและไข้เลือดออกที่เกิดจากไวรัสอื่นๆ 34 9 การดูแลมารดาอื่นๆ ที่มีปัญหาเกี่ยวกับทารกในครรภ์ และถุงน้ำคร่ำ 33 และปัญหาที่อาจจะเกิดได้ในระยะคลอด 10 คออักเสบเฉียบพลันและต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 32 ที่มา : https://kbi.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php หมายเหตุ : * สถิติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุ 10 อันดับแรก (2) ข้อมูลจำนวนสถานบริการทางสาธารณสุขและทางการแพทย์ ก) ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ อำเภอเกาะลันตา แนวเส้นทางโครงการพาดผ่านอำเภอเกาะลันตา มีสถานพยาบาล จำนวน 9 แห่ง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 1 แห่ง โรงพยาบาลเกาะลันตา 1 แห่ง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วน ตำบล 7 แห่ง รายละเอียดสถานบริการทางสาธารณสุขและทางการแพทย์ของรัฐ แสดงดังตารางที่ 3.5.3-8 ทั้ ง นี้ แนวเส้ น ทางโครงการศึ ก ษาความเหมาะสม และผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มในขั้ น รายละเอียด (EIA) เส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง -ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ รวมระยะทาง ประมาณ 2.2 กิโลเมตร ไม่พบสถานพยาบาลในระยะ 500 เมตร กรมทางหลวงชนบท 3-534 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.3-8 จำนวนสถานบริการทางสาธารณสุขและทางการแพทย์ของรัฐ จำแนกรายอำเภอในพื้นที่ โครงการ จำนวนสถานบริการทางสาธารณสุขและทางการแพทย์ (แห่ง) อำเภอ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบล เกาะลันตา 1 1 7 ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2563 ข) ข้อมูลจำนวนบุคลากรทางสาธารณสุขและทางการแพทย์ อำเภอเกาะลันตา มีจำนวนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขรวมทั้งสิ้น 179 คน ประกอบด้วย แพทย์ 36 คน ทันตแพทย์ 11 คน พยาบาลวิชาชีพ 75 คน และเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข 23 คน นักวิชาการสาธารณสุข 34 คน เมื่อพิจ ารณาสัด ส่ว นของบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุข 1 คนต่อ จำนวนประชากร พบว่า แพทย์ 1 คน ต้องรับ ผิด ชอบดูแลรักษาผู้ป่วย 987 คน เมื่อเปรียบเทียบกับสัดส่ว น ดังกล่าวกับมาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งกำหนดสัดส่วนจำนวนแพทย์ ต่อจำนวนประชากรไว้ที่ 1 ต่ อ 5,000 คน พบว่ า อำเภอเกาะลั น ตา มี จ ำนวนแพทย์ที ่เพีย งพอกับ ความต้อ งการ สำหรับ สัด ส่ว นของ ทันตแพทย์ต่อจำนวนประชากร พบว่า ทันตแพทย์ 1 คนรับผิดชอบดูแลรักษาผู้ป่วย 3,228 คน เมื่อเปรียบเทียบ กับสัดส่วนดังกล่าวกับมาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งกำหนดสัดส่วนจำนวนทันตแพทย์ต่อจำนวน ประชากรไว้ที่ 1 ต่อ 5,000 คน พบว่า อำเภอเกาะลันตา มีจำนวนทันตแพทย์ที่เพียงพอกับความต้องการ รวมถึง สัดส่วนของพยาบาลต่อประชาชน พบว่า พยาบาล 1 คน ต้องรับผิดชอบดูแลรักษาผู้ป่วย 474 คน เมื่อเปรียบเทียบ กับ สัดส่วนดังกล่า วกับ มาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งกำหนดสัดส่วนจำนวนพยาบาลต่อจำนวน ประชากรไว้ที่ 1 ต่อ 500 คน พบว่า อำเภอเกาะลันตา มีจำนวนพยาบาลที่เพียงพอกับความต้องการของประชาชน ส่วนเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1 คน ต้องรับผิดชอบผู้ป่วย 1,543 คน และนักวิชาการสาธารณสุข 1 คน ต้องรับผิดชอบ ผู้ป่วย 1,045 คน โดยรายละเอียดจำนวนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข แสดงดังตารางที่ 3.5.3-9 และสัดส่วนจำนวนบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขต่อประชากร แสดงดังตารางที่ 3.5.3-10 ตารางที่ 3.5.3-9 จำนวนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข จำแนกรายอำเภอที่แนวเส้นทาง โครงการพาดผ่าน จำนวนเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ (คน) อำเภอ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข นักวิชาการสาธารณสุข เกาะลันตา 36 11 75 23 34 ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2563 ตารางที่ 3.5.3-10 สัดส่วนจำนวนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ต่อประชากรจำแนกรายอำเภอ ที่แนวเส้นทางโครงการพาดผ่าน จำนวนเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ (คน) อำเภอ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข นักวิชาการสาธารณสุข เกาะลันตา 987 3,228 474 1,543 1,045 ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2563 กรมทางหลวงชนบท 3-535 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.5.4 อาชีวอนามัย 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาปัญหาอุบัติเหตุและอันตรายที่อาจเกิดจากการดำเนินงาน โรคที่เกิดจากการทำงาน และการควบคุมจัดการในการดำเนินงานก่อสร้างโครงการ (2) เพื่อประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากกิจกรรมการก่อสร้างและการดำเนินงานของโครงการ ต่อการบาดเจ็บเนื่องจากอุบัติเหตุจากการทำงานของคนงาน และสภาพอาชีวอนามัยบริเวณที่พักคนงานก่อสร้าง (3) เพื่อเสนอมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบต่อ ผลกระทบจากโรคและการบาดเจ็บ ต่อสุขภาพ และอนามัยเนื่องจากอุบัติเหตุจากการทำงานของคนงาน 2) วิธีการศึกษา (1) ตรวจสอบ ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุและโรคที่เกิดจากการดำเนินงานของโครงการ เป็นหลัก รวมถึงแนวทางการป้องกันและควบคุม (2) ศึกษาสภาพปั จ จุ บั น บริเวณพื้ น ที่ โครงการที่ อาจส่ งผลต่ อเนื่ อ งถึงอาชี ว อนามั ย บริเวณงาน ก่อสร้าง ได้แก่ แสงสว่าง การระบายอากาศ การก้องหรือการสะท้อนของเสียง (3) ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้ อมจากกิจกรรมการก่อสร้างและการดำเนินงานของโครงการต่อ การบาดเจ็บ เนื่องจากอุบัติเหตุจากการทำงานของคนงาน และสภาพอาชีวอนามัยบริเวณที่พักคนงานก่อสร้าง 3) ผลการศึกษา (1) อุบัติเหตุและอันตรายที่เกิดจากการก่อสร้างถนน ผลการทบทวนวารสารเซฟตี้เมเนจเมนท์ ( Safety Management) วารสารเพื่อความปลอดภัย และอนามัยในการทำงานของสังคมไทย ฉบับที่ 34 เดือนกันยายน – เดือนตุลาคม พ.ศ. 2548 ซึ่งกล่าวว่าการ ปลอดภัยในงานก่อสร้าง โดยระบุถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดอันตรายในงานก่อสร้าง แบ่งออกเป็น 2 ประการ คือ ก) อันตรายที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอก คือ สิ่งที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ เช่น ฝนตก พื้นเปียกทำให้เกิดการลื่นล้ม หรือถูกฟ้าผ่า ลมแรงทำให้นั่งร้านหรือผนังชั่วคราวพังลงมาทับคนงาน แสงสว่าง ไม่เพียงพอ ทำให้เกิดการสะดุดหรือตกจากที่สูง ข) อันตรายที่เกิดจากการกระทำของคน เกิดจากร่างกายไม่แข็งแรง มีอาการเจ็บป่วย ทำให้ เป็นลม หน้ามืดพลัดตกจากที่สูง ภาวะจิตใจไม่ปกติทำให้เกิดเหตุทะเลาะวิวาท ทั้งนี้ อันตรายหรืออุบัติเหตุที่เกิดขึ้นประมาณ ร้อยละ 85 เกิดจากตัวบุคคล อันเนื่องมาจาก ขาดความรู้ ขาดความเอาใจใส่ ประมาท/เลินเล่อ/ละเลย หรือขาดประสบการณ์ และร้อยละ 15 เกิดจากเครื่องจักร โดยมีสาเหตุจากการใช้เครื่องจักรไม่ถูกต้องตามลักษณะการใช้งาน หรือเครื่องจักรขาดการซ่อมบำรุง/ดูแลรักษา ลักษณะของอันตราย/อุบัติเหตุที่มักจะเกิดขึ้นกับงานก่อสร้างถนน รวมทั้งแนวทางการ ป้องกันอันตราย มีดังนี้ (ก) การใช้เครื่องจักรผิดประเภทของงาน เช่น การใช้รถแบคโฮในการยกอุปกรณ์ก่อสร้าง หรือวัสดุที่มีน้ำหนักมากเกินกว่ากำลังของแบคโฮจะรับได้ ทำให้รถเสียหลักล้มลงมาเกิดความเสียหายทั้งเครื่องจักร และคนขับได้รับอันตราย ซึ่งตามหลักการควรใช้รถเครนในการเคลื่อนย้ายหรือยกอุปกรณ์และวัสดุ กรมทางหลวงชนบท 3-536 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (ข) งานก่ อสร้างต่ าง ๆ ต้ องอาศั ย รถเครนในการเคลื่ อนย้ ายหรือยกอุ ป กรณ์ และวั ส ดุ ก่อสร้าง ซึ่งประหยัดเวลา รวดเร็ว งานเสร็จก่อนกำหนด ดังนั้นจึงมีการแข่งขัน แย่งชิงงานต่าง ๆ เกิดขึ้นทำให้เกิด อุบัติเหตุขึ้นบ่อยครั้ง เนื่องจากสาเหตุหลักๆ คือ คนขับไม่มีประสบการณ์หรือ ขาดความชำนาญ รีบเร่งจนเกินไป ยกน้ำหนักเกินอัตรากำลัง หรือเกินค่ากำหนดที่รถเครนสามารถยกได้ อุปกรณ์สายผูกยึดวัสดุหมดอายุการใช้งาน หรือชำรุด โดยเฉพาะการทำงานในช่วงเวลากลางคืนที่แสงสว่างไม่เพียงพอมองไม่เห็น ทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ขณะ กำลังยกของและมักจะเกิดขึ้น บ่ อยครั้ง พื้น ที่ที่ รถเครนจอดปฏิบั ติงานยกของเป็น พื้ นที่ ดินอ่ อนไม่ส ามารถรับ น้ำหนักได้ ทำให้เกิดการทรุดตัวของแผ่นรองขาตั้งขณะยกของทำให้ตัวรถเครนเอียงล้มได้ (ค) การตกน้ำหรือตกรูที่ขุดไว้ เช่น ตกท่อระบายน้ำ บ่อพักน้ำ (manhole) เป็นต้น ในการ ดำเนินงานดังกล่า วจะต้อ งมีการติดป้ายเตือนให้เห็น ชัดเจนทั้งกลางวันและกลางคืน ทำรั้วกั้น ปิดฝาท่อหรือ หลุมฐานราก (ง) อุบัติเหตุอันเนื่องมาจากไฟฟ้า เช่น การใช้เครื่องผสมปูน เครื่องสูบน้ำ เครื่องเชื่อม โลหะที่ สายไฟฟ้ ารั่ว หรือจากไฟฟ้ าแรงสูง จึงต้องมี การตรวจสอบสายไฟและอุ ปกรณ์ ก่อนใช้ งาน และติ ดตั้ ง อุปกรณ์ตัดไฟ เมื่อเกิดการลัดวงจรต้องรีบแจ้งเจ้าหน้าที่การไฟฟ้าให้มาหุ้มฉนวนสายไฟฟ้าแรงสูงบริเวณที่ทำงาน (จ) อุบัติเหตุอัน เนื่องมาจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์และความประมาท เนื่องจากพื้นที่ การทำงานของเครื่องจักรมีพื้นที่จำกัด การใช้เ ครื่องจักรของพนักงานต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ ต้องคอยดูคนงาน ที่เก็บเศษวัสดุ คอยดูแลหัวหลักค่าระดับของชั้นทางในการตัดเกรด อุบัติเหตุที่เกิ ดขึ้นส่วนมากเกิดจากเครื่องจักร ประเภทรถเกรด รถบดล้อยาง รถบดล้อเหล็กสั่นสะเทือนเหยียบหรือทับคนงานในสนาม ทำให้เสียชีวิตหรือ พิการ ทางแขน ขา และมักจะเกิดขึ้นบ่อยครั้ง นอกจากนี้ อุบัติเหตุส่วนหนึ่งจะเกิดขึ้นกับผู้ใช้รถใช้ถนน ซึ่งอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง ขาดความระมัดระวัง ไม่คำนึงถึงป้ายจราจร ทางเบี่ยง เครื่องจักรกำลังทำงาน ซึ่งอุบัติเหตุจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ถ้าประมาท (2) จุดเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุของพื้นที่โครงการ จุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุของพื้นที่ โครงการ ได้แก่ ทางแยกเชื่อมระหว่างถนนทางหลวงกับ ทางหลวงชนบทสะพานหรือทางแยกเข้าหมู่บ้าน หรือโค้ง เป็นต้น ซึ่งจากการสำรวจพบว่า บริเวณที่เสี่ยงต่อ การเกิดอุบัติเหตุของแนวเส้นทางโครงการ ได้แก่ บริเวณจุดตัดกับถนนทางหลวงในปัจจุบัน (3) โรคที่เกิดจากการทำงาน โรคที่ เกิ ดจากการทำงานก่อสร้างที่ พบเห็ นได้ บ่ อย คือ โรคที่ เกิ ดจากการสั่ นสะเทื อนโดยการ สั่ นสะเทื อนสามารถแบ่ ง เป็ น 2 กลุ่ ม คื อ การสั่ น สะเทื อ นทั่ ว ทั้ งร่างกาย ( Whole-Body Vibration และการ สั่นสะเทือนเฉพาะที่มือและแขน (Hand-Arm Vibration) ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพแตกต่างกัน การที่ได้รับการสั่นสะเทือนทั้งร่างกาย อาจทำให้เกิดอาการผิดปกติได้หลายแบบไม่จำเพาะ เนื่องจากไม่มีอวัยวะที่ได้รับพลังงานการสั่นสะเทือนโดยตรง แต่การสั่นสะเทือนจะทำให้เกิดการกระทบต่อร่างกาย ค่อนข้างกว้างและค่อนข้างมากในระยะยาว โดยอาจทำให้เกิดความเจ็บป่วยเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ เช่น เกิดการปวด หลังบ่อยครั้งมากขึ้น ส่วนการสั่นสะเทือนที่ได้รับเฉพาะมือและแขนนั้น จะทำให้ระบบการหมุนเวียนของเลือด และเส้นประสาทในส่วนนั้นผิ ดปกติ กล้ามเนื้อระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้เริ่มอ่อนแรง ประสาทการรับสัมผัส ที่บริเวณนิ้วมือค่อยๆ ลดลง ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการชาและสีผิวจะค่อยๆ ซีด และเปลี่ยนเป็นสีขาวในเวลาต่อมา ซึ่งรู้จักกันดีว่าเป็นโรคนิ้วซีด (White Fingers) นอกจากนี้ การอยู่ด้วยกันเป็นจำนวนมากของคนงานก่อสร้าง อาจทำให้เกิดการแพร่กระจาย ของโรคติดต่อหรือโรคระบาดได้ หากไม่มีการควบคุมดูแลที่ดี กรมทางหลวงชนบท 3-537 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (4) การควบคุมจัดการ ก) การควบคุมดูแลความปลอดภัยในการใช้เครื่องมื อเครื่องจักร ซึ่ งมีตั้งแต่ ขนาดเล็ก เช่ น เครื่องตัดเหล็ก สว่านไฟฟ้า ค้อน เป็นต้น จนถึงเครื่องจักรขนาดใหญ่ เช่น ปั้นจั่น เครื่องตอกเสาเข็ม รถเครน รถบดล้อยาง รถบดล้อเหล็กสั่นสะเทือน เป็นต้น โดยมีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้ (ก) ไม่ใช้อุปกรณ์/เครื่องมือ/เครื่องจักร ผิดวัตถุประสงค์ (ข) ก่อนและหลังการใช้เครื่องมือเครื่องจักรทุกครั้ง ต้องมีการตรวจสอบและซ่อมแซม แก้ไขก่อนหรือหลังการใช้ทุกครั้ง สำหรับเครื่องจักรที่มีอันตรายมากๆ เช่น ปั้นจั่น เครน ต้องได้รับการตรวจสอบ ก่อนเริ่มใช้งาน และรับรองจากวิศวกรที่ได้รับใบอนุญาต (ค) เครื่องมือเครื่องจักรที่ใช้ไฟฟ้าหรือน้ำมัน ต้องมีการตรวจสอบความปลอดภัยของสายไฟ ฉนวนหุ้ม การต่อสายดิน ตลอดจนการป้องกันการเกิดประกายไฟ/สะเก็ดไฟในบริเวณที่มีการเก็บเชื้อเพลิง ห้ามจุดไฟ หรือสูบบุหรี่อย่างเด็ดขาด (ง) เครื่องมือเครื่องจักร ต้องจัดให้มีระบบการ์ดป้องกัน มีระบบความปลอดภัย (Interlock) ห้ามถอดหรือปิดระบบความปลอดภัยดังกล่าวโดยไม่ได้รับอนุญาต ข) การดูแลความปลอดภัยส่วนบุคคล สาเหตุหนึ่งของการเกิดอุบัติเหตุขึ้นในงานก่อสร้างนั้น มาจากผู้ปฏิบัติงาน ดังนั้นการควบคุมและการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุนั้น จำเป็นต้องให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ในงานก่อสร้างในเรือ ่ งของการป้องกันอันตรายส่วนบุคคล โดยมีแนวทางการปฏิบัติดังนี้ (ก) การแต่งกายของผู้ปฏิบัติงานต้องเป็นชุดที่รัดกุม เพื่อป้องกันการเกี่ยว สะดุดหรือการดึ ง เข้าไปในเครื่องจักร ผู้ปฏิบัติงานทุกคนควรสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลอย่างเหมาะสม เช่น หมวกนิรภัย รองเท้านิรภัย แว่นตานิรภัย การใช้เข็มขัดนิรภัยเมื่อขึ้นทำงานบนที่สูง และสวมใส่ถุงมือที่เหมาะสม กับสภาพงาน (ข) จัดให้มีการอบรมผู้ป ฏิบัติงานให้ตระหนักถึงอันตราย วิธีการปฏิบัติอย่างปลอดภั ย กฎระเบี ยบ ข้ อบั งคั บ และข้อปฏิ บั ติ ที่ ควรทราบและสิ่ งที่ สำคั ญ ยิ่ ง คื อ การสร้างจิ ตสำนึ กด้ านความปลอดภั ย ให้เกิดขึ้นในพนักงานทุกคน (ค) การตรวจสุขภาพพนักงานก่อนเข้างาน และตรวจประจำปี (ง) จัดให้มีหน่วยงานปฐมพยาบาลและหน่วยฉุกเฉินขึ้นภายในหน่วยงานก่อสร้าง เพื่อเป็น การช่วยเหลือผู้ได้รับบาดเจ็บ และเพื่อเป็นการระงับเหตุอันตรายต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งอาจทวีความรุนแรงได้ (จ) การจัดน้ำดื่มที่สะอาด และจำนวนห้องน้ำให้เพียงพอต่อจำนวนพนักงานที่ทำงาน ในหน่วยงานก่อสร้าง (ฉ) การห้ามดื่มสุราและของมึนเมา ทะเลาะเบาะแว้ง ตลอดจนการเล่นหรือหยอกล้อกัน ในระหว่างการปฏิบัติงานอย่างเด็ดขาด ผู้ฝ่าฝืนจะได้รับการลงโทษ เพราะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ อย่างคาดไม่ถึง กรมทางหลวงชนบท 3-538 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.5.5 สุขาภิบาล 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาสภาพการสุขาภิบาลในปัจจุบันบริเวณพื้นที่โครงการ และพื้นที่เกาะลันตาที่อยู่ใกล้เคียง โครงการ (2) เพื่อประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จากกิจกรรมการก่อสร้างและการดำเนิน งานโครงการ ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม ต่อปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย น้ำเสียของชุมชน 2) วิธีการศึกษา (1) รวบรวมข้อมูลแหล่งกำเนิด ชนิดของขยะและของเสีย ปริมาณ จากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง เช่น องค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาลในพื้นที่ เป็นต้น (2) ศึกษาระบบการจัดการและประสิทธิภาพในการควบคุมจัดการ (3) ประเมินผลกระทบและผลประโยชน์ของการพัฒนาโครงการ 3) ผลการศึกษา การสุขาภิบาล เป็น วิธีการทางสุขอนามัยของการส่งเสริมสุขภาพโดยผ่านการป้องกัน มนุษย์มิให้ สัมผัสกับภัยจากปฏิกูล เช่นเดียวกับการบำบัดและการกำจัดที่เหมาะสมของของเสียและน้ำเสีย นั้นอาจเป็น ทั้งตัว การของโรคทางกายภาพ, ทางจุลินทรีย์ชีวภาพ, ทางชีววิทยาหรือทางเคมี. ปฏิกูลที่สามารถก่อปัญหาสุขภาพได้ ได้แก่ อุจจาระของมนุษย์หรือมูลของสัตว์, ปฏิกูลของแข็ง, น้ำทิ้งจากครัวเรือน (น้ำเสีย, สิ่งโสโครก, ปฏิกูลอุตสาหกรรม และปฏิกูล เกษตรกรรม. วิธีการทางสุขอนามัย ในการป้องกัน อาจเป็น การใช้วิธีการทางวิศวกรรม (เช่น การ บำบัดน้ำเสีย, การบำบัดสิ่งปฏิกูล, การระบายน้ำท่วมจากพายุ, การจัดการปฏิกูลของแข็ง, การจัดการอุจจาระ), เทคโนโลยีเรียบง่าย (เช่น ส้วมหลุม , ส้วมแห้ง, UDDT, และถังเกรอะ) หรือแม้แต่การปฏิบัติสุขลักษณะส่วนตัว ง่ายๆ (เช่น การล้างมือด้วยสบู่, การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม) การจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่โครงการองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง มีการจัดเก็บและคัดแยก ขยะชุมชน ไว้ที่บ่อขยะมีพื้นที่รวมประมาณ 1 ไร่ เพื่อส่งเข้ารวมที่จุดคัดแยกขยะรวมของจังหวัดกระบี่ ที่บ่อขยะ อบต. คลองท่ อมใต้ ซึ่งการจัดการขยะภายในเกาะลัน ตานั้น ตำบลเกาะลัน ตาน้อยไม่มี พื้นที่ บ่อขยะใช้วิธีการ จัดการกั นเองในครัวเรือน ส่วนอีก 2 ตำบล คือ ตำบลเกาะลัน ตาใหญ่ และตำบลศาลาด่าน ใช้วิธีการเทกอง กลางแจ้ง โดยมีบ่อขยะ จำนวน 3 บ่อ คือ บ่อขยะใหม่ อบต. เกาะลันตาใหญ่ ขนาด 3.5 ไร่ บ่อขยะ ทต. เกาะลันตาใหญ่ ขนาด 1.2 ไร่ (รูปที่ 3.5.5-1) และบ่อขยะอบต.ศาลาด่าน ขนาด 6 ไร่ (รูปที่ 3.5.5-2) ปริมาณขยะที่เข้าระบบ รวมทั้งเกาะ คือ 22.8 ตัน/วัน แสดงดังตารางที่ 3.5.5-1 การลงพื้นที่เพื่อสำรวจบ่อขยะเบื้องต้น พบว่า ในพื้นเกาะลันตามีจำนวนขยะตกค้างเป็นปริมาณมาก สอดคล้องกับสถิติขยะตกค้างของพื้นที่ภายในเกาะลันตาของ บ่อขยะ อบต. ศาลาด่าน ที่มีปริมาณขยะมูลฝอยตกค้าง 48,600 ตัน แสดงดังตารางที่ 3.5.5-2 โดยสถิติการทิ้งขยะของชุมชนที่ผ่านมา ในปี พ.ศ. 2560 – 2562 พบว่า ในแต่ละปีมีอัตราของขยะเพิ่มขึ้นมากกว่าปริมาณที่สามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเฉพาะ อบต.ศาลาด่าน ที่เหลือขยะทิ้ง ในบ่อขยะ ร้อยละ 98.9 -100 ในปี พ.ศ. 2560 – 2562 ซึ่ง เป็นปริม าณมหาศาล โดยในพื้ น ที่ เกาะลันตานั้น การจะนำขยะที่ส ามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้ข้ามฝั่ งมานั้นทำได้ยากและไม่คุ้มค่าเนื่องจาก มีค่าขนส่งที่สูงจากการข้ามแพขนานยนต์ ดังตารางที่ 3.5.5-3 กรมทางหลวงชนบท 3-539 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ทต.เกาะลันตาใหญ่ บ่อขยะทต.เกาะลัน ตาใหญ่ รูปที่ 3.5.5-1 บ่อขยะเทศบาลตำบลเกาะลันตาใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 3-540 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.5-2 บ่อขยะองค์การบริหารส่วนตำบลศาลาด่าน กรมทางหลวงชนบท 3-541 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.5-1 ข้อมูลสถานที่กำจัดขยะในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการ ขนาด ความถูกต้อง ปริมาณขยะที่ ลำ ผู้ดำเนินการ/ ชื่อสถานที่กำจัด ่ ั้ง ทีต พื้นที่ วิธีการ ของการ เข้าระบบ ดับ เจ้าของ ขยะมูลฝอย (ไร่) ดำเนินการ (ตัน/วัน) 1 อบต.เกาะลันตาใหญ่ บ่อขยะใหม่ หมู่ 3 - ต.ศาลาด่าน 3.5 การเทกอง ไม่ถูกต้อง 2.00 อบต.เกาะลันตาใหญ่ อ. เกาะลันตา กลางแจ้ง จ.กระบี่ 2 ทต.เกาะลันตาใหญ่ บ่อขยะ หมู่ 2 ต.ศาลาด่าน 1.2 การเทกอง ไม่ถูกต้อง 0.80 ทต. เกาะลันตาใหญ่ อ.เกาะลันตา กลางแจ้ง จ.กระบี่ 3 อบต.ศาลาด่าน บ่อขยะ หมู่ 3 ต.ศาลาด่าน 6 การเทกอง ไม่ถูกต้อง 20.00 อบต.ศาลาด่าน อ.เกาะลันตา กลางแจ้ง จ.กระบี่ 4 อบต.เกาะกลาง บ่อขยะ หมู่ 1 ต.ศาลาด่าน 1 การเทกอง ไม่ถูกต้อง 1.00 อบต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา กลางแจ้ง จ.กระบี่ 5 อบต.คลองท่อมใต้ บ่อขยะ หมู่ 9 ต.ศาลาด่าน 30 การเทกอง ไม่ถูกต้อง 15.00 อบต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม กลางแจ้ง จ.กระบี่ ที่มา : ระบบสารสนเทศด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน กรมควบคุมมลพิษ กรมทางหลวงชนบท 3-542 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.5-2 ปริมาณขยะตกค้างในบ่อขยะใกล้เคียงพื้นที่โครงการในปี พ.ศ. 2561 ขนาดกองขยะมูลฝอย ความหนาแน่น ปริมาณ ปริมาตรกองขยะ กองขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอย ลำดับ ชื่อสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย กว้าง ยาว สูง + ลึก มูลฝอยตกค้าง ตกค้าง ตกค้าง (เมตร) (เมตร) (เมตร) (ลบ.ม.) (ลบ.ม.) (ตัน) 1 บ่อขยะใหม่ อบต.เกาะลันตาใหญ่ * - - - - - - 2 บ่อขยะ ทต.เกาะลันตาใหญ่ * - - - - - - 3 บ่อขยะ อบต.ศาลาด่าน 50 500 6.48 162,000 0.3 48,600 4 บ่อขยะ อบต.เกาะกลาง 20 20 1 400 0.3 210 5 บ่อขยะ อบต.คลองท่อมใต้ 50 70 2.2 7,700 0.3 2,310 ที่มา : สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดกระบี,่ 2561 หมายเหตุ : */ ไม่พบข้อมูลปรากฏ ตารางที่ 3.5.5-3 ปริมาณขยะของอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ในปี พ.ศ. 2560-2562 ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น ปริมาณขยะมูลฝอยที่นำไปใช้ ปริมาณขยะมูลฝอยที่กำจัดถูกต้อง ปริมาณขยะมูลฝอยที่กำจัดไม่ถูกต้อง รายการ (ตัน) ประโยชน์ (ตัน) (ตัน) (ตัน) พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 อบต.เกาะลันตาใหญ่ 2,095.10 2,160.80 2,193.65 0.00 1,430.80 1,463.65 0.00 0.00 0.00 2,095.10 730.00 730.00 ทต.เกาะลันตาใหญ่ 452.60 441.65 438.00 270.10 222.65 219.00 0.00 0.00 0.00 182.50 219.00 219.00 อบต.ศาลาด่าน 15,330.00 6,570.00 6,570.00 0.00 73.00 73.00 0.00 0.00 0.00 15,330.00 6,497.00 6,497.00 อบต.เกาะกลาง 2,722.90 2,795.90 2,817.80 2,175.40 2,430.90 2,452.80 0.00 0.00 0.00 547.50 365.00 365.00 อบต.คลองท่อมใต้ 3,025.85 5,475.00 5,475.00 1,565.85 1,825.00 1,825.00 0.00 0.00 0.00 1,095.00 3,650.00 3,650.00 ที่มา : ระบบสารสนเทศด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน กรมควบคุมมลพิษ กรมทางหลวงชนบท 3-543 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน การประเมินศักยภาพความเพียงพอในการบริหารจัดการน้ำใช้ ขยะ และศักยภาพการรองรับการท่องเที่ยว ของเกาะลัน ตาในอนาคต รวมทั้ งขีด ความสามารถในการรองรับของทรัพ ยากรในพื้ น ที่ เกาะลัน ตา ตลอดจน เสนอแนะแนวทางหรือมาตรการในการจัดการควบคุมการพัฒนาและการใช้ประโยชน์ทางการท่องเที่ยวให้อยู่ใน ระดับที่เหมาะสม เพื่อสร้างมาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวอย่า งยั่งยืน สอดคล้องกับเป้าหมายหรือ วิสัยทัศน์ของการท่องเที่ยวเกาะลันตา และจังหวัดกระบี่ ในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวสีเขียวซึ่ งเน้นการท่องเที่ยว คุณภาพและการบริหารจัดการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1) ประชากรในอำเภอเกาะลันตา ผลจากการรวบรวมข้อ มู ล กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ระบบสถิ ติ ท างการทะเบี ย น (http://stat.dopa.go.th) สื บ ค้ น ณ วั น ที่ 10 มกราคม 2565 พบว่ า ประชากรในพื้ น ที่ อ ำเภอเกาะ ลั น ตา มีประชากรรวม 35,506 คน จำนวนครัวเรือน 14,527 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ ปี 2562) มีอัตราการเปลี่ยนแปลง ประชากรต่อปี คิดเป็นร้อยละ 0.68 แสดงดังตารางที่ 3.5.5-4 2) ประชากรแฝง ผลการรวบรวมข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ (www.nso.go.th) สืบค้น ณ วันที่ 7 มกราคม 2565 พบว่าในพื้น ที่จังหวัด กระบี่มีป ระชากรแฝงทั้ง ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลรวม 29,06 8 คน (ข้อมูล ณ ปี 2563) เป็นประชากรแฝงกลางคืน จำนวน 27,000 คน ประชากรแฝงกลางวันที่เข้ามาทำงาน จำนวน 1,882 คน และประชากรแฝงกลางวันที่เข้ามาเรียน จำนวน 186 คน แสดงดังตารางที่ 3.5.5-5 3) จำนวนนักท่องเที่ยว ผลการรวบรวมข้อมูลของสำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สืบค้น ณ วันที่ 10 มกราคม 2565 พบว่า จำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังจังหวัดกระบี่ ปี พ.ศ. 2560- 2562 มีนักท่องเที่ยวที่เป็นชาวไทย อยู่ระหว่าง 2,425,479-2,447,230 คน/ปี นักท่องเที่ยวที่เป็นชาวต่างชาติ อยู่ ร ะหว่ า ง 4 ,163 ,343 -4 ,312 ,606 คน/ปี โดยจำนวนวั น พั ก เฉลี่ ย ของนั ก ท่ อ งเที่ ย วช าวไทย 4.10 วั น ส่วนชาวต่างชาติมีจำนวนวันพักเฉลี่ย 4.48 วัน ซึ่งมีค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อวันของนักท่องเที่ยวชาวไทยอยู่ที่ 4 ,784.20 บาท/วัน และชาวต่างชาติมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 6,314.78 บาท/วัน ส่วนค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อวันของนักทัศนาจรชาวไทย ่ ี่ 2,409.85 บาท/วัน แสดงดังตารางที่ 3.5.5-6 (ไม่ค้างคืน) มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยอยูท 4) ปริมาณขยะในจังหวัดกระบี่ ผลจากการรวบรวมข้อมูลของสำนักงานจังหวัดกระบี่ (2561) พบว่าในพื้นที่จังหวัดกระบี่ มีปริมาณ ขยะรวม 198,238.64 ตัน/ปี แสดงดังตารางที่ 3.5.5-7 กรมทางหลวงชนบท 3-544 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.5-4 จำนวนประชากรจำแนกตามเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่อำเภอเกาะลันตาใหญ่ จำนวนครัวเรือนและจำนวนประชากร อัตราการ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 เปลี่ยนแปลง พื้นที่ปกครอง ครัวเรือน ประชากร ครัวเรือน ประชากร ครัวเรือน ประชากร ประชากรต่อปี (หลัง) (คน) (หลัง) (คน) (หลัง) (คน) (ร้อยละ) ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 2,831 6,508 2,963 6,599 3,071 6,708 1.02 เทศบาลตำบลเกาะลันตาใหญ่ 484 1,187 486 1,180 493 1,186 -0.03 ตำบลเกาะลันตาน้อย 1,617 5,965 1,669 6,044 1,716 6,082 0.65 ตำบลเกาะกลาง 2,238 8,414 2,283 8,488 2,327 8,499 0.34 ตำบลคลองยาง 1,667 6,113 1,714 6,123 1,739 6,204 0.50 ตำบลศาลาด่าน 4,742 6,612 4,950 6,722 5,181 6,827 1.08 รวมทั้งหมด 13,579 34,799 14,065 35,156 14,527 35,506 0.68 ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ระบบสถิติทางการทะเบียน (http://stat.dopa.go.th) ตารางที่ 3.5.5-5 จำนวนประชากรแฝงในพื้นที่จังหวัดกระบี่ จำนวนประชากรแฝง พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน ้ ที่ พืน ประชากร ประชากร ประชากร ประชากร ประชากร ประชากร ประชากร ประชากร ประชากร ปกครอง แฝงกลาง แฝงกลาง แฝงกลาง แฝงกลาง แฝงกลาง แฝงกลาง แฝง แฝง แฝง วันที่เข้า วันที่เข้า วันที่เข้า วันที่เข้า วันที่เข้า วันที่เข้ามา กลางคืน กลางคืน กลางคืน มาเรียน มาทำงาน มาเรียน มาทำงาน มาเรียน ทำงาน (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) ในเขตเทศบาล 4,940 228 244 7,084 356 737 6,471 186 629 นอกเขตเทศบาล 24,023 263 2,729 18,683 1,093 653 20,529 - 1,254 รวม 28,964 491 2,973 25,767 1,449 1,390 27,000 186 1,882 รวมทั้งหมด 32,428 คน 28,606 คน 29,068 คน ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ (www.nso.go.th) สืบค้น ณ วันที่ 7 มกราคม 2565 กรมทางหลวงชนบท 3-545 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.5-6 สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2560 – 2562 จังหวัด รายการ รายการย่อย ประเภทผู้เยี่ยมเยือน 2560 2561 2562 กระบี่ รวม 6,588,822 6,766,858 6,759,836 รวม ชาวไทย 2,425,479 2,530,535 2,447,230 ชาวต่างประเทศ 4,163,343 4,236,323 4,312,606 รวม 4,127,038 4,284,619 4,288,499 ่ มเยือน จำนวนผู้เยีย จำนวนนักท่องเที่ยว ชาวไทย 1,897,371 1,971,226 1,887,989 ชาวต่างประเทศ 2,229,667 2,313,393 2,400,510 รวม 2,461,784 2,482,239 2,471,337 จำนวนนักทัศนาจร ชาวไทย 528,108 559,309 559,241 ชาวต่างประเทศ 1,933,676 1,922,930 1,912,096 รวม 4.45 4.41 4.31 ่ ระยะเวลาพำนักโดยเฉลีย รวม ชาวไทย 4.14 4.12 4.10 (วัน) ชาวต่างประเทศ 4.73 4.66 4.48 รวม 5,034.17 5,386.11 5,344.55 ผู้เยี่ยมเยือน ชาวไทย 4,362.20 4,581.77 4,624.22 ชาวต่างประเทศ 5,485.56 5,935.71 5,816.54 รวม 5,345.73 5,715.26 5,674.19 ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย นักท่องเที่ยว ชาวไทย 4,502.19 4,733.50 4,784.20 (บาท/คน/วัน) ชาวต่างประเทศ 5,974.01 6,454.81 6,314.78 รวม 2,705.31 2,879.66 2,877.50 นักทัศนาจร ชาวไทย 2,280.05 2,378.50 2,409.85 ชาวต่างประเทศ 2,821.45 3,025.42 3,014.27 รวม 105,029.06 115,176.70 112,055.50 รายได้การท่องเที่ยว ผู้เยี่ยมเยือน ชาวไทย 36,569.38 39,773.26 38,380.97 (ล้านบาท) ชาวต่างประเทศ 68,459.68 75,403.44 73,674.53 จำนวนห้อง รวม 21,647 21,853 22,405 อัตราการเข้าพัก รวม 67.45 69.16 68.54 ่ ักแรม สถานประกอบการทีพ รวม 4,046,986 4,186,576 4,186,069 จำนวนผู้ที่มาเข้าพัก ชาวไทย 1,827,101 1,887,051 1,796,675 ชาวต่างประเทศ 2,219,885 2,299,525 2,389,394 ที่มา : สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กรมทางหลวงชนบท 3-546 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.5-7 ปริมาณขยะในพื้นที่จังหวัดกระบี่ ลำดับที่ พื้นที่ปกครอง ปริมาณขยะ (ตัน/ปี) 1 เทศบาลเมืองกระบี่ 17,167.71 2 เทศบาลตำบลเกาะลันตาใหญ่ 441.92 3 เทศบาลตำบลเขาพนม 4,416.50 4 เทศบาลตำบลกระบี่น้อย 6,432.60 5 เทศบาลตำบลเหนือคลอง 2,351.04 6 เทศบาลตำบลคลองท่อมใต้ 1,428.89 7 เทศบาลตำบลคลองพน 1,300.86 8 เทศบาลตำบลทรายขาว 4,051.00 9 เทศบาลตำบลคลองพนพัฒนา 6,326.12 10 เทศบาลตำบลปลายพระยา 2,276.61 11 เทศบาลตำบลลำทับ 3,259.45 12 เทศบาลตำบลแหลมสัก 1,521.96 13 เทศบาลตำบลอ่าวลึกใต้ 2,145.56 14 องค์การบริหารส่วนตำบลเขาคราม 3,500.86 15 องค์การบริหารส่วนตำบลเขาทอง 2,252.31 16 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองประสงค์ 1,834.80 17 องค์การบริหารส่วนตำบลทับปริก 3,307.22 18 องค์การบริหารส่วนตำบลไสไทย 4,721.18 19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองทะเล 3,449.71 20 องค์การบริหารส่วนตำบลอ่าวนาง 20,635.34 21 องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะศรีบอยา 1,755.08 22 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองขนาน 3,124.20 23 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองเขม้า 1,940.09 24 องค์การบริหารส่วนตำบลโคกยาง 2,171.26 25 องค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน 2,007.85 26 องค์การบริหารส่วนตำบลปกาสัย 2,612.69 27 องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยูง 2,479.50 28 องค์การบริหารส่วนตำบลเหนือคลอง 2,351.04 29 องค์การบริหารส่วนตำบลเขาดิน 2,937.53 30 องค์การบริหารส่วนตำบลเขาพนม 4,416.50 31 องค์การบริหารส่วนตำบลโคกหาร 1,954.70 32 องค์การบริหารส่วนตำบลพรุเตียว 3,001.64 33 องค์การบริหารส่วนตำบลสินปุน 3,093.65 34 องค์การบริหารส่วนตำบลหน้าเขา 3,141.14 กรมทางหลวงชนบท 3-547 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.5-7 ปริมาณขยะในพื้นที่จังหวัดกระบี่ (ต่อ) ลำดับที่ ่ กครอง พื้นทีป ปริมาณขยะ (ตัน/ปี) 35 องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง* 2,794.71 36 องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย* 1,981.27 37 องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาใหญ่* 441.92 38 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองยาง 2,030.43 39 องค์การบริหารส่วนตำบลศาลาด่าน 6,570.00 40 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองท่อมใต้ 1,428.89 41 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองท่อมเหนือ 2,555.00 42 องค์การบริหารส่วนตำบลพรุดินนา 3,547.69 43 องค์การบริหารส่วนตำบลเพหลา 2,106.16 44 องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยน้ำขาว 3,240.46 45 องค์การบริหารส่วนตำบลดินแดง 1,283.10 46 องค์การบริหารส่วนตำบลดินอุดม 2,036.41 47 องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งไทรทอง 1,553.47 48 องค์การบริหารส่วนตำบลลำทับ 3,259.45 49 องค์การบริหารส่วนตำบลเขาใหญ่ 1,445.18 50 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองยา 2,030.43 51 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองหิน 2,336.68 52 องค์การบริหารส่วนตำบลนาเหนือ 1,635.84 53 องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง 1,690.31 54 องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสัก 1,521.96 55 องค์การบริหารส่วนตำบลอ่าวลึกใต้ 2,145.56 56 องค์การบริหารส่วนตำบลอ่าวลึกน้อย 2,164.29 57 องค์การบริหารส่วนตำบลอ่าวลึกเหนือ 2,241.02 58 องค์การบริหารส่วนตำบลเขาเขน 2,152.33 59 องค์การบริหารส่วนตำบลเขาต่อ 2,531.32 60 องค์การบริหารส่วนตำบลคีรีวง 1,951.05 61 องค์การบริหารส่วนตำบลปลายพระยา 2,276.61 62 อื่นๆ ในจังหวัดกระบี่ 4,091.65 รวม 198,238.64 ที่มา : สำนักงานจังหวัดกระบี่ (2561) หมายเหตุ : * พื้นที่ปกครองในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-548 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 5) การผลิตน้ำประปา ผลจากการตรวจสอบข้อมูลการผลิตน้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาคสาขากระบี่ (ณ เดือน ธันวาคม 2564) พบว่า ในพื้นที่จังหวัดกระบี่ มีจำนวนผู้ใช้น้ำทั้งหมด 31,634 ราย ซึ่งการผลิตน้ำประปาของการ ประปาส่วนภูมิภาค สาขากระบี่ มีกำลังผลิตที่ใช้งานอยู่ที่ 39,600 ลบ.ม./วัน มีปริมาณน้ำผลิต 842,241 ลบ.ม./ เดือน ปริมาณน้ำผลิตจ่าย 833 ,910 ลบ.ม./เดือน และมี ปริมาณน้ ำจำหน่าย 652,522 ลบ.ม./เดือน แสดงดัง ตารางที่ 3.5.5-8 ตารางที่ 3.5.5-8 ข้อมูลการผลิตน้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาคสาขากระบี่ ประเภท จำนวน หน่วย จำนวนผู้ใช้น้ำทั้งหมด 31,634 ราย กำลังผลิตที่ใช้งาน 39,600 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำผลิต 842,241 ลบ.ม./เดือน ปริมาณน้ำผลิตจ่าย 833,910 ลบ.ม./เดือน ปริมาณน้ำจำหน่าย 652,522 ลบ.ม./เดือน ที่มา : การประปาส่วนภูมิภาค สาขากระบี่ (ณ เดือนธันวาคม 2564) 6) ความพอเพียงของปริมาณน้ำใช้ ผลการทบทวนรายงานแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำจังหวัดกระบี่ สำนักบริหารโครงการ กรมชลประทาน (2561) พบว่า จังหวัดกระบี่ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 3 ,329,671 ไร่ มีพื้นที่ตั้งอยู่ใน 2 ลุ่มน้ำ ได้แก่ ลุ่มน้ำตาปี และลุ่ม น้ำ ภาคใต้ฝั่ง ตะวัน ตก ในปี พ.ศ. 2560 จังหวัด กระบี่มีจํานวนครัวเรือนทั้งหมด 113,288 ครัว เรือน โดยเป็นครัวเรือนเกษตร 54,107 ครัวเรือน จํานวนประชากรรวมทั้งสิ้น 469,769 คน แนวโน้มจํ านวนประชากร ในอนาคตของจังหวัด กระบี่ เมื่ อ ทํ าการคํานวณอัต ราการเจริญ เติ บ โตของประชากรเพื่ อประมาณการจํานวน ประชากรในอนาคตอีก 20 ปีข้างหน้า โดยใช้ปี พ.ศ. 2560 เป็นปีฐาน พบว่า ประชากรในจังหวัดกระบี่มีอัตรา การเจริญเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 5.39 ซึ่งมีผลทําให้ในอีก 20 ปีข้ างหน้า (พ.ศ. 2580) จํานวนประชากรจะเพิ่มขึ้ น เป็น 1,019,636 คน ดังตารางที่ 3.5.5-9 ตารางที่ 3.5.5-9 จํานวนประชากรและการคาดการณ์ในอนาคตจังหวัดกระบี่ ปี พ.ศ. ประชากร (คน) 2560 469,769 2565 557,177 2570 660,849 2575 929,651 2580 1,019,636 ที่มา : จากการคาดการณ์ประชากรด้วยแบบจําลองทวีกําลัง (Exponential Model) โดยใช้ข้อมูลประชากรย้อนหลัง 10 ปี (พ.ศ. 2551-2560) ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2561 กรมทางหลวงชนบท 3-549 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (1) สถานการณ์ด้านทรัพยากรน้ำและการพัฒนาในปัจจุบัน ก) ลําน้ำและแหล่งน้ำตามธรรมชาติ จังหวัดกระบี่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ 2 ลุ่มน้ำ (ตามการแบ่ง ลุ่มน้ำหลักของประเทศไทย โดยคณะกรรมการอุทกวิทยาแห่งชาติ) โดยมีแหล่งน้ำตามธรรมชาติที่สําคัญแยก ตามลุ่มน้ำต่าง ๆ ดังนี้ • ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดมีพื้นที่ในเขตลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่ ง ตะวันตก 3,032.77 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 64.34 ของพื้นที่ จังหวัดและคิดเป็นร้อยละ 16.10 ของพื้นที่ใน ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก ได้แก่ พื้นที่บริเวณอําเภอเกาะยาว เขาพนม คลองท่อม ปลายพระยา เมืองกระบี่ เหนือ คลองลําทับ อ่าวลึก และเกาะลันตา ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตกมีลักษณะคล้ายคลึงกับลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออก เป็นพื้นที่ชายฝั่งติดทะเลอันดามัน มีเทือกเขาภูเก็ตพาดผ่านจากจังหวัดระนอง ลงมาจนถึงจังหวัดพังงา ซึ่งเป็นต้น กําเนิดแม่น้ำสายต่าง ๆ แม่น้ำและลําน้ำทั่วไปมีความยาวไม่มากนักและไหลลงสู่ทะเลอันดามันไปทางทิศตะวันตก และตะวันตกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ลุ่มน้ำสาขาลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตกในจั งหวัดกระบี่ ได้แก่ ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่ ง ตะวันตก ส่วนที่ 2 คลองท่อม ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 3 และแม่น้ำตรัง • ลุ่มน้ำตาปี เป็นพื้นที่ในจังหวัดกระบี่ 1,680.79 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 35.66 ของพื้นที่จังหวัด และคิดเป็นร้อยละ 12.49 ของพื้นที่ในลุ่มน้ำตาปีของพื้น ที่จังหวัด ได้แก่ พื้นที่บริเวณอํา เภอ ลํา ทับ เขาพนม คลองท่อม ปลายพระยา เมืองกระบี่ เหนือคลอง ลําทับ และอ่าวลึก ลุ่มน้ำสาขาตาปีในจังหวัด กระบี่ที่สําคัญ ได้แก่ แม่น้ำตาปีตอนบน คลองสินพูน คลองสิปัน และคลองสก ข) โครงการพัฒนาแหล่งน้ำที่มีในปัจจุบัน จังหวัดกระบี่ยังไม่มีการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ โดยมีโครงการชลประทานขนาดกลางและขนาดเล็กประเภทต่าง ๆ ที่ดําเนินการแล้วถึง พ.ศ. 2560 จํานวนทั้งสิ้น 69 แห่ง สามารถเก็บกักน้ำได้ 29.57 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้ นที่ชลประทาน 61,076 ไร่ รายละเอียดตามตารางที่ 3.5.5-10 ถึงตารางที่ 3.5.5-11 และรูปที่ 3.5.5-3 ตารางที่ 3.5.5-10 โครงการชลประทานขนาดกลางในจังหวัดกระบี่ ความจุ พื้นที่ชลประทาน ปีก่อสร้าง ที่ โครงการ ตำบล อำเภอ (ล้าน ลบ.ม.) (ไร่) เริ่ม เสร็จ 1 ฝายคลองปกาไสย เหนือคลอง เมือง 5,563 2493 2497 2 อ่างเก็บน้ำบางกําปรัด สินปุน เขาพนม 16.00 16,909 2529 2533 3 ฝายคลองน้ำแดง พรุเตียว เขาพนม 6,706 2511 2514 4 อ่างเก็บห้วยน้ำเขียว คลองท่อมใต้ คลองท่อม 7.30 4,220 2531 2536 5 ฝายคลองทรายขาว ทรายขาว คลองท่อม 2,831 2493 2495 6 ระบบส่งน้ำอ่างเก็บน้ำห้วยทับ ทุ่งไทรทอง ลำทับ 2,254 2558 2559 ไม้เหลี่ยม 7 อ่างเก็บน้ำคลองหยา ปลายพระยา ปลายพระยา 3.20 2,755 2533 2536 8 แก้มลิงบ้านน้ำซ่ำพร้อมอาคาร ปลายพระยา ปลายพระยา 0.38 2558 2559 ประกอบ 9 อ่างเก็บน้ำห้วยลึก เขาเขน ปลายพระยา 2.50 6,183 2533 2537 10 แก้มลิงหนองน้ำบางตงพร้อม เขาเขน ปลายพระยา 0.19 2558 2559 อาคารประกอบ รวม 29.57 47,421 ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน กรมทางหลวงชนบท 3-550 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.5-11 โครงการชลประทานที่มีอยู่ในปัจจุบัน จังหวัดกระบี่ ประเภท ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก รวม 1. อ่างเก็บน้ำ - จํานวน (แห่ง) - 4 8 12 - ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) - 29 - 29 - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) - 30,067 50 30,117 2. แก้มลิง - จํานวน (แห่ง) - 2 6 8 - ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) - 0.57 - 0.57 - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) - 0 - - 3. ฝาย - จํานวน (แห่ง) - 3 17 20 - ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) - - - - - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) - 15,100 1,885 16,985 4. ปตร. - จํานวน (แห่ง) - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 5. สถานีสูบน้ำ - จํานวน (แห่ง) 2 9 - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 980 980 6. ระบบส่งน้ำ - จํานวน (แห่ง) 1 7 8 - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 2,254 3,870 6,124 7. ระบบระบายน้ำ - จํานวน (แห่ง) - พืน ่ ลประทาน (ไร่) ้ ทีช 8. อื่นๆ - จํานวน (แห่ง) 19 19 - ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 6,870 6,870 9. รวมทุกประเภท - จํานวน (แห่ง) 10 59 69 - ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) 29.57 0 29.57 - พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 47,421 13,655 61,076 ่ า : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน ทีม กรมทางหลวงชนบท 3-551 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน รูปที่ 3.5.5-3 โครงการชลประทานขนาดกลางในจังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-552 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ค) สถานการณ์น้ำของจังหวัด (ก) สถานการณ์ ด้ านการขาดแคลนน้ำและภั ยแล้ ง จากข้อมู ลพื้ น ที่ เสี่ ย งภัย แล้ งของ จังหวัดกระบี่ โดยกรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2556 พบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 90.00 มีปัญหาภัยแล้ง ใน ระดับต่ำบริเวณทุกอําเภอในจังหวัดกระบี่ แต่ในพื้นที่บางส่วนโดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ชายฝั่งไม่มีความเสี่ยงภัยแล้ง (ข) สถานการณ์ด้านน้ำท่วมและอุทกภัย สภาพการเกิดอุทกภัยในจังหวัดกระบี่ แบ่งออก ได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ อุทกภัยที่เกิดจากดินโคลนถล่ม น้ำป่าไหลหลาก และน้ำท่วมฉับพลัน และอุทกภัยน้ำ หลากล้นตลิ่ง การเกิดอุทกภัยในลักษณะแรกเกิดขึ้นกับพื้นที่ส่ วนใหญ่ของจังหวัดกระบี่ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศ ที่เป็นลุ่มน้ำย่อยขนาดเล็ก ๆ ลําน้ำสายสั้น ๆ ความลาดชันของลําน้ำสูง ลักษณะที่สองเกิดจากน้ำหลากล้นตลิ่ง เกิดขึ้นกับพื้นที่ที่อยู่บริเวณท้ายน้ำ ซึ่งลําน้ำและพื้นที่มีลักษณะเป็นที่ราบหรือราบลุ่ม ก่อนไหลลงสู่ทะเลที่ ลําน้ำ สายหลักติดกับทางหลวงสายประธาน เช่น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) และเป็นที่ตั้งของ ชุมชนหนาแน่นทําให้มีสิ่งกีดขวางการระบายน้ำทั้งในลําน้ำและพื้นที่ริมตลิ่ง ซึ่งจากข้อมูลพื้นที่เสี่ ยงภัยน้ำท่วม ซ้ำซากของจังหวัดกระบี่ โดยสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอ วกาศและภูมิศาสตร์สารสนเทศ ( GISDA) พ.ศ. 2556 พบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดมีพื้นที่เสี่ยงน้ำท่วมซ้ำซากน้อยและเสี่ยงปานกลางและมีพื้นที่เสี่ยงสูงเล็กน้อยโดย ความเสี่ยงปานกลางและความรุนแรงจะอยู่บริเวณที่มีเทือกเขาในแต่ละอําเภอ (2) ความต้องการใช้น้ำ การศึกษาความต้องการใช้น้ำของจังหวัดกระบี่ครั้งนี้ จะได้ประเมิน ความต้องการใช้น้ำจาก กิจกรรมหลักที่สําคัญ 4 ประเภท คือ ความต้องการใช้น้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค ความต้องการน้ำเพื่อรักษาระบบ นิเวศท้ายน้ำความต้องการน้ำเพื่อการเกษตร และความต้องการน้ำเพื่ออุตสาหกรรม แสดงดังตารางที่ 3.5.5-12 โดยมีรายละเอียดดังนี้ ก) ความต้องการใช้น้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค ความต้องการใช้น้ำเพื่อการอุปโภคและ บริโภค ประเมินจากจํานวนประชากรกับอัตราการใช้น้ำของประชากร โดยทําการประเมินความต้องการในอนาคต 5 ปี, 10 ปี และ 20 ปี จากการวิเคราะห์แนวโน้มของปริมาณประชากร โดยพบว่าความต้องการใช้น้ำเพื่ออุปโภค และบริโภคในปัจจุบัน เท่ากับ 25.70 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี และจะเพิ่ มเป็น 30.51, 36.18 และ 50.90 ล้าน ลูกบาศก์เมตร/ปี ในระยะ 5 ปี, 10 ปี และ 20 ปี ตามลําดับ ข) ความต้องการใช้น้ ำเพื่อรักษาระบบนิเวศท้า ยน้ำ ความต้องการใช้น้ำเพื่อรักษาระบบ นิเวศท้ายน้ำ ประเมินโดยการเปรียบเทียบความต้องการน้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศท้ายน้ำของลุ่มน้ำหลัก จากรายงาน โครงการพัฒนาระบบคลังข้อมูล 25 ลุ่มน้ำ และแบบจําลองน้ำท่ วมน้ำแล้งสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและ การเกษตร (สส.นก.) พ.ศ. 2555 โดยเปรีย บเทีย บพื้น ที่ของจังหวัด กระบี่กับ พื้น ที่ลุ่ ม น้ำ ที่มีพื้น ที่ครอบคลุม จังหวัดกระบี่ จากผลการประเมินความต้องการใช้น้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศท้ายน้ำจังหวัดกระบี่เท่ากับ 617.56 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี ค) ความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตร ความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตร ประเมินจากพื้นที่ เกษตรกรรมฤดูฝนและฤดูแล้ง ทั้งในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน กับอัตราการใช้น้ำเพื่อการเพาะปลูก ต่อไร่ โดยความต้องการน้ำ เพื่อการเกษตรในเขตชลประทานประเมินจากพื้นที่ชลประทานที่มีในปัจจุบันและ แผนในอนาคตจากการพัฒนาพื้นที่ชลประทาน ซึ่งฤดูฝ นเพาะปลูกเต็มพื้นที่ส่วนฤดูแล้งพื้นที่เพาะปลู กร้อยละ 20.00 ของพื้นที่ชลประทาน ความต้องการน้ำเพื่อการเกษตรนอกเขตชลประทานประเมินจากพื้นที่เพาะปลูกนอก เขตชลประทานในปัจจุบัน และคาดการณ์ว่าพื้นที่เพาะปลูก โดยรวมไม่เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสําคัญ ผลการประเมิน ความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตรสรุปได้ว่า ความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตร เท่ากับ 2,421.60 ล้านลูกบาศก์ เมตร/ปี และความต้องการน้ำเพื่อการเกษตรจะเพิ่มเป็น 2,450.17, 2,452.01 และ 2,452.01 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี ในระยะ 5 ปี, 10 ปี และ 20 ปี ตามลําดับ กรมทางหลวงชนบท 3-553 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.5-12 แผนงานโครงการขนาดกลาง ระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ ปีก่อสร้าง ความจุ พื้นที่ชลประทาน ที่ โครงการ ตำบล อำเภอ ปี ปี (ล้าน ลบ.ม.) (ไร่) ก่อสร้าง แล้วเสร็จ 1 ระบบส่งน้ำพร้อมอาคาร กระบี่น้อย เมือง 5.00 4,300.00 2560 2562 ประกอบ โครงการระบบส่งน้ำ อ่างเก็บน้ำคลองแห้ง 2 อ่างเก็บน้ำห้วยทรายขาว ทรายขาว คลองท่อม 2.25 0 2560 2563 3 อ่างเก็บน้ำบ้านคลองโขง ศาลาด่าน เกาะลันตา 5.30 2,480.00 2561 2563 4 อ่างเก็บน้ำคลองปกาไสย เขาพนม เขาพนม 16.00 6,000.00 2561 2564 5 อ่างเก็บน้ำคลองหิน คลองหิน อ่าวลึก 3.00 10,000.00 2562 2564 6 โครงการเพิ่มศักยภาพความจุ 1.00 2566 2566 อ่างเก็บน้ำบางกําปรัด 7 โครงการเพิ่มศักยภาพความจุ 0.76 2567 2567 อ่างเก็บน้ำห้วยน้ำเขียว 8 โครงการเพิ่มศักยภาพความจุ - 2569 2569 อ่างเก็บน้ำคลองหยา รวม 29.57 47,421 ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน ง) ความต้องการใช้น้ำเพื่อการอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรมและการนิคมอุตสาหกรรม ได้ ทํ า การประเมิ น ความต้ อ งการน้ ำ เพื่ อ การอุ ต สาหกรรมเป็ น รายจั ง หวั ด โดยประเมิ น จากจํ า นวนโรงงาน อุตสาหกรรมที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมกั บอัตราการใช้น้ำของโรงงานอุ ตสาหกรรมขนาดต่าง ๆ แยกตามกําลังการผลิต (กําลังม้า) รวมถึงอัตราการใช้น้ำของการนิคมอุตสาหกรรมโดยคิดเป็นต่อพื้นที่ โดยทําการ ประเมิน ความต้อ งการในอนาคต 5 ปี , 10 ปี และ 20 ปี จากการวิเคราะห์แ นวโน้ ม ของการเจริญ เติบ โต ด้านอุตสาหกรรมและแผนการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม โดยพบว่าความต้องการใช้น้ำเพื่ออุตสาหกรรม เท่ากับ 13.48 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี และจะเพิ่มเป็น 14.16, 14.83 และ 16.18 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี ในระยะ 5 ปี, 10 ปี และ 20 ปี ตามลําดับ (3) แผนการพัฒนาการชลประทานระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2580) ในการจัดทําแผนการดําเนินการระดับจังหวัด ได้นําโครงการที่มีผลการศึกษา สํารวจ ออกแบบ และโครงการที่มีศักยภาพในการดําเนินการมาทําการจัดเป็นแผนงานและงบประมาณ (รูป ที่ 3.5.5-4 และ ตารางที่ 3.5.5-13) โดยมีแนวทางดังนี้ ก) ระยะของแผนดําเนินการ การจัดระยะของแผนงาน แบ่งออกเป็น 3 ระยะให้สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ซึ่งเป็นแผนดําเนินการก่อสร้างดังนี้ - โครงการตามแผนระยะสั้น ดําเนินการแล้วเสร็จภายใน พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2565 - โครงการตามแผนระยะกลาง ดําเนินการแล้วเสร็จภายใน พ.ศ. 2566 - พ.ศ. 2570 - โครงการตามแผนระยะยาว ดําเนินการแล้วเสร็จภายใน พ.ศ. 2571 - พ.ศ. 2580 กรมทางหลวงชนบท 3-554 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน รูปที่ 3.5.5-4 แผนงานโครงการขนาดกลางระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-555 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.5-13 แผนงานโครงการขนาดเล็ก ระยะ 20 ปี จังหวัดกระบี่ พื้นที่ ปีก่อสร้าง ความจุ ที่ โครงการ ตำบล อำเภอ ชลประทาน ปี ปี (ล้าน ลบ.ม.) (ไร่) ก่อสร้าง แล้วเสร็จ 1 ฝายคลองโตบพร้อมระบบส่งน้ำ เกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตา 0 700 2566 2566 2 ฝายบ้านคลองนิน เกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตา 0.002 0 2564 2564 3 ฝายคลองโตบ เกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตา 0.002 0 2565 2565 4 ฝายคลองนิน เกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตา 0.002 0 2565 2565 5 ฝายคลองหิน เกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตา 0.002 0 2565 2565 6 สถานีสูบน้ำพร้อมระบบส่งน้ำ คลองยาง เกาะลันตา 0 1,500 2561 2561 บ้านห้วยบ่อ 7 ฝายบ้านบางนุ้ย สินปุน เขาพนม 0 0 2563 2563 8 ฝายบ้านหนองบัว เขาดิน เขาพนม 0 0 2564 2564 9 อาคารอัดน้ำห้วยรากไม้พร้อมระบบ หน้าเขา เขาพนม 0.03 700 2563 2563 ส่งน้ำ 10 ฝายบ้านบางราโพธิ์ สินปุน เขาพนม 0.15 0 2563 2563 11 อาคารบังคับน้ำคลองบางมุด พรุดินนา เขาพนม 0 0 2565 2565 12 ฝายคลองบางเตียว คลองท่อม คลองท่อม 0 100 2564 2564 เหนือ 13 ระบบส่งน้ำพร้อมอาคารประกอบ เขาต่อ ปลายพระยา 0 500 2563 2563 ตําบลเขาต่อ 14 อาคารบังคับน้ำหนองจูด คีรีวง ปลายพระยา 0 0 2563 2563 15 อาคารอัดน้ำบางสันพร้อมระบบส่งน้ำ ปลายพระยา ปลายพระยา 0 400 2562 2562 16 ฝายคลองอิปัน ปลายพระยา ปลายพระยา 0 - 2563 2563 17 ฝายคลองบางเหียน ปลายพระยา ปลายพระยา 0 - 2562 2562 18 อาคารบังคับน้ำ กรมทหารราบที่ 2 หนองทะเล เมืองกระบี่ 0 1,000 2566 2566 19 อาคารบังคับน้ำห้วยโตนบ้านไร่คอก ลำทับ ลำทับ 300 2563 2563 พร้อมระบบส่งน้ำ 20 ฝายคลองห้วยปุพร้อมระบบส่งน้ำ ทุ่งไทรทอง ลำทับ - 2562 2562 21 ฝายคลองนิน โคกยาง เหนือคลอง 0.05 100 2563 2563 22 ฝายคลองอินทนินพร้อมระบบส่งน้ำ โคกยาง เหนือคลอง 0.40 - 2563 2563 23 ฝายคลองโศกและอาคารประกอบ อ่าวลึกใต้ อ่าวลึก 0.02 - 2567 2567 รวม 0.66 5,300 ที่มา : สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน ข) การจัดลําดับความสําคัญของโครงการ มีแนวทางดังนี้ - เป็นโครงการที่มีความพร้อมด้านวิศวกรรมและสิ่งแวดล้อมและสามารถดําเนินการ ก่อสร้างได้ทันที - เป็นโครงการพระราชดําริ - มีความสอดคล้ องกับ นโยบายรัฐบาลแผนพั ฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ และ ยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ตอบสนองการแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่ (Area base) - เป็นโครงการที่สามารถแก้ไขได้ทั้งปัญหาขาดแคลนน้ำและน้ำท่วม - มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำ - มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูง กรมทางหลวงชนบท 3-556 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ค) ผลการจัดทําแผนงานโครงการ กรมชลประทานได้จัดทําแผนการพัฒนาการชลประทาน ในระดับลุ่มน้ำ โดยการวางแผนพัฒนาโครงการชลประทานประเภทต่าง ๆ ทั้งขนาดเล็กขนาดกลางและขนาดใหญ่ รวมถึงการปรับปรุงโครงการที่มีอยู่เดิมทั้ง 25 ลุ่มน้ำหลักทั่วประเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาแหล่งเก็บกักน้ ำ พื้นที่ชลประทาน และการป้องกันบรรเทาน้ำท่วมและอุทกภัยให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ตามที่กล่าว แล้วข้างต้น จังหวัดกระบี่ มีพื้นที่ 3,329,671 ไร่ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม 2,213,145 ไร่ หรือประมาณร้อยละ 66.50 ของพื้นที่จังหวัด โดยในพื้นที่เกษตรกรรมดังกล่าวมีการพัฒนาเป็นพื้นที่ชลประทานแล้ว 61,076 ไร่ หรือ ประมาณร้อยละ 29.10 ของพื้นที่เกษตรกรรมทั้งหมด โครงการพัฒนาแหล่งน้ำที่มีศักยภาพตามแผนการพัฒนา การชลประทานระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ที่อยู่ในแผนดําเนินการ จํานวน 31 โครงการ เป็นโครงการ ขนาดกลาง 25 โครงการ เป็นโครงการขนาดเล็ก 6 โครงการ หากดําเนินการแล้วเสร็จตามแผนทั้งหมดจะสามารถ เก็บกักน้ำได้เพิ่มอีก 33.88 ล้านลูกบาศก์เมตร และจะมีพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น 28,080 ไร่ (4) ปริมาณความต้องการน้ำใช้และอัตราการผลิตน้ำประปาในพืน ้ ที่หมู่เกาะลันตา ปริมาณน้ำอุป โภคและบริโภคที่ เพี ยงพอเป็ นเรื่ องสำคัญ สำหรับ การท่องเที่ ย วประเภทเกาะ สำหรับในอดีตนั้น เกาะลันตาใหญ่มีแต่ประชาชนท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่ น้ำใช้ได้ม าจากเป็นการขุดเจาะบ่อบาดาล และการเก็บกักน้ำฝนไว้ใช้เกาะลันตาใหญ่มีแหล่งน้ำจืดผิวดิ นที่สำคัญ ได้แก่ คลองจาก คลองหิน คลองน้ำจืด และ คลองนิน มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาลันตาในตอนกลางของพื้นที่เกาะอยู่ ในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา ส่วนใหญ่มีน้ำไหลตลอดทั้งปี แต่เมื่อมีความต้องการใช้น้ำมากขึ้น พบว่าในช่วงหน้าแล้งจะเกิดปัญหาน้ำขาดแคลน อยู่เสมอ จึงเกิดประปาท้องถิ่นซึ่งได้จากแหล่งน้ำดิบที่มาจากน้ำบาดาลและน้ำผิวดิน ข้อมูลของกรมทรัพยากรน้ำบาดาล ระบุบ่อบาดาลของกรมทรัพยากรน้ำบาดาลในตำบลเกาะลันตาใหญ่ รวม 4 บ่อ มีกำลังผลิตน้ำบาดาล 888 ลบ.ม./วัน และตำบลศาลาด่านมีบ่อบาดาล จำนวน 2 บ่อ กำลังผลิตน้ำบาดาล 480 ลบ.ม./วัน (กรมทรัพยากรน้ ำบาดาล, 2562) และเมื่อเปรียบเทียบกับ ความต้องการใช้น้ำในปัจจุบันแล้วยังมีน้ำอุป โภคไม่เพี ยงพอต่อความต้องการ (ตารางที่ 3.5.5-14) แม้ว่าหมู่บ้านต่าง ๆ มีการพัฒนาประปาท้องถิ่นโดยขุดเจาะบ่อบาดาลสำหรับใช้ในหมู่บ้าน ในช่วงฤดูแล้งชาวบ้านจึงจำเป็นต้องซื้อน้ำจากเอกชนเป็นประจำ เช่น หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะลัน ตาใหญ่ และหมู่ 1 ตำบลศาลาด่าน เป็นต้น ปัจจุบันการประปาส่วนภูมิภาคกำลังจัดทำโครงการผลิตน้ำประปาเกาะลันตาใหญ่ โดยจะใช้ แหล่งน้ำดิบจากฝายทดน้ำคลองจาก ดังนั้นเมื่อรวมกับการผลิตประปาท้องถิ่นที่มีอยู่ แล้วในปัจจุบัน คาดว่าจะ เพียงพอต่อปริมาณการใช้น้ำที่เพิ่มขึ้น และสามารถคาดการณ์ว่าจะรองรับผู้ใช้น้ำในอนาคตได้ประมาณ 34,255 คน/วัน อย่างไรก็ดี มาตรการประหยัดและอนุรักษ์น้ำยังเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับเกาะลันตาใหญ่ (ดรรชนี และคณะ, 25621) 1 ดรรชนี เอมพันธุ์, พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์ และวันชัย อรุณประภารัตน์ , 2562, คู่มือการประเมินขีดความสามารถรองรั บการท่องเที่ยว พื้นที่หมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ , สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), กรุงเทพฯ กรมทางหลวงชนบท 3-557 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.5-14 จำนวนผู้ใช้น้ำเฉลี่ย ปริมาณความต้องการใช้น้ำ และปริมาณน้ำที่ผลิตได้ของพื้นที่ หมู่เกาะลันตา จำนวนผู้ใช้น้ำเฉลี่ย (คน) ปริมาณความ ปริมาณการผลิต ประชากรแฝง ต้องการใช้น้ำ พื้นที่ นักท่องเที่ยว (บ่อบาดาล) และประชากร รวม อุปโภค* พักค้าง (ลบ.ม./วัน) ท้องถิ่น (ลบ.ม./วัน) ตำบลศาลาด่าน 9,240 11,802 21,042 1,606.5 480 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 3,026 7,302 10,328 697.96 888 เทศบาลตำบลเกาะลันตาใหญ่ 2,38 1,187 1,425 156.75 ที่ทำการอุทยานแห่งชาติ 16 30 672 5.06 หมู่เกาะลันตา (แหลมโตนด) รวมเกาะลันตาใหญ่ 12,520 20,321 32,841 2,466.27 1,368 เกาะรอก 689 18 707 35.35 25.0 เกาะไหง 691 282 973 107.03 ไม่มีข้อมูล ที่มา : ดรรชนีและคณะ, 2562 หมายเหตุ : * คำนวณจากปริมาณผู้ใช้น้ำ โดย - เกาะลันตาใหญ่ : นักท่องเที่ยวใช้น้ำประมาณ 110 ลิตร/คน/วัน ประชากรท้องถิ่นเขตเทศบาลตำบล ใช้น้ำ 110 ลิตร/คน/วัน และประชากรชนบททั่วไปใช้น้ำ 50 ลิตร/คน/วัน - เกาะรอก : นักท่องเที่ยวและเจ้าหน้าที่บนเกาะรอกใช้น้ำ 50 ลิตร/คน/วัน - เกาะไหง : นักท่องเที่ยวและผู้ให้บริการบนเกาะไหงใช้น้ำ 110 ลิตร/คน/วัน ประเด็นปัญหาด้านปริมาณน้ำใช้ - น้ำใช้เพื่ออุปโภคยังไม่เพียงพอต่อความต้องการในปัจจุบันและการท่อ งเที่ยวที่อาจเพิ่มขึ้น ในอนาคต ประชาชนและผู้ประกอบการยังต้องซื้อน้ำใช้จากเอกชนในช่วงฤดูแล้ง ทั้งในตำบลศาลาด่าน และตำบล เกาะลันตาใหญ่ เช่น หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ และหมู่ 1 ตำบลศาลาด่าน เป็นต้น - เกาะลันตาใหญ่มีแหล่งน้ำดิบผิวดินตามธรรมชาติหลายแห่ง เช่น คลองสังกาอู้ คลองน้ำจืด เป็นต้น แต่ยังไม่ได้นำมาพัฒนาใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เช่น ปัจจุบันมีทำนบชั่วคราวขนาดเล็ก เก็บกักน้ำในคลองสังกาอู้ แต่ควรขยายการเก็บกัก น้ำให้มีประสิทธิภาพดีขึ้นเพื่อให้เพี ยงพอต่อการใช้ประโยชน์ ของหมู่ 1 และหมู่ 7 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ - การบริหารจัดการน้ำในชุมชนยังมีประสิทธิภาพน้อย พบว่าบางชุมชนไม่สามารถดูแลระบบ ประปา ท่อส่งน้ำให้ใช้งานได้ยาวนาน เพราะไม่สามารถบริหารระบบประปาในหมู่บ้า นได้ โดยไม่สามารถเก็บเงิน ค่าน้ำประปา และชาวบ้านไม่ร่วมมือใช้น้ำประปาอย่างประหยัดในช่วงฤดูแล้ง เป็นต้น - เกาะรอกมีบ่อบาดาลเพียงบ่อเดียว ที่มีอัตราการสูบน้ำได้เพียงวันละประมาณ 25,000 ลิตร จึงทำให้มีปริมาณน้ำที่สามารถสูบขึ้นไปเก็บกักได้น้อยในแต่ละวัน แต่มีแท้งก์เก็บน้ ำขนาดใหญ่ จึงควรสำรวจและ ขุดเจาะบ่อบาดาลเพิ่มเติม กรมทางหลวงชนบท 3-558 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน แนวทางจัดการแก้ไขปัญหาน้ำประปา - พัฒนาปรับปรุงระบบประปาท้องถิ่นโดยสำรวจแหล่งน้ำดิบธรรมชาติ และจัดทำโครงการ พัฒนาแหล่งน้ำอุปโภค-บริโภคสำหรับใช้ในหมู่บ้าน เช่น ขุดบ่อบาดาลหรือทำฝายทำนบกั้นน้ำผิวดินในบริเวณ ที่เหมาะสมและมีศักยภาพ เช่น คลองสังกาอู้ และคลองน้ำจืด - เร่งรัดโครงการผลิตน้ำประปาเกาะลันตาใหญ่ ที่ดำเนินการโดยการประปาส่วนภูมิภาค เพื่อให้ทันการสถานการณ์ปัญหาการขาดแคลนน้ำของเกาะลันใหญ่ - ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการน้ำในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ โดยการจัดทำแผนการบริหาร จัดการน้ำของชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การบำรุงรักษาระบบประปาของหมู่บ้าน การกำหนด อัตราค่าบริการ ที่เหมาะสม การรณรงค์ใช้น้ำอย่างประหยัด กำหนดระยะเปิด-ปิดน้ำ เป็นต้น - รณรงค์การใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น กำหนดระยะเวลาเปิด -ปิดน้ำ การปรับเปลี่ยน อุปกรณ์เพื่อช่วยประหยัดน้ำ การรณรงค์ ประหยัดน้ำในภาคส่วนท่องเที่ยว จากผู้ ประกอบการและนักท่องเที่ยว เช่น ไม่เปลี่ยนผ้าปูที่นอนและผ้าขนหนูทุกวันสำหรับแขกชุดเดิม เป็นต้น มีการนำน้ำใช้แล้วที่ผ่านการบำบัด มาใช้ใหม่ เป็นต้น - สำรวจและขุดเจาะบ่อบาดาลเพิ่มบนเกาะรอก เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำใช้บนเกาะรอกรองรับ การขยายตัวของการท่องเที่ยวในอนาคต การบริหารจัดการน้ำใช้ในพื้นที่เกาะลันตาในปัจจุบัน การแก้ปัญหาระยะสั้น ของความต้ องการน้ำที่เกาะลันตา โดยการขอซื้อน้ำจากการประปา คลองท่อม ซึ่งมีความสามารถในการจำหน่ายน้ำประปาให้แก่เกาะลันตาได้อย่างเพียงพอ โดยไม่เกิดปัญหาการ ขาดแคลนน้ำในเขตการให้บริการของประปาภูมิภาคสาขาคลองท่อม จากข้อมูลสถิติการประปาระหว่างปี พ.ศ. 2553 ถึง 2562 (แหล่งข้อมูลกองศูนย์ข้อมูลและแผนเทคโนโลยี :สารสนเทศ กปภ.) และข้อมูลสถิติรายเดือนล่าสุด ของ ปี พ.ศ. 2564 (แหล่งข้อมูลกองศูนย์ข้อมูลและแผนเทคโนโลยีส ารสนเทศ : กปภ.) พบว่า กำลังผลิตใช้งาน ของการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เท่ากับ 5,600 ลบ.ม./วัน หรือ 168,000 ลบ.ม./เดือน โดยแต่ละเดือนตลอดปี พ.ศ. 2564 มีปริมาณน้ำจำหน่าย ระหว่าง 97,675 ถึง 125,835 ลบ.ม./เดือน ทำให้กรณี แก้ไขปัญหาน้ำใช้ที่เกาะลันตาในระยะสั้นมีปริมาณน้ำที่สามารถจำหน่ายได้เพิ่มขึ้น (หากจำหน่ายน้ำประปาให้กับ เกาะลันตาโดยใช้รถบรรทุกน้ำประปาขนส่งผ่านสะพานเชื่อมเกาะลันตา) ระหว่าง 42,000 ถึง 70,000 ลบ.ม./เดือน โดยไม่มีผลกระทบต่อการใช้น้ำของผู้ใช้น้ำในเขตอำเภอคลองท่อม ความก้าวหน้าในการแก้ปัญหาน้ำใช้ที่เกาะลันตาใหญ่ในปัจจุบัน เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2563 การประปาส่ วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม นำโดย ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม พร้อมด้วย หัวหน้างานบริการ และควบคุม น้ำสูญ เสีย เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลัน ตาน้อย เพื่ อชี้แจงรายละเอีย ด การขอใช้ที่ดินสำหรับดำเนินการตามแผนงานของการประปาส่วนภูมิภาค แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม อำเภอคลองท่อม - เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (โครงการเพื่อพัฒนาปี 2565 งบประมาณประจำปี 2566) ณ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลัน ตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งที่ ประชุมมีมติเห็นชอบให้ การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อมใช้ที่ดินสำหรับโครงการดังกล่าว จำนวน 2 ไร่ (รูปที่ 3.5.5-5) กรมทางหลวงชนบท 3-559 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่มา : ข่าวภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค รูปที่ 3.5.5-5 การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย เมือ่ วันที่ 13 สิงหาคม 2563 ต่อมา เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เวลา 09.00 น. การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม ภายใต้การบริหารงานโดย ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม ในการนี้ ผู้อำนวยการกองแผนงานโครงการ 1 พร้อมด้วย ผู้จัดการ การประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อมและคณะ ได้เข้าร่วมประชุมเพื่อชี้แจงพิจารณาจัดทำประชาคมเรื่องการใช้ น้ำประปาของ กปภ. ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ หมู่ที่ 5 , 6 และ 8 สำหรับดำเนินการตามแผนงานของการ ประปาส่วนภูมิภาค แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม อำเภอคลองท่อม - เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (โครงการเพื่อพัฒนาปี 2565 งบประมาณประจำปี 2566) ณ โรงแรมเซาเทิร์น ลันตารีสอร์ท อำเภอเกาะลันตา จัง หวัดกระบี่ ซึ่งที่ป ระชุมมีมติเห็นชอบให้ การประปาส่วนภู มิภาคสาขาคลองท่อมสามารถ ดำเนินงานตามแผนงานโครงการก่อสร้างดังกล่าวได้ (รูปที่ 3.5.5-6) ่ า : ข่าวภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค ทีม รูปที่ 3.5.5-6 การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม เข้าร่วมประชุมประชาคมหมู่บา ้ น พื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2563 กรมทางหลวงชนบท 3-560 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) เดินหน้าเร่งก่อสร้างระบบผลิตน้ำประปาจากผิวดินและจากน้ำทะเล ขนาดกำลังผลิตวันละ 2,400 ลบ.ม. เพื่อส่งจ่ายน้ำประปาให้บริการแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยวบนเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ภายหลัง ได้รับ การสนับ สนุนจากประชาชนในพื้น ที่ เนื่องจากบนเกาะใช้น้ำ ประปาจากท้องถิ่น ซึ่งมีปริม าณไม่เพีย งพอต่อความต้องการใช้น้ำ ประปาที่เพิ่ม ขึ้น มาก กปภ.เขต 4 และ กปภ.สาขาคลองท่อม จึงสำรวจความคิด เห็น ของประชาชนเกี่ยวกับ การจัด ทำโครงการก่อสร้า งระบบผลิต น้ำ ประปาในพื้น ที่หมู่ 5 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลปรากฏว่าประชาชนให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ กปภ. จึงขออนุมัติใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์คลองจาก ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่หมู่ 5 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เนื้อที่ประมาณ 15 ไร่ 60 ตารางวา การแก้ ปั ญ หาน้ ำใช้ ในระยะยาวที่ เกาะลั นตาของ กปภ. โดยการก่ อสร้างระบบประปาจาก แผ่นดินใหญ่กระบี่มายังเกาะลันตา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม มีแผนดำเนิน การโครงการปรับปรุงขยายประปาส่วน ภูมิภาคสาขาคลองท่อม มายังเกาะลันตา ซึ่งเป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ของการประปาภูมิภาค โดยในกรณีที่มี การก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา การประปาภูมิภาคจะประสานงานกับกรมทางหลวงชนบทในการขอติดตั้ง ระบบท่อประปาภายในโครงสร้าง Segmental Box Girder ของสะพานเชื่อมเกาะลันตาต่อไป กรมทางหลวงชนบท 3-561 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.5.6 อุบัติเหตุและความปลอดภัย 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจ จุบันของอุบัติเหตุ และความปลอดภัยของผู้ใช้รถและถนนในพื้นที่ โครงการ (2) เพื่อนำผลการศึกษาไปประเมินผลกระทบจากกิจกรรมการก่อสร้างและการดำเนินงานโครงการ ต่อแนวโน้มการเกิดอุบัติเหตุด้านจราจรของผู้ใช้รถใช้ถนนและคนเดินเท้า รวมถึงจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุและ ผลกระทบต่อแนวโน้มการเกิดอุบัติเหตุในการสัญจร 2) วิธีการศึกษา (1) รวบรวมสถิติอุบัติเหตุ เช่น ลักษณะการเกิดอุบัติเหตุจากการใช้ทางและการจราจรทางน้ำจำนวน และมูลค่าความเสียหาย (2) สำรวจจุดที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในบริเวณพื้นที่โครงการ (3) ประเมินผลกระทบและผลประโยชน์ต่ออุบัติเหตุ และความปลอดภัยของผู้ใช้เส้นทาง อันเนื่อง มาจากการพัฒนาโครงการ 3) ผลการศึกษา ผลการรวบรวมข้อมูลอุบัติเหตุจราจรบนทางหลวงแผ่นดิ น ปี 2563 สำนักอำนวยความปลอดภั ย กรมทางหลวง (รายงานประจำปี 2562) พบว่า กลุ่มผู้ใช้ทางหลวงแผ่นดินที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด ได้แก่ รถปิคอัพ บรรทุ ก 4 ล้อ (Light truck (Pickup truck) จำนวน 9,331 ราย (ร้อยละ 34.26) รองลงมา รถยนต์นั่ ง (Passenger car) จำนวน 7,772 ราย (ร้อยละ 28.53) และรถจักรยานยนต์ (Motorcycle) จำนวน 4,305 ราย (ร้อยละ 15.81) ช่วงเวลาที่ เกิด อุบั ติ เหตุ มากที่ สุ ด อยู่ระหว่าง 14.00 -17.00 น. โดยเดื อนที่ เกิด อุบั ติ เหตุ อยู่ ในช่ วงกลางเดื อน มีนาคม-กลางเดือนพฤษภาคม ทั้งนี้ สาเหตุของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบนทางหลวงแผ่นดิน พบว่า สาเหตุเกิดขึ้นจาก ผู้ขับขี่โดยตรง ร้อยละ 86.00 เช่น การขับรถที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ, การฝ่าฝืนเครื่องหมายควบคุมการจราจร, ผู้ขับขี่โดยอ้อม ร้อยละ 9.00 เช่น การเมาสุรา , หลับใน และเกิดจากรถยนต์ (ร้อยละ 4.00) เช่น การบรรทุก เกินอัตรา, อุปกรณ์รถชำรุด และจากข้อมูลอุบัติเหตุบนทางหลวงปี 2562 พบว่า ทางหลวงแผ่นดินที่มีลักษณะ กายภาพ จำแนกตามจำนวนช่ อ งจราจรที่ มี โอกาสเกิ ด อุ บั ติ เหตุ สู ง สุ ด คื อ ทางหลวงที่ มี จ ำนวนช่ อ งจราจร (Number of lanes) 4 ช่องจราจร รองลงมา คือ ทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจร รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 3.5.6-1 ถึงตารางที่ 3.5.6-3 ผลการรวบรวมข้อมูล สถิ ติก ารเกิด อุบัติเหตุใ นพื้นที่ข องจังหวัด กระบี่ สถิติอุบัติเหตุระหว่า ง กรมทางหลวงและสำนั กงานตำรวจแห่งชาติ ของจัง หวัด กระบี่ ในปี 2560-2562 พบว่ า การเกิดอุบัติ เหตุมี อัตราการเพิ่มขึ้นและลดลงเล็กน้อยในแต่ละปี แสดงดังตารางที่ 3.5.6-4 และจากการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมจ ิ าก สถานีตำรวจภูธรอำเภอเกาะลันตา จังหวั ดกระบี่ พ.ศ. 2563 พบว่าสถิติการเกิดอุบัติเหตุจราจรทางบกในพื้นที่ ศึกษาโครงการเกิดจากรถจักรยานยนต์ จำนวน 369 ราย และเกิดจากรถยนต์ จำนวน 6 ราย แสดงดังตารางที่ 3.5.6-5 รวมถึงการเดินทางโดยใช้แพขนานยนต์ข้ามฝั่ง การเดินทางในช่ วงกลางคืนหรือช่วงฤดูมรสุมที่มี คลื่นลมแรงจะมี ความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ซึ่งจากสถิติการเกิดอุบัติเหตุที่ผ่านมา มีรถพยาบาลพลัดตกจากแพขนานยนต์ ที่บริเวณท่าเทียบแพหัวหิน แพขนานยนต์ถูกคลื่น ทะเลซัดล่ม และรถพลัดตกทะเลขณะโดยสาร แสดงดังรูปที่ 3.5.6-1 กรมทางหลวงชนบท 3-562 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.6-1 จำนวนช่องจราจรที่มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุมากที่สุด จำนวนช่องจราจร โอกาสเกิดอุบัติเหตุ คน/กม. โอกาสการตาย คน/กม. Number of lanes A chance to cause accident A chance to cause fatality 2 0.24 0.18 4 0.46 0.14 6 0.11 0.08 >=8 0.19 0.05 ที่มา : สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง (รายงานประจำปี 2562) ตารางที่ 3.5.6-2 การแบ่งทิศทางการจราจรที่มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุมากที่สุด การแบ่งทิศทางการจราจร โอกาสเกิดอุบัติเหตุ คน/กม. โอกาสการตาย คน/กม. Highways separation A chance to cause accident A chance to cause fatality ไม่มีเกาะกลาง (No median) 0.24 0.18 มีเกาะกลาง (Having median) 0.76 0.11 ไม่ระบุ (Not specify) - - ที่มา : สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง (รายงานประจำปี 2562) ตารางที่ 3.5.6-3 ลักษณะทางกายภาพที่มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุมากที่สุด บริเวณทางกายภาพ โอกาสเกิดอุบัติเหตุ คน/กม. โอกาสการตาย คน/กม. Physical highways location A chance to cause accident A chance to cause fatality ทางแยกรูป + (+ Intersection) 0.03 0.16 ทางแยกรูป Y และ T (Y, T Intersection) 0.03 0.14 ทางตรง (Straight ) 0.68 0.12 ทางโค้ง (Curve ) 0.14 0.10 สะพาน (Bridge ) 0.02 0.17 จุดเปิดเกาะกลาง (Median opening) 0.05 0.12 ทางลาดชัน (On slope) 0.03 0.09 ที่มา : สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง (รายงานประจำปี 2562) กรมทางหลวงชนบท 3-563 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.6-4 สถิติอุบัติเหตุระหว่างกรมทางหลวงและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2560 - 2562 รายการ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 กรมทางหลวง อุบัติเหตุ (%) 136 (41.6) 256 (53.7) 196 (38.1) คนตาย (%) 25 (28.1) 30 (31.6) 28 (29.8) คนบาดเจ็บ (%) 157(560.7) 301 (940.6) 207 (39.1) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อุบัติเหตุ 247 477 515 คนตาย 89 95 94 คนบาดเจ็บ 28 32 529 ที่มา : ดัดแปลงจากรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง, สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง ั ิเหตุจราจรทางบกในพื้นที่ศึกษาโครงการ ตารางที่ 3.5.6-5 สถิติการเกิดอุบต การเกิดอุบัติจราจรทางบก อัตราการเกิดอุบัติเหตุปี 2563 อำเภอเกาะลันตา ชาย หญิง รวม ตาย 2 1 3 บาดเจ็บ 200 172 372 Admit (เข้าโรงพยาบาล) 12 11 23 Refer (ส่งต่อ) 28 14 42 D/C (กลับบ้านได้) 162 147 309 รถยนต์ 6 0 6 รถจักรยานยนต์ 196 173 369 ใช้หมวก 41 31 72 ไม่ใช้หมวก 161 142 303 Injuries of head,neck (การบาดเจ็บที่ศีรษะและคอ) 28 19 47 Injuries of abdomen,back,pelvis (การบาดเจ็บที่ช่องท้องหลังกระดูกเชิงกราน) 8 2 10 Injuries of arm,leg (การบาดเจ็บที่แขนขา) 88 84 172 Injuries of multiple region (การบาดเจ็บในหลายส่วน) 77 68 145 ช่วงอายุ >1 ≥ 10 ปี 14 10 24 ช่วงอายุ 10 ≥ 20 ปี 36 42 78 ช่วงอายุ 20 ≥ 30 ปี 42 42 84 ช่วงอายุ 30 ≥ 40 ปี 41 36 77 ช่วงอายุ 40 ≥ 50 ปี 25 24 49 ช่วงอายุ 50 ≥ 60 ปี 30 12 42 60 ปี ขึ้นไป 14 7 21 ที่มา : สถานีตำรวจภูธรอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2563 กรมทางหลวงชนบท 3-564 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน แพขนานยนต์ข้ามฝั่งเกาะลันตาล่ม ณ ท่าเรือบ้านคลองหมาก (ที่มา : ภาพข่าวจาก เว็บไซต์ ผู้จัดการออนไลน์) รถยนต์ตกแพขนานยนต์ขณะขนส่งข้ามฝั่ง (ที่มา : เว็บไซต์ ไทยโพสต์) รูปที่ 3.5.6-1 การเกิดอุบัติเหตุขณะเดินทางข้ามฝั่งโดยใช้แพขนานยนต์ กรมทางหลวงชนบท 3-565 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.5.7 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ 1) วัตถุประสงค์การศึกษา (1) เพื่อรวบรวมข้อมูล และสถานภาพของโบราณสถาน ศาสนสถาน แหล่งและสถานที่สำคัญ ทางประวัติศาสตร์-โบราณคดี ในเขตพื้นที่ดำเนินโครงการและภายในระยะ 1 กิโลเมตร (2) เพื่อประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางด้านโบราณคดี อันอาจเกิดจากกิจกรรมของโครงการ ดังกล่าว (3) เพื่อกำหนดมาตรการลดผลกระทบทางด้านโบราณคดีอันอาจเกิดขึ้นจากกิจกรรมของโครงการ ดังกล่าว 2) ขอบเขตการศึกษา โครงการเส้น ทางเชื่อ มเกาะลัน ตา ตำบลเกาะกลาง -ตำบลเกาะลัน ตาน้อ ย อำเภอเกาะลัน ตา จังหวัดกระบี่ เป็นการก่อสร้างเส้นทางคมนาคมขนส่งทางบกด้วยการก่อ สร้างสะพานเชื่อมระหว่าง บ้ านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง กับเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางด้านโบราณคดีของโครงการเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบล เกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีขอบเขตการศึกษา ดังนี้ (1) บริเวณที่ตั้งโครงการฝั่งตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (2) บริเวณที่ตั้งโครงการฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3) วิธีการศึกษา การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อ มของโครงการเส้นทางเชื่อมเกาะลัน ตา ตำบลเกาะกลาง -ตำบล เกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีวิธีการศึกษาดังนี้ (1) การศึกษาเตรียมงานเบื้องต้นก่อนสำรวจ (Pre-survey) ก) การรวบรวมและจัดทำข้อมูลเบื้องต้น มีรายละเอียดดังนี้ (ก) ประมวล รวบรวม และทบทวนข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี รวมทั้ ง วิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ที่เกี่ยวข้องที่ตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ศึกษา เพื่อให้ได้ความเข้าใจ และสรุปเป็นฐานข้อมูลเบื้องต้น ในการออกสำรวจภาคสนาม (ข) ออกแบบและจัดเตรียมแบบฟอร์มสำหรับการสำรวจ และเก็บข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ที่ตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่โครงการฯ โดยในเบื้องต้นแบบฟอร์มในการออกสำรวจ จะประกอบด้วย ชื่ อแหล่ ง ตำแหน่ ง พิ กัด ภู มิ ศาสตร์ ลั กษณะทางกายภาพ ข้ อมู ล หลั กฐานทางด้ า นประวั ติ ศ าสตร์โบราณคดี สถานภาพของแหล่ง หมายเลขภาพถ่าย เป็นต้น (ค) จัดเตรียมแผนที่พื้นฐาน (Base Map) โดยในโครงการวิจัยนี้จะใช้ แผนที่ภูมิประเทศ จากกรมแผนที่ทหาร ระบบ WGS84 L7018 มาตราส่วน 1:50,000 แผนที่ภาพดาวเทียมจากโปรมแกรม Google earth และแผนที่รูปถ่ายทางอากาศออร์โธ 1:4,000 กรมพัฒนาที่ดิน เป็นหลัก (ง) จัดเตรียมอุปกรณ์พื้นฐานต่าง ๆ สำหรับการสำรวจ เช่น เครื่องกำหนดตำแหน่งทาง ภูมิศาสตร์ (Global Positioning System – GPS) กล้องถ่ายรูประบบดิจิตอล รวมถึงติดต่อประสานกับหน่วยงาน ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในพื้นที่นั้นๆ เช่น สำนักโบราณคดีในเขตพื้นที่รับผิดชอบ เป็นต้น (จ) กำหนดพื้นที่และระยะเวลาที่ จะทำการสำรวจและวางแผนเส้นทางในการทำงาน แต่ละวัน กรมทางหลวงชนบท 3-566 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ข) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เช่น สำนักศิลปากรในพื้นที่ หน่วยงานอนุรักษ์สิ่งแวดล้ อมศิลปกรรมในพื้นที่ เพื่อประสานงานการเข้าพื้นที่ สำรวจ และขอข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ มาประกอบการประเมินผลกระทบและจัดทำรายงานต่อไป (2) การดำเนินงานภาคสนาม ก) ทำการสำรวจและตรวจสอบตำแหน่งของพื้นที่ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ที่ตั้งอยู่ใน ระยะ 1 กิโลเมตร โดยการสำรวจแบบเข้มข้น ( Intensive Survey ) ทั้งการเดินสำรวจและการสัมภาษณ์จาก แนวเส้นทางโครงการ โดยในการสำรวจจะอ้างอิงค่าเป็นพิกัดจากเครื่อง GPS บนระบบ UTM อ้างอิงบนแผนที่ สภาพภูมิประเทศ ระบบ WGS84 L7018 มาตราส่วน 1:50,000 แผนที่ภาพดาวเทียมจาก โปรมแกรม Google earth และแผนที่รูปถ่ายทางอากาศออร์โธ 1:4,000 กรมพัฒนาที่ดินเป็นหลัก ข) ตรวจสอบและประเมินสถานภาพต่าง ๆ ของแหล่งประวัติศาสตร์และแหล่งโบราณคดี ใน พื้นที่ศึกษาโครงการ ครอบคลุมข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ - ชื่อของแหล่งประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี - รูปภาพแหล่งประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี - ที่ตั้ง เขตการปกครอง - ประเภทของประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี - คุณค่าความสำคัญ - สภาพในปัจจุบัน - สถานภาพในการคุ้มครอง รักษา และอนุรักษ์ - สภาพปัญหา - แผนที่ตั้งแหล่งประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี - พิกัดที่ตั้งแหล่งประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี - ระยะทาง ความใกล้/ไกลจากพื้นที่โครงการ - การเข้าถึงแหล่งประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี - การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานภาครัฐเอกชน และประชาชนในพื้นที่ - วันที่สำรวจ และวันที่แก้ไขข้อมูลล่าสุด (3) การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการดำเนินงาน ก) ประเมิ น ศั กยภาพ รวมถึ งผลกระทบต่ าง ๆ ที่ อาจเกิ ด ขึ้ น ต่ อแหล่ งประวั ติ ศ าสตร์ และ โบราณคดีที่ตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการ โดยการประเมินคุณค่าแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดี มี 2 แนวทาง คือ การศึกษาจากข้อมูลเอกสารต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถือ เช่น เว็บไซต์ของกรมศิลปากร วิกิพีเดีย เป็น ต้น และการ สำรวจสภาพแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดี ในพื้นที่จริง ทั้งนี้ การประเมินผลกระทบต่อแหล่งประวัติศาสตร์ และโบราณคดีนั้น จะคำนึงถึงคุณค่าและความสำคัญของแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดี ดังนี้ - ด้านเอกลักษณ์ เป็นคุณค่าของแหล่งที่แสดงการรับรู้ หรือความเข้าใจถึงที่มา สถานที่ตั้ง ความเชื่อศาสนา ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมของพื้นที่นั้นๆ - ด้านวิชาการ เป็นคุณค่าของแหล่งที่สะท้อนเรื่องราวในอดีตเป็นข้อมูลประวัติศาสตร์ โบราณคดี สถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นเครื่องแสดงความเป็นมาอันเก่าแก่และทรงคุณค่าของพื้นที่ - ด้านเศรษฐกิจ เป็นคุณค่าของแหล่งที่ก่อรายได้ของชุมชนในพื้นที่นั้นๆ ทั้งทางตรงและ ทางอ้อมจากการเป็นสถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชุมชน เป็นต้น - ด้านการใช้สอย เป็นคุณค่าของแหล่งที่สามารถนำมาใช้งานได้ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นการ ใช้งานที่ไม่ก่อให้เกิดการเสื่อมสภาพ การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ กรมทางหลวงชนบท 3-567 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ด้า นสัง คม เป็น คุณ ค่า ของแหล่ง ที่เกี่ย วข้อ งกั บ ขนบธรรมเนีย ม จารีต ประเพณี เป็นความภูมิใจของคนในสังคม เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในสังคม - ด้านภัยคุกคาม มุ่งเน้นแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่อยู่ในระยะ 1 กิโลเมตร จากกึ่งกลางแนวเส้นทางโครงการ ทั้งนี้ อาจรวมถึงแหล่งข้างเคียงอื่นๆ ด้วย โดยประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และแนวทางแก้ไขในอนาคตด้วย ข) วิเคราะห์และเสนอแนะแนวทางสำหรับการพัฒนาโครงการ ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดี - รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมศิลปากร การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น รวมทั้งรายงานการศึกษาที่เกี่ยวข้องถึงตำแหน่ง และความสำคัญของโบราณสถานและ โบราณวัตถุ ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมดั้งเดิม - สำรวจสนามข้อมูลแห่งประวัติศาสตร์และโบราณคดี เช่น วัด สำนักสงฆ์ อนุสาวรีย์ เป็นต้น ระยะ 1 กิโลเมตร จากกึง ่ กลางของแนวเส้นทาง โดยใช้แผนที่ 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร 4) ผลการศึกษา (1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ - การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ เกี่ยวกับแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดี/โบราณสถานที่ตั้ง อยู่ในเขตพื้ น ที่ โครงการ และบริเวณใกล้ เคีย งในระยะ 1 กิโลเมตร โดยรวบรวมจากแหล่ งข้อมู ล ต่ า ง ๆ เช่ น รายงานการดำเนินงานทางโบราณคดีของกองโบราณคดี กรมศิลปากร เอกสารทางประวัติศาสตร์ เช่น จดหมาย เหตุ พงศาวดาร ฯลฯ แผนที่ ม าตราส่ ว น 1 : 50 ,000 ของกรมแผนที่ ท หาร รวมทั้ ง ข้ อ มู ล ที่ เกี่ ย วข้ อ งจาก อินเตอร์เน็ต - การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ โดยการสำรวจภาคสนามเพื่อตรวจสอบแหล่งประวัติศาสตร์ และโบราณคดี/โบราณสถาน ศาสนสถาน และสถานที่สำคัญทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมที่ตั้งอยู่ บริเวณใกล้เคียงพื้นที่ตามแนวเส้นทางโครงการในระยะ 1 กิโลเมตร ก) ประวัติศาสตร์จังหวัดกระบี่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จังหวัดกระบี่พบหลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงให้เห็นว่ามีมนุษย์ อาศัย อยู่ในพื้นที่บ ริเวณนี้ มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จากการขุดค้น ทางโบราณคดีที่ แหล่ง โบราณคดี ถ้ำหลั งโรงเรียน ตําบลทั บปริก อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ โดย ดร. ดั กลาส แอนเดอร์สัน พบหลั กฐานการใช้ เครือ่ งมือหินของมนุษย์สมัย ก่อนประวัติศาสตร์หลายสมัย สมัยแรกเมื่อประมาณ 37 ,000-27 ,000 ปีม าแล้ ว มีการใช้เครื่องมือหินกะเทาะทั้งประเภทเครื่องมือแกนหินและเครื่องมือสะเก็ด หิน ต่อมาสมัย ที่ 2 เมื่อประมาณ 9,000-7,500 ปีมาแล้ว มีการใช้เครื่องมือหินกะเทาะชนิดที่เรียกว่า “เครื่องมือ หินแบบฮัวบิเนียน” (Hoabinhian) และต่อมาในสมัยที่ 3 เมื่อประมาณ 6 ,000-4,000 ปีมาแล้ว จึงเริ่มมีการใช้เครื่องมือหินขัด หรือขวานหิน ขัด และใช้ภาชนะดินเผา ที่แหล่งโบราณคดีถ้ำหมอเขียว ตําบลกระบี่น้อย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ซึ่งอยู่ไม่ไกลจาก แหล่งโบราณคดีถ้ำหลังโรงเรียน เป็นแหล่งโบราณคดีอีกแหล่งหนึ่งที่พบหลักฐานแสดงให้ เห็นว่ามี การอยู่อาศัย ของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่มีการใช้เครื่องมือหินกะเทาะหน้าเดียว (unifacial flaked stone tool) ทําจาก กรวดแม่น้ำ เมื่อประมาณ 26 ,000-25,000 ปีมาแล้ว และมีพัฒนาการการทําเครื่องมือหินเรื่อยมาจนกระทั่ง เมื่อประมาณ 7,000-4,000 ปีมาแล้ว จึงมีการทํ าขวานหินกะเทาะ (Flaked adze) และขวานหินขัดขึ้นใช้งาน นอกจากนี้ยังพบหลักฐานอื่นๆ ได้แก่ กระดูกสัตว์ และโครงกระดูกมนุษย์ อีกด้วย กรมทางหลวงชนบท 3-568 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน จากหลักฐานที่พบที่แหล่งโบราณคดีทั้งสองแหล่ ง อาจกล่าวได้ว่าในบริเวณพื้นที่จังหวัด กระบี่ มีมนุษย์เข้ามาอาศัย พักพิง ตามถ้ำและเพิงผาหาของป่าล่าสัตว์ โดยใช้เครื่องมือหินรูปแบบต่าง ๆ มาตั้งแต่ ช่วงก่อนหน้า 10,000 ปีมาแล้ว และมีพัฒนาการในการทําเครื่องมือหินเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอดจากเครื่องมือหิน กะเทาะมาจนเป็นเครื่องมือหินขัด ในช่วงประมาณ 4,000 -2,000 ปีมาแล้ว ปรากฏหลักฐานตามแหล่งโบราณคดีในบริเวณ พื้นที่จังหวัดกระบี่ เช่น แหล่งโบราณคดีถ้ำหลังโรงเรียน แหล่งโบราณคดีถ้ำเขาหน้าวังหมี แหล่งโบราณคดีเขาโต๊ะช่อง แหล่งโบราณคดีถ้ำหน้าสังเมียน แหล่งโบราณคดีเขาขวาก-วัดถ้ำเสือ อําเภอเมือง, แหล่งโบราณคดี เขางาม อําเภอ อ่าวลึก, แหล่งโบราณคดีถ้ำช้างสี แหล่งโบราณคดีเขาโปง อําเภอเขาพนม, แหล่งโบราณคดีควนหวายแดง อําเภอ คลองท่อม เป็นต้น หลักฐานที่สํารวจพบแสดง ให้เห็นว่ามนุษย์สมัยก่อนประวั ติศาสตร์ช่วงเวลานี้ยังคงอาศัย ตามถ้ำและเพิงผา มีวิถีชีวิตแบบหาของป่าล่าสัตว์ แต่มีพัฒนาการของเครื่องมือเครื่องใช้เปลี่ ยนแปรงไปจากเดิม เริ่มมีการใช้เครื่องมือหินขัด หรือขวานหินขัดอย่างแพร่หลาย มีพิธีกรรมการฝังศพ อุทิศสิ่งของแก่ผู้ตาย มีการใช้ ภาชนะดินเผาที่มี รูปแบบหลากหลายเพิ่มขึ้น โดยมีภาชนะดินเผารู ปแบบเฉพาะบ่งบอกว่าเป็นกลุ่มวัฒ นธรรม เดียวกัน ได้แก่ ภาชนะดินเผาทรงพาน และภาชนะดินเผาสามขา ซึ่งภาชนะดินเผาสามขา ที่พบอาจแสดงให้เห็นว่า ผู้คนในสมัยนี้ มีการติดต่อกับ ชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์อื่นที่อยู่ห่างไกลออกไปและมี วัฒ นธรรม ความเชื่อ บางอย่างร่วมกัน เนื่องจากภาชนะดินเผาสามขาสามารถได้พบตาม แหล่งโบราณคดีสมัยหินใหม่ (ครอบคลุม ช่วงเวลา 6,000-4,000 ปีมาแล้ว) ตั้งแต่จังหวัดกาญจนบุรี เรื่อยลงมาในเขตคาบสมุทรภาคใต้ของไทย เรื่ อยไปจน สุดแหลมมลายูในเขตประเทศมาเลเซีย นอกจากนี้ยังพบร่องรอยภาพเขียนสีของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งมีการกําหนด อายุไว้ราว 5,000-3,000 ปีมาแล้ว ปรากฏอยู่ในถ้ำ และหน้าผาเขาหินปูนริมชายฝั่งทะเลในเขตอําเภออ่าวลึก ได้แก่ แหล่งโบราณคดีถ้ำผีหัวโต แหล่งโบราณคดีถ้ำ แหล่งโบราณคดีแหลม ชาวเล แหล่งโบราณคดีแหลมไฟไหม้ และแหล่งโบราณคดีแหลมท้ายแรด ภาพเขีย นสีที่พบมีทั้งภาพคน ภาพสัตว์ และภาพนามธรรม แสดงให้เห็น พัฒนาการของมนุษย์สมั ยก่อนประวัติศาสตร์ใน ช่วงเวลานี้ ที่มีจินตนาการ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะไว้บนผาหิน หรืออาจเป็นบันทึกเรื่องราวรอบตัวในรูปแบบภาพเขียนสี เพื่อส่งต่อความรู้ความเชื่อต่อไปก็เป็นได้ หลังจากช่วงเวลานี้เป็นต้นไป ชุมชนของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในพื้นที่จังหวัดกระบี่ได้ มีพัฒ นาการเข้าสู่ส มัย แรกเริ่ม ประวัติศาสตร์และสมัย ประวัติศาสตร์ในที่สุด เมื่อผู้ คนจากดิน แดนโพ้น ทะเล เช่น อินเดีย เมดิเตอร์เรเนียน เป็ นต้น ได้เดินทางเข้ามาแสวงหาทรัพยากร บุกเบิก และตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชน นําวัฒนธรรมใหม่มาหลอมรวมกับวัฒนธรรมของชุมชนดั้งเดิม จนพัฒนาไปเป็นชุมชน สมัยประวัติศาสตร์ในที่สุด สมัยประวัติศาสตร์ ความรุ่งเรืองของชุมชนต่าง ๆ ในเขตกระบี่มีการขาดตอนในบางช่วง ของประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะในยุคหลังจากวิชาการเดินเรือก้าวหน้า มีนักประวัติศาสตร์บางท่านเชื่อว่า เมืองตักโกลา ที่ปรากฏในหนังสือภูมิศาสตร์ของปโตเลมีอาจจะเป็นบริเวณแหล่งโบราณคดีคลองท่อม หรือควนลูกปัด ในเขต จังหวัดกระบี่ โดยอ้างเส้นทางการเดินเรือตามลมมรสุมและการใช้เส้นทางข้ามคาบสมุทรตาม เส้นทางที่สะดวกไป ออกแม่น้ำหลวง แต่ก็ยังเป็นเพียงข้อสันนิษฐาน ไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน แต่จากหลักฐานทางโบราณคดีพ บว่า แหล่ง โบราณคดีคลองท่อมเป็นแหล่งผลิตลูกปัดและเมืองท่าการค้าบน เส้นทางข้ามคาบสมุทรที่สําคัญอีกแห่งหนึ่งในช่วง พุทธศตวรรษที่ 6-9 พบหลักฐานโบราณวัตถุ ประเภทลูกปัด เครื่องรางเครื่องประดับ เศษภาชนะดินเผาพื้นเมือง และเศษภาชนะดินเผา จากต่างชาติเป็นจํานวนมาก แสดงให้เห็นพัฒนาการของชุมชนโบราณในพื้นที่จังหวัดกระบี่ ที่มีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่ค่อยๆ เปลี่ยนแปลงไปจากการเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติ กรมทางหลวงชนบท 3-569 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน เอกสารที่กล่าวถึงชุมชนแห่งแรกที่เกิด ขึ้นในเขตจังหวัดกระบี่คือทําเนียบข้าราชการเมือง นครศรีธรรมราช ซึ่งระบุว่าในเขตกระบี่ มีแขวงขึ้นเมืองนครศรีธรรมราชแห่งหนึ่ง คือ ปกาไสย ใน หนังสือภูเก็ต ของสุนัย ราชภัณฑารักษ์ ได้กล่าวระบุไว้สอดคล้องกันว่า “เมืองกระบี่ นี้เดิมทีเมื่อแรกตั้งเมืองใหม่ๆ มีชื่อเรี ยกว่า เมืองปกาไสย ตั้งอยู่ที่ตําบลปกาไสยในปัจจุบัน ซึ่งอยู่ห่างทะเลลึกเข้าไปในป่า ต่อเมื่อย้ายเมืองออกมาริมทะเลตรงปากน้ำ กระบี่เมื่อปี พ.ศ. 2414 แล้วจึงได้เปลี่ยนเรียกชื่อว่าเมืองกระบี่เป็นการตั้งชื่อเมืองตาม ชื่อลําน้ำซึ่งมีอยู่ก่อนแล้ว” กระบี่ เมื่อ ปี พ.ศ. 2414 แล้ว จึง ได้เปลี่ย นเรีย กชื่อ ว่า เมือ งกระบี่เป็น การตั้ง ชื่อ เมือ ง ตามชื่อลำน้ำซึ่งมีอยู่ก่อนแล้ว ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์ ได้กล่าวถึงประวัติความเป็นมาของเมืองปกาไสยไว้ย่อๆ ว่า “เมืองปกาไสยเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์การก่อตั้งจังหวัดกระบี่ปัจจุบัน ในฐานะที่ เป็นชุมนุมชนแห่งแรก หรือ จังหวัดกระบี่แห่งแรก อยู่ในท้องที่บ้านปกาไสย ตําบลปกาไสย อํ าเภอเมืองกระบี่ ซึ่งปลายรัชกาลที่ 4 พระปลัด เมืองนครศรีธรรมราช คุมกําลังคนออกไป สร้างเพนียดคล้องช้างในเขตแขวงเมืองปกาไสย พิจารณาเห็ นว่าอยู่ใน ภูมิประเทศที่ เหมาะสมและอุดมสมบูรณ์ สามารถติดต่อทางทะเลได้สะดวก อีกประการหนึ่งมีประชาชน จากเขต เมืองนครศรีธรรมราชอพยพติดตามไปตั้งหลักแหล่งทํามาหากินเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ พระปลัดเมืองนครศรีธรรมราช จึงขอยกฐานะขึ้นเป็นเมืองตั้งจวนเจ้าเมืองตรงบริเวณที่ เรี ยกกันว่า “ควนทําเนียบ” และสร้างวัดปกาไสยขึ้ น เป็นวัดประจําเมืองด้วย สถานที่ที่เรียกว่า “บ้านนาหลวง” คือ เป็นนาของเมืองปกาไสย ซึ่งชาวบ้านเรียกนาหลวง ที่บ้านนาหลวงยังมีทา ่ เรือ ทุกวันนี้ยังพอสังเกตเห็นเป็นอ่าวเป็นบาง มีต้นจากขึ้นอยู่ บางส่วนกลายสภาพเป็นทุ่งนา ตื้นเขินไปแล้ว บรรดาข้าราชการประจําเมืองปกาไสยต่างพํานักทํามาหากินอยู่รอบนอกกระจายกันออกไป เช่น ที่บ้านคลองเสียดเป็นถิ่นที่อยู่มีผู้รับบรรดาศักดิ์ เป็นหมื่น ขุน และหลวง อยู่หลายตําบล ที่ตําบลคลองขนานก็มีอยู่ เช่นกัน” เมื อ งกระบี่ นั้ น เป็ น เมื อ งเล็ ก ๆ หรื อ มี ส ภาพเป็ น หมู่ บ้ า นขนาดใหญ่ เท่ า นั้ น ดั ง ปรากฏ หลักฐาน ในหนังสือเสด็จประพาสรอบแหลมมลายู พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ตอนเสด็จประพาสเมืองนี้ในปี พ.ศ. 2433 ว่า “ถามถึงบ้านปากลาวว่าเดิมหลวงอะไร 2 คนตั้งเป็น หมวดหมู่ แต่บ้านอยู่ก ลางดอน ครั้นหลวงคนนั้นตายก็กระจัดกระจายกั นไป บ้านกระบี่นั้นกั้นเป็นเรือนรายๆ เหมือนกัน ที่ปกาไสยค่อยเป็นหมู่มากหน่อยหนึ่ง ในบ้ านเหล่านี้ทําไร่มากนาน้อย แต่ที่ก็มีราบกว่า พังงา ที่ไม่ใคร่ ทํานาเพราะขัดกระบือถึงดังนั้นก็มีข้าวพอกิน นานๆ จึงจะต้องซื้อข้าวพม่า บ้าง ดีบุกในแถบนี้เป็นไม่มีตลอดไป” ถึงแม้ ในทางการปกครองเมื องกระบี่ จ ะขึ้น กับ เมื อ งนครศรีธ รรมราช แต่ เนื่ อ งจากอยู่ ห่างไกล และติดต่อกันไม่สะดวก ดังนั้นหลังจากทางฝ่ายรัฐบาลแต่งตั้งคณะข้าหลวงใหญ่ออกไปประจําหัวเมือง ฝ่า ยตะวัน ตกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2418 เป็น ต้น มา ก็ได้ม อบหมายให้เมืองกระบี่อยู่ในความดูแลของข้าหลวงใหญ่ ฝ่ายทะเลตะวันตกด้วย ทั้งๆ ที่ยังถือว่าเป็นเมืองบริวารของนครศรีธรรมราช ซึ่ งเป็นเจตนาของ รัฐบาลกลางที่จะ ลดอิทธิพลและแหล่งที่มาของรายได้ของเมืองนครศรีธรรมราชลงไป โดยทางฝ่ายข้าหลวงใหญ่ได้แต่งตั้งพระอิศราธิไชย ผู้ช่วยราชการเมืองตะกั่วป่า ไปเป็นผู้ว่ าราชการเมืองกระบี่ และได้มอบหมายให้เจ้าเมืองกระบี่คนใหม่รับทําภาษี ในเมื องกระบี่แบบเหมาเมืองเหมือนกับ หัวเมือง ชายฝั่งตะวัน ตกโดยทั่ วไป สร้างความไม่พ อใจให้แก่เจ้าเมือง นครศรีธรรมราชเป็นอย่างมาก พระยาศรีธรรมราช (หนูพร้อม ณ นคร พ.ศ. 2410-2444) เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช ขณะนั้นไม่พอใจที่ต้องสูญเสียรายได้ส่วนหนึ่งจากเมืองกระบี่ไป จึงคบกับหลวงประจิมนคร (จีนเปกอี้) เจ้าภาษี นายอากรจีนผู้มีอิทธิพลและมี สมัครพรรคพวกมากคนหนึ่ง โดยเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชได้ให้สัญญาว่าถ้าหลวง ประจิมนครสามารถฆ่าพระอิศราธิไชย ผู้ว่าราชการเมืองกระบี่ได้ ก็จะมอบให้จัดการด้านภาษีเมืองกระบี่ ซึ่งปรากฏว่า หลวงประจิมนครและพรรคพวกทําได้ สําเร็จแต่เรื่องราวฉาวโฉ่ขึ้นมา และทางฝ่ายข้าหลวงใหญ่ได้เรียกตัวหลวง ประจิมนครไปพิจารณาโทษ แต่ก็ทําอะไรไม่ได้เพราะหลวงประจิมนครได้ อ้างว่าเป็นคนในบังคับอังกฤษ พร้อมทั้ง กล่าวโทษพระอิศราธิไชยผู้ตายว่า “เรียกค่าธรรมเนียมผูกปี้จีน ในอัตราสูงคนจีนที่ยากจนได้รับความเดือดร้อน จึงรวมกําลังกันฆ่าพระอิศราธิไชยเสีย” กรมทางหลวงชนบท 3-570 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน หลังจากนั้นมีการแต่งตั้งพระเทพธนพัฒนา เป็นผู้ว่าราชการเมืองกระบี่ และมีการโอนเมือง กระบี่จากนครศรีธรรมราชไปขึ้นกับมณฑลภูเก็ตในปี พ.ศ. 2439 แต่ในระยะที่มีการแบ่งเขตปกครอง ใหม่เป็น อําเภอ ตําบล และหมู่บ้านนั้น เมืองกระบี่ต้องล่าช้ากว่าเมืองอื่นเพราะเจ้าเมืองอยู่ในระหว่าง ต้องคดีฉ้อพระราชทรัพย์ ของหลวงในกรุงเทพฯ จึงต้องรอไว้ก่อน และไม่ ปรากฏหลักฐานว่ามีการแบ่งเมืองกระบี่ออกเป็ นกี่อําเภอ ตําบล และหมู่บ้านในครั้งนั้น หลักฐานเท่าที่ปรากฏต่อมาในทําเนียบการปกครองท้องที่มณฑลภูเก็ต ร.ศ. 121 (พ.ศ. 2445) และในหนังสือภูมิศาสตร์ประเทศสยามซึ่งตีพิ มพ์ ในปี พ.ศ. 2468 ได้ระบุถึงจังหวัดกระบี่ไว้ว่า “จังหวัดกระบี่ อยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดภูเก็ตถัดจากจังหวัดพังงาลงไปทางใต้ มีเนื้อที่ประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 2.5 ล้านไร่ แบ่งเป็น 4 อำเภอ คือ อำเภอ ปากน้ำ (อำเภอเมืองกระบี่ปัจจุบัน) อำเภอคลองท่อม อำเภออ่าวลึก และอำเภอเกาะลันตา มีพลเมืองกระบี่ประมาณ 30,000 คน ศาลากลางของจังหวัดอยู่ในอำเภอปากน้ำริมทะเล ใกล้ลำน้ำกระบี่ใหญ่ ห่างจากภูเก็ตประมาณ 50 กิโลเมตร” ระยะแรกที่มีการก่อตั้งมณฑลภูเก็ตนั้น กระบี่ยังเป็นเมืองป่าเมืองดงห่างไกลความเจริญ มีบ้านเรือนราษฎรอยู่ในเมืองเพียง 20 หลังคาเรือน ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งไปอยู่ที่กระบี่ถึงกับปฏิเสธ ที่ต้องพบ กับความกันดารทั้งเส้นทางคมนาคมและอาหารการกิน สัตว์น้ำมีอยู่ม ากก็จริงแต่ขาดคนที่ จะ จับขึ้น มา สุกร มีฆ่า วันเว้นวันหรือเว้น 2 วัน โค กระบือเดือนหนึ่งหรือ 2 เดื อนจึงมีการฆ่าสักครั้ง อาหารที่หาได้ง่ายก็คือสัตว์ป่า จำพวกเก้ง กวาง และหมูป่า แต่ก็ต้องระวังเสือ ซึ่งมีอยู่ชุกชุมมาก ทางทะเลก็มีโจรสลัด โรคภัยไข้เจ็บ โดยเฉพาะ ไข้ป่าหรือมาลาเรียมีชุกชุมมาก หมอก็ไม่มี เวชภัณฑ์ก็หา ยากมีแต่ยาควินินที่พอจะช่วยได้บ้าง ในปี พ.ศ. 2444 สมั ย ที่ พ ระยารัษ ฎานุ ป ระดิ ษ ฐ์ ฯ (คอซิ ม บี้ พ.ศ. 2444 -2456) เป็ น สมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต และพระยาอุตรกิจพิจารณ์เป็นผู้ว่าราชการเมือง ได้พิจารณาเห็นว่า สถานที่ตั้งเมือง กระบี่เดิมไม่เหมาะสม ไกลทะเลไม่สะดวกแก่การติดต่อค้าขายทางเรือ เรือใหญ่เข้าเทียบท่าไม่สะดวกแก่การติดต่อ ค้าขายทางเรือ จึงย้ายเมืองอีกครั้งหนึ่ งไปตั้งที่ตำบลปากน้ำ บนเนิน ควนสูงทางฝั่ งขวาของแม่น้ำกระบี่ อยู่ห่าง จากทะเลประมาณ 3 กิโลเมตร ซึ่งเป็นที่ตั้งศาลากลางของ จังหวัดกระบี่ในปัจจุบัน ข) เทศกาลงานประเพณี จังหวัดกระบี่ - งานประเพณีสารทเดือนสิบ เดือนสิบเป็นประเพณีสำคัญของชาวใต้เพื่ออุทิศส่วนกุศล ให้บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ ขนมที่ขาดไม่ได้ คือ ขนมลา ขนมเจาะหู ขนมพอง ขนมบ้า และขนไข่ปลา - ประเพณี ลอยเรือชาวเล จัดขึ้นปีละ 2 ครั้ง คือ เดือน 6 (เดือนพฤษภาคม) และใน เดือน 11 (เดือนตุลาคม) ระหว่ างวันขึ้น 13 ค่ำ - แรม 1 ค่ำ ณ หมู่บ้านชาวเลสังกาอู้ เกาะลันตาใหญ่ บริเวณ ชายหาดใกล้ๆ กับบ้า นศาลาด่าน เป็น เงินประเพณีเก่าแก่ของชาวเลซึ่งหาดูย าก นักท่องเที่ยวที่สนใจศึกษา ถึงวิถีชีวิตของชาวเลก็สามารถเดินทางไปร่วมในงานได้เช่นกัน - เทศกาลลานตา ลันตา ประเพณีและวัฒนธรรมของมนุษยชาติที่แตกต่างกัน ได้รวม ความเป็นหนึ่งเดียวใจเดียว ปลูกสร้างความสามัคคี ให้ผู้คนแม้จะต่างเชื้อชาติ ศาสนา และความเชื่อ ได้สะท้อนให้เรา ได้เห็นอย่างชัดเจน ในงานเทศกาลประจำปีเกาะลันตา “เทศกาลลานตา ลันตา” แม้จะมาจากต่างถิ่น กำเนิดมาจาก ต่างแดน นับถือและเคารพในสิ่งที่แตกต่าง แต่ในงานลานตา ลันตา เราจะได้พบแต่ความรื่นเริง รอยยิ้ม และความ สนุกสนานของนักท่องเที่ยวและชาวบ้านในเกาะลันตา ด้วยเพราะงานนี้เป็นการร่วมแรงร่ว มใจของชาวบ้านและ ผู้ประกอบการในเกาะลันตา ที่ต้องการให้มีงานเทศกาลที่สื่อถึงความเป็นหนึ่งเดียวของวัฒนธรรมในท้องถิ่นต่าง ๆ ทั้งในภาคใต้และภูมิภาคอื่นๆ ในงานลานตา ลันตา นอกจากการแสดงพื้นบ้านทางภาคใต้แล้ว ยังมีการแสดง บนเวที ซึ่ งจะเป็ น การแสดงของวงดนตรีส ากล , การเริงระบำแบบภาคกลาง และการดนตรีเร็กเก้จ ากศิลปิ น คุณภาพ นอกจากนี้ นักท่องเที่ยวจะได้ฟัง แนวดนตรีผสานจากเครื่องดนตรีตะวันตก และเครื่องดนตรีตะวันออก จากวงอัสลี มาลา กรมทางหลวงชนบท 3-571 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน - ลิ เกป่ า เป็ น การแสดงพื้ น บ้ า นที่ ดั ด แปลงมาจากลิ เกสิ บ สองภาษา เริ่ม ต้ น จะเล่ น เรื่องราวของแขกแดงว่ามาจากเมืองลักกะตา (กัลกัตตา) มาค้าขายบนฝั่งทะเลตะวันตก แล้วมาได้ภรรยาเป็นคน พื้นเมืองชื่อ ยายี หรือ ยาหยี และพากลับบ้านเมืองจากนั้นจะแสดงเรื่องอื่นต่อไป ลิเกป่าเป็นการแสดงที่ประสาน วัฒนธรรมหลากหลายเข้าด้วยกัน อาทิ ดนตรีจะใช้รำมะนา ทับโหม่ง กลอง ฉิ่ง บทกลอนจะมีการประสมทำนอง มโนราห์กับเพลงบุรันยาวา ศิลปินลิเกป่าในกระบี่มีจำนวนมาก เพราะนิยมเล่นกันมาช้านาน และน่าจะเกิดขึ้น ครั้งแรกในดินแดนบริเวณนี้ ปัจจุบันลิเกป่ายังมีหลายคณะ เช่น ซึ่งได้รับรางวัลผู้มีผลงาน ดีเด่นทางวัฒนธรรม ค) ประวัติเกาะลันตา "ลันตา" เป็นชื่อเกาะขนาดใหญ่ ตั้งอยู่กลางทะเลอันดามัน ประกอบด้วย เกาะลันตาใหญ่ และเกาะลันตาน้อย โดยมีเกาะกลางคั่นอยู่ระหว่าง 2 เกาะนี้ พื้นที่รวมทั้งหมด 472 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ในเขต พื้นที่อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ชื่อ "ลันตา" สันนิษฐานไว้เป็นหลายทาง บ้างว่าเพี้ยนมาจากคำว่า ลันตาส ซึ่งเป็นภาษาชวา แปลว่ า ที่ ย่ า งปลา เพราะในอดี ต เกาะใหญ่ แห่ ง นี้ เป็ น ที่ ที่ ช าวเรือ ชวามั กมาหยุ ด พั ก และย่ า งปลาเป็ น อาหาร (https://sites.google.com/site/thalesudswy/keaa-san-ta) หรือในความหมายเดีย วกัน บอกว่า ลัน ตา มาจากคำว่า ลันตาส ลันตัส เป็นภาษาชวา มลายู แปลว่าโรงร้าน โรงเรือน ซึ่งก็คือที่ ตากปลาของชาวบ้านนั่นเอง บางคนให้ความหมายของ ลันตา ในภาษาไทยว่ามีที่มาจากคำว่า ลานตา แปลว่าหาดทรายที่เต็ มไปด้วยเปลือก หอยลานตาไปทั่วหาดของเกาะ (www.lantainfo.com/th_about_ko_lanta_history.htm) อีกทางหนึ่งกล่าวว่า ลันตา มาจากคำว่า ลุนตั๊ดซู ในภาษาจีน ซึ่ง ลุน หรือ หลุน แปลว่า ภูเขา ตั๊ดแปลว่า ทางไกล และ ซู แปลว่า เกาะ ความหมายรวมคือ เกาะที่มีแนวภูเขาเป็นแนวยาวไกล และชาวเล เรียกว่า ปูเลาซาตั๊ก ซึ่งมีความหมายอันเดียวกัน (https://www.lantainfo.com/th_about_ko_lanta_history.htm) ความหมายสุดท้ายที่มีคนบอกไว้คือ ลันตา เพี้ยนมาจากคำว่า ลอนตา ในภาษามลายู ซึ่งแปลได้ว่า คนจนหรือคนที่ต่อสู้อย่างปากกัดตีนถีบ ซึ่งหมายถึงคนพื้นเมืองดั้งเดิมที่ได้ร่อนแร่อยู่แถบนี้มานานนม ซึ่งกลุ่ ม คนร่อนแร่นี้ ถูกเรีย กว่ า โอลั งลอนตา หรื อที่ เรีย กตนเองว่า อูรักลาโว้ ย หรือลาโว้ย (กลุ่ม ชาติพั น ธุ์ใน ประเทศไทย Ethnic Group in Thailand.ศูนย์มานุษยวิทยาสิริน ธร องค์กรมหาชน หรือที่คนไทยกลุ่มอื่นเรียก พวกเขาว่า ชาวเล ชาวไทยใหม่ หรือชาวน้ำ หมู่เกาะที่มีคนเร่รอนกลุ่มนี้อยู่ จะถูกเรียกว่า ปูเลาลันตา ซึ่ งอาศัยอยู่ ใน 3 พื้นที่ คือ หมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และหมู่เกาะลันตา ร่องรอยหลักฐานที่บ่งบอกว่า ชาวเลกลุ่มที่เรียกตัวเองว่า “อูรักลาโว้ย” อพยพเข้ามาอาศัย ตามหมู่เกาะต่าง ๆ ในแถบทะเลอันดามัน และเข้ามาผสมกับชาวเลกลุ่มดั้งเดิมบริเวณหมู่เกาะลันตา หรือ ปู เลา ลอนตา ตลอดจนคำบอกเล่าของผู้อาวุโสในชุมชน การคำนวณอายุของบรรพบุรุษที่เข้ามาพักพิง ตำนานความเชื่อ เกี่ยวกับสถานที่ และชื่อสถานที่ต่าง ๆ บริเวณหมู่เกาะลันตาที่เป็นภาษาอูรักลาโว้ ย ก็บ่งบอกว่าชาวเลเป็นกลุ่ม ชาติพันธุ์แรก ๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณหมู่เกาะลันตา แต่ด้วยวัฒนธรรมเร่ร่อนหากินทางทะเลที่สืบทอดมาจาก บรรพบุรุษ ไม่มีวัฒนธรรมในการจับจองพื้นที่เพื่อตั้งถิ่นฐานถาวรในระยะหลังเมื่อหวนกลับมายังแหล่งเดิม มักจะ พบว่าชนกลุ่มอื่นเข้ามายึดครองแล้วจึงต้องหาแหล่งพักพิงใหม่ (กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย Ethnic Group in Thailand.ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร องค์กรมหาชน.www.sac.or.th:ethnicGroups) ด้วยทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมทำให้เกาะลันตากลายเป็นเมืองท่าที่ชาวจีน อาหรับ มลายู ผู้แล่น เรือค้าขายทางแถบฝั่งทะเลอันดามันตั้งแต่ภาคใต้ของประเทศเมียนมาร์ เลียบชายฝั่งลงมาทางใต้และเข้าสู่ บริเวณ ชายฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ภูเก็ต ปีนัง ลงไปยังมลายู สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ได้ถื อเอาเกาะลันตา เป็นเป้าหมายในการเดินเรือเพื่อแวะพักผ่อน เพราะสภาพที่มีแนวทิวเขาและหาดทรายยาวเป็นที่สังเกตได้ง่าย จนล่วงมาสมัยหลังที่ยังมีการค้าสำเภาอยู่ เกาะลันตาจึ งกลายเป็นที่พักหลบลมมรสุม และเริ่มมีผู้คนเข้ามาพักและ กรมทางหลวงชนบท 3-572 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตั้งหลักแหล่งกลายเป็นชุมชนในเวลาต่อมา และในก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ชุมชนศาลาด่านบนเกาะลันตาได้ กลายเป็นด่านภาษีของเรือเดินทางมาค้าขาย ที่เดินทางมาจากภูเก็ต ระนอง ซึ่งจะเดินทางผ่านไปยังปีนังและ สิงคโปร์ (https://www.lantainfo.com/th_about_ko_lanta_history.htm) อำเภอเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัด มีอาณาเขต ติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง คือ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอเหนือคลองและอำเภอคลองท่อม ส่วนทิศตะวันออก ทิศตะวนตก และทิศใต้ติดต่อกับทะเลอันดามัน อำเภอเกาะลันตาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 5 ตำบล 36 หมู่บ้าน ได้แก่ ตำบลเกาะ ลันตาใหญ่ 8 หมู่บ้าน ตำบลเกาะลันตาน้อย 6 หมู่บ้าน ตำบลเกาะกลาง 10 หมู่บ้าน ตำบลคลองยาง 7 หมู่บ้าน และตำบลศาลาด่าน 5 หมู่บ้าน ประวัติการก่อตั้งอำเภอเกาะลันตา (เกาะลันตา.วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี) อำเภอเกาะลันตาเดิมเป็นแขวงขึ้นกับอำเภอคลองท่อม เมืองปกาสัย (กระบี่) ต่อมา พ.ศ. 2444 ได้ยกฐานะเป็นอำเภอเกาะลันตา ต่อมา พ.ศ. 2460 เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอเกาะลานตา ซึ่งทำเนียบกระทรวงมหาดไทย หมายถึง มองดูยาวเป็นพืดดูลานตา และปี พ.ศ. 2480 เปลี่ยนเป็นอำเภอเกาะลันตาดังเดิม วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2499 จัดตั้งสุขาภิบาลเกาะลันตาใหญ่ ในท้องที่บางส่วนของตำบล เกาะลันตาใหญ่ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2503 โอนพื้นที่ตำบลเกาะศรีบอยา อำเภอเกาะลันตา ไปขึ้นกับ อำเภอเมืองกระบี่ วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2526 ตั้งตำบลศาลาด่าน แยกออกจากตำบลเกาะลันตาใหญ่ วัน ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 ยกฐานะจากสุ ขาภิบาลเกาะลันตาใหญ่ เป็น เทศบาล ตำบลเกาะลันตาใหญ่ พ.ศ. 2550 ได้มีการสำรวจสำมะโนประชากรในอำเภอเกาะลันตา ประชากรส่วนใหญ่ใน อำเภอเกาะลันตานับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 75.00 นับถือบรรพบุรุษร้อยละ 10.00 นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 10.00 ศาสนาคริสต์และอื่น ๆ ร้อยละ 5.00 เมื่ อแรกตั้ งอำเภอเกาะลัน ตาในปี พ.ศ. 2544 ทางการได้ย กฐานะพื้น ที่ เกาะลัน ตาเป็ น อำเภอเกาะลันตา และได้ตั้งที่ทำการชั่วคราวบริเวณชุมชนเมืองเก่า หรือ อำเภอเก่าในปัจจุบัน เดิมที่ทำการอำเภอ เป็นเพียงอาคารไม้ 2 ชั้น และในปัจจุบันอาคารเดิมยังคงมีหลงเหลืออยู่ และชาวเลเร่ร่อนที่อาศัยในบริเวณนั้นถูก เรียกว่า “ปาไตรายา” ซึ่งแปลได้ว่าเป็นหาดเจ้าหรือหาดหลวง ปัจจุบันบริเวณนั้น คือ ตลาดศรีรายา ปัจจุบัน ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตาได้ย้ายไปตั้งอยู่ที่เกาะลันตาน้อยในบริเวณบ้านหลังสอด บนพื้นที่ 400 ไร่ และได้ทำพิธี เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 ง) ความสำคัญด้านการท่องเที่ยว อำเภอเกาะลันตาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงในระดับโลก โดยเฉพาะในประเทศแถบยุโรป และสแกนดิเนเวีย เนื่องจากนักท่องเที่ยวชาวยุโรปนิยมมาท่องเที่ยวและพักผ่อนยังเกาะลันตาใหญ่ ทำให้อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวของเกาะลันตาใหญ่ มีอัตราการเจริญเติบโตสูงอั นดับต้นของประเทศและของภูมิภาค นักท่องเที่ยว ระดับ High Class เป็นนักท่องเที่ยวกลุ่มหลักที่จะเดินทางมาเที่ยวยังเกาะลันตา เนื่องจากมีโครงสร้างและสิ่งอำนวย ความสะดวกที่พร้อมในทุกด้าน ทั้ งทะเล ชายหาด และสภาพแวดล้อมที่สวยงาม ความเป็นมิตรของผู้คน โรงแรม ระดับ 5 ดาว สนามบินนานาชาติ ร้านอาหารต่าง ๆ เป็นต้น และเป็นที่น่ายินดีที่เกาะลันตาได้มีโอกาสต้อนรับบุคคล ที่มีชื่อเสียงจากทั่วโลก ที่เดินทางมาท่องเที่ยวและพักผ่อนยังเกาะลันตา เช่น แองเจลินา โจ ลี และแบรด พิตต์ ดาราฮอลลีวูดระดับโลกที่เคยมาท่องเที่ยวพักผ่อน ในปี พ.ศ. 2555 นิตยสารฟอบส์ได้จัดอันดับเกาะลันตาใหญ่ ให้เป็น 1 ใน 6 เกาะที่น่าเดินทางมาพักผ่อนและท่องเที่ยวที่สุดในโลก (เกาะลันตา.วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี) กรมทางหลวงชนบท 3-573 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน จ) วิถีชีวิตผู้คนเกาะลันตา เกาะลันตา มีกาผสมผสานกันหลายเชื้อชาติ โดยมี ชาวเล หรือ ชาวไทยใหม่ กลุ่มชาติแรก ที่เข้ามาอาศัยในเกาะลันตา, กลุ่มชาวไทยมุสลิม, และกลุ่มชาวไทย-จีน การอาศัยอยู่ร่วมกันในลักษณะนี้ มีความ เป็นมานับร้อยปีแล้ว โดยที่ยังคงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และสามัคคีกัน นับเป็นเสน่ ห์อย่างหนึ่งที่นักท่องเที่ยวให้ ความสนใจ กลุ่มชาวเล หรือชาวไทยใหม่ เป็นกลุ่ มคนชาติแรกที่มาอาศัยในเกาะลันตา เป็นกลุ่มที่นับ ถือและเชื่อในภูติผีปิศาจ และผีบรรพบุรุษ มีเอกลั กษณ์ที่โดดเด่น ในเรื่องการดำเนินชีวิต และวิถีชีวิตที่เรียบง่าย และพึ่งพากับธรรมชาติ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำการประมง ร่องรอยหลักฐานที่บ่งบอกว่า ชาวเลกลุ่มที่เรียกตัวเองว่า “อูรักลาโว้ย” อพยพเข้ามาอาศัยตาม หมู่เกาะต่าง ๆ ในแถบทะเลอันดามัน และเข้ามาผสมกับชาวเลกลุ่มดั้งเดิมบริเวณหมู่เกาะลันตา หรือ“ปูเลาลอนตา” ตลอดจนคำบอกเล่าของผู้ อาวุโสในชุ มชน การคำนวณอายุของบรรพบุ รุษที่ เข้ามาพักพิง ตำนานความเชื่ อเกี่ยวกับ สถานที่ และชื่อสถานที่ต่าง ๆ บริเวณหมู่เกาะลันตาที่เป็นภาษาอูรักลาโว้ย ก็บ่งบอกว่าชาวเลเป็นกลุ่มชาติพันธุ์แรก ๆ ที่เข้ามาตั้ งถิ่นฐานบริเวณหมู่ เกาะลันตา แต่ ด้วยวัฒนธรรมเร่ร่อนหากินทางทะเลที่ สืบทอดมาจากบรรพบุ รุษ ไม่มี วัฒนธรรมในการจับจองพื้นที่เพื่อตั้งถิ่นฐานถาวรในระยะหลังเมื่อหวนกลับมายังแหล่งเดิม มักจะพบว่าชนกลุ่มอื่นเข้า มายึดครองแล้วจึงต้องหาแหล่งพักพิงใหม่ (ผศ.อาภรณ์ อุกฤษณ์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่ อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ศูนย์มานุ ษยวิ ทยาสิ รินธร องค์กรมหาชน.กลุ่มชาติพั นธุ์ในประเทศไทย Ethnic Groups in Thailand. https://www.sac.or.th/databases/ethnic-groups/ethnicGroups/37?Populations_sort=lat) ชาวไทยจีนและไทยมุสลิม มีการเข้ามาอาศัยในช่วงที่เกาะลันตาเป็นสถานที่พักหลบลม มรสุม ในยุคการค้าสำเภา หลังจากนั้น จึงมีการเข้ามาตั้งหลักแหล่งค้าขายและทำมาหากินจวบปัจจุบัน การอาศัย อยู่ร่วมกันของกลุ่มคน 3 กลุ่ม ตั้งแต่อดีตกาล ได้ก่อให้เกิดความกลมกลืนและความรักใคร่ พึ่งพาซึ่งกันและกัน ถึงแม้ว่าในขณะนี้เกาะลันตาได้แปรเปลี่ยนเป็นเกาะแห่งการท่องเที่ยวไปแล้ วก็ตาม แต่ภาพของความร่วมมือร่วม ใจ และความสามั คคีกัน ยั งเป็ น ภาพที่ เรายังได้ พ บเจออยู่ส ม่ำเสมอจาการจั บ มือร่วมงานจากผู้น ำชุ ม ชนจาก หน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง 3 กลุ่มชุมชนเพื่อการทำให้เกาะลันตาเป็นเกาะที่สงบ น่าอยู่ตลอดไป ฉ) เกาะลันตา โลกของชาวเล ชนเผ่าเร่ร่อน หรือ ชาวไทยใหม่ หรือ ชาวเล เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเกาะลันตามายาวนานกว่า 500 ปีมาแล้ว โดยมีภาษาพูดเป็นของตัวเอง เคารพและนับถือในผี บรรพบุรุษ และนับถือในความศักดิ์สิทธิ์ของ ธรรมชาติ ทั้งป่าเขา ทะเล และสัตว์บางชนิด โดยปกติ ชาวเล จะมาจาก คาบสมุทรอินโดจีน และล่องอาศั ยอยู่บน เรือ หาปลาและสัตว์ทะเลยังชีพ ในปัจจุบันนี้ชาวเลนิยมเข้ามาตั้งหลักแหล่งในเกาะต่าง ๆ ของประเทศไทย แต่ยังคงยึด อาชีพทำการประมงอย่างเช่นอดีต ชาวเลที่อาศัยอยู่ในเกาะลันตา เราเรียกกลุ่มนี้ว่า “อูรัก ลาโว้ย” เช่นเดียวกับที่ หลาย ๆ คนเคยได้ยินชาวเล กลุ่มมอร์แกน ซึ่งอาศัยอยู่ในหมู่เกาะสุรินทร์ และหมูเกาะพังงา เป็นต้น ปัจจุบันชาวเล อาศัยอยู่ในเกาะลันตาในพื้นที่บ้านสังกาอู้ หรื อที่รู้จักกันว่า Sea Gypsy House โดยยังคงธรรมเนียมและวัฒนธรรมดั้งเดิมของชนเผ่าเอาไว้ อาทิ บทเพลงร็องแง็ง และพิธีลอยเล เขเรือ เป็นต้น (https://www.lantainfo.com/th_about_ko_lanta_history.htm) ช) เทศกาลท่องเที่ยวในเกาะลันตา – เทศกาล ลานตา ลันตา ประเพณี และวัฒนธรรมของมนุษยชาติที่แตกต่างกัน ได้รวมความเป็นหนึ่งเดียวใจเดียว ปลูกสร้างความรู้รักสามัคคี ให้ผู้คนแม้จะต่างเชื้อชาติ ศาสนา และความเชื่อ ได้สะท้อนให้เราได้เห็นอย่างชัดเจน ในงานเทศกาลประจำปีเกาะลันตา “เทศกาลลานตา ลันตา” กรมทางหลวงชนบท 3-574 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน แม้จะมาจากต่างถิ่น กำเนิดมาจากต่างแดน นับถือและเคารพในสิ่งที่แตกต่าง แต่ในงาน ลานตา ลันตา เราจะได้พบแต่ความรื่นเริง รอยยิ้ม และความสนุกสนานของนักท่องเที่ยวและชาวบ้านในเกาะลันตา ด้วยเพราะงานนี้เป็นการร่วมแรงร่วมใจของชาวบ้านและผู้ประกอบการในเกาะลันตา ที่ต้ องการให้มีงานเทศกาล ที่สื่อถึงความเป็นหนึ่งเดียวของวัฒนธรรมในท้องถิ่นต่าง ๆ ทั้งในภาคใต้และภูมิภาคอื่นๆ งานเทศกาลลานตา ลันตา จะจัดขึ้นทุกปีในช่วงเดือนมีนาคม สถานที่จัดจะอยู่ที่ชุมชนเก่า เกาะลั น ตา บ้ านสั งกาอู้ เพราะที่ ต รงนี้ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์อั น ยาวนานมากว่ า 100 ปี สถานที่ บ้ า นเรือนยั ง คง สถาปัตยกรรมแบบบ้านจีนโบราณ และใกล้กันนั้นจะเป็นชุมชนของชาวเล หรื อ ชาวไทยใหม่ ซึ่งถือเป็นชุมชนแรก ที่เข้ามาอาศัยในเกาะลันตา ในงานจะมีการรำร็องเง็งของกลุ่มชาวเลหรือชาวไทยใหม่ ซึ่งเป็นการรำที่ผสมผสาน เข้าด้วยกันกับวัฒนธรรมยุโรปและเอเชีย โดยใช้ภาษามลายู เป็นภาษาร้อง เมื่อเกาะลันตาได้พัฒนาขึ้นเพื่อรับการท่องเที่ยวในงานลานตา ลันตา นอกจากการแสดง พื้นบ้านทางภาคใต้แล้ว ยังมีการแสดงบนเวทีซึ่งจะเป็ นการแสดงของวงดนตรีสากล การเริงระบำแบบภาคกลาง และการดนตรีเร็กเก้จากศิลปินคุณภาพ นอกจากนี้ นักท่องเที่ยวจะได้ฟังแนวดนตรีผสานจากเครื่องดนตรีตะวันตก และเครื่องดนตรีตะวันออกจากวงอัสลี มาลา ในส่วนอาหารและเครื่องดื่มสำหรับคนที่เข้ามาเที่ยวในงาน จะมีการ ออกร้านจากร้านค้า บาร์ และโรมแรมชื่อดังในเกาะ ในราคาถูก ซึ่งจะมีการจัดร้านให้สอดคล้องกับแนวคิดของงาน คือ เป็ นงานเพื่อสื่อถึงวัฒ นธรรมและประเพณี ของคนเกาะลันตา และที่ขาดไม่ได้และเป็นที่ชื่นชอบของเด็กๆ เป็นอย่างมากคือ การแสดงละครใบ้ ละคนหุ่น สอนวิชาวาดเขียน ให้เด็กๆ ในงานได้ชม ตลอดตามถนนทางเดิน อันได้ประดับประดาไปด้วยโคมไฟจีนหลากสีตามแนวถนนสายนี้ ซ) ร็องเง็ง บทเพลงผสานจากท้องทะเล ร็องเง็ง เป็นการรำที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมยุโรปและเอเชียเข้าด้วยกัน ประกอบด้วย เครื่องดนตรีไวโอลิน (ซอ) ของฝรั่ง รำมะนาของอาหรับ ฆ้องของจีน รวมกันในบทเพลงปันตุนในภาษามลายู ร็องเง็ง เข้าสู่เกาะลันตาเป็นแห่งแรกในฝั่งทะเลตะวันตก โดยผ่านคนเดินทางชาวมลายู ชื่อ “โต๊ะบูกาเส็ม” ซึ่งเป็นนักดนตรีสีซอมาจากเมืองเกาะ (ปีนัง) และได้เผยแพร่ให้คนเกาะลันตาที่สนใจ จากนั้นมีการ ไปฝึกท่ารำมาจากเมืองเกาะ และได้ถ่ายทอดให้ผู้สนใจได้ฝึกต่อ ระยะแรกยังคงใช้เพลงแบบเดิม คือ “ขับแขก” ต่ อ มาได้ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นใหม่ เป็ น “ร็ อ งเง็ ง ตั น หยง” ซึ่ ง ใช้ เนื้ อ ร้อ งเป็ น ภาษาไทย แต่ จั ง หวะและทำนอง ยังเหมือนเดิม ต่อมามีการคิดประดิษฐ์ท่ารำใหม่ๆ เช่น ปารีหาดยาว ยาโงง ซินาโดง สร้อยระกำ เป็นต้น ปัจจุบันร็องเง็งเกาะลันตา ยังมีในกลุ่มบ้านสังกาอู้และบ้านคลองดาว ตำบลหลังสอด ยังคง สืบทอดบทเพลงแห่งวัฒนธรรมนี้อยู่ และจากวันเวลาที่ร็องเง็งเข้าสู่เกาะลันตาจนถึงบัดนี้ก็นับไม่ น้อยกว่าร้อยปี (https://www.lantainfo.com/th_about_ko_lanta_history.htm) ฌ) พิธีลอยเล เขเรือ หรือ พิธีลอยเรือ ประเพณีลอยเล เขเรือ หรือพิธีลอยเรือของชาวเลซึ่งเป็นชนเผ่าดั้งเดิม ของทางภาคใต้ใช้ ชีวิตเร่ร่อน อยู่ตามเกาะแก่งและชายทะเล การแห่เรือของชาวเลเรียกรวม ๆ ว่า “ โอลังลาอุต” ซึ่งแปลว่า คนทะเล หรือบางคนเรียกว่า ยิปซีทะเล (Sea Gypsy) หรือชาวไทยใหม่ แต่กลุ่มชาวเลที่อาศัยในเกาะลันตานั้น เราเรียก กลุ่มนี้ว่า “อูรักลาโว้ย” ชาวเล ไม่นับถือศาสนา แต่นับถือผีบรรพบุรุษแลผีที่สถิตตามต้นไม้ป่าเขาและท้องทะเล ไม่ส ามารถบอกได้ แน่ ชั ดว่า ชาวเลอาศัย อยู่ บ นเกาะลัน ตามาตั้ งแต่ เมื่อไหร่ เพราะเป็ น ชนเผ่ าเร่ร่อน เมื่ อครั้ง คริสต์ศ ตวรรษที่ 15 ได้มี พ่ อค้าอาหรับและมลายูมาค้าขายทางทะเลก็เจอกับ ชนเผ่ าชาวเลอาศั ยอยู่ ก่อนแล้ ว ปัจจุบันชาวเลหรือชาวไทยใหม่ได้ได้ขึ้นอาศัยอยู่บนบก ในเกาะลันตามีกลุ่มชาวเลอาศัยออยู่ที่หมู่บ้านสังกาอู้ บ้านแหลมคอกวาง และบ้านศาลาด่าน กรมทางหลวงชนบท 3-575 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน วิถีของชาวเลเป็ นชนเผ่าที่รักสงบ และยังคงทำอาชีพ อยู่เช่น ดังอดีต พิ ธีลอยเรือจึงเป็ น พิธีกรรมที่สำคัญยิ่งของชาวเลและคนเกาะลันตา การอาศัยโดยพึ่งพิงธรรมชาติและให้ความเชื่อเคารพไม่ดูหมิ่ น และทำลายธรรมชาติ เป็น วิถีที่ชาวเลยึดมั่น และปฏิบัติสืบมาจนถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน พิธีลอยเล เขเรือ หรือ พิธีลอยเรือ จะมีขึ้นในเดือน 6 และเดือน 11 ของทุกปีเพื่อเป็นการ สะเดาะเคราะห์ ขอความสงบสุขมาสู่หมู่บ้าน และส่งวิญญาณบรรพบุรุษไปสู่ที่สิงสถิตอันไกลโพ้น ซึ่งชาวเลเรียก กันว่า “ฆูหนิงฌึไร” ในคืนวันงานจะมีการเล่นดนตรีพื้นบ้านเสี ยงกลองก้องหาดด้วยฝีมือโต๊ะหมอ แห่งหมู่บ้าน ชาวเลในเกาะลันตา ทำให้เราได้รู้ถึงพิธีการอันสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งของชาวเลว่าได้มาถึงแล้ว ญ) การตรวจสอบข้อมูลโบราณสถานและโบราณคดี การตรวจสอบข้อมูลแหล่งโบราณสถาน และโบราณคดีจากฐานข้อมูลภูมิศาสตร์ของกรมศิลปากร เรื่องรายชื่อโบราณสถานในเขตจังหวัดกระบี่ มีจำนวน ทั้งสิ้น 72 แห่ง แสดงดังตารางที่ 3.5.7-1 (อ้างอิงตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนพิเศษ 165 ง ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2561) ฎ) การจัดส่งหนังสือขอตรวจสอบแหล่งโบราณสถานและโบราณคดี การตรวจสอบแหล่ง โบราณสถานและโบราณคดี ในพื้นที่ศึกษาโครงการในระยะ 1 กิโลเมตร กับสำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช (อ้างอิงตามหนังสือเลขที่ วธ 0422/14 ลงวันที่ 5 มกราคม 2564) แสดงดัง รูปที่ 3.5.7-1 พบว่า ในพื้นที่ศึกษา โครงการอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ไม่มีแหล่งโบราณสถานและโบราณคดีแต่อย่างใด ตารางที่ 3.5.7-1 แหล่งโบราณสถานและโบราณคดีในเขตจังหวัดกระบี่ รวม 72 แห่ง สถานที่ตั้ง ลำดับ ชื่อโบราณสถาน ที่อยู่ ตำบล อำเภอเมืองกระบี่ 1 แหล่งโบราณคดีหุบเขาขวาก-วัดถ้ำเสือวิปัสสนา กระบี่น้อย 2 แหล่งโบราณคดีถ้ำเสือวิปัสสนา หมู่ที่ 1 บ้านหน้าชิง กระบี่น้อย 3 แหล่งโบราณคดีถ้ำหมื่นจันทร์ (หน้าหม้อ) กระบี่น้อย 4 แหล่งโบราณคดีเพิงหินอ่าวลูกธนู (อ่างกูบหรือหน้าชิง) หมู่ที่ 1 บ้านหน้าชิง กระบี่น้อย 5 แหล่งโบราณคดีถ้ำหม้อเขียว หมู่ที่ 1 บ้านหน้าชิง กระบี่น้อย 6 แหล่งโบราณคดีถ้ำเสือ หมู่ที่ 1 บ้านหน้าชิง กระบี่น้อย 7 แหล่งโบราณคดีเขาหน้าวังหมี หมู่ที่ 2 บ้านหนองขอน ทับปริก 8 แหล่งโบราณคดีเขานาไฟไหม้ (เขาหน้าวัว) หมู่ที่ 2 บ้านหนองขอน ทับปริก 9 แหล่งโบราณคดีเพิงผาโต๊ะช่อง-เขาหน้าวังหมี หมู่ที่ 3 บ้านหนองพูด ทับปริก 10 แหล่งโบราณคดีถ้ำหน้าสังเมียน หมู่ที่ 3 บ้านหนองพูด ทับปริก 11 แหล่งโบราณคดีถ้ำหลังโรงเรียนบ้านทับปริก หมู่ที่ 5 บ้านทับปริก ทับปริก 12 แหล่งโบราณคดีถ้ำเกาะต้อ หมู่ที่ 2 บ้านอ่าวนาง อ่าวนาง 13 แหล่งโบราณคดีถ้ำเกาะเขาสามหน่วย หมู่ที่ 2 บ้านอ่าวนาง อ่าวนาง 14 ถ้ำไวกิ้ง (ถ้ำพญานาค) หมู่ที่ 7 บ้านเกาะพีพี อ่าวนาง 15 แหล่งโบราณคดีวัดไสไทย (ช้างสี) หมู่ที่ 4 บ้านไสไทย ไสไทย 16 แหล่งโบราณคดีเขาเขียน หมู่ที่ 1 บ้านในสระ เขาทอง 17 วัดแก้วโกรวาราม (อุโบสถหลังเก่า) เลขที่ 82 ถ.อิศรา เขตเทศบาล ปากน้ำ 18 แหล่งโบราณคดีถ้ำเขาพระ เขตเทศบาล ปากน้ำ 19 แหล่งโบราณคดีเพิงผาเขาขนาบน้ำ เขตเทศบาล ปากน้ำ กรมทางหลวงชนบท 3-576 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.7-1 แหล่งโบราณสถานและโบราณคดีในเขตจังหวัดกระบี่ รวม 72 แห่ง (ต่อ) สถานที่ตั้ง ลำดับ ชื่อโบราณสถาน ที่อยู่ ตำบล อำเภอเขาพนม 1 แหล่งโบราณคดีเขาโปง 1 (ถ้ำโปง 1) หมู่ที่ 4 บ้านเขาดิน หน้าเขา 2 แหล่งโบราณคดีเขาโปง 2 (ถ้ำโปง 2) หมู่ที่ 4 บ้านเขาดิน หน้าเขา 3 แหล่งโบราณคดีเขาโปง 3 (ถ้ำโปง 3) หมู่ที่ 4 บ้านเขาดิน หน้าเขา 4 แหล่งโบราณคดีถ้ำช้างสี หมู่ที่ 6 บ้านห้วยน้ำแก้ว หน้าเขา อำเภอคลองท่อม 1 แหล่งโบราณคดีเขาช่องลูกหมี หมู่ที่ 1 บ้านบางบอนเหนือ พรุดินนา 2 แหล่งโบราณคดีเขาสามหน่วย หมู่ที่ 3 บ้านเขาสามหน่วย พรุดินนา 3 แหล่งโบราณคดีควนหวายแดง หมู่ที่ 9 บ้านควนหวายแดง พรุดินนา 4 แหล่งโบราณคดีถ้ำปู่นาคราช (ในเทือกเขาชวาปราบ) หมูที่ 1 บ้านบางครามเหนือ คลองท่อมเหนือ 5 แหล่งโบราณคดีควนลูกปัด หมู่ที่ 2 บ้านคลองท่อมใต้ คลองท่อมใต้ อำเภออ่าวลึก 1 แหล่งโบราณคดีถ้ำเขาลังตัง หมู่ที่ 1 บ้านลาว นาเหนือ 2 แหล่งโบราณคดีปาก (คลอง) ลาว หมู่ที่ 1 บ้านลาว นาเหนือ 3 แหล่งโบราณคดีห้วยปลายบางมัด หมู่ที่ 4 บ้านบางไทร นาเหนือ 4 แหล่งโบราณคดีเขาตีบนุ้ย หมู่ที่ 1 บ้านหินขาว แหลมสัก 5 แหล่งภาพเขียนสีเพิงผาถ้ำแหลมยอ หมู่ที่ 2 บ้านอ่าวน้ำ แหลมสัก 6 แหล่งภาพเขียนสีเขาเกาะยอ 1 (เขาเตียบ 1) หมู่ที่ 2 บ้านอ่าวน้ำ แหลมสัก 7 แหล่งภาพเขียนสีเขาเกาะยอ 2 (เขาเตียบ 2) หมู่ที่ 2 บ้านอ่าวน้ำ แหลมสัก 8 แหล่งภาพเขียนสีเขาเกาะยอ 3 (เขาเตียบ 3) หมู่ที่ 2 บ้านอ่าวน้ำ แหลมสัก 9 แหล่งโบราณคดีแหลมชาวเล หมู่ที่ 3 บ้านแหลมสัก แหลมสัก 10 แหล่งโบราณคดีถ้ำชาวเล หมู่ที่ 3 บ้านแหลมสัก แหลมสัก 11 แหล่งโบราณคดีแหลมไฟไหม้ หมู่ที่ 6 บ้านในใส แหลมสัก 12 แหล่งภาพเขียนสีเขาช่องลม 1 (ถ้ำสีปูเต๊ะ 1) หมู่ที่ 2 บ้านบากัน อ่าวลึกน้อย 13 แหล่งภาพเขียนสีเขาช่องลม 2 (ถ้ำสีปูเต๊ะ 2) หมู่ที่ 2 บ้านบากัน อ่าวลึกน้อย 14 แหล่งโบราณคดีแหลมท้ายแรด (กาโรส) หมู่ที่ 5 บ้านควนโอ อ่าวลึกน้อย 15 แหล่งโบราณคดีเขางาม 1 หมู่ที่ 1 บ้านเขางาม บ้านกลาง 16 แหล่งโบราณคดีเขางาม 2 หมู่ที่ 1 บ้านเขางาม บ้านกลาง 17 แหล่งโบราณคดีเขาหัวกระทิง หมู่ที่ 1 บ้านเขางาม บ้านกลาง 18 แหล่งโบราณคดีเขาหนองตะเคียน หมู่ที่ 1 บ้านเขางาม บ้านกลาง 19 แหล่งโบราณคดีถ้ำขนมโค หมู่ที่ 1 บ้านเขางาม บ้านกลาง 20 แหล่งโบราณคดีเขากลม หมู่ที่ 2 บ้านเหนือคลอง บ้านกลาง 21 แหล่งภาพเขียนสีเขาขาว 1 (ถ้ำโนราห์) - เขาขาว หมู่ที่ 2 บ้านเหนือคลอง บ้านกลาง 22 แหล่งภาพเขียนสีเขาขาว 2 (เพิงผาช้างนอก) - เขาขาว หมู่ที่ 2 บ้านเหนือคลอง บ้านกลาง 23 แหล่งภาพเขียนสีเขาขาว 3 (ถ้ำช้างนอก) - เขาขาว หมู่ที่ 2 บ้านเหนือคลอง บ้านกลาง 24 แหล่งโบราณคดีเขาป่าปก 1 หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งต้นไพ บ้านกลาง 25 แหล่งโบราณคดีเขาป่าปก 2 หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งต้นไพ บ้านกลาง กรมทางหลวงชนบท 3-577 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ตารางที่ 3.5.7-1 แหล่งโบราณสถานและโบราณคดีในเขตจังหวัดกระบี่ รวม 72 แห่ง (ต่อ) สถานที่ตั้ง ลำดับ ชื่อโบราณสถาน ่ ยู่ ทีอ ตำบล 26 แหล่งโบราณคดีเขาธงลูกลม 1 หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งต้นไพ บ้านกลาง 27 แหล่งโบราณคดีเขาธงลูกลม 2 หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งต้นไพ บ้านกลาง 28 แหล่งโบราณคดีเขาธงลูกลม 3 หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งต้นไพ บ้านกลาง 29 แหล่งโบราณคดีเขาธงลูกลม 4 หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งต้นไพ บ้านกลาง 30 แหล่งโบราณคดีวัดถ้ำเสือน้อย (วัดถ้ำทิพย์ปรีดาราม) หมู่ที่ 5 บ้านถ้ำเสือ อ่าวลึกใต้ 31 แหล่งโบราณคดีถ้ำเสือนอก (ถ้ำเทพนิมิต) หมู่ที่ 5 บ้านถ้ำเสือ อ่าวลึกใต้ 32 แหล่งโบราณคดีเขาหน้ามันแดง 1 หมู่ที่ 6 บ้านถ้ำเพชร อ่าวลึกเหนือ 33 แหล่งโบราณคดีเขาหน้ามันแดง 2 หมู่ที่ 6 บ้านถ้ำเพชร อ่าวลึกเหนือ 34 แหล่งโบราณคดีเขานุ้ย หมู่ที่ 2 บ้านนบ คลองหิน 35 แหล่งภาพเขียนสีถ้ำโต๊ะหลวง (เขาป่าหมาก) หมู่ที่ 2 บ้านนบ คลองหิน อำเภอปลายพระยา 1 แหล่งโบราณคดีถ้ำเขาเขน หมู่ที่ 2 บ้านเขาเขนใน ปลายพระยา 2 แหล่งโบราณคดีถ้ำต้นเหรียงเขายิงหมี (ถ้ำเขานุ้ย) หมู่ที่ 4 บ้านคลองพระยา ปลายพระยา 3 แหล่งโบราณคดีถ้ำแห้งบางเหียน หมู่ที่ 6 บ้านบางเหียน ปลายพระยา 4 แหล่งโบราณคดีถ้ำเขาน้ำซ่ำ (ถ้ำปราสาทนาฬาคีริง) หมู่ที่ 6 บ้านบางเหียน ปลายพระยา 5 แหล่งโบราณคดีบ้านคลองลาวเขาต่อ หมูท่ ี่ 4 บ้านเขาต่อ เขาต่อ 6 แหล่งโบราณคดีควนหินเหล็กไฟบางโสก กม.39/7 หมู่ที่ 5 บ้านบางโสก เขาต่อ 7 แหล่งโบราณคดีถ้ำสระ หมู่ที่ 3 บ้านตัวอย่าง เขาเขน 8 แหล่งโบราณคดีถ้ำวิมาน หมู่ที่ 2 บ้านบางเหลียว คีรีวงศ์ อำเภอเหนือคลอง 1 แหล่งโบราณคดีถ้ำเขาหลัก (เกาะหลัก) เกาะศรีบอยา ที่มา : กรมศิลปากร กรมทางหลวงชนบท 3-578 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.7-1 หนังสือขอตรวจสอบแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-579 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน (2) สถานที่สำคัญทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมในอำเภอเกาะลันตา ก) บ้านตึกโบราณ แต้เหล็ง ตั้งอยู่ที่ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประวัติความเป็นมาและความสำคัญ เจ้าของที่ดั้งเดิมเป็นชาวจีนชื่อ มาจากสลังงอ ประเทศมาเลเซีย มีลูกสาว ชื่อ นายอันกลับเมืองจีน ก่อนไปพาลูกสาวไปฝากไว้กับญาติที่สตูล หลังจากนั้น นายอันฝากญาติ มารับกลับเมืองจีน แต่นางกิมจูไม่ไป ต่อมานางกิมจูได้แต่งงานกับนายโบยง (ฮ่อย่อง) ทุ่งใหญ่ ไปอยู่ที่ลันตาน้อย (แต้เหล็ง) มีญาติพี่น้องชาวจีนตามไปอยู่ด้วย นางกิมจูมีลูกสาวสามคน มีลูกชายคนเดียว เมื่อนายโบยองเสียชี วิต ขณะนั้นโจรผู้ร้ายมาก นางกิมจูส่งลูกสาวคนหนึ่งไปอยู่ปีนัง ญาติพี่น้องแยกย้ายไปอยู่ที่อื่น ส่วนลูกที่เหลือพามาอยู่ เกาะลันตาใหญ่ นางกิมจูแต่งงานกับสามีคนที่สองซื่อต้าว มีลูกสาวคนหนึ่งต่อมาแต่งงานกับชาวจีนซึ่งมาค้าขายที่ เกาะลันตา ต้นตระกูลโกวิทวัฒนา บ้านหลังนี้เป็นบ้านหลังที่สอง สร้างขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2496 ลักษณะเป็นบ้านตึก 3 ชั้น เป็น สถาปัตยกรรมแบบผสมระหว่างศิลปะตะวันตกและตะวันออก ใช้เทคนิคการสร้างแบบดั้งเดิมเช่นเดียวกับบ้านตึก ในยุคนั้น คือไม่ได้ก่ออิฐฉาบปูน แต่จะทำเบ้าไม้ประกบกันเว้นช่องว่างสำหรับเทปูนที่ผสมทรายและน้ำลงไป แล้ว รอให้ปูนแห้งจึงถอดไม้ออก เพดานและฝาบ้านจึงมีร่องรอยแผ่นไม้กระดานที่ใช้เป็นพิมพ์สำหรับหล่อปูนทั้งหลัง ภายในบ้านชั้นล่างแบ่งพื้นที่เป็น 3 ส่วนหน้าบ้านด้านหน้าซ้ายและขวากั้นเป็นห้องนอน ตรงกลางสำหรับเป็น ห้องนั่งเล่นและห้องรับแขก ผนังด้านนอกติดกับห้องนอนซ้ายขวา วางโต๊ะฝังเปลือกมุก ทั้ง 2 ฝั่ง ส่วนผนังกั้นห้อง ด้านหน้าติดกับประตูทางเข้าไปส่วนกลางของบ้าน ซึ่งเป็นที่ตั้งบันไดทางขึ้นชั้น 2 และ 3 เป็นโต๊ ะบูชาและภาพ เทพเจ้าของชาวจีน ถัดจากห้องกลางติดกับ บันไดขึ้นชั้นสอง เป็นประตูทางเข้าห้องครัว และห้องน้ำ ด้านบนชั้น 2 ซ้ายขวาเป็นห้องของลูกสาว ส่วนชั้น 3 เป็นห้องของลูกชาย มีระเบียงรอบห้องนอน ด้านหลังเป็นที่แท้งค์น้ำหล่อ ด้วยปูนสำหรับเก็บน้ำที่สบ ู ขึ้นไปจากบ่อน้ำข้างบ้านเพื่อต่อท่อลงมาใช้ภายในบ้าน นับเป็นบ้านตึกเก่าที่มีอายุ 68 ปี ซึ่งยังคงอยู่ในสภาพที่ค่อนข้างสมบูรณ์ที่สุดในจังหวัดกระบี่ และยังคงใช้เป็นที่อยู่อาศัยจนถึงปัจจุบัน (สำนักงาน นโยบายและแผนทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิ ลปกรรม.แหล่ง ศิลปกรรมอันควรอนุรักษ์.บ้านตึกโบราณ แต้เหล็ง.http://culturalenvi.onep.go.th/site/detail/5183) ข) ชุมชนเมืองเก่า ตลาดศรีรายา เกาะลันตา ตั้งอยู่ที่ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประวัติความเป็นมาและความสำคัญ ชุมชนเมืองเก่าศรีรายาตั้งอยู่บนเกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่ มีอดีตความเป็นมายาวนาน ประมาณ ไม่ ต่ ำ กว่ า 200 -500 ปี เป็ น แหล่ ง พั กพิ งของกลุ่ ม ชนที่ อพยพมาจากแดนไกลถึง 4 กลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ กลุ่มชาวเลอูรักลาโว้ยอพยพเข้ามาประมาณ 500 ปี ก่อน ต่อมาชาวมุสลิม ชาวจีน ประมาณ 200 ปีที่ผ่านมา ส่วนชาวไทยซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้ าราชการ เข้ามาตั้งถิ่นฐานประมาณ 100 ปีเศษ เมื่อชาวมุสลิมเข้ามาตั้งถิ่นฐาน บริเวณชุมชนศรีรายา ชาวเลจะขยับออกไปพักอาศัยตามชายฝั่งทะเลถัดไปแต่ไม่ได้ตั้งถิ่นฐานถาวร ต่อมากลุ่ม ชาวจีนเข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณชุมชนศรี รายา ชาวมุสลิมก็ขยับ ออกไปบริเวณชายฝั่งถัดไปอีก ชาวเลก็หาทำเล ที่สงบสำหรับพักพิงชั่วคราว บ้านของชาวจีนดั้งเดิมใช้วัสดุง่าย ๆ ตามแบบท้องถิ่น คือ บ้านฝาสานหลังคามุงจาก ต่อมา เกิดเพลิงไหม้ใหญ่ถึง 2 ครั้ง ครั้งแรก ปี พ.ศ. 2472 ชาวเกาะลันตาทุกกลุ่มที่ประสบเหตุการณ์ช่วยกันดับไฟ และ สร้างบ้านขึ้นใหม่ จนกระทั้งไหม้ครั้งที่ 2 ปี พ.ศ. 2496 จึงได้ปรับเปลี่ยนมาสร้างอาคารห้องแถวไม้ที่ถาวรขึ้น โดย วางกฎเกณฑ์ว่าเมื่อสร้างบ้านใหม่ให้สร้างเป็นห้องแถวชุดละ 5 หลัง แล้วเว้นที่ว่างไว้ 1 ห้อง เป็นแนวป้องกันไฟ เพื่อให้รถดับเพลิงเข้าไปสูบน้ำและเรือเข้ าไปฉีดน้ำดับไฟได้ด้วย อีกทั้ งหลังคาบ้านให้มุงสังกะสีหรือมุงกระเบื้อ ง กรมทางหลวงชนบท 3-580 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน เท่ านั้น ห้ ามมุงจากแต่ ฝาบ้ านเป็น ไม้ ไผ่ขัด แตะได้ ชาวจีน จึงได้น ำรูป แบบบ้านหลายชนิ ดมาประสมประสาน กับ ลักษณะท้องถิ่น เป็น บ้านริมน้ ำรูปแบบหนึ่งที่ ในอดีตพบเห็ นทั่วไปในชุมชนชาวจีน เช่น แถบอำเภอกัน ตั ง จังหวัดตรัง ริมแม่น้ำในเมืองกระบี่ และริมฝั่งทะเลตำบลแหลมสัก จั งหวัดกระบี่ ฯลฯ แต่ส่วนใหญ่ก็ถูกรื้อถอน เปลี่ยนแปลงไปหมดแล้ว มีที่เหลือเป็นชุมชนเด่นชัดและดำรงเอกลักษณ์ของท้องถิ่น อีกทั้งยังประสานกลมกลืนกับ สภาพแวดล้อมดั้งเดิมมากที่สุด เพียงแห่งเดียวในจังหวัดกระบี่ ลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นห้องแถวไม้ 2 แถวหันหน้าเข้าหากัน มีถนนคั่นกลาง ซีกหนึ่ง ของห้องแถวหันหน้าออกทะเล สร้างติดกับพื้นดิน ส่วนซีกตรงกันข้ามเป็นห้องแถวไม้ที่หันหลังให้ทะเล ตัวอาคาร หลังบ้านยื่นยาวออกไปในทะเล มีเสาไม้สำหรับค้ ำยันบ้านขนาดสูงกว่าระดับน้ำทะเลชายฝั่ง ปักลงไปในดินโคลน ลักษณะ บ้านเช่นนี้เรียกว่า บ้านยาวแห่งเกาะลันตา อันมีรากฐานที่มาใกล้เคียงกับ บ้านยาวแห่งมะละกา ลักษณะ โครงสร้าง ใช้ระบบเสา–คาน วัสดุที่ใช้บนอาคารส่วนใหญ่ใช้ไม้ บางส่วนมีการผสมวัสดุสังเคราะห์ เช่น ใช้คอนกรีต ในการทำตอม่อ และเสาอาคาร ผนังส่วนใหญ่ เป็นฝาไม้กระดานและก่ออิฐในบางส่วน พื้ นชั้นล่างเป็นไม้ และ คอนกรีตพื้นชั้นบนเป็นไม้ หลังคามุงสังกะสีและกระเบื้องใยหิน ความยาวแต่ละหลังไม่ เท่ากัน ด้านริมทะเลจะยาว ประมาณ 40 เมตร ถึง 80 เมตร ขึ้นอยู่กับจำนวนสมาชิกในครอบครัว ประโยชน์ใช้สอย และฐานะทางเศรษฐกิจ ส่วนห้องแถวด้านตรงข้ามจะสั้นกว่าเพราะมีข้อจำกัดด้านที่ดิน ตัวบ้านช่วงหน้าเป็นสองชั้น ช่วงกลางอาจเป็นสอง ชั้นหรือชั้นเดียว ช่วงหลังสุดเป็นชั้นเดียว จากรูปแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่นอันเป็นเอกลักษณ์ที่น่าสนใจของอาคาร บ้านเรือนชุมชนเมืองเก่าศรีรายา เราจะพบคุณค่าและประโยชน์ใช้ สอยที่มีต่อวิถีชีวิตของผู้คนและสิ่งแวดล้ อม ชุมชน ดังเช่น (ก) ซุ้มทางเดินหน้าบ้าน จุดประสงค์ดั้งเดิม คือทางเท้าเชื่อมโยง และกันแดดกันฝนในตัว เป็นการใช้ประโยชน์ร่วมกันของชุมชนและเจ้าของบ้าน (ข) จิ่มแจ๊ หรือบ่อสวรรค์ เป็นลานกลางบ้าน ไม่มีหลังคาคลุมมักจะลดระดับพื้นต่ำลงกว่า ระดับพื้นบ้านเล็กน้อยหรือมีขอบกันน้ำ เป็นที่สำหรับบ่อน้ำหรืออ่างเก็บน้ำ ห้องน้ำ และที่ซักล้าง บริเวณนี้จะมี ความเย็นของน้ำและช่องว่างบนหลังคาเป็นช่องลมเปิดให้อากาศภายในบ้านหมุนเวียนเคลื่อนไหวถ่ายเท ไม่ร้อน อบอ้าว เป็นที่รับแสงสว่างเข้ามากลางตัวบ้าน ทำให้ภายในบ้านไม่มืดทึบ แสงแดดที่ส่องลงมายังช่วยฆ่าเชื้อโรค และทำให้น้ำในบ่อตกตระกอนอีกด้วย (ค) สะพานท่าเทียบเรือหลังบ้านเป็ นที่จอดเรือสำหรับขึ้น ลง และขนถ่ายสินค้าจากเรือ นับว่าเหมาะสมกับการสัญจรทางทะเลและอาชีพประมงหรือค้าขายทางทะเล สะพานหลังบ้านนี้มักจะเชื่อมโยงต่อ กันเป็นทางเดินไปมาได้หลายหลัง กลายเป็นลานกิจกรรมหลังบ้านด้วย (ง) การขยายบ้านยาวยื่นออกไปในทะเล ทำให้มีพื้นที่สำหรับรองรับสมาชิกของครอบครัว ขยายสมาชิกรุ่นใหม่ที่เติ บโตขึ้นมาจึงไม่จำเป็นต้องย้ายออกจากบ้าน การได้อยู่ร่วมกันของสมาชิกหลายรุ่น เป็น การกระชับความสัมพันธ์ให้เกิดความอบอุ่น และเสริมสร้างให้สถาบันครอบครัวเหนียวแน่นยิ่งขึ้น (จ) ชุมชนเมืองเก่าที่ตั้งอยู่ริมทะเล เป็นรูปแบบที่อยู่อาศัยที่สืบทอดมายาวนาน ชุมชน เช่นนี้เป็นแหล่งกำเนิดของเมืองท่าค้าขาย ตลาดหรือชุมชนสำคัญแถบชายฝั่งอันดามันตลอดมาตั้งแต่อดีต จึงอุดม ไปด้วย เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และที่อยู่อาศัย อีกทั้งยังมีกลุ่มชนผู้สืบทอดมาจากบรรพบุรุษที่เป็น ผู้บุกเบิกสร้างเมือง จึงมีประสบการณ์ และมีวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์ อันทรงคุณค่าเป็นอย่างยิ่ง สถานการณ์สิ่งแวดล้อม กรมทางหลวงชนบท 3-581 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ประมาณ 100 ปีเศษที่ผ่านมา บริเวณชุมชนเมืองเก่าศรีรายากลายเป็นชุมชนที่รุ่งเรืองมาก เป็นชุมชนที่ตั้งอยู่บนเส้นทางคมนาคมทางทะเล เลียบฝั่งอันดามัน มีการเดินเรือโดยสารและเรือสินค้าผ่านไปมา ระหว่างจังหวัดระนอง ตะกั่วป่า ภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง และสตูล อีกทั้งยังเป็นเมืองท่าหน้าด่านเล็ก ๆ สำหรับเก็บ ภาษีทางน้ำ และค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าทางทะเลที่ติดต่ อเชื่อมโยงกับต่างประเทศ เช่น ปี นัง สิงคโปร์และพม่า ฯลฯ เป็นจุดแวะพักหลบภัยทางการเมือง และหลบลมมรสุมของเรือสำเภาจีน สำเภาแขก และเรือประมง ฯลฯ นอกจากนั้น ทะเลหมู่เกาะลันตายังเป็นแหล่งประมงทีอ ่ ุดมสมบูรณ์ ในยุคนั้นอาชีพทำ โป๊ะจับปลา ทำสวนมะพร้าว เตาถ่าน เฟื่องฟูมาก ปลาเค็ม กะปิ และถ่านไม้โกงกางได้กลายเป็นสินค้า ส่งออกไปขายต่างถิ่น ในช่วงนั้น มีการใช้ เงินเหรียญมาเลเซียในการซื้อขายสินค้าด้วย อีกทั้งยังมีเรือประมงเข้ามาแวะพักและขนถ่ายปลาส่งไปขายชุมชน ศรีรายาจึงเต็มไปด้วยร้านค้าและผู้คนต่างถิ่นเข้ามาทำธุรกิจ หลากหลาย จากการที่เกาะลันตาเป็นชุมชนที่เริ่มมี ความสำคัญ ทางการค้าดังกล่าว จึงได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอเกาะลันตา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2444 และได้ก่อตั้ง อาคารที่ว่าการอำเภอบริเวณชุมชนเมืองเก่าศรีรายา ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ประมาณ 50-65 ปี ที่ ผ่ านมา หลั งจากที่ ชาวชุ มชนศรีรายาได้ ผ่านวิกฤติ ความอดอยาก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และประสบกับโรคไข้ทรพิษระบาด (ประมาณปี พ.ศ. 2490) อีกทั้งยังประสบอุบัติภัย จากไฟไหม้ครั้งใหญ่ถึง 2 ครั้ง เศรษฐกิจของเกาะลันตาก็กระเตื้องขึ้น จนกระทั่งรัฐบาลยกเลิกการให้สั มปทาน ป่าโกงกางและใบอนุญาตเผาถ่าน มีการตัดถนนเพชรเกษมสายกระบี่-ตรัง ผู้คนเริ่มใช้เส้นทางคมนาคมทางบกใน การเดินทาง ทำให้เส้นทางทางทะเลลดบทบาทลง ความสำคัญในฐานะเมืองท่าและด่านเก็บภาษีทางน้ำก็หมดไปด้วย หน่วยงานสำคัญทางราชการ เช่นด่านศุลกากรก็หมดบทบาทหน้าที่ ต้อ งถูกยกเลิกไปโดยปริยาย การขนนถ่าย สินค้าจึงเปลี่ยนไปใช้ทางบก ส่งผลให้ตลาดศรีรายาซบเซามาก ชาวเกาะลันตาส่วนใหญ่ ทำสวน รับราชการ เด็ก รุ่นใหม่ทิ้งถิ่นไปเรียนหนังสือและทำมาหากินที่อื่น จนกระทั้งปัจจุบันเมื่อเกาะลันตาปรับเปลี่ยนเป็นเมืองท่องเที่ยว ตลาดศรีรายาก็เปลี่ยนมาประกอบธุรกิจด้านการท่องเที่ยว บ้านบางหลังเจ้าของกลับมาทำธุรกิจเอง บางหลังให้คน ต่างถิ่นเช่า บางหลังก็ขายให้กับคนต่างถิ่น ตลาดศรีรายาจึงกลับมาคึกคักเช่นในอดีตอีกครั้ง (สำนักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิ ลปกรรม.แหล่งศิลปกรรมอัน ควรอนุรักษ์.ชุมชนเมืองเก่าตลาดศรีรายา เกาะลันตา.http://culturalenvi.onep.go.th/site/detail/5183) ค) พิพิธภัณฑ์ชุมชนชาวเกาะลันตา ตั้งอยู่ที่ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประวัติความเป็นมาและความสำคัญ ชุมชนบ้านยาวเกาะลันตา หรือที่รู้จักของนักท่องเที่ยวภายใต้ชื่อ “Lanta old town” เคย มีการศึกษาเพื่อประกาศเขตโดยหน่วยอนุรักษ์ธ รรมชาติและสิ่งแวดล้อม และได้รับการประกาศเป็นเขตอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมมาแล้ว หลังจากนั้นเกิดภัยพิบัติสึนามิในวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 มูลนิธิชุมชนไทเป็น องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) องค์กรหนึ่งที่ให้ความช่วยเหลือโดยเข้ามาดำเนินงานตามโครงการฟื้นฟูวิถีชีวิตดั้งเดิม ของชุมชนและการจัดการระบบนิเวศที่ยั่งยืนของเกาะลันตาภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากโครงการพัฒนา แห่งสหประชาชาติ (UNDP) ร่วมกับภาคีในท้องถิ่นทั้งองค์กรชุมชน กลุ่มศิ ลปิน เทศบาลตำบล องค์การบริหาร ส่วนตำบล และนักวิ ชาการท้องถิ่น ประโยชน์ที่ชาวเกาะลันตาได้รับจากการดำเนินงานตามโครงการดังกล่าว นอกจากครอบครัวที่ประสบภัยสึนามิโดยตรง ยังส่งเสริมให้มีการฟื้นฟูวิถีชีวิตและวัฒนธรรมดั้งเดิมของแต่ละกลุ่ม ชาติพันธุ์ โดยจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ชาวเกาะลันตาได้ทบทวนถึงสิ่งที่ยังหลงเหลืออยู่ และสิ่งที่จะต้องทำเพื่อ อนุ รักษ์ แ ละสืบ ทอดต่ อไป พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ช าวเกาะลั น ตาจึ งถูกสร้างขึ้น ตามเจตนารมณ์ ของชาวเกาะลัน ตา และ คณะกรรมการทุกฝ่าย เพื่อเป็นศูนย์รวมของชาวเกาะลันตาทั้งสี่กลุ่มชาติพันธุ์ และเป็นพื้นที่ จัดแสดงวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมดั้งเดิม โดยใช้อาคารที่ว่าการอำเภอเก่าในตลาดศรีรายา (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม.กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม.แหล่งศิลปกรรมอันควรอนุรักษ์.ชุมชนเมืองเก่า ตลาดศรีรายา เกาะลันตา.http://culturalenvi.onep.go.th/site/detail/5183) กรมทางหลวงชนบท 3-582 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน พิพิธภัณฑ์ชุมชนชาวเกาะลันตา มีแนวคิดในการจัดทำพิพิธภัณฑ์ คือ การที่คนในชุมชน เริ่ ม มองเห็ น คุ ณ ค่ า ทางสถาปั ต ยกรรมของอาคารที่ ว่ า การอำเภอเกาะลั น ตาหลั ง เก่ า ที่ ส ร้า งขึ้ น ตั้ ง แต่ ส มั ย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล (colonial) จากตะวันตก และอายุ มากกว่า 100 ปี จึงเกิดเป็นโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูอาคารที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ทำเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน เพื่ อเป็ น ศู น ย์ เรีย นรู้และแหล่ งรวบรวมเรื่อ งราวที่ เกี่ย วกั บ ความเป็ น ลั น ตา ทั้ งวิ ถี ชี วิ ต ดั้ ง เดิ ม ประวั ติ ศ าสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ชาติพันธุ์ นิเวศวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นทั้งของชาวเล ชาวจีน และมุสลิม ภายในพิพิธภัณฑ์แบ่งออกเป็น 6 ห้องหลัก ได้แก่ ห้องแรกเป็นห้องสมุด รวบรวมเอกสาร ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเกาะลันตาที่มีอยู่ทั้งในอดีต และปัจจุบัน (เอกสารรวบรวมการศึกษาเพื่อทำพิพิธภัณฑ์) ห้องที่สอง คือ ห้องนายอำเภอ จัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ของนายอำเภอ เช่น โต๊ะนายอำเภอ โทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ดีด เป็นต้น ห้องต่อไปเป็นห้องวัฒนธรรมชาวจีน ห้องวัฒนธรรมชาวเล และห้องวัฒนธรรมชาวมลายูหรือมุสลิม ซึ่งทั้ง สามห้องนี้จะอยู่เรียงติดกัน บ่งบอกถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของแต่ละกลุมชาติพันธุ์ จัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ที่เป็น เอกลักษณ์ และห้องสุดท้ายจะเป็นหุ่นจำลองวิถีชีวิต ต่าง ๆ ของผู้คนบนเกาะ เช่น หุ่นจำลองแสดงการจับปลา ป่าชายเลน เต่าเผาถ่านจำลอง เป็นต้น เพื่อสร้างความมีชีวิตชีวาให้กับผู้เยี่ยมชม ส่วนด้านหน้าพิพิธภัณฑ์ตกแต่ง เป็นสานสาธารณะเล็กๆ ให้แก่ผู้เข้าชมได้พักผ่อนด้วย นอกจากอาคารพิพิธภัณฑ์ ยังมีพิพิธภัณฑ์มีชีวิต คือ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่อยู่ใน ชุมชนเก่าศรีรายาและบ้านร็องเง็งของชาวเล ชุมชนเก่าศรีรายา เป็นชุมชนที่อยู่ร่วมกันทั้งไทยพุ ทธและมุสลิม สิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ คือ ลักษณะบ้านจะทอดยาวยาวลงไปในทะเล ถือได้ว่าเป็นบ้านที่ยาวที่สุดในประเทศไทย มีความยาวประมาณ 100- 150 เมตร และยังเต็มไปด้วยกลิ่นอายของอดีต มีศาลเจ้า ท่าเทียบเรือ ร้านกาแฟโบราณ และร้านขนมจีน พร้อมที่ จะให้ผู้คนจากภายนอกมาสัมผัสเรียนรู้ถึงความต่างที่ลงตัวของชุมชนเก่า บ้านร็องเง็ง หรือพิพิธภัณฑ์ของชาวเล บอกเล่าวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม ของชาวเล เช่น การรำร็องเง็ง ซึ่งเป็นการรำที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมยุโรปและเอเชียเข้าด้วยกัน ประกอบด้วยเครื่อง คนตรีไวโอลิน (ซอ) ของฝรั่ง รำมะนาของอาหรับ ฆ้องของจีน รวมกันในบทเพลง “ปันตุน” ในภาษามลายู ถือได้ ว่าเป็นการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์อีกอย่างของชาวเล พิพิธภัณฑ์ชุมชนชาวเกาะลันตาบริหารจัดการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เปิดให้เข้าชม ได้ทุ กวัน (ต้องโทรแจ้งผู้แลพิ พิ ธภัณ ฑ์ ก่อนเข้าชม โดยไม่เก็บ ค่าเข้าชม (มิวเซีย มไทยแลนด์.พิ พิ ธภัณ ฑ์ ชุ มชน ชาวเกาะลันตา https://www.museumthailand.com/th/museum/koh-Lanta-Community-Museum) ง) ศาลพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เสด็จเตี่ย ตั้งอยู่ที่ ชุมชนเมืองเก่าศรีรายา (Old Town) ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลัน ตา จังหวัดกระบี่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2529 (3) การศึกษาข้อมูลปฐมภูมิ (การสำรวจภาคสนาม) โครงการเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง -ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เป็นการก่อสร้างเส้นทางคมนาคมขนส่งทางบกด้วยการก่อสร้ างสะพานเชื่อมระหว่าง บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง กับเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึง ่ การศึกษาผลกระทบ สิ่งแวดล้อมทางด้ านโบราณคดี ของโครงการเส้นทางเชื่ อมเกาะลั นตา ตำบลเกาะกลาง -ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีขอบเขตการศึกษา ดังนี้ - บริเวณที่ตั้งโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ - บริเวณที่ตั้งโครงการฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 3-583 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน การศึกษาเพื่อประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์ได้ทำการ ศึกษาบริเวณพื้นที่โครงการฯ และพื้นที่ใกล้เคียงในระยะ 1 กิโลเมตร ทั้งสองฝั่งของโครงการฯ โดยบริเวณที่ ตั้ง โครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พบว่า บริเวณพื้นที่ดังกล่าวมีลักษณะเป็น ท่าเรือเดิม เรียกกันว่า ท่าเรือเจ้าฟ้า สำหรับข้ามไปฝั่งเกาะลันตาด้วยแพขนานยนต์ พื้นที่โดยรอบเป็นป่าโกงกาง ส่วนบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงในระยะ 1 กิโลเมตร เป็นพื้นที่การเกษตร สวนยางพารา บ้านเรือนราษฎร และถนนทางหลวง หมายเลข 4260 (รูปที่ 3.5.7-2) รูปที่ 3.5.7-2 บริเวณที่ตั้งโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จากการสำรวจทางโบราณคดีไม่พบหลักฐานทางโบราณคดีใดๆ ทั้งที่เป็นโบราณวัตถุ โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี รวมทั้งศาสนสถาน ในบริเวณพื้นที่ตั้งโครงการฯ เลย และในระยะ 1 กิโลเมตรด้วยเช่นกัน แต่ พบว่าในเขตบ้านหัวหิน หมู่ 8 มีศาสนสถาน 1 แห่ง คือ มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ จากการสอบถามสัมภาษณ์เชิงคุณภาพจาก ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 8 บ้านหัวหิน และ บิดา กล่าวว่าไม่พบและไม่เคยมีการพบหลักฐานทางโบราณคดีที่เป็น โบราณวัตถุใด ๆ ทั้งสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ รวมทั้งโบราณสถานในบริเวณพื้นที่โครงการเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอ เกาะลันตาเลย (รูปที่ 3.5.7-3) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 8 บ้านหัวหิน บิดาผู้ใหญ่บ้านหมู่ 8 บ้านหัวหิน รูปที่ 3.5.7-3 การสอบถามสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ กรมทางหลวงชนบท 3-584 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ก) มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ ตั้งอยู่ที่ บ้านหัวหิน หมู่ 8 ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประวัติความเป็นมาและความสำคัญ มัสยิดดารุสซุนนะฮ์เป็นมัสยิดที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ปัจจุบันม เป็นอิหม่าม เป็นคอเต๊บ และน เป็นบิหลั่น เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจของชาวไทยมุสลิม หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และยังเป็ น ศาสนสถานที่ ให้ การอบรมเด็กและเยาวชนในพื้ น ที่ในเรื่องคุณ ธรรมจริยธรรมเพื่ อให้ เด็ ก และเยาวชนเป็ น ผู้ มี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมต่ อ ไป (23.242.145.13/album/168417/มั ส ยิ ด ดารุ ส ซุ น นะฮ์ ) (รูปที่ 3.5.7-4) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางโบราณคดี ไม่มีผลกระทบด้านลบจากการดำเนิน โครงการฯ เนื่องจากมัสยิดดารุสซุนนะฮ์ตั้งอยู่ห่างจากที่ตั้งโครงการมากกว่า 1 กิโลเมตร รูปที่ 3.5.7-4 มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ บริเวณที่ ตั้ งโครงการฝั่ งตำบลเกาะลั น ตาน้ อย อำเภอเกาะลั น ตา จังหวัด กระบี่ พบว่ า บริเวณพื้นที่ดังกล่าวมีลักษณะเป็นพื้น ที่ชายทะเล มีต้นโกงกาง และต้นไม้อื่น ๆ ขึ้นตามธรรมชาติ บริเวณพื้นเป็น หาดทรายและก้อนหิ น ขนาดเล็ ก จากการสำรวจทางโบราณคดี ไม่ พ บหลั กฐานทางโบราณคดี ใดๆ ทั้ งที่ เป็ น โบราณวัตถุ โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี รวมทั้งศาสนสถานในบริเวณพื้นที่ตั้งโครงการฯ เลย (รูปที่ 3.5.7-5) รูปที่ 3.5.7-5 การสำรวจบริเวณที่ตั้งโครงการฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา กรมทางหลวงชนบท 3-585 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน จากการสอบถามสัมภาษณ์เชิงคุณภาพจาก ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 2 ตำบลเกาะลันตาน้อย อดีตกำนันตำบลเกาะลันตาน้อย และ นายกอบต. เกาะลันตาน้อย กล่าวว่าไม่พบและไม่ เคยมีการพบหลักฐานทางโบราณคดีที่เป็นโบราณวัตถุใดๆ ทั้งสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ รวมทั้งโบราณสถานในบริเวณพื้นที่โครงการเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบล เกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่เลย แต่ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่าในอีกฝั่งของเกาะลันตาน้อย คือ ทางด้านทิศตะวันออก ห่างออกไปจาก บริเวณพื้นที่โครงการประมาณ 4 -5 กิโลเมตร เคยมีการพบหลักฐานทางโบราณคดี เช่น ลูกปัดหิน ลูกปัดแก้ว ลักษณะคล้ายกับที่พบที่แหล่งโบราณคดีคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ แต่ปัจจุบันไม่สามารถกำหนด บริเวณพื้นที่พบได้แล้ว จากการสำรวจพื้นที่ใกล้เคียงโครงการฯ ด้านฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา ใน ระยะ 1 กิโลเมตร ไม่พบหลักฐานทางโบราณคดีใดๆ เช่นกัน พบศาสนสถานจำนวน 1 แห่ง คือ มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะ หยุม และกุโบร์ (สถานที่ฝังศพ) ประจำมัสยิด 1 แห่ง ข) มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม (รูปที่ 3.5.7-6) ตั้งอยู่ที่ หมู่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประวัติความเป็นมาและความสำคัญ ที่ตั้งมัสยิดปัจจุบันเดิมเป็นบาลายสำหรับประกอบ ศาสนกิจและสอนอัลกุรกอานเด็กๆ ซึ่งได้รับการบริจาคโดย ในปี พ.ศ. 2543 ได้เริ่มก่อตั้งเป็นมัสยิด โดยแยกออกมาจากมัสยิดสามัคคีมัสยิด เนื่องจาก จำนวนประชากรที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น ซึ่งผู้ดำรงตำแหน่งอีหม่ามท่านแรก คือ มื่ออีหม่ามท่านแรกได้ กลับสู่ความเมตตาของอัลเลาะห์ (เสียชีวิต) ึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอีหม่ามคนที่ 2 ในปี พ.ศ. 2549 อิหม่ามคนที่ 3 ได้ยื่นเรื่องขอจดทะเบียนจัดตั้งมัสยิด บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ขึ้น ซึ่งได้รับการจดทะเบียนเลขที่ 177 ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา ต่อ ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งแทน ที่ลาออกไป เป็นอีหม่ามคนที่ 4 วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งอีหม่ามแทน ่ ได้ลาออก จนถึงปัจจุบัน (http://www.masjidthai.com/masjid/KBI0158.html) ซึง การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางโบราณคดี ไม่มีผลกระทบด้านลบจากการดำเนิน โครงการฯ เนื่องจากตั้งอยู่ห่างจากพื้นที่โครงการมากกว่า 1 กิโลเมตร รูปที่ 3.5.7-6 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม กรมทางหลวงชนบท 3-586 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ก) กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม (รูปที่ 3.5.7-7) ตั้งอยู่ที่ หมู่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประวัติความเป็นมาและความสำคัญ กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุมเป็นสถานที่ฝังศพของชุมชน มุสลิมบ้านทุ่งโต๊ะหยุม และหมู่บ้านใกล้เคียง การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางด้านโบราณคดี ไม่ มี ผ ลกระทบด้ า นลบจากการ ดำเนินโครงการฯ เนื่องจากทราบว่าทางโครงการฯ ได้ปรับย้ายแนวโครงการฯ เพื่อไม่ให้กระทบต่อกุโบร์แล้ว รูปที่ 3.5.7-7 ่ โต๊ะหยุม กุโบร์บ้านทุง สรุปผลการสำรวจภาคสนาม การแบ่งพื้นที่สำรวจโครงการเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง -ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เป็นสองส่วน คือ บริเวณที่ตั้งโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา และบริเวณที่ ตั้ ง โครงการฝั่ ง ตำบลเกาะลั น ตาน้ อ ย อำเภอเกาะลั น ตา ไม่ พ บหลั ก ฐานทางโบราณคดี ที่ เป็ น โบราณวัตถุ โบราณสถาน เมืองโบราณ ในบริเวณพื้นที่ทั้งสองส่วน ประกอบกับการสอบถามสัมภาษณ์ผู้สูงอายุ และผู้ น ำชุ ม ชนในพื้ น ที่ กล่ าวว่ าไม่ พ บและไม่เคยมี การพบหลั กฐานทางโบราณคดีที่ เป็ น โบราณวัต ถุใดๆ ทั้ ง สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ รวมทั้งโบราณสถานในบริเวณพื้นที่โครงการเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งผลการสำรวจครั้งนี้ พบเพียงศาสนสถาน ทางฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา 1 แห่ง คือ มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ ซึ่งอยู่ห่างออกไปมากกว่า 1 กิโลเมตร จึง ไม่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินโครงการ และพบศาสนสถานทางฝั่ง ตำบลเกาะลัน ตาน้อย อำเภอเกาะลันตา 1 แห่ง คือ มัสยิดบ้านทุง ่ งจากแนวก่อสร้างโครงการในระยะห่างมากกว่า 1 กิโลเมตร ่ โต๊ะหยุม ตั้งอยู่หา เช่นกัน และกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุมซึ่งทางโครงการได้ปรับย้ายแนวเพื่อไม่ให้กระทบต่อกุโบร์แห่งนี้แล้ว นอกจากนี้ การตรวจสอบแหล่งโบราณสถานและโบราณคดี ในพื้นที่ศึกษาระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเส้นทางโครงการกับสำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช (อ้างอิงตามหนังสือเลขที่ วธ 0422/14 ลงวันที่ 5 มกราคม 2564) พบว่า ในพื้นที่ศึกษาโครงการอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ไม่มีแหล่งโบราณสถานและ โบราณคดีแต่อย่างใด แสดงดังรูปที่ 3.5.7-8 และผลการสำรวจภาคสนามโดยผู้เชี่ยวชาญด้านโบราณคดี ไม่พบ แหล่งโบราณคดีใต้น้ำในพื้นที่ดำเนินการโครงการและพื้นที่ศึกษาระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเส้นทางโครงการ และ ผลการประสานงานเพิ่มเติมกองโบราณคดีใต้น้ำ เพื่อตรวจสอบข้อมูลแหล่งโบราณคดีใต้น้ำบริเวณพื้นที่โครงการ ไม่พบแหล่งโบราณสถานในพื้นที่โครงการแต่อย่างใด แสดงดังรูปที่ 3.5.7-9 กรมทางหลวงชนบท 3-587 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.7-8 หนังสือขอตรวจสอบแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-588 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.7-9 หนังสือขอตรวจสอบแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีใต้น้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-589 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.7-9 หนังสือขอตรวจสอบแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีใต้น้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 3-590 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน บรรณานุกรม ประวัติเกาะลันตา. https://sites.google.com/site/thalesudswy/keaa-san-ta ประวัติเกาะลันตา. https://www.lantainfo.com/th_about_ko_lanta_history.htm มัสยิดดารุสซุนนะฮ์. 23.242.145.13/album/168417/มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม. http://www.masjidthai.com/masjid/KBI0158.html มิ วเซี ย มไทยแลนด์ . พิ พิ ธภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนชาวเกาะลั น ตา https://www.museumthailand.com/th/museum/ koh-Lanta-Community-Museum ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร องค์กรมหาชน.กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย Ethnic Groups in Thailand. https:// www.sac.or.th/databases/ethnic-groups/ethnicGroups/37?Populations_sort=lat สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม. แหล่ ง ศิ ล ปกรรมอั น ควรอนุ รั ก ษ์ .บ้ า นตึ ก โบราณ แต้ เหล็ ง http://culturalenvi.onep.go.th/site/ detail/5183 สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม. แหล่งศิลปกรรมอันควรอนุรักษ์ .ชุมชนเมืองเก่าตลาดศรีรายา เกาะลันตา. http://culturalenvi.onep. go.th/site/detail/5183 อำเภอเกาะลันตา.วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี กรมทางหลวงชนบท 3-591 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.5.8 ทัศนียภาพ 1) วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1) ศึกษาวิเคราะห์ และประเมิ น คุณ ค่าของสภาพแวดล้ อมทางกายภายที่ พ บเห็ น ได้ ในปั จ จุบั น บริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการและพื้นที่ใกล้เคียง ในด้านความงดงามของทิวทัศน์ทางธรรมชาติ (2) เพื่ อนำผลการศึ กษาไปประเมิ น ผลกระทบทางสายตา ( Visual Impact) ที่ มี ต่ อ คุ ณ ค่ า ของ สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่อาจเกิดขึ้นจากกิจกรรมการพัฒนาโครงการ ทั้งในระยะก่อสร้างและระยะดำเนินการ (3) เพื่อนำผลการศึกษาไปประเมินผลกระทบจากกิจกรรมการก่อสร้างและการดำเนินงานโครงการ ต่อการเปลี่ยนแปลงหรือลดคุณค่าของวิวทิวทัศน์และการเปลี่ยนแปลงคุณค่าทางสายตา 2) วิธีการศึกษา (1) ทำการศึกษาแนวทางโครงการจากภาพถ่า ยทางอากาศ และแผนที่ภูมิป ระเทศ มาตราส่วน 1:50,000 เพื่อศึกษาสภาพในปัจจุบันของแนวทางโครงการ ที่ตั้งชุมชน สถานที่สำคัญ แหล่งท่องเที่ยว แหล่งธรรมชาติ ที่ควรอนุรักษ์ บริเวณที่มีความงดงามของทิวทัศน์ทางธรรมชาติ (2) ศึกษาสภาพทางกายภาพ วิเคราะห์และประเมินคุณค่าทางวิวทิวทัศน์บริเวณโครงการ 3) ผลการศึกษา เกาะลันตา อยู่ในทะเลอันดามันในเขตจังหวัดกระบี่ ระหว่างทะเลกระบี่กับ ทะเลตรัง ห่างจากกระบี่ ไปทางทิศใต้ ประมาณ 80 กิโลเมตร ประกอบด้วย เกาะขนาดใหญ่ 2 เกาะ คือ เกาะลันตาใหญ่และเกาะลันตาน้อย นอกจากนี้ยัง มีเกาะเล็กๆ อีกมากมายหลายเกาะ ศูน ย์กลางความเจริญ และศูนย์กลางธุรกิจ ท่องเที่ย วอยู่ที่ เกาะลันตาใหญ่ ซึ่งเป็นเกาะที่อยู่ทางด้านทิศใต้ของหมู่เกาะลันตา เป็ นเกาะใหญ่ที่เป็นที่ตั้งของที่ทำการอำเภอ เกาะลันตา มีท่าเรือท่องเที่ยวที่พานักท่องเที่ยวไปเที่ยวยังที่ต่าง ๆ ในทะเลอันดามัน ทั้งเกาะพีพี เกาะภูเก็ด ทะเลตรัง เกาะรอก และจุดดำน้ำหินม่วง-หินแดง แหล่งท่องเที่ยวของเกาะลันตา จะอยู่ทางชายฝั่งด้านทิศตะวันตก ซึ่งมีชายหาดทอด ตัวยาวไปเกือบตลอดแนวเกาะ แต่ละหาดได้รับการพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีสิ่งอำนวย ความสะดวกต่าง ๆ สำหรับนักท่องเที่ยว อาทิเช่น รีสอร์ท บังกะโล ร้านอินเตอร์เนต มินิมาร์ท ร้านอาหาร ปลายสุด ด้านทิศใต้ของเกาะลันตาเป็นที่ตั้งของที่ท ำการอุท ยานแห่งชาติหมู่ เกาะลันตาและประภาคารสัญลักษณ์ของ เกาะลันตา ด้วยความสวยงามและความเงียบสงบของเกาะลันตาทำให้นั กท่องเที่ยวติดใจ จึงทำให้ชื่อเสี ยงของ เกาะลันตาเป็นที่รู้จักในหมู่ของนักท่องเที่ยวต่างชาติในเวลาอันรวดเร็ว สภาพภูมิประเทศของเกาะลันตาเป็นภูเขาสลับซับซ้อน พื้นที่ส่วนใหญ่ค่อนข้างลาดชัน มีที่ราบปรากฏ เฉพาะบริเวณริมหาด ที่ปรึกษาได้ทำการสำรวจสภาพภูมิประเทศบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน (ฝั่งเกาะกลาง) และ ท่าเรือคลองหมาก (ฝั่งเกาะลันตาน้อย) พื้นที่โครงการฝั่งเกาะกลางอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา มีลักษณะเป็นเป็นที่ราบจากบ้านร่าหมาดและค่อยๆ ลาดต่ำไปจนถึงบ้านหัวหิน มีบ้านเรือนประชาชนอยู่ประปราย ส่วนใหญ่จะอยู่ฝั่งถนนริมทะเล ตำบลเกาะกลางมีสถานที่สำคัญ เช่น สถานนีตำรวจภูธรเกาะกลาง องค์การบริหาร ส่วนตำบลเกาะกลาง โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านลิกี มัสยิดบ้านร่าปู ศูนย์สาธารณสุข มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ เป็นต้น ภายในชุมชนพักอาศัยบ้า นหัวหิน มีบ่อเลี้ยงปลาและพื้นที่รกร้างที่ ทิ้งไว้ว่างเปล่าติดกับทางหลวงแผ่ นดิน หมายเลข 4206 พื้นที่ฝั่งขวาของถนนเป็น พื้นที่ป่าโกงกางสลับพื้นที่ชุมชนซึ่งอยู่ติดกับทะเล ประชาชนประกอบ อาชีพประมงและเกษตรกรรมเป็นส่ว นใหญ่ ทั้งนี้พื้นที่โครงการบนเกาะลันตาน้อยเป็นที่ตั้งของบ้านคลองหมาก บ้านคลองตะโหนด บ้านหลังสอด กรมทางหลวงชนบท 3-592 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน ที่ตั้งโครงการสะพานเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีจุดเริ่มต้นที่ กม.0+000 (ทล.4206 กม.26+620) และจุดสิ้นสุดที่ กม.2+527 (กบ.5035) ระยะทาง ประมาณ 2.527 กิโลเมตร พื้นที่โครงการฝั่งเกาะกลางอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา มีลักษณะ เป็นที่ราบจากบ้านร่าหมาดและค่อยๆ ลาดต่ำไปจนถึงบ้านหัวหิน มีบ้านเรือนประชาชนอยู่ประปราย ส่วนใหญ่ จะอยู่ฝั่ง ถนนริม ทะเล ส่ว นพื้น ที่บ นเกาะลัน ตาน้อ ย เป็น แหลมที่มีภูเขายื่น ติด ต่ อ กับ ทะเล ลักษณะเหมือ น เกาะขนาดใหญ่ห่างจากฝั่งแผ่นดินประมาณ 6-7 กิโลเมตร อาณาเขตเกาะลันตาน้อย ต่อเนื่องเกาะลันตาใหญ่ เชื่อมต่อกัน ด้วยสะพานสิริลันตาซึ่งเปิด ใช้ง านอย่างเป็น ทางการตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2559 เป็น ต้น ม า สภาพ พื้นที่มีชุมชนพักอาศัยอยู่ทั้ง 2 ฝั่งถนน ในตำบลเกาะลันตาน้อยและเกาะลันตาใหญ่มีสถานที่สำคัญของชุมชน เช่น โรงเรียน มัสยิด สถานีตำรวจ ร้านอาหารและที่พักรีสอร์ท ริมทะเลเป็นจำนวนมาก ซึ่งตั้งอยู่ติดกับทางหลวงชนบท กบ.5035 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4245 ไปยัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา รูปถ่ายสภาพปัจจุบันตาม แนวเส้นทางโครงการ แสดงในรูปที่ 3.5.8-1 ผลการสำรวจพื้นที่ตำบลเกาะกลาง ในบริเวณภูเขาจะมีสภาพเป็นป่าไม้ลักษณะเป็นป่าดิบชื้น พันธุ์ไม้ที่ สำคัญ เช่น หลุมพอ ตะเคียน ไม้ยาง นอกจากนี้ยังมีป่าชายเลน เช่น ไม้แ สม ไม้โกงกาง เป็นต้น บริเวณเชิงเขา ส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ได้แก่ สวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน สวนมะพร้าว และในบริเวณที่ราบและ ที่ เนิ นใช้ประโยชน์ ทางด้ านที่ อยู่ อาศัย เกษตรกรรมและการประมง ได้ แก่ สวนยางพารา สวนปาล์ มน้ ำมั น สวน มะพร้าว ที่นา ประมงชายฝั่งและประมงพื้นบ้าน เป็นต้น สำหรับพื้นที่ในตำบลเกาะลันตาน้อย ที่อยู่ในพื้นที่ศึกษา ของโครงการฯ ที่มีลักษณะที่คล้ายกับฝั่งตำบลเกาะกลาง โดยในบริเวณภูเขาจะมีสภาพเป็นป่าไม้ลักษณะเป็นป่า ดิบชื้นพันธุ์ไม้ที่สำคัญ เช่น หลุมพอ ตะเคียน ไม้ยาง นอกจากนี้ยังมีป่าชายเลนเช่นไม้แสม ไม้โกงกาง เป็นต้น บริเวณเชิงเขาส่วนใหญ่ จะเป็นพื้ นที่เกษตรกรรม ได้แก่ สวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน สวนมะพร้าว และใน บริเวณที่ราบและที่เนินใช้ประโยชน์ทางด้านที่อยู่อาศัย เกษตรกรรมและการประมง ได้แก่ สวนยางพารา สวน ปาล์มน้ำมัน สวนมะพร้าว ที่นา ประมงชายฝั่งและประมงพื้นบ้าน เป็นต้น และพบแนวของสายระบบจำหน่าย ไฟฟ้า 33 kV ของการไฟฟ้า ส่ว นภูมิภ าค ที่พ าดผ่ า นมาจากเกาะปลิง เพื่อขึ้น สู่เกาะลัน ตาน้อย บริเวณถนน สาย กบ.5035 ช่วง กม.3+400 ถึง กม.3+500 ที่อยู่ในแนวศึกษาโครงการฯ และยังพบตำแหน่งของแนวท่อ ร้อยสายไฟใต้น้ำ ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้ามมาจากตำบลเกาะกลางมาขึ้นฝั่งที่บริเวณเดียวกัน และยังมีแนว ของสายสื่อสาร CAT TOT TUC และ กฟภ. ที่บริเวณหน้ากูโบร์ทุ่งหยุม หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 3-593 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 3 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน รูปที่ 3.5.8-1 สภาพปัจจุบันบริเวณพื้นที่โครงการ กรมทางหลวงชนบท 3-594 บทที่ 4 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม บทที่ 4 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4 .1 บทนำ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีจุดเริ่มต้นที่ กม.0+000 (ทล.4206 กม.26+620) และจุดสิ้นสุดที่ กม.2+527 (กบ.5035) ระยะทางประมาณ 2.527 กิโลเมตร จะใช้ผลการศึกษาเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ (บทที่ 2) และ สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน (บทที่ 3) เป็นพื้นฐานสำคัญในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในแต่ละประเด็น ส่วนหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดประเภทและระดับความรุนแรงหรือขนาดของผลกระทบจะอาศัยหลักการทั่วไป ที่ว่า ในสภาวะปกติหรือตามธรรมชาติ ซึ่ง เป็น สภาพที่เกิด ขึ้น โดยไม่มีโครงการ ปัจ จัย ทางสิ่ง แวดล้อม ต่า ง ๆ มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือเลวลงกว่าสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และเมื่อมีโครงการเกิดขึ้นแล้ว กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากโครงการจะส่งผลกระทบต่อปัจจัยสิ่งแวดล้อมให้ดียิ่งขึ้นหรืออาจเร่งการพัฒนาให้เร็วขึ้น ในทางตรงกันข้ามกิจกรรมของโครงการอาจส่งผลไปยับยั้ งพัฒนาการนั้นๆ ให้ชะงักลงไปหรือเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่เลวลงกว่าสภาพที่เป็น อยู่ในปัจ จุบัน ซึ่งผลกระทบสิ่ง แวดล้อมนั้น จะมีขนาด (จำนวน) และทิศทาง (บวก/ลบ) เสมอ ซึ่งเกิดจากการหาความแตกต่างระหว่างสภาพสิ่งแวดล้อมในอนาคต โดยวิเคราะห์ด้วยกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ความแตกต่างที่เกิดขึ้นจะปรากฏให้เห็นเรียกว่าผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งอาจเป็นผลกระทบ ทางบวกหรือลบก็ได้ เมื่อประเมินค่าผลกระทบ (บวก/ลบ) แล้ว จะนำผลที่ได้ไปพิจารณาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน สามารถชี้ให้เห็นได้ว่าผลกระทบนั้นสูงหรือต่ำกว่ามาตรฐานของธรรมชาติ อันเป็นค่าที่ ผู้วิเคราะห์สามารถอธิบาย ได้ว่ามีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากหรือน้อยหรือไม่มีผลกระทบ ทั้งนี้ วิธีการประเมินผลกระทบได้อาศัยวิธีการประเมินหลายๆ วิธีประกอบกัน เช่น วิธีบรรยาย (Descriptive method) วิธีการแบ่งระดับ (Rating/ranking) วิธีการเปรียบเทียบ (Comparative method) และวิธีใช้มาตรฐาน (Standard method) เพื่อวิเคราะห์นัยสำคัญของผลกระทบให้ถูกต้องมากที่สุด ซึ่งการอธิบายผลกระทบที่มีต่อ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่า ต่าง ๆ ทั้ง 4 ประเภท คือ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ ทรัพยากร- สิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ คุณ ค่าการใช้ประโยชน์ ของมนุษ ย์ และคุณ ค่าต่อคุณ ภาพชีวิต ตามแนวทางและ หลักเกณฑ์ในการศึกษาและจัดเตรียมรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของสำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) กรมทางหลวงชนบท 4-1 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.2 ขอบเขตการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการสะพานเชื่อมเกาะลัน ตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบล เกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จะพิจารณาการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างแบ่งเป็นช่วงๆ ตามหลัก กิโลเมตร นอกจากนี้ยังได้กำหนดขอบเขตของการศึกษาที่จะนำมาประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1) กรณีไม่มีโครงการ จะคาดการณ์ผลกระทบหากไม่มีการพัฒนาโครงการและคาดการณ์การเปลี่ยนแปลง หรือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อทรัพยากรและคุณค่าสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ศึกษาตลอดอายุโครงการ 2) กรณีมีโครงการ จะดำเนินการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามขอบเขตการประเมินผลกระทบ โดยไม่มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และพิจารณาระยะการพัฒนาโครงการเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการและบำรุงรักษา ลักษณะการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการในแต่ละระยะของการพัฒนา ซึ่งเป็นสาเหตุที่สำคัญ ของการเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แสดงดังตารางที่ 4.2-1 รวมถึงรายละเอียดของการใช้เครื่องจักรและคนงาน ในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนาโครงการ ตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ ภายหลังเปิดใช้โครงการ เช่น การคมนาคมบน ถนนโครงการ งานบำรุงรักษา เป็นต้น สำหรับการพิจารณาระดับของผลกระทบจะมีเกณฑ์ที่นำมา ใช้พิจารณา แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้ • ไม่มีผลกระทบหรือไม่มีนัยสำคัญ หมายถึง กิจกรรมหรือผลจากการพัฒนาโครงการไม่ก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงหรือส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ผลกระทบระดับต่ำ หมายถึง กิจกรรมหรือผลจากการพัฒนาโครงการก่อให้เกิดผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบางส่วน ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมยังมีค่าอยู่ในเกณฑ์ มาตรฐาน ขอบเขตพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบไม่กว้างมากนัก ผลกระทบของโครงการเกิดขึ้นในบางบริเวณของเส้นทางเท่า นั้น และระยะเวลาที่เกิดผลกระทบค่อนข้างสั้น โครงการส่งผลกระทบต่อทรัพยากร ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน ในด้านจิตใจ เช่น การก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นสามารถกำหนดมาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบให้น้อยลงหรือไม่มีเลยได้ • ผลกระทบระดับปานกลาง หมายถึง กิจกรรมหรือผลจากการพัฒนาโครงการก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพอสมควร เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน ขอบเขต พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างกว้าง แต่ยังอยู่ในวงจำกัดในแนวพื้นที่โครงการเท่านั้น ผลกระทบเกิดขึ้นในบริเวณ หลายๆ บริเวณของเส้นทาง ระยะเวลาที่เกิดผลกระทบค่อนข้างนาน แต่ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างถาวร โครงการส่งผลกระทบ ต่อทรัพยากร ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนแต่ไม่รุนแรงถึงกับเป็นอันตรายต่อชีวิต ผลกระทบที่เกิดขึ้นสามารถ กำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบดังกล่าวให้น้อยลงได้ • ผลกระทบระดับสูง หมายถึง กิจกรรมหรือผลจากการพัฒนาโครงการก่อให้เกิดผลกระทบต่อ การเปลี่ ย นแปลงทรัพ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มมากกว่ า เกณฑ์ ม าตรฐานกำหนด หรือ ก่ อให้ เกิด การ เปลี่ย นแปลงต่อทรัพยากรสิ่งแวดล้อมอย่างมาก ขอบเขตพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบกระจายออกไปเป็น วงกว้าง เกิน กว่าแนวพื้ น ที่ โครงการ ผลกระทบเกิด ขึ้น ตลอดแนวเส้ น ทางโครงการ ระยะเวลาเกิด ผลกระทบต่อเนื่ อง ยาวนานและถาวร โครงการส่งผลกระทบต่อทรัพยากร ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนในระดับอันตรายร้ายแรง ถึงชีวิต ผลกระทบที่เกิดขึ้นไม่สามารถกำหนดมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบดังกล่าวให้น้อยลง หรือทำให้ ทรัพยากรดังกล่าวกลับคืนสู่สภาพเดิมได้อีก กรมทางหลวงชนบท 4-2 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การระบุทิศทางลักษณะของผลกระทบ จำแนกเป็น 2 ลักษณะ คือ ผลกระทบทางบวก (Positive Impact) หมายถึง กิจกรรมที่ จะดำเนิ นการหรือผลจากการพั ฒนาโครงการก่อให้ เกิ ดผลดี หรือเป็ นประโยชน์ ต่ อ สิ่งแวดล้อม และการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียง และผลกระทบทางลบ (Negative Impact) หมายถึง กิจ กรรมที่จ ะดำเนิน การหรือ ผลจากการพัฒ นาโครงการ ก่อให้เกิด ผลเสีย ห ายต่อสภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียง ่ ำมาพิจารณาประกอบการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.2-1 การดำเนินกิจกรรมโครงการทีน กิจกรรม รายละเอียด 1. ระยะเตรียมการก่อสร้าง 1.1. การเตรียมพื้นที่ตั้งหน่วยก่อสร้าง 1.1.1 การก่อสร้างสำนักงานควบคุมงาน - ดำเนินการก่อสร้างสำนักงานควบคุมงาน (Site Office) เพื่อดำเนินการ (Site Office)/บ้านพักคนงาน ก่อสร้างและควบคุมงานก่อสร้างทางหลวง รวมทั้งก่อสร้างบ้านพัก (Camp Site) คนงาน (Camp Site) 1.1.2 การเตรียมพื้นที่สำหรับเก็บวัสดุ - ดำเนินการก่อสร้างอาคารกึ่งถาวรสำหรับเป็นที่เก็บวัสดุก่อสร้าง เช่น ก่อสร้าง (Stock & Store) และ ไม้แ บบ เหล็ก เส้น ปู น ซี เมนต์ เป็ น ต้ น รวมถึงเป็ น ที่เก็ บ เครื่อ งมื อ เครื่องจักรกลต่าง ๆ รวมทั้งสถานที่ เครื่องจักรกลต่าง ๆ และสถานที่จอดรถสำหรับขนส่งวัสดุ อุปกรณ์ จอดรถยนต์ ต่าง ๆ เข้ามาในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง ซึ่งเมื่อกิจ กรรมการก่อสร้าง เสร็จสิ้นจะดำเนินการรื้อย้ายอาคารออกจากพื้นที่ 1.1.3 การก่อสร้างโรงหล่อคอนกรีต - ดำเนินการก่อสร้างอาคารกึ่งถาวร ประกอบด้วย การก่อสร้างโรงหล่อ (Concrete Plant) โรงผสม คอนกรีต เพื่อใช้เป็นสถานที่ผสมคอนกรีต รวมทั้งดำเนินการหล่อ แอสฟัลติกคอนกรีต (Asphaltic ชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป ( Precast Concrete) ส่วนการ Concrete plant) และโรงซ่อม ก่อสร้างโรงผสมแอสฟัลติกคอนกรีต เพื่อเป็นสถานที่ในการผสมและ เครื่องจักร (Work Shop) ผลิต Asphaltic Concrete ซึ่งจะนำวัสดุ ก่ อสร้างที่ ผลิ ตได้ไปใช้ ใน งานผิวทางให้ได้ตามมาตรฐานกำหนดไว้ต่อไป สำหรับการก่อสร้างโรง ซ่ อ มเครื่อ งจั ก รนั้ น จะก่ อ สร้า งเพื่ อ ใช้ เป็ น สถานที่ ซ่ อ มเครื่ อ งจั ก ร ในช่วงระยะก่อสร้าง ซึ่งในบางครั้งใช้เป็นสถานที่เก็บเครื่องจักรกลที่ นำมาซ่อมด้วย เมื่อก่อสร้างเสร็จแล้วจะทำการรื้อย้ายอาคารทั้งหมด ออกจากพื้นที่ 1.1.4 การก่อสร้างถนนชั่วคราวสำหรับ - ดำเนินการก่อสร้างถนนชั่วคราวสำหรับงานก่อสร้าง เพื่อให้รถบรรทุก งานก่อสร้าง (Access Road)/ วัส ดุก ่อ สร้างเข้าสู่พื้น ที่ก ่อ สร้า งได้โ ดยอาจมีก ารถมคัน ทาง หรือ ทางเบี่ยงชั่วคราว ทำทางเบี่ยงชั่วคราวใกล้กับเส้นทางเดิม 1.1.5 การขนส่งเครื่องจักร/อุปกรณ์การ - การขนส่งเครื่องจักร อุปกรณ์ก ารก่อสร้าง และวัสดุก่ อสร้าง เข้าสู่ ก่อสร้างและวัสดุก่อสร้าง พื้นที่สำหรับใช้ในการก่อสร้างโครงการ โดยเครื่องจักรที่มีขนาดใหญ่ จะอาศัยรถพ่วงในการขนส่ง ส่วนวัสดุอุปกรณ์ทั่วไปจะใช้รถบรรทุก ในการขนส่ง 2. ระยะก่อสร้าง 2.1 การเตรียมพื้นที่สำหรับการก่อสร้างในเขตทาง 2.1.1 การรื้อย้ายสิ่งปลูกสร้าง/ - ดำเนินการรื้อย้ายสิ่งปลูกสร้างและสิ่งกีดขวางที่อยู่ในพื้นที่ก่อสร้าง สาธารณูปโภค/สิ่งกีดขวาง เช่น บ้านเรือน อาคารพาณิชย์ เป็นต้น รวมทั้งรื้อย้ายสาธารณูปโภค ต่าง ๆ เช่น เสาไฟฟ้า เป็นต้น เพื่อเตรียมพื้นที่ให้พร้อมสำหรับการ ก่อสร้างในเขตทาง กรมทางหลวงชนบท 4-3 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ่ ำมาพิจารณาประกอบการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ต่อ) ตารางที่ 4.2-1 การดำเนินกิจกรรมโครงการทีน กิจกรรม รายละเอียด 2.2 งานเตรียมพื้นที่ 2.2.1 การตัดฟันต้นไม้/การขุดตอ และ - ดำเนินการตัดฟันต้นไม้ การขุดตอที่ขวางแนวการก่อสร้าง และการ การนำไม้ออกจากพื้นที่ นำไม้ออกจากพื้นที่เขตทาง เพื่อปรับพื้นที่ข้างทางให้เครื่องจักรกล เข้าไปทำงานได้ 2.2.2 งานก่อสร้างทางระบายน้ำชั่วคราว - การก่ อสร้างทางระบายน้ำชั่วคราวในกรณี ปิ ดกั้ น ทางน้ ำเดิ ม โดย ดำเนินการขุดดินเป็นทางน้ำใหม่ เพื่อให้น้ำสามารถระบายไหลไปสู่พื้นที่ รองรับน้ำบริเวณเดิมได้ รวมทั้งป้องกันน้ำท่วมขังและน้ำเน่าเสียได้ 2.3 งานดิน/หิน 2.3.1 งานดินหรือหินตัด/ดินถม - การตัดดิน/หินที่ขวางตามแนวเส้นทางก่อสร้าง โดยการขุด/ระเบิด (Cut & Fill) เนินเขาหรือภูเขาบางส่วน และงานถมดินคันทางพร้อมบดอัด เพื่อให้ ได้แนวทางและระดับตามมาตรฐานการออกแบบไว้ 2.4 งานเตรียมวัสดุก่อสร้างและงานขนย้าย 2.4.1 การดำเนินงานของโรงหล่อ - ผสมคอนกรีตเพื่อใช้ในงานก่อสร้างโครงการ ทำโครงสร้างคอนกรีตเสริม คอนกรีต/โรงผสมแอสฟัลติก เหล็กต่าง ๆ หล่อชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูปจะดำเนินการใน คอนกรีต/โรงซ่อมเครื่องจักร พื้นที่ของโรงหล่อคอนกรีต ส่วนพื้นที่ของโรงผสมแอสฟัลติกคอนกรีต ใช้เป็ นสถานที่ ผสมวัสดุ แอสฟั ลติ ก เพื่ อนำไปใช้เป็ นวัสดุลาดผิวทาง ถนนและโรงซ่อมเครื่องจักร จะเป็นที่ดำเนินการซ่อมแซมเครื่องจักรที่ ชำรุดเสียหายระหว่างก่อสร้าง 2.4.2 งานขนย้ายดิน/หิน และวัสดุ/ - ดำเนินการขนย้ายดิน หิน และวัสดุ/ชิ้นส่วนงานก่อสร้าง โดยขนย้าย ชิ้นส่วนงานก่อสร้าง จากพื้นที่เก็บวัสดุก่อสร้างไปยังพื้นที่ก่อสร้าง 2.4.3 งานขนย้ายวัสดุที่เหลือออกจาก - ดำเนินการขนย้ายดิน/หิน ส่วนเกินที่ได้จากงานตัดดิน/หิน ที่ขวาง พื้นที่ก่อสร้าง ตามแนวเส้นทางก่อสร้างโดยจะขนย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้าง หรือ นำไปถมบริเวณอื่นๆ ในพื้นที่ก่ อสร้างที่ต้องการดินถมเพิ่มเติม ซึ่ง เมื่อก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วจะใช้รถบรรทุกขนย้ายไปยังบริเวณ อื่น ๆ ที่ยังดำเนินการก่อสร้างอยู่ 2.5 งานโครงสร้างสะพาน 2.5.1 งานก่อสร้างฐานรากสะพาน - การก่อสร้างฐานรากสะพานโดยเสาเข็มเจาะ 2.5.2 การก่อสร้างตอม่อ - การสร้างตอม่อเพื่อยึดฐานเสาโครงสร้างสะพาน 2.5.3 การขนย้ายวัสดุก่อสร้างออกจาก - ดำเนินการขนย้ายวัสดุก่อสร้างของงานโครงสร้างสะพาน เช่น คานผนัง แหล่งวัสดุ ทางลอด จากพื้นที่เก็บกองวัสดุไปยังพื้นที่ก่อสร้าง ซึ่งจะมีขนาดใหญ่ และต้องอาศัยรถพ่วงในการขนย้าย 2.5.4 การหล่อพื้นสะพาน - ดำเนิ นการหล่ อ คานรู ปกล่ องเพื่ อรองรั บพื้ นสะพานยื่ นไปเชื่ อมต่ อ ระหว่างตอม่ อแต่ ละต้ น มี ช่ วงคาน (Span) ให้ ส อดคล้อ งกั บ ความ กว้างพอที่ให้เรือสามารถลอดผ่านได้ กรมทางหลวงชนบท 4-4 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ่ ำมาพิจารณาประกอบการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ต่อ) ตารางที่ 4.2-1 การดำเนินกิจกรรมโครงการทีน กิจกรรม รายละเอียด 2.6 งานผิวทางและชั้นทาง 2.6.1 งานก่อสร้างชั้นทาง - การนำวัสดุลูกรังหรือกรวดที่ได้มาตรฐานของ Gradation และความ แข็งแรง ถมลงบนผิวทางให้ได้ความหนาตามการออกแบบ แล้วนำ วัสดุหิ นคลุก หรือ Soil Stabilize ที่ได้มาตรฐานความแข็งแรงและ Gradation มาถมให้ได้ความหนาตามมาตรฐานชั้นทาง 2.6.2 งานผิวทาง - ผิวจราจรถนนโครงการ : ดำเนินการก่อสร้างผิวจราจรโดยใช้คอนกรีตที่ ประกอบด้วย ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์เป็นส่วนผสมกับน้ำ วัสดุชนิด เม็ ดหยาบและวัสดุช นิด เม็ด ละเอีย ดตามอัต ราส่ วนที่ ได้ก ำหนดไว้ บนชั้นพื้นทาง หรือชั้นคันทางที่ได้เตรียมเอาไว้ โดยมีเหล็กที่จะเสริม คอนกรีตอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องตามแบบมาตรฐานก่อสร้าง - ผิวจราจรสะพาน : ดำเนินการลาดยางแอสฟัลติกคอนกรีตบนโครงสร้าง คอนกรีตเสริมเหล็ก เพื่อประสานให้ ผิวหน้ าของถนนยึดเกาะได้ดี จากนั้นบดอัดเพื่อเกลี่ยวัสดุหินย่อยปิดทับ 2.7 งานโครงสร้างและงานระบบระบายน้ำ 2.7.1 งานก่อสร้างจุดชมวิว - ดำเนินการก่อสร้างจุดชมวิวบริเวณโครงสร้างสะพาน จำนวน 2 จุด ได้ แก่ จุ ดชมวิวที่ 1 (กม.0+692) และจุด ชมวิ วที่ 2 (กม.0+892) บริ เวณจุ ด ชมวิ ว ทั้ ง สองแห่ งมี ส ะพานเดิ น ข้ า มฝั่ งอยู่ ใต้ โครงสร้ า ง สะพาน โดยระยะทางจากบั น ไดขึ้ น จุ ด ชมวิว (กม.0+512) ไปยั ง จุดสิ้นสุดทางเดินชมวิว (กม.1+012) ประมาณ 500 เมตร 2.7.2 งานก่อสร้างท่อระบายน้ำ - การก่อสร้างท่อระบายน้ำด้วยท่อกลมหรือท่อเหลี่ยม ซึ่งดำเนินการ ทั้งสองฝั่งถนนเพื่อรองรับการระบายน้ำได้อย่างเพียงพอ 2.8 การจัดระบบสาธารณูปโภค สุขาภิบาลและ ความปลอดภัย 2.8.1 งานก่อสร้างสัญญาณไฟจราจร - ติ ดตั้ งสั ญ ญาณไฟจราจรบนแนวเส้ น ทาง เช่ น ไฟกระพริ บ บริ เวณ ระบบไฟฟ้าและระบบแสงสว่าง ทางโค้ง ทางแยก หรือขอบทาง รวมทั้งติดตั้งระบบแสงสว่าง ซึ่งจะ ดำเนินการเมื่อก่อสร้างทางเสร็จเรียบร้อย 2.8.2 งานจัดการความปลอดภัยในการ - ติดตั้งผนังคอนกรีต (Concrete Barrier) เพื่อกำหนดแนวเขตก่อสร้าง ปฏิบัติงาน ให้ชัดเจน รวมทั้งติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบและป้ายเตือน เช่น ป้าย แสดงแนวเขตก่อสร้าง ป้ายแสดงทางเบี่ยงชั่วคราว เป็นต้น 2.8.3 การทิ้งกากของเสีย/ขยะมูลฝอย/ - มี ก ารทิ้ ง ปริ ม าณกากของเสี ย ขยะมู ล ฝอยและน้ ำ เสี ย ที่ เกิ ด จาก น้ำเสีย บริเวณสำนักงานควบคุม พนั ก งานและคนงานก่ อ สร้า ง บริ เวณสำนั ก งานควบคุ ม งานและ งาน/บ้านพักคนงานก่อสร้าง บ้านพักคนงานก่อสร้าง โดยไม่มีการจัดการที่ดี 3. ระยะดำเนินการและบำรุงรักษา 3.1 งานบำรุงรักษาปกติ - การบำรุงรักษาสะพานอยู่เป็นประจำ เพื่อให้ทางอยู่ในสภาพใช้งานได้ดี เช่น การซ่อมบำรุงระบบสาธารณู ปโภค การซ่อมระบบไฟฟ้ า แสง สว่าง เป็นต้น ต้องตรวจสอบผิวจราจรและโครงสร้างสะพานทุกปี ซึ่งหากพบว่า มีการชำรุดเสียหาย จะรีบดำเนินการซ่อมแซมโดยเร็ว 3.2 งานบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา - การบำรุงรัก ษาทางตามช่วงเวลาที่ก ำหนด เพื่อเป็นการต่ออายุให้ ทางหลวงอยู่ ใ นสภาพที่ ใช้ ง านได้ น านขึ้ น โดยมี กิ จ กรรมที่ ต้ อ ง ดำเนินการ เช่น กิจกรรมเสริมผิวทาง ปรับปรุงเครื่องหมายจราจร เป็นต้น กรมทางหลวงชนบท 4-5 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ่ ำมาพิจารณาประกอบการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ต่อ) ตารางที่ 4.2-1 การดำเนินกิจกรรมโครงการทีน กิจกรรม รายละเอียด 3.3 งานบำรุงรักษาพิเศษ/งานบูรณะ/ - การบำรุง เสริมแต่งและปรับปรุงทางที่ชำรุดเสีย หายเกิ นกว่าที่จะ งานซ่อมฉุกเฉิน ทำการซ่อมบำรุงโดยวิธีปกติให้กลับสู่สภาพเดิม การแก้ไขปรับปรุง หรือเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้ใช้เส้นทางสามารถใช้ ทางหลวงเป็นไปด้วยความปลอดภัย และการซ่อมบำรุงทางที่เกิ ด ความเสีย หายขึ้นโดยฉับพลัน เป็นผลให้ยวดยานไม่สามารถสัญจร ไป-มาได้ เช่ น การเกิ ดอุท กภั ย ทำให้ถนนขาดหรือ ลื่นไถล ( Land Slide) หรือเกิดวาตภัย ทำให้ต้นไม้หรือสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ล้มลงมา ปิดกั้น เป็นต้น 3.4 การคมนาคมบนทางหลวงชนบท - การใช้แนวเส้นทางโครงการสำหรับการคมนาคมขนส่ง เมื่อโครงการ เปิดดำเนินการ 4 .3 ่ แวดล้อมที่มีนัยสำคัญ ปัจจัยสิง กิจกรรมก่อสร้างโครงการอาจเป็นแหล่งกำเนิดผลกระทบต่อทรัพยากรสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ เริ่มตั้งแต่ ขั้นตอนระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ รวมถึงการใช้เครื่องจักรและคนงานในแต่ละ ขั้นตอนของการพัฒนาโครงการ ซึ่งในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะนำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานสำคัญประกอบ ในการคาดการณ์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากกิ จ กรรมต่ า ง ๆ สำหรับ การประเมิ น ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมของโครงการครั้งนี้ ได้นำปัจจัยที่มีระดับผลกระทบตั้งแต่ปานกลางถึงสูงหรือมีระดับนัยสำคัญจาก การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ( IEE) มาดำเนินการศึกษาต่อในการศึกษาผลกระทบสิ่ง แวดล้อ มขั้น รายละเอียด ( EIA) จำนวน 22 ปัจจัย ได้แก่ ทรัพยากรดิน ธรณีวิทยาและแผ่นดินไหว น้ำผิวดิน น้ำทะเล คุณภาพ อากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน ระบบนิเวศ สัตว์ในระบบนิเวศ พืชในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตหายาก การคมนาคมขนส่ง สาธารณูปโภค การควบคุมน้ำท่วมและการระบายน้ำ การใช้ที่ดิน เศรษฐกิจ -สังคม การสาธารณสุข สุขาภิบาล อาชีวอนามัย อุบัติเหตุและความปลอดภัย โบราณคดีและประวัติศาสตร์ และทัศนียภาพ กรมทางหลวงชนบท 4-6 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.4 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 4.4.1 ทรัพยากรดิน 4.4.1.1 ผลกระทบต่อการสูญเสียดินหรือการเคลื่อนย้ายดินออกจากบริเวณเดิม 1) กรณีไม่มีโครงการ กลุ่มชุดดินในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ประกอบด้ว ย 5 กลุ่ม ชุด ดิน (ไม่นับรวมพื้นที่ทะเล) พบว่า ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชุดดินที่ 13 เป็นกลุ่มดินเลนเค็มชายทะเล มีขนาดพื้นที่ 289 ไร่ (ร้อยละ 15.30) รองลงมาคือกลุ่มชุดดินที่ 51 มีขนาดพื้นที่ 275 ไร่ (ร้อยละ 14.56) กลุ่มชุดดิน SC มีขนาดพื้นที่ 111 ไร่ (ร้อยละ 5.88) และกลุ่มชุดดินที่ 53 มีขนาดพื้นที่ 109 ไร่ (ร้อยละ 5.77) ตามลำดับ กรณีไม่มีโครงการ จะไม่มีกิจกรรมการขุดเจาะ การเปิดหน้าดิน จึงไม่มี ผลกระทบต่อการสูญเสียดินหรือการเคลื่อนย้ายดินออกจาก บริเวณเดิมแต่อย่างใด 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การก่อสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) การก่อสร้างฐานรากของโครงสร้างสะพาน ตอม่อตับที่ P3 และ P4 ซึ่งเป็นเสาเข็มขนาดใหญ่ (Large Diameter) โดยใช้เสาเข็มเจาะแบบ Bored Pile ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร (รัศมี 0.4 เมตร เส้นรอบวง 2.51 เมตร พื้ นที่ วงกลม 0.5 เมตร) จำนวน 12 ต้น/ ตอม่ อ ส่ ว นการก่อ สร้างฐานรากของโครงสร้า งสะพานตอม่ อ P5 และ P6 ซึ่ ง เป็ น เสาเข็ม ขนาดใหญ่ (Large Diameter) โดยใช้เสาเข็มเจาะแบบ Bored Pile ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร (รัศมี 0.4 เมตร เส้นรอบวง 2.51 เมตร พื้นที่วงกลม 0.5 เมตร) จำนวน 18 ต้น/ตอม่อ (รูปที่ 4.4.1-1) สำหรับการก่อสร้างสะพานคานยื่น (balanced Cantilever Bridge) การก่อสร้างตอม่อตับที่ P7-P19 ช่วง กม.1+016 – กม.2+019 ระยะทางประมาณ 1,003 เมตร ออกแบบเป็นสะพานคานยื่น (Balanced Cantilever Bridge) การก่อสร้างฐานรากของโครงสร้างสะพานช่วงนี้ใช้เสาเข็มเจาะแบบ Bored Pile ขนาดเส้นผ่าน ศูนย์ กลาง 1.50 เมตร จำนวน 12 ต้ น /ตอม่ อ (1 3 ตอม่อ) (รูป ที่ 4.4.1 -2) กิจกรรมก่อสร้างฐานรากสะพาน โครงการ จะมีปริมาณดินขุดเกิดขึ้นประมาณ 5,750 ลบ.ม. โดยปริมาณดินขุดที่ได้จากกิจกรรมก่อสร้างนั้น ส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นดินเหนียวและมีการปนเปื้อนของสารละลายโพลิเมอร์ที่ใช้ในการพยุงหลุมเจาะขณะทำการขุดเจาะ เสาเข็ม ซึง่ มีคุณสมบัติไม่เหมาะกับงานทาง ดังนั้น จำเป็นต้องนำเศษมวลดินดังกล่าวออกจากพื้นที่ก่อสร้างทั้งหมด ทั้งนี้ เศษมวลดินที่ได้จากการขุดเจาะฐานรากในทะเล จะมีเกลือที่ละลายได้ในสารละลายดินปริมาณมากหรือดินเค็ม ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงต้องมีมาตรการป้องกันผลกระทบและนำไปไว้ในพื้นที่ที่เหมาะสม จึงมี ผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง การก่ อ สร้า งช่ ว ง APPROACH ออกแบบเป็ น สะพานช่ ว งสั้ น ความยาวช่ ว ง 10 เมตร โดย ออกแบบลักษณะของโครงสร้างส่วนบนเป็นพื้นหล่อสำเร็จ (Precast plank girder) มีความหนา 0.38 เมตร โดยมี การเสริมลวดอัดแรง ความกว้างของแผ่นพื้น 0.99 เมตร โครงสร้างส่วนล่างมีลักษณะเป็นเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก บนฐานรากเสาเข็ มคอนกรีตเสริมเหล็ก การก่อสร้างฐานรากของโครงสร้างสะพานช่วงนี้ ใช้เสาเข็ม เจาะ ซึ่งมี ผลกระทบต่อการสูญเสียดินหรือการเคลื่อนย้ายดินออกจากบริเวณเดิม กรมทางหลวงชนบท 4-7 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.1-1 เสาเข็มเจาะแบบ Bored Pile สะพานคานขึง (Extradosed Bridge) กรมทางหลวงชนบท 4-8 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.1-2 เสาเข็มเจาะแบบ Bored Pile สะพานคานยื่น (Balanced Cantilever Bridge) กรมทางหลวงชนบท 4-9 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการมีกิจกรรมการคมนาคมบนถนนโครงการ งานบำรุงรักษาปกติ งานบำรุงรักษา ตามกำหนดเวลา งานบำรุงรักษาพิเศษ/งานบูรณะ/งานซ่อมฉุกเฉิน กิจกรรมทั้งหมดล้วนเกิดขึ้นบนพื้นผิวจราจร ในแนวเขตทางของโครงการเท่านั้น ซึ่งไม่มีกิจกรรมการขุด เจาะ หรือการเคลื่อนย้ายดิน จึงไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อการสูญเสียดินหรือการเคลื่อนย้ายดินออกจากบริเวณเดิม 4.4.1.2 ผลกระทบต่อการชะล้างพังทลายของดิน 1) กรณีไม่มีโครงการ การชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ส่วนใหญ่อยู่ใน พื้น ที่มีระดับ การสูญ เสีย ดิ น น้อยมาก (0-2 ตัน /ไร่ /ปี ) มีขนาดพื้น ที่ 620 ไร่ (ร้อยละ 32.82) รองลงมา คื อ การสูญเสียดินรุนแรงมากในพื้นที่ สู งชัน (มากกว่า 20 ตั น /ไร่/ ปี ) มีขนาดพื้น ที่ 158 ไร่ (ร้อยละ 8.36) และ การสูญ เสีย ดิน น้อ ย (2 -5 ตัน /ไร่/ ปี ) มีขนาดพื้นที่ 148 ไร่ (ร้อยละ 7.83) กรณีไม่มีโครงการระดับการชะล้าง พังทลายของดินในพื้นที่จะมีสภาพที่ไม่แตกต่างไปจากเดิม เนื่องจากไม่มีกิจกรรมใดที่ส่งผลกระทบต่อการชะล้าง พังทลายหรือเป็นจุดกำเนิดปริมาณตะกอนจำนวนมาก 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง กิจกรรมก่อสร้างของโครงการที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อการชะล้างพังทลายของดิน ได้แก่ การเปิดหน้าดิน การขุดเจาะ การถมและบดอัดดิน ซึ่งจะทำให้พื้นที่ดำเนินกิจกรรมก่อสร้างเปลี่ยนเป็นที่โล่ง ไร้สิ่งปกคลุมดินและเกิดรอยด่างของพื้นที่ ( Scar) กลายเป็นจุดเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินได้ โดยเฉพาะ ในช่วงที่มีฝนตก และถ้าหากมีการชะล้างหน้าดินในปริมาณมากไหลลงสู่พื้นที่รับน้ำหรืออาคารระบายน้ำที่มีอยู่เดิม ในพื้นที่ ก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการระบายน้ำในบริเวณดังกล่าวได้ การชะล้างพังทลายของดินส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากน้ำฝน พลังงานของฝนที่ตกกระทบพื้นดิน ทำให้ดินแตกออกจากกัน ความคงทนของดินต่อการชะล้างพังทลาย (Soil Erodibility) ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของดิน ได้แก่ การจับตัวของดิน การซึมน้ำของดิน โครงสร้างของดินและเนื้อดิน ดินที่แตกออกจากกันสามารถถูกพัดพาไปกับ น้ำไหลบ่าหน้าดิน (Run-off Water) โดยปริมาณน้ำไหลบ่าและความเร็วของน้ำไหลบ่า อาจทำให้เกิดขบวนการกัดเซาะ และการพัดพาของตะกอน (Detachment and Transportation) มากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศ ซึ่งได้แก่ ความยาวของพื้นที่และความลาดชันของพื้นที่ที่น้ำท่าไหลผ่านหน้าดิน สิ่งปกคลุมดินหรือชนิดของพืชพรรณ ต่างๆ สามารถลดแรงตกกระทบของพลังงานฝนที่จะตกกระทบลงสู่ดิน ตลอดจนลดการไหลบ่าของน้ำ โดยชนิดของ สิ่งปกคลุมดินและพืชพรรณซึ่งมีชนิดต่างกัน จะมีผลต่อการลดความรุนแรงของน้ำได้ต่างกัน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการชะล้างพังทลายโดยน้ำ • น้ำหรือฝน (precipitation) หมายถึงการตกลงมาของน้ำในรูปของแข็งหรือของเหลวก็ตาม เช่น ฝน หิมะ ลูกเห็บ หมอก หรือน้ำค้าง โดยทั่วไปแล้วถือว่าฝนเป็นตัวการใหญ่ที่ทำให้เกิดการชะล้างพังทลาย แต่ สำหรับประเทศหนาวหิมะก็มีส่วนมากเหมือนกัน การกัดกร่อนจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับลักษณะของฝน เช่น ความมากน้ อยที่ ต กครั้งหนึ่ ง ระยะเวลา จำนวนน้ ำฝนทั้ งหมด ขนาด ความเร็ว รูป ร่า งของเม็ ด ฝน และการ แพร่กระจายของฝนในแต่ละฤดู กรมทางหลวงชนบท 4-10 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม • สภาพภูมิประเทศ (topography) มีความสัมพันธ์อย่างมากกับน้ำไหลบ่า จะมีอิทธิพลแค่ ไหน ขึ้นอยู่กับความชันของความลาดเท ความยาวความลาดเท รูปร่างของความลาดเท ความไม่สม่ ำเสมอของ ความลาดเท และทิศทางของความลาดเท • สมบัติของดิน (soil properties) การชะล้างพังทลายจะเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ ปัจจัยของดิน ดังนี้ - ความสามารถในการทนทานต่ อการชะล้ า งพั งทลายของดิ น ซึ่ งขึ้น อยู่ กับ ปริม าณ อินทรียวัตถุ ปริมาณอนุภาคดินเหนียว ชนิดของไอออนบวกที่แลกเปลี่ยนได้ ปริมาณของเม็ดดินที่เสถียร กิจกรรม ของ เชื้อจุลินทรีย์ ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน และปริมาณความชุ่มชื้นในดิน - ความสามารถในการทนทานต่อการพัดพา ซึ่งขึ้นอยู่กับเนื้อดินและขนาดของอนุภาค ของ ดิน ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน - ความสามารถในการทนทานต่อ น้ำไหลบ่า ซึ่งขึ้นอยู่กับเนื้อดินและขนาดของอนุภาค ของดิน ปริมาณช่องอากาศ ปริมาณความชื้นในดิน ชั้นดินดาน • สิ่งปกคลุมผิวดิน การใช้ประโยชน์จากที่ดิน และการจัดการดิน ซึ่งอาจมีผลดังนี้ - สิ่งปกคลุมผิวดิน (soil cover) การที่ผิวหน้าดินมีพืชหรือเศษวัสดุของพืชปกคลุมอยู่ก็ มีผลโดยตรงต่อการลดแรงปะทะของเม็ดฝน ลดการแตกกระจายของดิน และการไหลบ่าของน้ำบนผิวดินทำให้การ ชะล้างพังทลายของดินลดลง - การใช้ประโยชน์ที่ดิน (land use) โดยใช้ที่ดินให้เหมาะสมตามสมรรถนะของดิน การ ปลูก พืชปกคลุมหน้าดิน การเลือกชนิดพืชที่ปลูก มีผลทำให้การชะล้างพังทลายและการสูญเสียดินลดลงได้ - การจัดการดิน (soil management) ได้แก่ การไถพรวน โดยปกติเป็นการเพิ่มการชะ ล้าง พังทลายของดิน โดยถ้าทำให้ถูกวิธีที่เหมาะสมจะช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน วิธีการปลูกพืชมีอิทธิพล ต่อการชะล้างพังทลายของดินขึ้นอยู่กับชนิดของพืชที่ปลูก จำนวนพืชต่อเนื้อที่ ระยะระหว่างต้นและระหว่าง แถว และทิศทางของแถวกับความลาดเท ซึ่งถ้ามีพืชหนาแน่นและปลูกตามแนวระดับหรือขั้นบันไดจะลดการ ชะล้าง พังทลายของดินเป็นอย่างมาก การวิเคราะห์อัตราการชะล้างพังทลายของดินจากการเปิดหน้าดินขณะก่อสร้างจะด ำเนินการ โดยใช้สมการสูญเสียดินสากล ( Universal Soil Loss Equation : USLE) เนื่องจากการชะล้างพังทลายของดิน ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากหลายปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านน้ำฝน พลังงานของน้ำฝนที่ตกกระทบพื้นดิน ทำให้ดิน แตกออกจากกัน ปัจจัยด้านความคงทนของดินต่อการชะล้างพังทลาย ( Soil Erodibility) ซึ่งขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ ของดิน ได้แก่ การจับตัวของดิน การซึมน้ำของดิน โครงสร้างของดินและเนื้อดิน ดินที่แตกออกจากกันสามารถ ถูกพัดพาไปกับน้ำไหลบ่าหน้าดิน (Run-off Water) โดยปริมาณน้ำไหลบ่าและความเร็วของน้ำไหลบ่าอาจทำให้ เกิดขบวนการกัดเซาะและการพัดพาของตะกอน (Detachment and Transportation) มากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับ สภาพภูมิประเทศ ได้แก่ ความยาวของพื้นที่และความลาดชันของพื้นที่ที่น้ำท่าไหลผ่านหน้าดิน ปัจจัยด้านสิ่งปกคลุม ดินหรือชนิดของพืชพรรณต่าง ๆ สามารถลดแรงตกกระทบของพลังงานฝนที่จะตกกระทบลงสู่ดิน ตลอดจน ลด การไหลบ่าของน้ำ โดยชนิดของสิ่งปกคลุมดินและพืชพรรณซึ่งมีชนิดต่างกัน จะมีผลกระทบต่อการลดความรุนแรง ของน้ำได้ต่างกัน ในขณะเดียวกันกิจกรรมของมนุษย์ในพื้นที่ก็มีผลต่อการช่วยลดหรือเพิ่มความรุนแรงของการ ชะล้างพังทลายของดินได้ ค่าส่วนใหญ่ได้รับ อิทธิพลจากน้ำฝน พลังงานของฝนที่ตกกระทบพื้นดิน ทำให้ดินแตกออก จากกัน ความคงทนของดินต่อการชะล้างพังทลาย (Soil Erodibility) ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของดิน ได้แก่ การจับตัว ของดิน การซึมน้ำของดิน โครงสร้างของดินและเนื้อดิน ดินที่แตกออกจากกันสามารถถูกพัดพาไปกับน้ำไหลบ่า หน้าดิน (Run-off Water) โดยปริมาณน้ำไหลบ่าและความเร็วของน้ำไหลบ่า อาจทำให้เกิดขบวนการกัดเซาะและ กรมทางหลวงชนบท 4-11 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การพัดพาของตะกอน (Detachment and Transportation) มากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศ ได้แก่ ความยาวของพื้นที่และความลาดชันของพื้นที่ที่น้ำท่าไหลผ่านหน้าดิน สิ่งปกคลุมดินหรือชนิดของพืชพรรณต่าง ๆ สามารถลดแรงตกกระทบของพลังงานฝนที่จะตกกระทบลงสู่ดิน ตลอดจนลดการไหลบ่าของน้ำ โดย ชนิดของ สิ่งปกคลุมดินและพืชพรรณซึ่งมีชนิดต่างกัน จะมีผลต่อการลดความรุนแรงของน้ำได้ต่างกัน การศึกษาลักษณะการชะล้างพัง ทลายของดิน ที่เกิด จากการก่อสร้างสะพานของโครงการ และลักษณะผลกระทบสิ่งแวดล้อมในภาพรวมของการเกิดการชะล้างพังทลายดินในรูปแบบของลุ่มน้ำย่อยขนาด เล็ก ๆ ที่ครอบคลุมพื้นที่ดำเนินงานโครงการและพื้นที่ศึกษารัศมี 500 เมตร (นับจากกึ่งกลางทางหลวงออกไปข้างละ 500 เมตร) ซึ่งมีวิธีการศึกษา ดังนี้ • การประเมิน ปัจ จัย การชะล้า งพังทลายของฝน (Rainfall Erosivityfactor, R-factor) จากสมการถดถอยของความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการตกของฝนกับ R-factor โดย Srikhajon et al. (1984) ได้สร้างสมการเพื่อใช้ประเมินค่า R - factor ขึ้นดังนี้ R-factor = 0.4669X - 12.1415 …………………………………………..….…… (1) เมื่อ R-factor คือ ค่าปัจจัยการชะล้างพังทลายของฝน (เมตริกตัน/เฮกแตร์/ปี) X คือ ค่าปริมาณการตกของฝน (มิลลิเมตร/ปี) • การประเมินปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลายของดิน (Soil Erodibility factor, K-factor) ตามกลุ่มชุดดินในพื้นที่ศึกษาจากการจำแนกตามกลุ่มชุดดิ นของกรมพัฒนาที่ดิน (2543) ดังแสดงไว้ใน ตารางที่ 4.4.1-1 ตารางที่ 4.4.1-1 ค่าปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลายของดิน (K-factor) ของแต่ละกลุ่มชุดดิน กลุ่มชุดดิน K-factor กลุ่มชุดดิน 13 0.14 กลุ่มชุดดิน 51 0.20 กลุ่มชุดดิน 53 0.33 ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2543) • การประเมินปัจจัยความยาวความลาดชัน (Slope Length factor, L-factor) Wischmeier และคณะ (1997) ได้นำอัตราส่วนเฉพาะของการสูญเสียดินกับความยาวและเปอร์เซ็นต์ของความลาดชันมาสร้าง เป็นแผนภาพแสดงค่าความสัมพันธ์ของอัตราส่วนการสูญเสียดินกับความยาวและเปอร์เซ็นต์ของความลาดชัน โดย สมการของ Wischmeier and Smith (1978) ดังนี้ L-factor = ( / 22.13)m ……..……………………………. (2) เมื่อ L-factor คือ ปัจจัยความยาวความลาดชัน  คือ ระยะทางตามแนวราบของพื้นที่ลาดชัน (เมตร) m คือ ตัวเลขยกกำลังซึ่งผันแปรตามความลาดชัน กรมทางหลวงชนบท 4-12 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม • การประเมิ น ปั จ จั ย ความลาดชั น ( Slope Gradient factor, S-factor) จากสมการของ Wischmeier and Smith (1978) ดังนี้ S-factor = (0.043 + 0.30s + 0.043s2) / 6.613 ….……………………..…….. (3) เมื่อ S-factor คือ ปัจจัยความลาดชัน s คือ ความลาดชัน (เปอร์เซ็นต์) • การประเมินปัจจัยด้านการจัดการพืช (Crop Management factor, C-factor) และประเมิน ปัจจัยการปฏิบัติป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน (Conservation Practice factor, P-factor) จากรูปแบบการ ใช้ประโยชน์ที่ดินรูปแบบต่าง ๆ ในพื้นที่ศึกษา โดยอาศัยข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยของกรมพัฒนาที่ดิน ( 2543) ดังแสดงไว้ใน ตารางที่ 4.4.1 -2 และการจัด ชั้น ความรุน แรงของการชะล้า งพัง ทลายของดิน ในประเทศไทย กรมพัฒนาที่ดิน (2545) กำหนดจัดชั้นความรุนแรงของดินจัดออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับน้อย ระดับปานกลาง ระดับรุนแรง ระดับรุนแรงมาก และระดับรุนแรงมากที่สุด แสดงดังตารางที่ 4.4.1-3 ตารางที่ 4.4.1-2 ปัจจัยด้านการจัดการพืช (C-factor) และปัจจัยการปฏิบัติป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดิน (P-factor) การใช้ประโยชน์ที่ดิน C-factor P-factor สวนป่าสน/สวนยาง/สวนปาล์ม 0.088 1.00 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 0.000 0.00 แหล่งน้ำ 0.000 0.00 ไม้ชายเลน 0.000 0.00 ป่าชายหาด 0.450 1.00 หาดทราย ที่หินโผล่ พื้นที่ทราย 0.800 1.00 ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2543) • ประเมินการสูญเสียดินจากสมการสูญเสียดินสากลของ (USLE) ดังนี้ A = R*K*L*S*C*P ……………………………………..….…….. (4) เมื่อ A คือ ปริมาณกาสูญเสียดิน (ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี) R คือ ปัจจัยของนาฝนและการไหลบ่า (rain and run off factor) K คือ ปัจจัยความคงทนต่อการชะล้างพังทลายของดิน L คือ ปัจจัยความยาวของความลาดชัน (slope-length factor) S คือ ปัจจัยความลาดชันของพื้นที่ (slope steepness factor) C คือ ปัจจัยการจัดการพืช (cropping management factor) P คือ ปัจจัยการปฏิบัติการป้องกันการชะล้างพังทลาย (erosion control practice) กรมทางหลวงชนบท 4-13 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.1-3 การจัดชั้นความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย อัตราการสูญเสียดิน ชั้นความรุนแรงของการชะล้างพังทลาย ตัน/ไร่/ปี มิลลิเมตร/ปี 1 : น้อย 0–2 0 – 0.96 2 : ปานกลาง 2–5 0.96 – 2.40 3 : รุนแรง 5 – 15 2.40 – 7.20 4 : รุนแรงมาก 15 - 20 7.20 – 9.60 5 : รุนแรงมากที่สุด มากกว่า 20 มากกว่า 9.60 ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2545) การเปิดหน้าดิน การขุดเจาะ การถมและบดอัดดิน จากกิจกรรมการก่อสร้างเชิงลาดสะพาน ฝั่งตำบลเกาะกลาง (ช่วง กม.0+000-กม.0+500) และการก่อสร้างเชิง ลาดสะพานฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย (กม.2+000-กม.2+527) ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะทำให้พื้นที่กลายเป็นที่โล่ง มีขนาดพื้นที่ 9.38 และ 8.81 ไร่ ตามลำดับ จากผลการวิเคราะห์อัตราการชะล้างพังทลายของดินตามสมการสูญเสียดินสากล ( USLE) จะมีโอกาส เกิดการชะล้างพังทลายเท่ากับ 0.256 ตัน/ไร่/ปี ซึ่งมีระดับ การชะล้า งพัง ทลายของดิน อยู่ในระดับ ปานกลาง (น้อ ยกว่า 2 -5 ตัน /ไร่/ ปี) หรือ มีปริมาณการชะล้างดินเท่ากับ 2.40 และ 1.15 ตัน/ปี ตามลำดับ (ตารางที่ 4.4.1-4 การดำเนินกิจกรรมก่อสร้างถนนระดับดินของโครงการ จะมีกิจกรรมการเปิดหน้าดิน ทำให้มีการ เปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินไปเป็นที่เปิดโล่งไร้สิ่งปกคลุมดิน และเนื่องจากการชะล้างพังทลายของดินส่วนใหญ่ ได้รับอิทธิพลจากหลายปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านน้ำฝน พลังงานของน้ำฝนที่ตกกระทบพื้นดินท ำให้ดินแตกออก จากกัน ดินที่แตกออกจากกันสามารถถูกพัดพาไปกับน้ำไหลบ่าหน้าดิน ( Run-off Water) โดยปริมาณน้ำไหลบ่า และความเร็วของน้ำไหลบ่ า อาจทำให้ เกิดขบวนการกัด เซาะและการพั ดพาของตะกอน ( Detachment and Transportation) มากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศ ซึ่งได้แก่ ความยาวของพื้นที่และความลาดชันของ พื้นที่ที่น้ำท่าไหลผ่านหน้าดิน ในการประเมินผลผลิตตะกอนตามสมการการสูญเสียดินสากล ( USLE) ดังนี้ - การประเมิ น ค่าสั ม ประสิท ธิ์ การเคลื่อนย้ายตะกอน (Sediment Delivery Ratio, SDR) จากสมการของ Renfro (1975) ดังนี้ SDR = 62.05 Area-0.15 …………………………….…..……… (1) เมื่อ SDR คือ Sediment delivery ratio (%) Area ้ ที่ลุ่มน้ำ (ตารางกิโลเมตร) คือ ขนาดพืน - การประเมินผลผลิตตะกอน (Sediment Yield, SY) จากสมการ SY = (SDR/100)*A …………………………….…………… (2) เมื่อ SY คือ ผลผลิตตะกอน (ตันต่อปี) SDR คือ Sediment delivery ratio (%) A คือ ปริมาณการชะล้างพังทลายของดิน (ตันต่อปี) กรมทางหลวงชนบท 4-14 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.1-4 ผลการวิเคราะห์อัตราการชะล้างพังทลายของดินตามแนวเส้นทางโครงการ อัตราการชะล้าง ปริมาณ พื้นที่ ปัจจัยการชะล้างพังทลายของดิน ระดับ ระยะทาง พื้นที่ กลุ่มชุดดิน/ พังทลาย การชะล้าง กิจกรรมก่อสร้าง (ตาราง การชะล้าง (เมตร) (ไร่) ลักษณะดิน (A) ตัน/ ตัน/ ดิน เมตร) R K L S C P พังทลาย เฮคแตร์/ปี ไร่/ปี (ตัน/ปี) การก่อสร้างเชิงลาดสะพาน 500 15,000 9.38 กลุ่มชุดดินที่ 13/ 453.86 0.14 1.46 0.05 0.088 0.10 0.041 0.256 น้อย 2.40 ฝั่งตำบลเกาะกลาง ดินเลนเค็ม (ช่วง กม.0+000-กม.0+500) ชายทะเล การก่อสร้างเชิงลาดสะพานฝั่ง 240 7,200 4.50 กลุ่มชุดดินที่ 13/ 453.86 0.14 1.46 0.05 0.088 0.10 0.041 0.256 น้อย 1.15 ตำบลกาะลันตาน้อย ดินเลนเค็ม (กม.2+000-กม.2+527) ชายทะเล ที่มา : วิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2563 หมายเหตุ : A = อัตราการชะล้างพังทลายของดิน (ตัน/เฮคแตร์/ปี) R = ปัจจัยพลังงานของฝนที่ทำให้เกิดการสูญเสียดิน (ตัน/เฮคแตร์/ปี) K = ปัจจัยความคงทนต่อการชะล้างพังทลายของดิน L = ปัจจัยความยาวของความลาดชัน S = ปัจจัยความลาดชันของพื้นที่ C = ปัจจัยด้านการจัดการพืช P = ปัจจัยการปฏิบัติการป้องกันการชะล้างพังทลาย ระดับการชะล้างพังทลายของดิน : น้อย = น้อยกว่า 0-2 ตัน/ไร่/ปี ปานกลาง = 2 - 5 ตัน/ไร่/ปี รุนแรง = 5 - 15 ตัน/ไร่/ปี รุนแรงมาก = 15 - 20 ตัน/ไร่/ปี รุนแรงอย่างยิ่ง = มากกว่า 20 ตัน/ไร่/ปี กรมทางหลวงชนบท 4-15 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินผลผลิตตะกอนของโครงการ แบ่งออกได้เป็น 2 พื้นที่หลัก ได้แก่ พื้นที่ก่อสร้าง ฝั่งตำบลเกาะกลาง (ช่วง กม.0+000 - กม.0+500) และพื้นที่ก่อสร้างฝั่งตำบลกาะลันตาน้อย (กม.2+000 - กม.2+527) ในการประเมินผลกระทบด้านการชะล้างพังทลายของดิน (Erosion) ค่าสัมประสิทธิ์การเคลื่อนย้ายตะกอน (SDR) และผลผลิตตะกอน ( SY) ตามสมการการสูญ เสียดินสากล (USLE) ในพื้นที่ก่อสร้างโครงการ แสดงดังตารางที่ 4.4.1-5 สรุปได้ดังนี้ - พื้นที่ก่อสร้างฝั่งฝั่งตำบลเกาะกลาง (ช่วง กม.0+000-กม.0+500) ระยะทาง 500 เมตร มีพื้นที่ผิวหน้าดินปกคลุมอยู่ 9.38 ไร่ จะมีการสูญเสียดิน 0.256 ตัน/ไร่/ปี และมีผลผลิตตะกอน (SY) 2.80 ตัน/ปี - พื้น ที่ก่อสร้า งฝั่ง ตำบลกาะลัน ตาน้อย (กม.2+000-กม.2+527) ระยะทาง 527 เมตร มีพื้นที่ผิวหน้าดินปกคลุมอยู่ 4.50 ไร่ จะมีการสูญเสียดิน 0.256 ตัน/ไร่/ปี และมีผลผลิตตะกอน (SY) 1.50 ตัน/ปี กิจกรรมการเปิดหน้าดินในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง จะเป็นปัจจัยเอื้อให้เกิดการชะล้างพังทลาย ของดิน โดยเฉพาะช่วงที่มีฝนตกหนัก บริเวณหน้าดินที่ไม่มีสิ่งปกคลุมอาจถูกกัดเซาะและชะล้างพังทลายได้ง่าย ซึ่งคาดว่าการดำเนินกิจกรรมก่อสร้าง จะก่อให้เกิดปริมาณตะกอนดินชะล้างลงสู่ทะเล จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับ ปานกลาง ตารางที่ 4.4.1-5 การชะล้างพังทลายของดิน (Erosion) ค่าสัมประสิทธิ์การเคลื่อนย้ายตะกอน (SDR) และผลผลิตตะกอน (SY) พื้นที่ พื้นที่ อัตราการชะล้างพังทลาย ระยะทาง พื้นที่ SDR SY กิจกรรมก่อสร้าง (ตาราง (ตาราง (A) ตัน/ (เมตร) (ไร่) ตัน/ไร่/ปี ตัน/ปี (%) (ตัน/ปี) เมตร) กิโลเมตร) เฮคแตร์/ปี การก่อสร้างเชิงลาดสะพาน 500 15,000 0.015 9.38 0.041 0.256 2.40 116.50 2.80 ฝั่งตำบลเกาะกลาง (ช่วง กม.0+000-กม.0+500) การก่อสร้างเชิงลาดสะพาน 240 7,200 0.0072 4.50 0.041 0.256 1.15 130.06 1.50 ฝั่งตำบลกาะลันตาน้อย (กม.2+000-กม.2+527) ที่มา : วิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2563 กรมทางหลวงชนบท 4-16 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.4.2 ธรณีวิทยาและแผ่นดินไหว 4.4.2.1 ธรณีวิทยา 1) กรณีไม่มีโครงการ ผลการตรวจสอบลักษณะธรณีวิทยาในพื้นที่โครงการในพื้นที่ศึกษารัศมี 500 เมตร จากกึ่งกลางแนว เส้นทางโครงการ (กรมทรัพยากรธรณี, 2549) พบว่า ในพื้นที่ศึกษาทั้งหมด (ไม่นับรวมพื้นที่ทะเล) ตั้งอยู่พื้นที่ ที่มี สภาพธรณีวิทยาในหินยุคคาร์บอนิเฟอรัส -เพอร์เมียน เป็นกลุ่มหินแก่งกระจานตอนล่าง ( CPk ) ประกอบด้ว ย หินโคลนปนกรวด หินดินดาน หินทรายแป้ง หินเชิร์ต หินทรายเนื้อภูเขาไฟ หินทรายเนื้อซิลิกาสีเทา เทาเขียว และน้ำตาล มีซากหอยแบรคคิโอพอด ไบรโอซัว ปะการังและไคนอยด์ โดยอุท กธรณีวิท ยาในพื้น ที่โครงการ ศึกษารัศมี 500 เมตร พบว่า ชั้นน้ำบาดาลหรือชั้นหินอุ้มน้ำ ในพื้นที่ศึกษา ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นชั้นหินอุ้มน้ำ ตะกอนน้ำพา (Qfd) คิดเป็นร้อยละ 32.72 ของพื้นที่ทั้งหมด รองลงมาเป็นดินเหนียวชายทะเล (Qfd (m)) คิดเป็น ร้อยละ 10.69 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งหากไม่มีการพัฒนาโครงการ สภาพธรณีวิทยาก็ยังคงมีสภาพเหมือนเดิม 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง กิจกรรมในระยะเตรียมการก่อสร้าง ได้แก่ การเตรียมการรื้อย้ายสิ่งปลูกสร้าง/สาธารณูปโภค/ สิ่งกีดขวาง การเตรียมพื้นที่สำหรับก่อสร้างสำนักงานโครงการ บ้านพักคนงาน พื้นที่สำหรับเก็บวัสดุก่อสร้าง และเครื่องจักรกลต่าง ๆ รวมทั้งสถานที่จอดรถยนต์ การก่อสร้างโรงหล่อคอนกรีตสำเร็จรูป การก่อสร้างถนน ชั่วคราวสำหรับงานก่อสร้าง การก่อสร้างโรงซ่อมบำรุงเครื่องจักร การขนส่งเครื่องจักร/อุปกรณ์ก่อสร้างและวัสดุ ก่อสร้าง ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้เกิดขึ้นบนผิวดินเท่านั้น ไม่มีการตัด ลึกลงไปถึ ง ชั้น หิน และไม่ก่อให้ เกิด การ เปลี่ยนแปลงหรือส่งผลกระทบต่อโครงสร้างลักษณะทางธรณีวิทยา จึงไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพธรณีวิทยา งานก่อสร้างทางชั่วคราว/ทางเบี่ยงจราจรชั่วคราว งานก่อสร้างทางระบายน้ำชั่วคราว การโค่น ต้นไม้/ขุดตอ การบดอัด ปรับลาดเอียง งานดินขุด/ดินถม งานขนย้ายดินออกจากพื้นที่ก่อสร้าง ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้เกิดขึ้นบนผิวดินในเขตทางเท่านั้น ไม่มีการขุด เจาะ ลึกลงไปจนทำลายโครงสร้างทางธรณีวิทยา จึงไม่ส่งผล กระทบต่อสภาพธรณีวิทยา ส่วนงานก่อสร้างโครงสร้างชั้นทาง งานสัญญาณไฟจราจร งานก่อสร้างระบบไฟฟ้า และแสงสว่าง รวมถึงการดำเนินงานภายในสำนักควบคุมงานและบ้านพักคนงาน เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นบริเวณ ผิวทางเท่านั้น ไม่มีการขุดเจาะพื้นที่แต่อย่างใด จึงไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพธรณีวิทยาแต่อย่างใด กิจกรรมการก่อสร้างสะพานตอม่ อตั บที่ P3 ถึง P6 ช่ วง กม.0+500-กม.1+016 ออกแบบเป็ น สะพานขึง โดยฐานรากสะพานใช้ Bored Pile ขนาด 1.5 เมตร ลึก 30 เมตร ซึ่ง Bored Pile แต่ละต้นมีกำลังรับ น้ำหนักปลอดภัยต้นละ 2,500 ตัน โครงสร้างส่วนบนมีลักษณะเป็นคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องหล่อในที่ก่อสร้างด้วย วิ ธี ค านยื่ น อิ ส ระสมดุ ล ( Priestess Concrete Box Girder built by Balanced Cantilever Method) โดย จัดเป็นคานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องแบบ 1 cells และมีลวดเคเบิ้ลขึงยึดโครงสร้างส่วนบนกับเสา Pylon ส่วนก่อสร้างสะพานตอม่อตับที่ P7 ถึง P19 ช่วง กม.1+016-กม.2+019 ออกแบบเป็นสะพาน คานยื่น มีความสูงช่องลอดประมาณ 8.0 เมตร โดยฐานรากสะพานใช้ Bored Pile ขนาด 0.6 เมตร ลึก 15 เมตร ซึ ่ง Bored Pile แต่ ล ะต้ น มี กำลั งรับ น้ ำ หนั ก ปลอดภั ย ต้ น ละ 1 ,950 ตั น ส่ ว นเสานั้ น ได้ จั ด เป็ น เสาคู่ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการรับ โมเมนต์ดัดและมี Stiffness น้ อย เพื่ อลดโมเมนต์ดัดที่กระทำต่อเสา ขณะที่ โครงสร้าง ส่วนบนมีลักษณะเป็นคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องหล่อในที่ก่อสร้างด้วยวิธีคานยื่นอิ สระสมดุล (Priestess Concrete Box Girder built by Balanced Cantilever Method) โดยจัดเป็นคานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องแบบ 1 cells กรมทางหลวงชนบท 4-17 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับการก่อสร้างช่วง APPROACH ออกแบบเป็นสะพานช่วงสั้น ความยาวช่วง 10 เมตร โดยออกแบบลักษณะ ของโครงสร้างส่วนบนเป็นพื้นหล่อสำเร็จ ( Precast plank girder) มีความหนา 0.38 เมตร โดยมีการเสริมลวด อัดแรง ความกว้างของแผ่นพื้น 0.99 เมตร โครงสร้างส่วนล่างมีลักษณะเป็นเสาคอนกรีตเสริมเหล็กบนฐานราก เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก การก่อสร้างฐานรากของโครงสร้างสะพานช่วงนี้ใช้เสาเข็มเจาะ ซึ่งไม่ส่งกระทบต่อการ เปลี่ยนแปลงชั้นหินในพื้นที่ จึงไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพธรณีวิทยาแต่อย่างใด (2) ระยะดำเนินการ ในระยะดำเนินการการคมนาคมจากยานพาหนะที่เข้ามาใช้เส้นทาง งานบำรุงรักษาปกติ งาน บำรุงรักษาตามกำหนดเวลา งานบำรุงรักษาพิเศษ/งานบูรณะ/งานซ่อมฉุกเฉินที่เกิดขึ้น จะไม่ส่งผลกระทบต่อ โครงสร้างลักษณะทางธรณีวิทยา เนื่องจากกิจกรรมที่เกิดขึ้น จะเกิดบริเวณผิวจราจรเท่านั้น ไม่มีกิจกรรมที่ต้องขุด เจาะลึกลงไปจนกระทบต่อโครงสร้างลักษณะทางธรณีวิทยา จึงไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพธรณีวิทยาแต่อย่างใด 4.4.2.2 แผ่นดินไหวและการเกิดสึนามิ 1) กรณีไม่มีโครงการ การเกิดแผ่นดินไหว แผ่นดินไหว เป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดจากความสั่นสะเทือนของพื้นดินอันเนื่องมาจากการ ปลดปล่อยพลังงาน เพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลันในการปรับสมดุลของโลกให้คงที่ ซึ่งความรุนแรงของแผ่น ดิน ไหวเป็น ผลกระทบของแผ่นดิน ไหวที่มีต่อความรู้สึกของคนต่อควา มเสียหายของ อาคารและสิ่งก่อสร้างและต่อสิ่งต่าง ๆ ของธรรมชาติ โดยความรุนแรงจะมากน้อยขึ้นอยู่กับระยะทางจากตำแหน่ง ศูนย์กลางแผ่นดินไหว ซึ่งจากแผนที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย พบว่า พื้นที่โครงการอยู่ในเขต 2ก คือ ความรุนแรง V-VII เมอร์คัลลี่ ทุกคนตกใจ สิ่งก่อสร้างออกแบบไม่ดีปรากฏความเสียหาย (มีความเสียหายในการ เกิดความเสียหายในระดับน้อยถึงปานกลาง) ซึ่งกรมทรัพยากรธรณีได้สำรวจรอยเลื่อนที่มีพลังในประเทศไทย พบว่า มีแนวรอยเลื่อนใหญ่ๆ อยู่หลายแนว สามารถจัดกลุ่มรอยเลื่อนตามทิศทางการวางตัวและการเคลื่อนที่ที่สำคัญได้ 3 แนว คือ กลุ่มรอยเลื่อนที่วางตัวในแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ กลุ่มรอยเลื่อนที่ว างตั ว ในทิ ศ ตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และกลุ่มรอยเลื่อนที่วางตัวอยู่ในทิศเหนือ-ใต้ จำนวนทั้งสิ้น 15 กลุ่มรอยเลื่อน โดยรอยเลื่อนที่มีพลังที่ อยู่ใกล้กับพื้ นที่โครงการมากที่สุด คือ รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย มีระยะห่างจากที่ตั้งโครงการ ประมาณ 70.5 กิโลเมตร และจากการตรวจสอบแผนที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวประเทศไทย ของกรมทรัพยากรธรณี (2559) พบว่า แนวเส้นทางโครงการตั้งอยู่ในเขตพื้นที่สีเขียวเข้ม ซึ่งมีระดับความรุนแรงแผ่นดินไหว อยู่ที่ระดับเบา มีค่าอยู่ระหว่าง 1 – 3 เมอร์คัลลี่ (คนจะไม่รู้สึก แต่เครื่องวัดสามารถตรวจวัดจับได้) แต่หากพิจารณาในรัศมี 150 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี พังงา และภูเก็ต ซึ่งมีระดับความรุนแรงแผ่นดินไหวตั้งแต่ 3-22 เมอร์คัลลี่ ซึ่งจากการตรวจสอบแผนที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยและศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ของกรมทรัพยากร ธรณี (2561) พบว่าที่ตั้งโครงการไม่ได้อยู่ในศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ในช่วงปี พ.ศ.2518-2563 แต่อย่างใด และผล การรวบรวมสถิติการเกิดแผ่นดินไหวของประเทศไทยในรอบ 40 ปี ที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ในประเทศไทยและมีระดับ ความรุนแรงตั้งแต่ 4.0 แมกนิจูดขึ้นไป ของกรมทรัพยากรธรณี ช่วงปี พ.ศ. 2518-2557 พบว่า พื้นที่โครงการยัง ไม่เคยเกิดแผ่นดินไหวแต่อย่างใด กรมทางหลวงชนบท 4-18 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การเกิดสึนามิ การเกิดพิ บัติภัยคลื่นยักษ์ สึนามิ เมื่อเวลา 07.58 น. (เวลาในประเทศไทย) ของวันอาทิ ตย์ที่ 26 ธัน วาคม พ.ศ. 2547 ในขณะนั้ น เกิดแผ่ น ดิน ไหวในทะเลเหนื อเกาะสุ ม าตรา ขนาด 9.2 จุด ศูน ย์กลางอยู่ ใต้ มหาสมุทรอินเดียลึกลงไปประมาณ 30 กิโลเมตร จุดเหนือศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวอยู่บริเวณทิศตะวันตก เฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งแรงสั่นสะเทือนสามารถรับรู้ได้ถึงจังหวัดภูเก็ต และในอีก หลายจังหวัดชายฝั่งอันดามันของไทย รวมถึงจังหวัดกระบี่ด้วย เวลาประมาณ 10.00 น. ของวันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (เวลาในประเทศไทย) คลื่นยักษ์ สึนามิได้พัดเข้าถล่มบริเวณชายฝั่งของหลายประเทศในมหาสมุทรอินเดีย ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย ศรีลังกา อินเดีย มัลดีฟส์ โซมาเลีย เมียนมาร์ มาเลเซีย แทนซาเนีย แอฟริกาใต้ บังคลาเทศ เยเมน เคนยา มาดากัสการ์ หมู่เกาะเซเชลส์ รวมทั้งประเทศไทย สร้างความเสียหายให้กับพื้นที่ 6 จังหวัดภาคใต้ที่มีพื้นที่อยู่ติดกับชายฝั่งทะเล อันดามัน ประกอบด้วย จังหวัด ภูเก็ต พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากเหตุการณคลื่นยักษสึนามิเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ส่งผลกระทบ ใหพื้นทองทะเลเกิดการเคลื่อนตัวในแนวดิ่งอย่างกะทันหัน และน้ำทะเลปริมาณมหาศาลถูกทำใหเคลื่อนตัวอยาง ทันทีทันใด เกิดสึนามิตามแนวชายฝงทะเลภาคใตของประเทศไทยดานทะเลอันดามัน สรางความเสียหายใหแกชีวิต และทรัพยสินเปนอยางมากในจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน ซึ่งมีพื้นที่เสียหายทั้งหมด 6 จังหวัด ไดแก ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล ซึ่งในพื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ก็เปนพื้นที่ส วนหนึ่งที่ไดรับความเสียหายจาก เหตุ การณดังกลาว โดยในพื้ นที่ เกาะลัน ตามี จํานวนครัวเรือนที่ ป ระสบภัยทั้ งหมดประมาณ 1,859 ครัวเรือน (ครัวเรือนทั้งหมดที่ประสบภัยอางตามตัวเลขสูงสุด ) ซึ่งไดรับความเสียหายทั้งเสียชีวิต การบาดเจ็บ บานเรือน และที่ดิน ทรัพยสินสวนตัว เรือและอุปกรณประมง การเลี้ยงสัตวน้ำ การประกอบอาชีพตางๆ รวมถึงธุรกิจตางๆ และด้านการเกษตร โดยชุมชนที่ประสบภัยอยางมากในพื้นที่เกาะลันตา ไดแก ชุมชนบานศาลาดาน ตําบลศาลาดาน ชุมชนบานสังกะอูและชุมชนบานศรีรายา ตําบลเกาะลันตาใหญ อําเภอเกาะลันตา ส่วนพื้นที่ในตำบลเกาะลันตาน้อย และตำบลเกาะกลางนั้น คลื่นสึนามิได้เข้าทำลายและสร้างความเสียหายในบริเวณพื้นที่ตามแนวชายฝั่งของคลอง ช่องลาด ซึ่งเป็ น พื้ นที่ ป่ าชายเลนของพื้ น ที่ ห้ามล่าสัตว์ป่ าทุ่งทะเล ดั งแสดงขอบเขตพื้ น ที่ น้ำทะเลทวมถึงจาก เหตุการณคลื่นยักษสึนามิ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 แต่อย่างไรก็ตามการแผ่นดินไหวและการเกิดสึนามิเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ จึงพิจารณาให้มีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การเกิดแผ่นดินไหว กิจกรรมในระยะเตรียมการก่อสร้าง ได้แก่ การเตรียมการรื้อย้ายสิ่งปลูกสร้าง/สาธารณูปโภค/ สิ่งกีดขวาง การเตรียมพื้นที่สำหรับก่อสร้างสำนักงานโครงการ บ้านพักคนงาน พื้นที่สำหรับเก็บวัสดุก่อสร้างและ เครื่องจักรกลต่าง ๆ รวมทั้งสถานที่จอดรถยนต์ การก่อสร้างโรงหล่อคอนกรีตสำเร็จรูป การก่อสร้างถนนชั่วคราว สำหรับงานก่อสร้าง การก่อสร้างโรงซ่อมบำรุงเครื่องจักร การขนส่งเครื่องจักร/อุปกรณ์ก่อสร้างและวัสดุก่อสร้าง กิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ เกิดขึ้นบนผิวดินบริเวณพื้นที่ก่อสร้างเท่านั้น ไม่ส่งผลกระทบต่อรอยเลื่อนและแผ่นดินไหว แต่อย่างใด รวมถึงกิจกรรมดังกล่าวไม่ได้เป็นสาเหตุทำให้เกิดแผ่นดินไหว และบริเวณพื้นที่โครงการยังไม่เคยเกิด เหตุการณ์แผ่นดินไหว และไม่เคยได้รับผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหวมายังพื้นที่โครงการ ทั้งนี้ พื้นที่โครงการ ตั้งอยู่ห่างจากรอยเลื่อนที่มีพลังของประเทศไทย คือ รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย มีระยะห่างจากที่ตั้งโครงการประมาณ 70.5 กิโลเมตร ซึ่งรอยเลื่อนดังกล่าวไม่ได้ส่งผลกระทบมายังบริเวณพื้นที่โครงการ กรมทางหลวงชนบท 4-19 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม กิจกรรมในระยะก่อสร้าง ได้แก่ งานก่อสร้างทางชั่วคราว/ทางเบี่ยงจราจรชั่วคราว งานก่อสร้าง ทางระบายน้ำ การโค่นต้นไม้/ขุดตอ การควบคุมป้องกันผิวหน้าดิน การบดอัด ปรับลาดเอียง งานดินขุด/ดินถม งานขนย้ายดินออกจากพื้นที่ก่อสร้าง ซึ่งส่วนใหญ่พื้นที่ก่อสร้างจะอยู่บนผิวทาง สำหรับงานทาง ได้แก่ งานก่อสร้าง โครงสร้างชั้นทาง งานผิวทาง งานสัญญาณไฟจราจร งานก่อสร้างระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง รวมถึงการดำเนินงาน ภายในสำนั กงานควบคุ มงานและบ้ านพั กคนงานเป็ นกิจกรรมที่ เกิ ดขึ้ น บริเวณผิ วทางเท่านั้ น ส่ วนงานก่อสร้า ง โครงสร้างสะพาน ได้แก่ งานก่อสร้างสะพาน งานระบายน้ำ งานก่อสร้างเสาเข็ม และงานฐานราก ตอม่อ และเสา เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในบริเวณพื้นที่โครงการ และจากสถิติการเกิดแผ่นดินไหวที่ผ่านมา ยังไม่เคยเกิดแผ่นดินไหว ในพื้นที่โครงการและไม่เคยได้รับผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหว ประกอบกับการออกแบบโครงการครั้งนี้ คำนึงถึงการจัดรูปแบบเรขาคณิ ต ให้มีเสถียรภาพในการต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว การกำหนด รายละเอียดปลีกย่อยชิ้นส่วนโครงสร้าง รวมทั้งบริเวณรอยต่อระหว่างปลายชิ้นส่วนโครงสร้างต่างๆ และการจัดให้ โครงสร้าง ทั้งระบบให้มีความเหนียวเทียบเท่าความเหนียวจำกัด (Limited Ductility) อย่างน้อยตามมาตรฐาน การออกแบบอาคารเพื่อต้านการสั่นสะเทื อนของแผ่นดิน ไหวของกรมโยธาธิการและผังเมือง และเป็น ไปตาม มาตรฐาน AASHTO LRFD รวมทั้งการออกแบบก่อสร้างได้ทำการประเมินค่า PGA สำหรับพื้นที่โครงการฯ อ้างอิง ผลงานวิจัยของ Palasri และ Ruangrassamee (2010) ซึ่งผลการประเมินสรุปว่าค่า PGA ที่มีโอกาส 2% POE ในอีก 50 ปี สำหรับพื้นที่โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา มีค่า PGA ประมาณ 0.02g และการออกแบบรับแรง แผ่นดินไหวของโครงการฯ ได้นำค่า PGA ไม่น้อยกว่า 0.02g มาใช้ในการออกแบบแล้ว พื้นที่โครงการตั้งอยู่ห่างจากรอยเลื่อนที่มีพลัง รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย ประมาณ 70.5 กิโลเมตร และจากการตรวจสอบแผนที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวประเทศไทย ของกรมทรัพยากรธรณี (2559) พบว่า แนวเส้นทาง โครงการตั้งอยู่ในเขตพื้นที่สีเขียวเข้ม ซึ่งมีระดับความรุนแรงแผ่นดินไหวอยู่ที่ระดับเบา มีค่าอยู่ระหว่าง 1 – 3 เมอร์คัลลี่ (คนจะไม่รู้สึก แต่เครื่องวัดสามารถตรวจวัดจับได้ ) แต่หากพิจารณาในรัศมี 150 กิโลเมตร ครอบคลุม พื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี พังงา และภูเก็ต ซึ่งมีระดับความรุนแรงแผ่นดินไหวตั้งแต่ 3-22 เมอร์คัลลี่ และจากการ ตรวจสอบแผนที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยและศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ของกรมทรัพยากรธรณี (2561) พบว่า ที่ตั้งโครงการไม่ได้อยู่ในศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ในช่วงปี พ.ศ. 2518-2563 แต่อย่างใด และผลการรวบรวมสถิติการ เกิดแผ่นดินไหวของประเทศไทยในรอบ 40 ปี ที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ในประเทศไทยและมีระดับความรุนแรงตั้งแต่ 4.0 แมกนิ จู ด ขึ้ น ไป ของกรมทรัพ ยากรธรณี ช่ ว งปี พ.ศ. 2518 -2557 พบว่ า พื้ น ที่ โ ครงการยั ง ไม่ เคยเกิ ด แผ่นดินไหว แต่อย่างไรก็ตามการแผ่นดินไหวเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ จึงพิจารณาให้มี ผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง การเกิดสึนามิ พื้นที่ในตำบลเกาะกลาง และตำบลเกาะลันตาน้อย เป็นหนึ่งในพื้นที่ประสบภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิ พ.ศ. 2547 ซึ่งมีผลการศึกษาวิจัยของกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง สหสัมพันธ์ระหว่างการวัดขึ้นไปในแผ่นดินของ คลื่นสึนามิกับลักษณะชายฝั่ง (ภูเวียง คำประมินทร์ 2548) ความเร็วของคลื่น (Velocity-V) คลื่นทะเลทั่วๆ ไป มีความเร็วประมาณ 90 กม./ชั่วโมง แต่คลื่นสึนามิ อาจจะมีความเร็วได้ถึง 950 กม./ชั่วโมง ซึ่งก็พอๆ กับความเร็ว ของเครื่องบินเจ็ททีเดียว โดยจะขึ้นอยู่กับความลึกที่เกิดแผ่นดินถล่มใต้ทะเล ถ้าแผ่นดินไหวยิ่งเกิดที่ก้นทะเลลึก เท่าไหร่ ความเร็วของคลื่นสนามิ ก็จะสูงขึ้นมากเท่านั้น เพราะปริมาตรน้ำที่ถูกเคลื่อนออกจากที่เดิม จะมีมากขึ้น ไปตามความลึก คลื่นสึนามิจึงสามารถเคลื่อนที่ผ่านท้องทะเลอันกว้างใหญ่ได้ภายในเวลาไม่นาน กรมทางหลวงชนบท 4-20 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบจากการเกิดสึนามิ คลื่นสึนามิหรือกลุ่มคลื่นที่มีจุดกำเนิดอยู่ในเขตทะเลลึก ซึ่งมัก ปรากฏหลังแผ่น ดินไหวขนาดใหญ่ แผ่นดิน ไหวใต้ท ะเล ภูเขาไฟระเบิด ดินถล่ม แผ่นดินทรุด หรืออุกกาบาต ขนาดใหญ่ตกลงในทะเล ที่ผ่านมาเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 หลังจากที่คลื่นสึนามิที่เกิดจากแผ่นดินไหวใต้น้ำ เข้ากระทบชายฝั่งทางใต้ จังหวัดกระบี่ ซึ่งที่ตั้งโครงการฯ เป็นจังหวัดหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากคลื่นสึนามิเข้า ทำลายพื้นที่ชายฝั่ง ทำให้เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ทั้งนี้การเกิดสึนามิเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ไม่ สามารถคาดการณ์ได้ จึงพิจารณาให้มีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง (2) ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ การคมนาคมจากยานพาหนะที่เข้ามาใช้เส้นทางงานบำรุงรักษาปกติ งานบำรุงรักษา ตามกำหนดเวลา งานบำรุงรักษาพิเศษ/งานบูรณะ/งานซ่อมฉุกเฉิน ที่เกิดขึ้นจะไม่ส่งผลกระทบต่อรอยเลื่อน การเกิดแผ่นดินไหว การเสี่ยงภัยต่อการพัฒนาโครงการ นอกจากนี้ หากเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว คาดว่าจะไม่ ส่ งผลกระทบต่ อ โครงการ เนื่ อ งจากโครงการได้ อ อกแบบโครงสร้ า งสะพานในเรื่อ งของความแข็ ง แรงและ ความสามารถต้านทานแผ่นดินไหว เพื่อรองรับการเกิดแผ่นดินไหวและพื้นที่โครงการไม่ใช่พื้นที่ศูนย์กลางในการ เกิดแผ่นดินไหว รวมถึงยังไม่เคยเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวและได้รับความเสียหายจากการเกิดแผ่นดินไหวแต่อย่างใด แต่อย่างไรก็ตามการแผ่นดินไหวเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ จึงพิจารณาให้มีผลกระทบอยู่ ในระดับปานกลาง การเกิดแผ่นดินไหว การเกิดเหตุ การณ์ แผ่นดิ นไหวในพื้ นที่ จั งหวัดกระบี่ที่ อาจส่งผลต่ อสะพานเชื่อมเกาะลันตา ซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคมหลักในการเดินทางระหว่างแผ่นดินใหญ่กระบี่กับเกาะลันตา จำเป็นต้องมีแผนปฏิบัติงาน ในการสำรวจตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรง เพื่อประเมินความปลอดภัยในการใช้งานสะพานเชื่อมเกาะลันตาต่อไป หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหว ทั้งนี้แผ่นดินไหวขนาดใหญ่สามารถทำให้เกิดความเสียหายอย่างมากต่อสะพาน ซึ่งมีที่ตั้งทางยุทธศาสตร์ในการบริการขนส่ง การที่สะพานได้รับความเสียหายจากแรงแผ่นดินไหวจะเป็นอุปสรรค อย่างมากต่อการใช้สะพานเพื่อเข้าช่วยเหลือฉุกเฉิน การประเมินความเสียหายจากแผ่นดินไหวของสะพานอย่าง รวดเร็วสามารถช่วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการตัดสินใจอย่างรวดเร็วหลังเกิดแผ่นดินไหวและประหยัดเวลา ในการช่วยเหลือช่วยให้กรมทางหลวงชนบทสามารถวางแผนใช้สะพานเชื่อมเกาะลันตาในการกู้ภัยผู้ที่ได้รับความ เดือดร้อนจากแผ่นดินไหวบนเกาะลันตาได้อย่างทันเหตุการณ์ และสามารถวางแผนการซ่อมบำรุงสะพานเชื่อม เกาะลันตา ได้อย่างเหมาะสมต่อไป ก) แผนปฏิบัติการสำรวจความเสียหายสะพานเบื้องต้น ภายหลังแผ่นดินไหว ในการสำรวจความเสี ย หายขั้น ต้ น ของโครงสร้า งสะพาน จะเป็ น ความรับ ผิ ด ชอบของ สำนักงานหมวดทางหลวงชนบทบนเกาะลันตา โดยจะทำการสำรวจสะพานเชื่อมเกาะลันตาและสะพานสิริลันตา หลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว โดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญโครงสร้างสะพานจะตรวจสอบถึงลักษณะของความเสียหาย และประเมินว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสะพานนั้นมีผลกระทบต่อความสามารถของสะพานหรือส่วนหนึ่งส่วนใด ของสะพานหรือไม่ เมื่อต้องต้านทานแรงกระทำ ได้แก่ แรงจากน้ำหนักบรรทุกใช้งานปกติ แรงจากลม แรงจาก แผ่นดินไหวตาม (aftershock) ที่มีขนาดใกล้เคียงหรือน้อยกว่าแผ่นดินไหวที่เพิ่งเกิดขึ้นโดยประเด็นหลักๆ ที่วิศวกร ผู้เชี่ยวชาญโครงสร้างจะให้ความสำคัญในระหว่างการประเมินความเสียหายขั้นต้น ได้แก่ ▪ โอกาสในการถล่มของสะพานทั้งหมดหรือเฉพาะบางส่วน เนื่องมาจากการสูญเสียกำลัง (strength) เสถียรภาพ (stability) หรือความแข็งแกร่ง (stiffness) ของระบบโครงสร้าง ▪ การร่วงหล่นของวัสดุประกอบสะพานที่ไม่ใช่โครงสร้างหลักของสะพาน เช่น เสาป้าย เสาไฟฟ้าแสงสว่างส่องทาง อุปกรณ์ยึดจับสายไฟฟ้า เป็นต้น กรมทางหลวงชนบท 4-21 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การเข้าตรวจสอบความเสียหายขั้นต้นของสะพานที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหวนั้น เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักทางหลวงชนบทที่ 11 โดยจะมีกระบวนการในการตรวจสอบสามารถสรุป เป็นขั้นตอนได้ตามที่แสดงในรูปที่ 4.4.2-1 ระบุภัยที่อาจ ระบุข้อมูลสะพาน ประเมินความเสียหาย เกิดขึ้น (เขียว เหลือง แดง) (ถ้ามี) ปิดกั้นบริเวณรอบพื้นที่ รวบรวมผลการสำรวจ ติดป้ายประกาศ และ สะพาน (ถ้าจำเป็น) รูปที่ 4.4.2-1 ขั้นตอนการสำรวจความเสียหายขั้นต้นของสะพานภายหลังการเกิดแผ่นดินไหว การแบ่งระดับ ความเสียหายของสะพานจากผลการสำรวจขั้น ต้น ในการประเมินความ เสี ยหายขั้นต้ นของสะพานหลังจากเหตุ การณ์ แผ่นดิ นไหวนี้ จะแบ่ งระดับความเสี ยหายของโครงสร้างสะพาน ออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ▪ สะพานไม่มีความเสียหายหรือมีเสียหายเล็กน้อยซึ่งมีความปลอดภัยเพียงพอที่จะใช้ งานได้ตามปกติ ▪ สะพานที่มีความเสียหายในระดับที่อาจส่งผลต่อความสามารถในการใช้งานต่อไป ซึ่งจำเป็นต้องมีการดำเนินการอย่างอื่นเพิ่มเติมเพื่อยืนยันความปลอดภัยของสะพาน ▪ สะพานมีความเสียหายอย่างหนักหรือไม่มีความปลอดภัยหากมีการใช้งานสะพาน ต่อไป โดยระดับความเสียหายของสะพานทั้ง 3 ระดับนี้ จะแสดงด้วยสีของป้ายประกาศระดับความเสียหาย (placard) ซึ่งได้แก่ สีเขียว สีเหลือง และสีแดง ตามลำดับ โดยขนาดความเสียหาย ข้อจำกัดในการใช้งานสะพาน และสีของป้ายประกาศฯ ในแต่ละระดับได้สรุปอยู่ในตารางที่ 4.4.2-1 กรมทางหลวงชนบท 4-22 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.2-1 ระดับความเสียหาย ข้อจำกัดในการใช้งานสะพานและป้ายประกาศระดับความเสียหาย แต่ละระดับ ความเสียหาย ข้อจำกัดในการใช้งานสะพาน ป้ายประกาศฯ ไม่เสียหาย/เสียหาย ใช้งานสะพานได้ตามปกติ สีเขียว เล็กน้อย เสียหายปานกลาง ใช้งานสะพานได้ต่อไป (บางส่วนหรือทั้งหมด) สีเหลือง และสะพานควรได้รับการตรวจสอบอย่างละเอียดอีกครั้ง เสียหายหนัก/ ห้ามใช้งานสะพาน สีแดง อาจพังถล่มได้ ข) หลักเกณฑ์การพิจารณาระดับความเสียหาย จากผลการสำรวจสะพานเบื้องต้น การพิจารณาความเสียหายขั้นต้นของสะพานในแต่ละระดับจะมีหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) สะพานไม่มีความเสียหายหรือเสี ยหายเล็กน้อย สะพานที่ ไม่มีความเสียหายหรือมี ความเสียหายเพี ยงเล็กน้อยซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการใช้งานสะพานต่อไปจะถูกระบุด้วยป้าย ประกาศระดั บ ความเสี ยหายสี เขีย วหรือป้ ายประกาศ “สะพานสามารถใช้งานได้ ต ามปกติ ” โดยสะพานที่ จ ะ พิจารณาว่าไม่มีความเสียหายหรือมีความเสียหายเล็กน้อยควรมีคุณสมบัติเหล่านี้ครบทุกหัวข้อ ได้แก่ ▪ ความสามารถในการรับแรงทางดิ่งไม่ลดลง ▪ ความสามารถในการรับแรงทางข้างไม่ลดลง ▪ ไม่มีอันตรายจากการร่วงหล่นของเศษวัสดุ ▪ ไม่พบการสูญเสียเสถียรภาพของพื้นดินบริเวณที่ตั้งสะพาน เช่น การทรุดตัว เป็นต้น ▪ เชิงลาดคอสะพานซึ่งเป็นทางเข้าออกหลักของสะพานสามารถใช้งานได้ ▪ ไม่พบสภาพอื่น ๆ ที่อาจไม่ปลอดภัย นอกจากนี้ยังรวมถึงลักษณะของความเสียหาย ที่อาจตรวจพบได้แต่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสาธารณะ ซึ่งได้แก่รอยแตกร้าวที่ผิวนอกของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ไม่ ก่อให้เกิดอันตรายจากการร่วงหล่น (ข) สะพานมีความเสียหายในระดับปานกลาง โดยทั่วไปการพิจารณาว่าสะพานมีความ เสียหายในระดับปานกลางกระทำได้ยาก เนื่องจากเป็นระดับความเสียหายที่ไม่ชัดเจนอยู่ระหว่างสะพานที่สามารถ ใช้งานได้ตามปกติและสะพานที่ไม่สามารถใช้งานได้ โดยถึงแม้ว่าจะสามารถใช้งานสะพานต่อไปได้ กรมทางหลวง ชนบทยังจำเป็นต้องจัดให้มีการตรวจสอบอย่างละเอียดอีกครั้งโดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญด้านโครงสร้างสะพาน เพื่อยืนยั น ความปลอดภัยของสะพาน หรืออาจจำเป็นต้องมีการจำกัดการใช้งานสะพานเป็นการชั่วคราว เช่น ▪ เปิ ดให้ ใช้ งานสะพานได้ ตามปรกติ โดยต้ องมี การจั ดทำรายงานการตรวจสอบ โครงสร้าง โดยละเอียดในภายหลัง ▪ เปิดให้ใช้งานสะพานได้แต่จำกัดความเร็วและห้ามรถบรรทุกหนักใช้งานสะพาน ▪ เปิดให้ใช้งานได้เฉพาะรถฉุกเฉิน และการกู้ภัยเท่านั้น ที่สามารถใช้สะพานได้ ▪ ปิดการใช้งานสะพานจนกว่าการซ่อมแซมชั่วคราวจะแล้วเสร็จหรือจนกว่าจะมี การติดตั้งค้ำยันเสริมความแข็งแรงสะพานจะแล้วเสร็จ กรมทางหลวงชนบท 4-23 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ค) สะพานมีความเสียหายอย่างรุนแรง สะพานที่มีความเสียหายในระดับรุนแรงคือ สะพานที่ได้รับความเสียหายจนส่งผลให้สะพานอาจเกิดการพังถล่มได้เมื่อเกิดภัยอื่น ๆ ขึ้นในเวลาต่อมา เช่น แผ่นดินไหวตาม (aftershock) เป็นต้น โดยจำเป็น ต้องใช้ป้ายประกาศสีแดงหรือป้ายประกาศ “ห้ามใช้งานสะพาน” โดยลักษณะความเสียหายที่นำมาใช้พิจารณาว่าสะพาน มีความเสียหายในระดับรุนแรงจะประกอบด้วย ▪ ลักษณะของสภาพโดยรอบสะพาน ▪ ปรากฏอันตรายเนื่องจากดินถล่ม ▪ รอยแตกร้าวขนาดใหญ่ของพื้นดินบริเวณที่ติดกับสะพาน ▪ ลักษณะของสภาพโครงสร้างสะพาน ▪ สะพานมีการเอียงตัวอย่างเห็นได้ชัด ▪ โครงสร้างเสาตอม่อสะพาน คานขวาง คานสะพาน หรือจุด เชื่อมต่อเสีย หาย อย่างหนัก โดยมีรอยแตกร้าวขนาดใหญ่จนเห็น เหล็กเสริม ▪ ฐานรากสะพานได้รับความเสียหายอย่างหนัก ▪ Bridge Bearing ชำรุดหรือมีการเลื่อนตัว กรณีที่เกิดความเสียหายรุนแรง กรมทางหลวงชนบทจำเป็นต้องประกาศปิดการใช้งาน สะพาน จนกว่าการซ่อมแซมสะพานที่เสียหายจะแล้วเสร็จ การเกิดสึนามิ ลักษณะเฉพาะของคลื่นสึนามิ การเพิ่มสูงขึ้นอย่างกะทันหันของพื้นทะเลเพียงแค่ 2-3 เมตรจาก พื้นระดับทะเลปานกลาง ระหว่างที่เกิดแผ่นดินไหว สามารถเลื่อนปริมาตรมหาศาลของมวลน้ำขึ้นได้อย่างฉับพลัน เช่นกัน ดังนั้น จึงเป็นผลให้เกิด คลื่นสึนามิขึ้น คลื่นสึนามิท ำลายล้าง (Destructive Tsunami) ซึ่งทำให้เกิด ความเสียหายไกลออกไปจากต้นกำเนิดมากๆ ได้ บางครั้งจะเรียกว่า “Tele-tsunami” และส่วนมากจะเกิดจาก การเคลื่อนไหวในแนวดิ่งของพื้นทะเลมากกว่าการเคลื่อนไหวในแนวราบ จากข้อมูลสำนักแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวที่จะก่อให้เกิด คลื่ น สึ น ามิ ในทะเลอั น ดามั น นั้ น อยู่ บ ริเวณ Sunda trend หรือ แนวชนกัน แบบมุ ดตั ว ลงของแผ่น เปลื อกโลก โดยเฉพาะบริเวณหมู่เกาะนิโคบาร์ หมู่เกาะอันดามัน ประเทศอินเดีย ทั้งนี้บริเวณหมู่เกาะอันดามัน และตอนเหนือ ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย นอกจากจะมีโอกาสเกิดคลื่นสึนามิจากแผ่นดินไหวแล้วยังมีโอกาสเกิดจาก แผ่นดินถล่มใต้ทะเลอีกด้วย เพราะเป็นแนวหุบเหวลึกใต้ทะเล มีหน้าผาชัน เมื่อเกิดแผ่นดินไหว แรงสั่นสะเทือน ก็มีโอกาสทำให้หน้าผาพังทลายลงพร้อมก่อเกิดคลื่นสึนามิได้ ก) มาตรการแผนหนีภัยสึนามิในพื้นที่โครงการฯ ข้อปฏิบัติตัวขณะเกิดสึนามิ กรณีอยู่บนบก • หากทานอยูบริเวณชายทะเลคลองช่องลาด เช่น บริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตาน้อย หรือบริเวณชายหาดป่าชายเลนของเกาะลันตาน้อย แลวรูสึกถึงความสั่นสะเทือนหรือได้ยิน สัญญาณเตือนภัย ใหออกจากพื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหิน หรือชายหาดเกาะลันตาน้อย ทันที และวิ่งไปยังพื้นที่ปลอดภัย ที่สามารถไปไดงาย • อย่าอยู่รอเพื่อบอกคนอื่น หรือรอดูคลื่น • ไมควรหลบอยูในรถยนต์ เนื่องจากคลื่นสึนามิสามารถพัดพาเอารถยนต์ไปกับคลื่นได้ • อยู่ ในที่ ปลอดภัยจนกวาจะได้ รับแจงจากทางการและพึ งระลึ กไว้เสมอว่ าคลื่นสึ นามิ สามารถเกิดขึ้นไดมากกวา 1 ลูก กรมทางหลวงชนบท 4-24 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม • หากทานอยูภายในบ้านและไดยินประกาศเตือนภัยสึนามิ ท่านจะต้องรีบแจงขาวสาร แกเพื่อน ญาติมิตร และสมาชิกในครอบครัวของทานทราบโดยทันที ข้อปฏิบัติตัวขณะเกิดสึนามิ กรณีอยู่ในเรือ • ถาทานอยูบนเรือที่จอดอยูที่ทาเทียบเรือ ถามีเวลาใหนำเรือออกไปบริเวณน้ำลึก ที่มี ความปลอดภัย หากไมมีเวลาพอ ใหทิ้งเรือไวที่ทาเรือและรีบอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัยโดยเร็ว • ติ ด ตอสอบถามขอมู ล จากทาเรือ ถึ ง ความปลอดภั ย กอนที่ จ ะเดิ น ทางกลั บ ทาเรื อ เนื่องจากคลื่นสึนามิอาจสามารถสงผลกระทบเปนระยะเวลานาน ข) เส้นทางการอพยพหนีภัยสึนามิ ฝั่งท่าเรือบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง พื้นที่ประสบภัยสึนามิ ฝั่งท่าเรือบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง คือ พื้นที่บริเวณท่าเรือแพ ขนานยนต์ และท่ าเรือพิมาลัย ดังแสดงในรูปที่ 4.4.2-2 โดยท่าเรือทั้ง 2 แห่ง อยู่ที่ ระดับความสูงประมาณ 2.00 ม.รทก. ในขณะที่ความสูงของคลื่นสึนามิที่ เคยเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2547 สำหรับพื้นที่ นี้ มีความสูงของยอดคลื่น ที่โถมเข้าหาชายฝั่งที่ระดับความสูงประมาณ 4.00 ม.รทก. รูปที่ 4.4.2-2 พื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิ ฝั่งตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา คือ ท่าเรือบ้านหัวหิน (ซ้ายมือของภาพ) และท่าเรือพิมาลัย ซึ่งเป็นท่าเรือเอกชน (ขวามือของภาพ) เนื่องจากพื้นที่ชายฝั่งทะเลคลองช่องลาด บริเวณใกล้ท่าเรือทั้ง 2 แห่ง เป็นพื้นที่ป่าชายเลน ขนาบทั้ง 2 ด้านของพื้นที่ท่าเรือ และมีลักษณะเป็นที่ลาดเชิงเขาที่มีความลาดชันสูง ดังแสดงในรูปที่ 4.4.2-3 ซึ่งมี พื้นดินที่อยู่ในระดับสูงกว่ายอดคลื่นสึนามิมาก โดยห่างจากพื้นที่ท่าเรือเพียงประมาณ 200 เมตร ดังนั้น เส้นทาง การอพยพหนีภัยสึนามิฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย จึงเป็นการอพยพออกจากพื้นที่บริเวณท่าเรือ ไปยังพื้นที่สูงที่ใช้ ระยะทางในการอพยพเพียง 200 เมตร กรมทางหลวงชนบท 4-25 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ค) เส้นทางการอพยพหนีภัยสึนามิ ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย สภาพพื้น ที่โครงการฝั่ง เกาะลัน ตาน้อย บริเวณที่แนวเส้น ทางโครงการบรรจบเข้า กับ ทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 เป็นพื้นที่ป่าชายเลน และพื้นที่เกษตรกรรมที่อยู่บนเนินเขา เช่น สวนยาง และสวน ปาล์มน้ำมัน ไม่มีชุมชนอยู่ในบริเวณดังกล่าว มีกุโบร์ (สุสานชาวมุสลิม) ทุ่งโต๊ะหยุม หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ในบริเวณเนินเขาริมทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 สำหรับพื้นที่ประสบเหตุ คลื่นสึนามิในปี พ.ศ. 2547 ของฝั่งเกาะลันตาน้อย อยู่ในบริเวณพื้นที่ป่าชายเลนริมเกาะลันตาน้อย ซึ่งไปมีชุมชน อยู่ในพื้นที่ดังกล่าว ดังแสดงในรูปที่ 4.4.2-4 สำหรับผลกระทบต่อประชาชน จึงมีความเสี่ยงน้อยต่อภัยคลื่นสึนามิ ในพื้นที่โครงการ ฝั่งเกาะลันตาน้อย อย่างไรก็ตาม การที่มีคลื่นสึนามิเกิดขึ้น เพื่อความปลอดภัยสูงสุด ประชาชนที่ สัญจรผ่านทางหลวงชนบท สาย กบ.5035 เช่น ผู้มาประกอบศาสนกิจที่กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม เป็นต้น สามารถอพยพ หนีภัยสึนามิไปยังพื้นที่สูงริมทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 ซึ่งใช้ระยะทางในการเดินเพียง 200 เมตร ก็ถึงพื้นที่ ปลอดภัย แสดงดังรูปที่ 4.4.2-5 รูปที่ 4.4.2-3 สภาพพื้นที่ปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ ฝั่งตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา คือ พื้นที่เชิงเขาที่อยู่ห่างจากท่าเรือบ้านหัวหิน ไปตาม ทล.4206 ซึ่งมีระยะทางในการอพยพเพียง 200 เมตร กรมทางหลวงชนบท 4-26 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.2-4 พื้นที่โครงการฝั่งเกาะลันตาน้อย ซึ่งไม่มีชุมชนในพื้นที่และมีพื้นที่เสี่ยงสึนามิ อยู่บริเวณป่าชายเลนริมเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 4-27 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.2-5 พื้นที่อพยพหนีภัยสึนามิ กรณีมีโครงการ ง) มาตรการป้องกันและแผนจัดการอพยพหนีภัยสึนามิ กรณีมีโครงการฯ การพัฒนาโครงการ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อแผนการป้องกันภัย และให้ความช่วยเหลือ ต่อผู้ประสบภัยสึนามิ ในพื้นที่อำเภอเกาะลันตา ดังนี้ • ลักษณะของโครงการ ไม่เป็นอุปสรรคต่อเส้นทางการอพยพหนีภัยคลื่นสึนามิ ทั้งในพื้นที่ • ฝั่งตำบลเกาะกลาง และฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย • ช่วยลดปริมาณยานพาหนะและประชาชนเข้าสู่พื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหิน • โครงการฯ สามารถใช้เป็นเส้นทางหลักในการกู้ภัยสึนามิให้แก่เกาะลันตา และพื้นที่ เกาะอื่นๆ ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวในเขตจังหวัดกระบี่และจังหวัดตรังได้ด้วย สะพานเชื่อมเกาะลันตาเป็นเส้นทางอพยพสำคัญในการหนีภัยสึนามิจากเกาะลันตา มายัง พื้นที่ปลอดภัยในตำบลเกาะกลาง ทั้งยังเป็นเส้นทางสำคัญในการเข้าช่วยเหลือกู้ภัยเกาะลันตาและหมู่เกาะต่าง ๆ ที่อาจมีนักท่องเที่ยวตกค้างได้อีกด้วย โดยการช่วยเหลือสามารถใช้สะพานเชื่อมเกาะลันตา ไปยังท่าเรือศาลาด่าน และท่าเรือเกาะลันตาใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้การกู้ภัยและการฟื้นฟูพื้นที่ประสบภัยสึนามิดำเนินการได้ อย่างรวดเร็ว ทันท่วงที จ) ป้ายเตือนภัยเพื่อแสดงทิศทางการอพยพไปยังที่ที่ปลอดภัย ป้ายเตือนภัยเพื่ อแสดงทิ ศทางการอพยพไปยังที่ที่ ปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว หรือสึนามิขึ้น และตำแหน่งการติดตั้งป้ายเตือนภัยพร้อมทั้งพื้นที่ปลอดภัยให้ชัดเจนเรียบร้อยแล้ว ดังนี้ (ก) ป้ายเตือนในเขตพื้นที่เสี่ยงภัยคลื่นยักษ์ “สึนามิ” ติดตั้งไว้ที่ริมท่าเรือบ้านหัวหิน ฝั่งตำบลเกาะกลาง จำนวน 1 ป้าย และริมชายฝั่งในเขตตำบลเกาะลันตาน้อย จำนวน 1 ป้าย (รูปที่ 4.4.2-6) (ข) ป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์ Tsunami Evacuation Route พร้อมบอก ทิศทางเคลื่อนที่อพยพและระยะทางในการอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัย (รูปที่ 4.4.2-7) กรมทางหลวงชนบท 4-28 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.2-6 ตัวอย่างป้ายเตือนในเขตพื้นที่เสี่ยงภัยคลื่นยักษ์สึนามิ รูปที่ 4.4.2-7 ตัวอย่างป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์สึนามิ (ค) ทำการติดตัง ้ ป้ายบอกเส้นทางอพยพ ดังนี้ • พื้นที่ฝั่งตำบลเกาะกลาง ติดตั้งป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์สึนามิ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ติดตั้งบนสะพานที่ กม.0+400 ด้านขวาทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุระยะทางถึงจุดปลอดภัย 400 เมตร (กรณีอยู่บนสะพาน ควรขับรถลงจากสะพานมายังพื้นที่ถนนพื้นราบฝั่งตำบลเกาะกลาง กม.0+000) และติดตั้งบน ถนนพื้นราบใต้สะพานฝั่งเกาะกลางที่ กม.0+400 ด้านขวาทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุระยะทางถึงจุดปลอดภัย 200 เมตร (รูปที่ 4.4.2-8) (ถนนพื้นราบ กม. 0+200 มีภูมิประเทศเป็นเนินสูงที่มีความปลอดภัยจากคลื่นสึนามิแล้ว) • พื้นที่ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ติดตั้งป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์สึนามิ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ติดตั้งบนสะพาน ที่ กม.1+900 ด้านซ้ายทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุระยะทางถึงจุดปลอดภัย 300 เมตร (กรณีอยู่บนสะพาน ควรขับรถลงจากสะพานมายังพื้นที่ถนนพื้นราบฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย กม.2+200) และติดตั้งบนทางหลวงชนบท สาย กบ.5035 ฝั่งเกาะลันตาน้อย ที่ กม.1+900 ด้านขวาทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุ ระยะทางถึงจุดปลอดภัย 50 เมตร โดยให้อพยพขึ้นพื้นที่เนินสูงด้าน ซ้ายทางของทางหลวงชนบท สาย กบ.5035 กรมทางหลวงชนบท 4-29 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.2-8 ป้ายแสดงตำแหน่งพื้นที่ปลอดภัย (ง) ทำการติดตัง ้ ป้ายบอกจุดปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ ดังนี้ • ฝั่งตำบลเกาะกลาง ติดตั้งป้ายบอกจุดปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ที่ กม.0+000 ด้า นซ้า ยทาง เพื ่อ ให้ร ถที่ระบายลงมาจากสะพานเชื่อ มเกาะลัน ตา ทราบว่า มาถึง จุด ปลอดภัย คลื่นสึนามิ ฝั่งตำบลเกาะกลางแล้ว และที่ กม.0+200 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้ประชาชนที่อพยพจากพื้นที่ ริมท่าเรือบ้านหัวหิน ทราบว่ามาถึงจุดปลอดภัยคลื่นสึนามิที่เป็นพื้นที่เนินสูงของ ทล.4206 • ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ติดตั้งป้ายบอกจุดปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ที่ กม. 2+200 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้รถที่ระบายลงมาจากสะพานเชื่อมเกาะลันตา ทราบว่ามาถึงจุดปลอดภัย คลื่นสึนามิฝั่งเกาะลันตาน้อยแล้ว และที่ กม.1+900 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้ประชาชนที่อพยพจากพื้นที่ริมชายฝั่ง เกาะลันตาน้อย บริเวณทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 ทราบว่ามาถึงจุดปลอดภัยคลื่นสึนามิที่เป็นพื้นที่เนินสูง ด้านขวาทางของทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรณีเกิดพิบัติภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ ก) กลไกการจัด การความเสี่ยงจากสาธารณภัย ในการดำเนิน การป้องกัน และบรรเทา สาธารณภัย และการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่ หมายรวมถึง องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) เทศบาลและองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ในพื้นที่ประสบภัยสึ นามิจะมี องค์ กรที่ เกี่ ย วข้อ งในการอำนวยการ ควบคุ ม สั่ ง การ และประสานการปฏิ บั ติ ตั้ ง แต่ ระดั บ ประเทศ ซึ่ ง กอง อำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ ต้องมีการเชื่อมโยงและรับนโยบาย แผนงานแนวทางมาดำเนินการ รวมทั้งการประสานกับหน่วยงานบริหารจัดการสาธารณภัยในระดับอำเภอและ ระดับจังหวัด (รูปที่ 4.4.2-9) (ก) ระดับนโยบาย ▪ คณะกรรมการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติ (กปภ.ช.) มี หน้าที่ กำหนดนโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ บูรณาการพัฒนาระบบการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ระหว่างหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานภาคเอกชนให้มีประสิทธิภาพ โดยมีองค์ประกอบและอำนาจ หน้าที่ตามที่ระบุในมาตรา 6 และมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ▪ คณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ (กปอ.) มีหน้าที่เสนอนโยบายเกี่ยวกับ การป้องกันอุบัติภัยของประเทศและเสนอแนะแนวทางปฏิบัติและประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐ โดยมี องค์ประกอบ และอำนาจหน้าที่ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 กรมทางหลวงชนบท 4-30 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ▪ คณะกรรมการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ (กภช.) มีหน้าที่เสนอ และจัดทำมาตรการ แนวทาง นโยบาย แผนการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ แผนงาน และโครงการ ในการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ เพื่อเป็ นกรอบในการดำเนินงานของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง โดยมีองค์ประกอบ และอำนาจหน้าที่ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติ แห่งชาติ พ.ศ. 2552 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 รูปที่ 4.4.2-9 กลไกการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย (ข) ระดับปฏิบัติ กลไกการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยระดับปฏิบต ั ิเป็นศูนย์กลางใน การอำนวยการและการประสานการปฏิบัติของหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความเสี่ยง จากสาธารณภัยภายใต้แนวคิด “ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน (Emergency Operation Center : EOC) )” โดยเรียกชื่อว่า กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ/กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับ มีหน้าที่ในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยด้วยการบังคับบัญชา อำนวยการ ควบคุม กำกับ และประสาน การปฏิบัติ ระหว่างภาคส่วนตั้งแต่ภาวะปกติจนถึงเมื่อคาดว่ าจะเกิดหรือเกิดสาธารณภัย โดยจะต้องมีการกำหนด โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และมอบหมายเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในภารกิจหน้าที่ต่าง ๆ และต้องมีการจัดทำแนวปฏิบัติ หรือคู่มือการปฏิบัติงานตามขั้นตอนในแต่ละระดับการปฏิบัติการ (Level of Activation) รวมทั้ง ต้องจัดให้มี สถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก (Facilities) สำหรับการปฏิบัติงาน โดยเมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้น กลไกดังกล่าวจะปรับเข้าสู่กระบวนการปฏิบัติในภาวะฉุกเฉินโดยการจัดตั้ง “ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์” ขึ้น กรมทางหลวงชนบท 4-31 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ▪ กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บกปภ.ช.) ทำหน้าที่ บั ง คั บ บั ญ ชา อำนวยการ ควบคุ ม กำกับ ดู แลและประสานการปฏิ บั ติ ก ารป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภั ย ของกองอำนวยการป้ องกั น และบรรเทาสาธารณภั ย แต่ ล ะระดั บ โดยมี รัฐ มนตรีว่ า การกระทรวงมหาดไทย เป็ น ผู้ บั ญ ชาการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภัย แห่ งชาติ และปลั ด กระทรวงมหาดไทยเป็ น รองผู้บั ญชาการ ป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย แห่ ง ชาติ ในกรณี ก ารจั ด การสาธารณภั ย ขนาดใหญ่ (ระดั บ 3) มี รัฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทย และกรณี ก ารจั ด การสาธารณภั ย ร้า ยแรงอย่ า งยิ่ ง (ระดั บ 4) มี น ายกรั ฐ มนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้ควบคุมสั่งการ และบัญชาการ ▪ กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) ทำหน้าที่ ประสานงาน บูรณาการข้อมูล และการปฏิบัติการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนของสรรพกำลัง เครื่องมือ อุปกรณ์ แผนปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภัยทั้งระบบในภาวะปกติ และในภาวะใกล้เกิดภัย ทำหน้าที่เตรียมการเผชิญเหตุ ติดตาม และเฝ้าระวังสถานการณ์ รวมถึงวิเคราะห์ข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง ประเมินสถานการณ์ และแจ้งเตือนภัยพร้อมทั้งรายงานและเสนอความเห็นต่อผู้บัญชาการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติหรือนายกรัฐมนตรีตามแต่ระดับการจัดการสาธารณภัยเพื่อตัดสินใจในการรับมือ โดยมีอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นผู้อำนวยการกลาง ▪ กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด (กอปภ.จ.) ทำหน้าที่ อำนวยการ ควบคุม สนั บ สนุ น และประสานการปฏิบั ติ การป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภั ย ในพื้ น ที่ จังหวั ด ที่รับผิดชอบ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด/ผู้อำนวยการจังหวัด เป็นผู้อำนวยการ รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ผู้ว่าราชการ จังหวัดมอบหมาย และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นรองผู้อำนวยการ ทั้งนี้ ให้มีการจัดประชุมกองอำนวยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ▪ กองอำนวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกระบี่ (กอปภ.กบ.) ทำ หน้าที่อำนวยการ ควบคุม สนับสนุน ประสานการปฏิบัติในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตจังหวัดกระบี่ และจัดทำแผนปฏิบั ติการหรือแผนเผชิญ เหตุต ามประเภทความเสี่ยงภัยให้ สอดคล้องกับแผนการป้องกัน และ บรรเทาสาธารณภัย จังหวัดกระบี่ รวมทั้งดำเนินการสนับสนุ นการปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภั ย และเป็นหน่วยเผชิญเหตุเมื่อเกิดสาธารณภัยในพื้นที่รับผิดชอบ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ในฐานะผู้อำนวยการ เป็นผู้รับผิดชอบ มีอำนาจหน้าที่และแนวทางปฏิบัติตามหมวด 3 แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ทั้งนี้ องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ให้เป็นไปตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่กำหนด ▪ กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อำเภอ (กอปภ.อ.) ทำหน้าที่ อำนวยการ ควบคุม สนับสนุน และประสานการปฏิบต ั ิกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่รับผิดชอบในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และปฏิบัติงานตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือกองอำนวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัดมอบหมาย โดยมีนายอำเภอ/ผู้ อำนวยการอำเภอ เป็นผู้อำนวยการ ทั้งนี้ ให้มีการจัดประชุม กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ▪ กองอำนวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล (กอปภ.ทน ./ทม./ ทต.) ทำหน้าที่อำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เผชิญเหตุและแจ้งเตือนภัยเมื่อเกิด สาธารณภัยขึ้น พร้อมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของเทศบาลให้สอดคล้องกับ แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และแผนการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ รวมถึง มีหน้าที่ช่วยเหลือผู้อำนวยการจังหวัดและผู้อำนวยการอำเภอตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้ง สนับสนุนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีพื้นที่ติดต่อหรือใกล้เคียง หรือเขตพื้นที่อื่นเมื่อได้รับ การร้องขอ โดยมีนายกเทศมนตรี/ผู้อำนวยการเทศบาลเป็นผู้ อำนวยการ ทั้งนี้ให้มีการจัดประชุมกองอำนวยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง กรมทางหลวงชนบท 4-32 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ▪ กองอำนวยการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภัยองค์ก ารบริห ารส่ วนตำบล (กอปภ.อบต.) ทำหน้าที่อำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เผชิญเหตุและแจ้งเตือนภัย เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น พร้อมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์การบริหาร ส่วนตำบลให้สอดคล้องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยอำเภอ รวมถึงมีหน้าที่ช่วยเหลือผู้อำนวยการจังหวัดและผู้อำนวยการอำเภอตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้งสนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีพื้นที่ติดต่อหรือใกล้เคียง หรือเขตพื้นที่อื่นเมื่อได้รับการร้องขอ โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตำบล/ผู้อำนวยการองค์การบริหารส่วนตำบล เป็นผู้อำนวยการ ทั้งนี้ ให้มีการจัดประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์การบริหารส่วนตำบล อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และมีองค์ประกอบดังนี้ กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อปท. เกาะลันตาน้อย ตำแหน่ง 1. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย ผู้อำนวยการ 2. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย รองผู้อำนวยการ 3. รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ 4. ผู้กำกับการสถานีตำรวจอำเภอเกาะลันตา กรรมการ 5. กำนันตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ 6. ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้านในตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ 7. ผู้นำชุมชนในตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ 8. ผู้แทนหน่วยงานของรัฐที่นายอำเภอเห็นสมควรแต่งตั้ง กรรมการ 9. ผู้แทนสถานศึกษาในพื้นที่ที่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ เห็นสมควรแต่งตั้งกรรมการ 10. ผู้แทนองค์การสาธารณกุศลในพื้นที่ที่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการ เห็นสมควรแต่งตั้ง 11. หัวหน้าฝ่ายทุกฝ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย กรรมการและเลขานุการ หมายเหตุ : อาจปรับเปลี่ยนและเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ตามที่นายอำเภอเห็นสมควร (ข) อำนาจหน้าที่ - จัดทำแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และแผนที่เกี่ยวข้องเพื่ออำนวยการ ประสานงาน และสนับสนุนการปฏิบัติในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - กำหนดแนวทางปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย การเตรียมพร้อมรับมือ กับสาธารณภัย เช่น จัดให้มีการฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นต้น - จัดตั้งทีมเฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์สาธารณภัย และ แจ้งเตือนภัยเมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพื้นที่ และให้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิ นท้องถิ่น เพื่อควบคุม และบัญชาการการเผชิญเหตุสาธารณภัยในพื้นที่ - รวบรวม จัดทำคลังข้อมูลทรัพยากรในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และ ฐานข้อมูลความเสี่ยงภัยในพื้นที่ อปท. - ช่วยเหลือผู้อำนวยการจังหวัดและผู้อำนวยการอำเภอตามที่ได้รับมอบหมาย - สนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แห่งพื้นที่หรือพื้นที่ใกล้เคียงเมื่อได้รับการร้องขอ กรมทางหลวงชนบท 4-33 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ค) บทบาท หน้าที่ และแนวทางปฏิบัติร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องระดับ อปท. ▪ การปฏิบัติร่วมกับอำเภอและจังหวัด - จัดเจ้าหน้าที่ประสานอำเภอและจังหวัด ในช่วงระยะขณะเกิดภัย พร้อมทั้ง รายงานสถานการณ์สาธารณภัยที่เกิดขึ้นตามข้อเท็จจริงเป็นระยะๆ - กรณีสถานการณ์สาธารณภัยมีความรุนแรงให้ประสานขอกำลังสนับสนุนจาก กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ/จังหวัด ตามลำดับ ▪ การปฏิบัติร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นข้างเคียง - เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพื้นที่ของ อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิและ สาธารณภัยมี ความรุน แรงขยายเป็ น วงกว้าง ให้ ผู้อำนวยการท้ องถิ่น อปท. ในพื้ น ที่ ประสบภัย สึน ามิรายงาน ผู้อำนวยการอำเภอ พร้อมทั้งประสานกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (อปท. ซึ่งมีพื้นที่ติดต่ อหรือ ใกล้เคียง) ให้สนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้น - เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพื้นที่ของ อปท. ซึ่งมีพื้นที่ติดต่อหรือใกล้เคียง ให้ผู้อำนวยการท้องถิ่น อปท. ในพื้น ที่ป ระสบภัย สึน ามิให้การสนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นการบูรณาการและการประสานการปฏิบัติงานร่วมกัน (ง) การปฏิบัติร่วมกับหน่วยทหารในพื้นที่ ในการปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ร่วมระหว่างพลเรือนกับทหารนั้น จะต้องมีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด เพื่อเป็นการสนับสนุนการจัดการ สาธารณภัยของกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิและศูนย์ปฏิบัติการ ฉุกเฉินท้องถิ่น อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิกับหน่วยงานทหารในพื้นที่ ทั้งนี้ ฝ่ายทหารอาจพิ จารณาจัดตั้ง ศูนย์ประสานงานหรือศูนย์ปฏิบัติงานร่วมระหว่างพลเรือนกับทหาร ขึ้นอยู่กับระดับของหน่วยและสถานการณ์ สาธารณภัยนั้นๆ โดยมีแนวทางปฏิบัติสอดคล้องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2564 และข้อตกลงว่าด้วยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ระหว่างผู้อำนวยการจังหวัดกั บหน่วยงานทหารในพื้นที่ ทั้งนี้รายละเอียดการแบ่งมอบพื้นที่ในการ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติของหน่วยทหาร (จ) การปฏิบัติร่วมกับภาคประชาสังคม เอกชน และองค์การสาธารณกุศล กองอำนวยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิเป็นศูนย์กลางในการประสานการปฏิบัติในเขต รับ ผิด ชอบตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้ส ามารถติดต่ อประสานงาน สั่งการ รายงาน การปฏิบัติ และสถานการณ์ ระหว่างทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างต่อเนื่อง รวดเร็ว และเชื่อถือได้ โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ - จัดเจ้าหน้าที่ประสานงานกับศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ เพื่อร่วมปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และการช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบภัยให้เป็นไปอย่างมี เอกภาพ - จัดทำแผนประสานงานกับองค์การสาธารณกุศล และให้องค์การสาธารณกุศล ในจังหวัดจัดเจ้าหน้าที่ประสานงานกับ อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิตลอด 24 ชั่วโมง พร้อมอุปกรณ์และบุคลากร ที่สามารถปฏิบัติภารกิจได้ - อปท. ในพื้นที่ประสบภัยสึน ามิ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ร่วมกับองค์การสาธารณกุศลจัดทำแนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนทรัพยากร เจ้าหน้าที่ อุปกรณ์ และเครื่องมือ เพื่อการปฏิบัติงานขององค์กรปฏิบัติในการจัดการสาธารณภัยแต่ละระดับ - กรณีที่เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น ถ้าองค์การสาธารณกุศลไปถึงพื้นที่ประสบภัยก่อน เจ้ าหน้ าที่ ผู้ รับ ผิด ชอบ ให้ กั้น เขตพื้ น ที่ อัน ตรายและกัน ไม่ ให้ ผู้ที่ ไม่ เกี่ย วข้องเข้าไปยังพื้ น ที่ อัน ตราย พร้อมทั้ ง แจ้งหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโดยทันที เพื่อดำเนินการควบคุมสถานการณ์สาธารณภัย กรมทางหลวงชนบท 4-34 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - กรณี ที่ ได้รับการประสานจาก อปท. ในพื้ นที่ ประสบภัยสึนามิ หรือหน่ วยงานที่ รับผิดชอบ เช่น ตำรวจ เทศบาล เป็นต้น ให้องค์การสาธารณกุศลจัดชุดเคลื่อนที่เร็วออกไปยังที่เกิดเหตุ และให้ รายงานตัวที่ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน หรือผู้อำนวยการท้องถิ่น เพื่อรับมอบหมายภารกิจในการปฏิบัติการ - กรณี ห ลั งเกิด สาธารณภั ย ให้ องค์การสาธารณกุศล องค์กรเอกชน ช่ วยเหลื อ เจ้าหน้าที่ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการรักษาความปลอดภัยในสถานที่เกิดเหตุ และพื้นที่รองรับการอพยพ ประสานหน่วยแพทย์และพยาบาล อีกทั้งให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ผู้ประสบสาธารณภัย พร้อมทั้งลำเลียง ผู้ได้รับบาดเจ็บส่งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล โรงพยาบาลประจำอำเภอ รวมทั้งอพยพ ช่วยเหลือ ผู้ประสบสาธารณภัยไปยังที่ปลอดภัยหรือพื้นที่รองรับการอพยพ ข) ระดับการจัดการสาธารณภัย ระดับการจัดการสาธารณภัยแบ่งเป็น 4 ระดับ ทั้งนี้ ขึ้นกับพื้นที่ ประชากร ความซับซ้อน หรือความสามารถในการจัดการสาธารณภัย ตลอดจนศักยภาพด้านทรัพยากร ที่ผู้มีอำนาจตามกฎหมายใช้ดุลยพินิจ ในการตัดสินใจเกี่ยวกับความสามารถในการเข้าควบคุมสถานการณ์เป็นหลัก (รูปที่ 4.4.2-10) ดังนี้ ระดับ การจัดการ ผู้มีอำนาจตามกฎหมาย 1 สาธารณภัยขนาดเล็ก ผู้อำนวยการอำเภอ ผู้อำนวยการท้องถิ่น ควบคุม และสั่งการ 2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผู้อำนวยการจังหวัด ควบคุม สั่งการ และบัญชาการ 3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ควบคุม สั่งการ และบัญชาการ 4 สาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ควบคุม สั่งการ และ บัญชาการ ผู้อำนวยการท้องถิ่น ศูนย์ประสานการปฏิบัติ ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วม ส่วนปฏิบัติการ ส่วนอำนวยการ ส่วนสนับสนุน พื้นที่ หน่วยสถานการณ์ แผนกสนับสนุน แผนกบริการ แผนกการเงิน กลุ่มภารกิจ หน่วยทรัพยากร หน่วยจัดหา หน่วยสื่อสาร หน่วยการเงิน บัญชี สิ่งอุปกรณ์ หน่วยเอกสาร หน่วยแพทย์ หน่วยจัดซื้อ จัดจ้าง หน่วยสถานที่ หน่วยเสบียง หน่วยพัสดุ หน่วยสนับสนุน ภาคพื้น รูปที่ 4.4.2-10 โครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น อปท. เกาะกลาง, เกาะลันตาน้อย, เกาะลันตาใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 4-35 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เมื่ อ เกิ ด หรื อ คาดว่ า จะเกิ ด ภั ย สึ น ามิ ขึ้ น ในพื้ น ที่ อปท. ในพื้ น ที่ ป ระสบภั ย สึ น ามิ , นายกเทศมนตรี, นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ในฐานะผู้อำนวยการท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 20 จะเข้าดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื้นที่โดยเร็ว เป็นลำดับแรก มีอำนาจสั่งการ ควบคุม และกำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานและอาสาสมัคร รวมทั้ง ติดตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ประเมินโอกาสการขยายความรุนแรงของภัยสึนามิ เพื่อรายงานนายอำเภอ ให้เสนอ ต่อผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ พิจารณาประกาศหรือยกระดับของภัยจากสาธารณภัยขนาดเล็กเป็นสาธารณภัย ขนาดกลางต่อไป ค) คู่มือฉบับประชาชน เรื่อง แนวทางการปฏิบัติภาคประชาชนเมื่อเกิดพิบัติภัยแผ่นดินไหว และสึนามิ พร้อมทั้งแจกจ่ายประชาชนให้รับทราบ กรมป้ องกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ได้ จั ด ทำเอกสารประชาสั ม พั น ธ์เผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับภัยสึนามิ เพื่อภาคประชาชนได้ตื่นตัว เฝ้าระวัง เตรียมพร้อมเผชิญภัยสึนามิ ซึ่งเอกสารฯ มีเนื้อหาและ รูปภาพประกอบที่ชัดเจน ทำให้เข้าใจง่ายต่อการนำไปสู่การปฏิบัติ แสดงดังรูปที่ 4.4.2-11 อปท. เกาะลันตา ต้องสร้างความรู้ความเข้าใจและประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้กับประชาชน ในพื้ น ที่ ถึ งแนวทางการปฏิ บั ติ ภ าคประชาชนเมื่ อ เกิ ด พิ บั ติ ภั ย แผ่ น ดิ น ไหวและสึ น ามิ พร้ อ มทั้ ง นำเอกสาร ประชาสัมพันธ์ของกองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธาณภัย แจกจ่ายให้ประชาชน ได้รับทราบ รวมทั้งสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ประชาชนและทุกภาคส่วนได้รับทราบความเสี่ยงของพื้นที่ตนเอง เพื่อให้มีความตระหนัก เข้าใจความเสี่ยงในพื้นที่รู้เท่าทันภัย และเตรียมความพร้อมรับมือกับสาธารณภัยในการ วางแผนและการลงทุน ในการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย โดยการสนับ สนุ นให้ สื่อประชาสั มพั นธ์ทุ กแขนง มีบทบาทในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกด้านความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน เช่น การเตรียมการ ในการรับมือสาธารณภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่อประชาสัมพันธ์ที่สามารถเข้าถึงประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือ อินเตอร์เน็ต ▪ จัดทำ ปรับปรุง และพัฒนาคู่มือการประเมินความเสี่ยงจากภัยสึนามิ โดยให้หน่วยงาน ภาคในระดับท้องถิ่น ประเมินความเสี่ยงจากภัยสึนามิร่วมกับผูม ้ ีส่วนได้สว่ นเสียในภาคส่วนต่างๆ ได้รับรู้ความเสี่ยง ของพื้นที่เกาะลันตา ▪ ส่งเสริม และสนับ สนุน ให้องค์กรเครือข่า ยในการป้อ งกั น และบรรเทาสาธารณภัย ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และอาสาสมัครต่างๆ มีส่วนร่วมในการรณรงค์ ในเรื่องความปลอดภัยจากสึนามิอย่างต่อเนื่อง กรมทางหลวงชนบท 4-36 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.2-11 เอกสารประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับภัยสึนามิ (ที่มา : กรมป้องกันและบรรเทาสาธาณภัย) กรมทางหลวงชนบท 4-37 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.2-11 เอกสารประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับภัยสึนามิ (ที่มา : กรมป้องกันและบรรเทาสาธาณภัย) (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 4-38 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.4.3 คุณภาพน้ำผิวดิน ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพน้ำผิวดิน 1) กรณีไม่มีโครงการ การสำรวจแหล่ง น้ำ ผิว ดิน ในบริเ วณพื ้น ที ่ด ำเนิน โครงการและพื้น ที่ศึก ษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ไม่พบแหล่งน้ำผิวดินในพื้นที่โครงการแต่อย่างใด โดยปริมาณน้ำฝนที่ตกลงบนพื้น จะไหลไปตามสภาพภูมิประเทศของพื้นที่ลงสู่พื้นที่รับน้ำที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และไหลไปยังพื้นที่ลุ่มชายฝั่งทะเล ที่เป็นพื้น ที่ป่าชายเลนและระบายออกสู่ทะลต่อไป กรณีไม่มีโครงการจะไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง ทางคุณภาพน้ำผิวดินแต่อย่างใด 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะก่อนก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ก) น้ำเสียจากสำนักงานควบคุมโครงการและบ้านพักคนงาน สำนักงานควบคุมโครงการ และบ้านพักคนงาน ตั้งอยู่ริมทางหลวงหมายเลข 4206 (ฝั่งซ้ายทาง) ห่างจากพื้นที่โครงการประมาณ 650 เมตร มีขนาดพื้นที่ 18.75 ไร่ รองรับ จำนวนพนักงานและคนงานก่อสร้าง 170 คน ซึ่งการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ จะมี ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ที่มาจากคนงานก่อสร้าง เจ้าหน้าที่/พนักงาน ประมาณ 23.03 ลูกบาศก์เมตร/วัน ดังนี้ น้ำเสี ยจากห้ องน้ำ -ห้ องส้วม ประเมิน จากการใช้ น้ ำ 48 ลิ ตร/คน/วัน (สำนั กงานสถิติ แห่งชาติ, 2555) จะมีน้ำเสียเกิดขึ้น ร้อยละ 80.00 ของปริมาณน้ำใช้ (กรมควบคุมมลพิษ, 2560) จากจำนวน คนงานก่อสร้าง และเจ้าหน้าที่/พนักงานรวม 170 คน ดังนี้ - จำนวนคนงานก่อสร้างทั้งหมด = 170 คน - ปริมาณน้ำใช้ = 48 ลิตร/คน/วัน - ปริมาณน้ำใช้ทั้งหมด = 8,160 ลิตร/วัน - น้ำเสียเกิดขึ้นร้อยละ 80 ของปริมาณน้ำใช้ = 6,528 ลิตร/วัน (6.53 ลบ.ม./วัน) ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นห้องน้ำ -ห้องส้วม แบ่งเป็นน้ำเสียจากการอาบและชำระล้าง 3.13 ลูกบาศก์เมตร/วัน และน้ำเสียจากห้องส้วม 3.40 ลูกบาศก์เมตร/วัน (อัตราการเกิดน้ำเสียจากส้วม 20 ลิตร/คน/วัน (ธงชัย พรรณสวัสดิ์ และคณะ , 2530) โดยน้ำเสียที่เกิดขึ้นมีสิ่งเจือปนต่าง ๆ เช่น สารก่อให้เกิดฟอง/สารซักฟอก ได้แก่ ผงซักฟอก สบู่ ฟองจะกีดกันการกระจายของออกซิเจนในอากาศสู่น้ำ ในกรณีที่ไม่มีการบำบัดน้ำเสียก่อน ปล่อยลงสู่ลำน้ำธรรมชาติก็จะทำให้คุณภาพน้ำเปลี่ยนแปลงไปในเชิงลบ น้ำเสียจากห้ องอาหาร ประเมินจากปริมาณน้ำเสียที่เกิดจากห้องอาหาร 25 ลิตร/วัน / ตารางเมตร (สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเกี่ยวกับน้ำเสียชุมชน (พ.ศ 2530)) จะมีน้ำเสียเกิดขึ้น ดังนี้ - ปริมาณน้ำเสียที่เกิดจากห้องอาหาร = 25 ลิตร/วัน/ตารางเมตร - ขนาดพื้นที่ใช้สอยห้องอาหาร = (30×20 = 600 ตารางเมตร - ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้น = 25×600 = 15,000 ลิตร/วัน หรือ = 15.00 ลูกบาศก์เมตร/วัน กรมทางหลวงชนบท 4-39 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม น้ำเสียที่เกิดจากโรงอาหารจะมีสารอินทรีย์เจือปนอยู่ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เช่น เศษข้าว ก๋วยเตี๋ยว น้ำแกง เศษใบตอง พืชผัก ชิ้นเนื้อ เป็นต้น หากไม่มีการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ ในธรรมชาติจะทำให้ระดับออกซิเจนละลายน้ำ (Dissolved Oxygen) ลดลง เกิดสภาพเน่าเหม็นได้ประกอบกับน้ำเสีย ดังกล่าวจะมีน้ำมันและสารลอยน้ำต่าง ๆ เป็นอุปสรรคต่อการสังเคราะห์แสงและกีดขวางการกระจายของออกซิเจน จากอากาศลงสู่น้ำได้ ข) น้ำ เสี ยจากสุ ข าเคลื่ อนที่ ในระหว่ างการดำเนิ น กิจ กรรมก่อสร้า งที่ มี พื้ น ที่ อยู่ ห่า งจาก ห้องน้ำ -ห้องส้วม มักจะพบปัญ หาการใช้ห้องส้วมอยู่เป็ นประจำ ดังนั้น เพื่อให้เกิดความสะดวกและห่วงใยต่อ สิ่งแวดล้อม จึงกำหนดให้มีห้องน้ำหรือสุขาเคลื่อนที่ต้ังอยู่ใกล้บริเวณพื้นที่ก่อสร้างเพื่อรองรับน้ำเสียที่เกิดขึ้นใน แต่ละวัน โดยในแต่ช่วงของพื้นที่ดำเนินการก่อสร้างโครงการแต่ละจุดจะมีคนงานก่อสร้างประมาณ 50 คน/การ พื้นที่เปิดดำเนินการ ซึ่งจะมีน้ำเสียเกิดขึ้น 5 ลิตร/คน/วัน หรือ 0.25 ลูกบาศก์เมตร/วัน โดยน้ำเสียที่เกิดขึ้นจะถูก ระบายออกสู่ภายนอกและลงสู่ลำน้ำธรรมชาติบริเวณใกล้เคียง ก่อให้เกิดผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางน้ำได้ ค) น้ำเสียจากโรงหล่อคอนกรีต น้ำสลัดจ์หรือน้ำเสียที่เกิดจากการล้างคอนกรีตที่ค้างอยู่ใน เครื่องผสมและที่เหลือในรถขนส่งคอนกรีต1 ซึ่งจากการศึกษาของต่างประเทศ2 พบว่า ปริมาณน้ำสลัดจ์ทเี่ กิดขึ้นใน โรงงานผลิตคอนกรีตมีปริมาณ 500 ลิตร/คัน/วัน หรือประมาณ 12 -20 ลบ.ม./วัน เนื่องจากมีส่วนของปูนซีเมนต์ ผสมอยู่ทำให้น้ำสลัดจ์มีค่าความเป็นด่างสูงเกินกว่าค่ามาตรฐานน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ จึงจำเป็นต้องมีระบบจัดการน้ำ เสียก่อนปล่อยออกสู่แหล่งน้ำสาธารณะ (บุรฉัตรและสุรพงษ์, 2548)3 ระบบการจัดการน้ำเสียของโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จในประเทศไทย ปัจจุบันพบว่าส่วนใหญ่ จะใช้วิธีปล่อยให้ตกตะกอน ( Coagulation) ในบ่อ ประกอบด้วยบ่อ 2 บ่อ คือ บ่อแรกจะเป็นที่รองรับคอนกรีต ส่วนที่ค้างในรถขนส่งคอนกรีต และบ่อที่สองเป็นบ่อรับ น้ำล้น จากบ่อแรก มาทำการบำบัดน้ำเสียทางเคมี ซึ่ง เหมาะสำหรับน้ำเสียที่มีลักษณะที่มีความกรด-ด่าง (pH) สูง โดยการปรับสภาพน้ำที่มีค่าความเป็นกรด-ด่างหรือค่า pH ให้อยู่ในสภาพที่เป็นกลาง (Neutralization) มีค่า pH อยู่ในช่วง 5 - 7 น้ำที่มีค่าความเป็นด่างสูง จะต้องนำกรด มาเติม เพื่อปรับสภาพน้ำให้เป็นกลางมากที่สุด ทั้งนี้กรดที่นิยมนำมาใช้ ได้แก่ กรดกํามะถัน (H2SO4), กรดเกลือ (HCL), หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2) และน้ำที่ผ่านการตกตะกอนของบ่อที่สองมักจะนำไปใช้ในการทำ ความสะอาดรถขนส่ง ตลอดจนใช้ในกิจกรรมภายในของโรงงานหรือปล่อยออกไปนอกโรงงาน ส่วนกากตะกอน คอนกรีต เมื่อสะสมจนเต็ม บ่อก็จ ะทำการขุด ไปถมที่หรือฝังกลบ การจัด การในรูป แบบนี้ ใช้ค่าลงทุนที่ไ ม่สู ง โดยระบบบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตคอนกรีต แสดงดังรูปที่ 4.4.3-1 ง) น้ำเสียจากโรงซ่อมบำรุง ประเมินจากข้อมูลสถิติการใช้น้ำเพื่อการล้างทำความสะอาด ยานพาหนะ จะใช้ น้ ำปริม าณ 200 -300 ลิ ต ร/คัน (อ้ า งอิ งจาก มหาวิท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ าธนบุ รี โครงการมหาวิทยาลัยร่วมกันหารสอง) หากพิจารณาเครื่องจักรก่อสร้างโครงการ ประกอบด้วย แบคโฮ รถบดอัด รถเกรด และรถบรรทุก จำนวนรวม 10 คัน สลับสับเปลี่ยนการล้างทำความสะอาดครั้งละไม่เกิน 5 คัน/วัน จะมี น้ำเสียเกิดขึ้น ดังนี้ - ปริมาณน้ำเสียจากการทำความสะอาดยานพาหนะ = 300 ลิตร/คัน - จำนวนยานพาหนะ = 5 คัน/วัน - ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้น = 300×5 = 1,500 ลิตร/วัน หรือ = 1.50 ลูกบาศก์เมตร/วัน 1 Associate Professor, Department of Civil Engineering. 2 Graduate Students, Department of Civil Engineering. 3 บุรฉัตร ฉัตรวีระ และสุรพงษ์ ดาราม. 2548. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2549 กรมทางหลวงชนบท 4-40 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.3-1 ระบบบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตคอนกรีต การดูแลบำรุงรักษาเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ในการก่อสร้าง จำเป็นต้องมีการเปลี่ยนถ่าย น้ำมัน หล่อลื่นและบำรุงรักษาตามระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งน้ำเสียจะมีคราบน้ำมัน ปนเปื้อนออกมา ซึ่งน้ำมัน และสารลอยน้ำต่าง ๆ เป็นอุปสรรคต่อการสังเคราะห์แสงและกีดขวางการกระจายของออกซิเจนจากอากาศลงสู่น้ำ นอกจากนี้ยังทำให้เกิดสภาพไม่น่าดู โดยน้ำเสียที่เกิดขึ้นจะถูกระบายออกสู่ภายนอกและลงสู่ลำน้ำธรรมชาติ บริเวณใกล้เคียง จ) น้ำเสียจากน้ำชะขยะมูลฝอย ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจากคนงานก่อสร้าง 1 กิโลกรัม/ คน/วัน (สำนักงานสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น, 2555) ซึ่งจะมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น ดังนี้ - ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น = 1 กิโลกรัม/คน/วัน - จำนวนคนงานก่อสร้างทั้งหมด = 170 คน - ปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด = 170 กิโลกรัม/วัน หรือ = 0.17 ตัน/วัน น้ำชะขยะมูลฝอย (Leachate) หมายถึง ของเหลวที่ไหลซึมออกมาจากกองขยะมูลฝอย ซึ่งจะมีความสกปรกสูงและอาจปนเปื้อนสูแ ่ หล่งน้ำผิวดินตามธรรมชาติที่อยู่บริเวณใกล้เคียงได้ เนื่องจากน้ำชะขยะ จะมีค่า COD (Chemical Oxygen Demand) สูงมาก เมื่อปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้ำจะทำให้ปริมาณออกซิเจนในน้ำ ต่ำลง และส่งผลทำให้สิ่งมีชีวิตในน้ำตายได้ (Clement 1997; Marttinen 2002; Pirbazari 1996 ; Silva 2004 ; Sisinno 2000) ดังนั้น จึงต้องควบคุมมิให้น้ำชะขยะมูลฝอยแพร่กระจายไปสู่สิ่งแวดล้อมโดยรอบ โดยการบำบัด น้ำชะขยะก่อนปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม (Renoua, 2008) ทั้งนี้ น้ำเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้นจะถูกระบายออกสู่ภายนอก พื้นที่ตั้งหน่วยก่อสร้างโครงการหรือบริเวณใกล้เคียง หากไม่มีการจัดการบำบัดน้ำเสียที่เหมาะสม อาจส่งผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณ ภาพน้ ำและกลายเป็ นแหล่งแพร่เชื้อโรคได้ และเนื่ องจากบริเวณพื้ น ที่โดยรอบหน่ วย ก่อสร้างโครงการเป็นพื้ นที่โล่งและสวนปาล์ม การระบายน้ำเสียจากหน่วยก่อสร้างอาจส่งผลกระทบต่อพื้ นที่ บริเวณดังกล่าว ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของผลผลิต มีระยะเวลาในการเกิดผลกระทบตลอดช่วง ก่อสร้าง แต่ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างถาวร มีขอบเขตผลกระทบอยู่บริเวณโดยรอบพื้นที่ตั้งหน่วยก่อสร้างโครงการ จึงมี ผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-41 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ โครงการกำหนดให้มีห้องน้ำ -ห้องส้วม 1 แห่ง บริเวณ กม.0+500 และที่จอดรถใต้โครงสร้าง สะพาน ฝั่งตำบลเกาะกลาง เพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเยี่ย มชมจุดชมวิวของโครงการ ซึ่งคาดว่าจะมีการ ระบายน้ำเสียและขยะมูลฝอยจากกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งอาจมีผลกระทบด้านมลพิษและเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคได้ จึงมี ผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ได้กำหนดให้มีจุดชมวิวบนสะพานจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ กม.0+692 และ กม.0+892 มีทางขึ้น -ลง เพื่อไปยังจุดชมวิวในรูปแบบสะพานลอยและลิฟท์ ตั้งอยู่บนฝั่งของพื้นที่ตำบลเกาะกลางบริเวณ กม.0+512 โดย ่ มถึงกันระยะทางประมาณ 500 เมตร ซึ่งตามรูปแบบโครงการ คาดว่า จุดชมวิวทั้งสองแห่งดังกล่าวจะมีทางเดินเชือ จะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาใช้บริการจุดชมวิวอย่างต่อเนื่อง โดยนักท่องเที่ยวจะมีพฤติกรรมที่มีความแตกต่างกันไป ตามแต่ละบุคคล นักท่องเที่ยวแบบไป -กลับ เป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีการผลิตขยะมูลฝอยในพื้นที่ ค่อนข้างน้อย จะมีพฤติกรรมการทิ้งขยะโดยทิ้งขยะลงในถังขยะโดยตรง ไม่ทิ้งเกลื่อนกลาดหรือทิ้งไว้ข้าง ๆ ถังขยะ ในกรณีที่ ขยะล้นถังและมีการคัดแยกขยะมูลฝอย หากบริเวณนั้นมีถังขยะแบบแยกประเภท แต่อย่างไรก็ตาม ในถังขยะอาจ มีขยะมูลฝอยผิดประเภทปะปนอยู่ในถังขยะแต่ละประเภท อาจเนื่องมาจากการขาดความรู้เกี่ยวกับคัดแยกขยะมูลฝอย และการไม่ตระหนักถึงประโยชน์ที่ได้จากการคัดแยกขยะมูลฝอยของนักท่องเที่ยว ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกัน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ จึงกำหนดให้มีการจัดการขยะมูลฝอย ดังนี้ - ติดตั้งถังขยะขนาด 240 ลิตร มีฝาปิดพร้อมกรงตาข่ายเหล็กกันลิงคุ้ยขยะ แยกประเภท 4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะอันตราย ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล บริเวณพื้นที่ว่างของลานจอดรถใกล้กับ ทางขึ้น-ลงไปจุดชมวิวโครงการ ฝั่งซ้ายทางและฝั่งขวาทางอย่างละ 1 ชุด (รูปที่ 4.4.3-2) - ติดป้ายหรือสัญลักษณ์บนถังขยะตามประเภทของขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะเปียก และขยะอันตรายให้ชัดเจน - ติด ตั้ง ป้า ยประชาสัม พัน ธ์ รณรงค์ขอความร่ว มมือ งดใช้ บ รรจุภัณ ฑ์โ ฟมและพลาสติก แก่ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว - กรมทางหลวงชนบทประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง ในการเก็บขนขยะมูลฝอยไปกำจัด ตามหลักสุขาภิบาล โดยการเก็บขนขึ้นอยู่กับปริมาณขยะมูลฝอยและช่วงเวลา ช่วงวันหยุดยาวหรือช่วงเทศกาล ท่องเที่ยว (พฤศจิกายน-มีนาคมของทุกปี) จะมีปริมาณขยะมูลฝอยมากให้จัดเก็บขยะทุกวันๆ ละ 3-4 เที่ยว/วัน ในช่วงเวลา 07.00 - 17.00 น. เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขยะตกค้างในพื้นที่ แต่หากเป็นช่วงปกติจะจัดเก็บขยะมูลฝอย 1-2 เที่ยว/วัน ในช่วงเวลา 08.00 – 16.00 น. ขึ้นอยู่กับปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บขน โดยมีแนวทางการจัดการ ขยะมูลฝอย แสดงดังรูปที่ 4.4.3-3 - ทำการขนส่งขยะมูลฝอยจากสถานที่รวบรวมขยะมูลฝอยไปยังสถานที่กำจัดขยะโดยเตาเผา เพื่อผลิตพลังงาน ณ เทศบาลเมืองกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 4-42 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.3-2 แนวทางการจัดการขยะมูลฝอย รูปที่ 4.4.3-3 ตำแหน่งติดตั้งถังขยะบริเวณพื้นที่ว่างของลานจอดรถใกล้กับทางขึ้น-ลงไปจุดชมวิวโครงการ กรมทางหลวงชนบท 4-43 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.4.4 คุณภาพน้ำทะเลและสมุทรศาสตร์ 1) กรณีไม่มีโครงการ (1) ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพน้ำทะเล ผลการสำรวจคุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่โครงการ จำนวน 3 สถานี ได้แก่ สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้าน หัวหิน ตำบลเกาะกลาง สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง และสถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย ดำเนินการเก็บตัวอย่าง จำนวน 3 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 วันที่ 16 มกราคม 2564 ครั้งที่ 2 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 และครั้งที่ 3 วันที่ 17 มิถุนายน 2564 สรุปได้ดังนี้ ผลการตรวจวิเคระห์คุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 1 คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ศึกษานั้น สรุปว่าน้ำมีความลึก 1.9-6.0 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 27.2-27.6 องศาเซลเซียส ความโปร่งใส พบอยู่ ระหว่าง 1.7-2.4 เมตร ความขุ่น พบอยู่ระหว่าง 1.37-1.91 NTU ความเป็ นกรดด่ าง พบอยู่ระหว่าง 8.0-9.1 ออกซิเจนละลายพบอยู่ระหว่าง 5.6-6.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบอยู่ระหว่าง 0.59-0.83 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าพบอยู่ระหว่าง 50.2-51.9 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มพบอยู่ระหว่าง 32.2-32.3 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดพบอยู่ระหว่างมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึง 6 มิลลิกรัมต่อ ลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบอยู่ระหว่างต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 ไปจนถึง 0.500 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัม ต่อลิ ตร ตามลำดั บ ในส่วนของการปนเปื้ อนของแบคที เรีย นั้น ค่าแบคที เรีย กลุ่ม โคลิ ฟอร์ม ทั้งหมดพบอยู่ระหว่าง 2.0-26.0 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบอยู่ ระหว่างต่ำกว่า 1 ไปจนถึง 8 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่โครงการ ทั้ง 3 สถานี จัดว่าน้ำ ทะเลทั้ง ณ ผิวน้ำ และพื้นท้องน้ำ มีคุณภาพทั้งทางกายภาพ และทางเคมีอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล ประเภทที่ 1 (เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ) ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 2 คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ศึกษานั้น สรุปว่าน้ำมี ความลึก 1.7-5.8 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 28.3-28.7 องศาเซลเซียส ความโปร่งใส พบอยู่ระหว่าง 2.9-3.4 เมตร ความขุ่นพบอยู่ระหว่าง 0.43-1.91 NTU ความเป็นกรดด่าง พบอยู่ระหว่าง 7.9-8.2 ออกซิเจนละลายพบอยู่ระหว่าง 5.7-6.2 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบอยู่ระหว่าง 0.54-1.72 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าพบอยู่ระหว่าง 53.8-54.8 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็มพบอยู่ระหว่าง 33.0-33.3 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดพบอยู่ระหว่างมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึง 5 มิลลิกรัมต่อ ลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 ไปจนถึง 0.290 และต่ำกว่า 0.020 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบอยู่ ระหว่าง 12-600 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ อยู่ระหว่าง 2.0-22.0 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่โครงการ ทั้ง 3 สถานี จัดว่าน้ำทะเลทั้ง ณ ผิวน้ำ และพื้นท้องน้ำ มีคุณ ภาพทั้ งทางกายภาพ และทางเคมีอยู่ในเกณฑ์ ม าตรฐานคุณ ภาพน้ำทะเลประเภทที่ 1 (เพื่ อการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ) ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทะเล ครั้งที่ 3 คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่ศึกษานั้น สรุปว่าน้ำมี ความลึก 1.5-6.0 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติตามฤดูกาล คือ 29.9-30.7 องศาเซลเซียส ความโปร่งใส พบอยู่ระหว่างมากกว่า 1.5 ไปจนถึง 3.0 เมตร ความขุ่น พบอยู่ระหว่าง 0.70-3.54 NTU ความเป็นกรดด่าง พบ อยู่ระหว่าง 7.9-80 ออกซิเจนละลายพบอยู่ระหว่าง 5.2-5.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี พบอยู่ ระหว่าง 0.37-0.59 มิลลิกรัมต่อลิตร ความนำไฟฟ้าพบอยู่ระหว่าง 51.4-52.7 มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ค่าความเค็ม พบอยู่ระหว่าง 30.3-30.7 ส่วนในพัน ปริมาณสารแขวนลอยทั้งหมดพบอยู่ระหว่างมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ไปจนถึง 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าสารหนู ตะกั่ว และปรอททั้งหมด พบต่ำกว่า 0.300, ต่ำกว่า 0.100 และต่ำกว่า 0.020 กรมทางหลวงชนบท 4-44 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในส่วนของการปนเปื้อนของแบคทีเรียนั้น ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดพบอยู่ ระหว่าง ต่ำกว่า 1.8 ไปจนถึง 1,600 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มตรวจพบ อยู่ ระหว่าง ต่ำกว่า 1.0 ไปจนถึง 59 ซีเอฟยูต่อ 100 มิลลิลิตร คุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่โครงการ ทั้ง 3 สถานี จัดว่าน้ำ ทะเลทั้ง ณ ผิวน้ำ และพื้นท้องน้ำ มีคุณภาพทั้งทางกายภาพ และทางเคมีอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล ประเภทที่ 1 (เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ) (2) ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านสมุทรศาสตร์ ก. การศึกษาการไหลเวียนของกระแสน้ำกรณีไม่มีโครงการ ก) หลั กการและแบบจำลองที่ ใช้ ในการศึกษา ในการศึ กษาครั้งนี้ กลุ่มบริษั ทที่ปรึกษา เลื อกใช้ แ บบจำลอง AQUASEA เนื่ อ งจากเป็ น แบบจำลองทางคณิ ต ศาสตร์ที่ พั ฒ นาขึ้ น เพื่ อ เผยแพร่ค วามรู้ เชิ งวิ ช าการสำหรับบุ คคลทั่ วไปให้ สามารถนำมาใช้ ได้ และปั จจุ บั นก็มี การใช้ กันแพร่หลายในประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ยุโรป รวมทั้งในประเทศไทยด้วย แบบจำลอง AQUASEA ถู ก พั ฒ นาขึ้ น โดย Vatnaskil Consulting Engineering ประเทศไอซ์แ ลนด์ โดยมีป ระเทศสหรัฐ อเมริก าเป็น ตัว แทนจำหน่ า ย เป็น แบบจำลองเพื่อ การพัฒ นาเพื่ อ การเผยแพร่ความรู้เชิงวิชาการ บุคคลทั่วไปสามารถนำมาใช้ได้และมีการใช้กันแพร่หลายในหลายประเทศ ขั้นตอน ของการดำเนินการศึกษา วิเคราะห์แบบจำลอง AQUASEA แสดงรายละเอียดไว้ในรูปที่ 4.4.4-1 สามารถสรุปได้ ดังนี้ - ทำการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย แผนที่ความลึกท้องน้ำ ข้อมู ล ระดับน้ำ และสภาพกายภาพของพื้นที่โครงการ - สำรวจเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยทำการตรวจวัดความเร็วกระแสน้ำ ทิศทางการไหล และระดับน้ำขึ้นลง อย่างต่อเนื่องทุกๆ 1 ชั่วโมง รวมไม่น้อยกว่า 3 วัน รวมทั้งเก็บตะกอนดินพื้นท้องน้ำ - ปรับแก้แบบจำลอง โดยทำการเปรียบเทียบผลการตรวจวัดที่ได้กับผลจากการ คำนวณ โดยพิจารณาค่า Correlation Coefficient ให้ได้ไม่ต่ำกว่า 0.80 - วิเคราะห์การไหลเวียนของกระแสน้ำ - วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำจากกิจกรรมก่อสร้างสะพานข้ามเกาะลันตา โดยพิจารณาสภาพก่อนและหลังมีโครงการ เพื่อประเมินผลความแตกต่างที่อาจส่งผลกระทบกับพื้นที่ข้างเคียง - วิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนแขวนลอยจากกิจกรรมงานเจาะเสาเข็ม - สรุป ประเมินผล และข้อเสนอแนะ ข) รายละเอียดแบบจำลอง AQUASEA - สมมติฐานเบื้องต้นสำหรับจำลอง มีดังนี้ • ค่าความเสียดทานของท้องน้ำคงที่ (Bed Resistance Coefficients ) • การไหลของกระแสน้ำไม่คำนึงถึงความเร็วลม • กระแสน้ำแปรเปลี่ยนไปตามระดับน้ำขึ้นน้ำลง (Tidal Variation) • ลักษณะการไหลของกระแสน้ำชนิด Steady flow • ความเร็วกระแสน้ำพิจารณาที่ความลึกเฉลี่ย - สมการที่ใช้ในแบบจำลองการไหลเวียนของกระแสน้ำ (Hydrodynamic Model) • สมการต่อเนื่อง (Continuity Equation) สามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้    (uH ) + (vH ) + =Q x y t (1) H = h + (2) กรมทางหลวงชนบท 4-45 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การรวบรวมข้อมูล แผนที่ความลึกท้องน้ำ สถานีวัดระดับน้ำอย่างน้อย 2 สถานี สภาพกายภาพของพื้นที่โครงการ การสำรวจและเก็บข้อมูลในภาคสนาม ความเร็วกระแสน้ำและทิศทางการไหล ระดับน้ำ เก็บตัวอย่างตะกอนดินพื้นท้องน้ำ การวิเคราะห์แบบจำลอง AQUASEA กำหนด Boundary Condition ขอบเขตพื้นที่โครงการ ไม่ถูกต้อง Calibration Model ผลการตรวจวัด ถูกต้อง การไหลเวียนของกระแสน้ำ การแพร่กระจายของ ตะกอนแขวนลอย วิเคราะห์การไหลเวียนของกระแสน้ำ ประเมินผลกระทบ ก่อนมีโครงการ หลังมีโครงการ มาตรการป้องกัน เปรียบเทียบผลต่าง ประเมินผลกระทบ สรุปและเสนอแนะ รูปที่ 4.4.4-1 ขั้นตอนและวิธีการศึกษาแบบจำลอง AQUASEA กรมทางหลวงชนบท 4-46 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เมื่อ h = ความลึกน้ำเฉลี่ย (ม.)  = การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำ (ม.) H = ความลึกน้ำ (ม.) u = ความเร็วกระแสน้ำในทิศทางแกน x (ม./วินาที) v = ความเร็วกระแสน้ำในทิศทางแกน y (ม./วินาที) t = ระยะเวลา (วินาที) Q = ปริมาณน้ำ (ลบ.ม./วินาที) • สมการโมเมนต์ตัม (Momentum Equation) การเปลี่ยนแปลงความดัน hydrostatic pressure ในแนวดิ่ง เขียนเป็นสมการ โมเมนต์ตัมในทิศทางแกน x และแกน y ได้ดังนี้ u u u  g k Q +u +v = −g + fv − (u 2 + v 2 )1 / 2 u + Wx W − (u − u0 ) (3) t x y x HC 2 H H u v v  g k Q + u + v = −g − fu − (u 2 + v 2 )1 / 2 v + Wy W − (v − v0 ) (4) t x y y HC 2 H H ค่า Coriolis พารามิเตอร์ f , สามารถอธิบายได้ดังนี้ f = 2 sin  (5) เมื่อ  เป็นค่าละติจูด (Latitude) และ  เป็นอัตราการหมุนของโลกมีค่าเท่ากับ = 7.2722 x 10-5 (วินาที)-1 (6) สำหรับค่าแรงลมเค้นเนื่องจากแรงเฉือน (Shear stress) พารามิเตอร์, k สามารถหาได้ดังนี้  aCD เมื่อ k= (7)  h = Mean water depth, m  = Change water level, m H = Total water depth, m u = Velocity component in X direction, m/s v = Velocity component in Y direction, m/s T = Time, second g = Acceleration of gravity, m/s2  = The Earth’s rate of rotation, s-1 = 7.272210-5  = Latitude, degree กรมทางหลวงชนบท 4-47 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม C = Chezy bottom friction coefficient, m1/2/s a = Density of air, kg/m3 CD = Wind drop coefficient  = Fluid density, kg/m3 Wx = Wind velocity in x - direction, m/s (ไม่นำมาพิจารณา) Wy = Wind velocity in y - direction, m/s (ไม่นำมาพิจารณา) W = Wind Speed, m/s (ไม่นำมาพิจารณา) uo = Velocity of discharge action in x - direction, m/s vo = Velocity of discharge action in y - direction, m/s • สมการการเคลื่อนที่ของตะกอน (The Transport Equation)   C    C  c C  HDx  +  HDy  − Hu = H + S − Q( Co − C) (8) x  x  y  y  x t เมื่อ Dx = Longitudinal dispersion coefficient, m2/s Dy = Transversal dispersion coefficient, m2/s H = Total water depth, m S = Mass flux term, kg/m3 Q = Discharge water, m3/s Co = Sediment concentration C = Suspended sediment ค) ข้อมูลในการนำเข้าแบบจำลอง (Data Input) ข้อมูลที่ใช้ในการนำเข้าแบบจำลอง AQUASEA ประกอบด้วย - ข้อมูลความลึกท้องน้ำ (Bathymetry) แผนที่ร่องน้ำเดินเรือ โดยกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ระวางที่ 308 ปี พ.ศ. 2534 ดังแสดงในรูปที่ 4.4.4-2 - Boundary condition สถานี ระดับ น้ ำเพื่ อกำหนดเป็ น Boundary condition 2 สถานี เป็นสถานีของกรมเจ้าท่า ประกอบด้วย สถานีด้านทิศเหนือ คือสถานีวัดระดับน้ำกระบี่ และสถานีทางทิศใต้ คือ สถานีวัดระดับน้ำ หาดเจ้าไหม ซึ่งเป็นสถานีที่ดำเนินการเก็บข้อมูลระดับน้ำเป็นรายชั่วโมง (ผลการศึกษาใน บริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการมาประกอบการศึกษา) และปรับแก้แบบจำลอง คือ โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสำรวจออกแบบปรับปรุงท่าเรือปากเมง อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ของกรมเจ้าท่า ซึ่งดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2558 พร้อมทั้งใช้ข้อมูลการสำรวจวัดความเร็วกระแสน้ำและระดับน้ำ ในช่วงระหว่างวันที่ 25-30 พฤศจิกายน 2558 เป็นตัวแทน สำหรับใช้ในการปรับเทียบกับแบบจำลอง ส่วนการสอบเทียบแบบจำลองจะใช้ข้อมูลสำรวจระดับจริง ในบริเวณพื้นที่โครงการเพื่อยืนยันความถูกต้องของแบบจำลองต่อไป (Verified model) กรมทางหลวงชนบท 4-48 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-2 แผนที่ร่องน้ำเดินเรือ ระวาง 308 ของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ในการปรับเทียบแบบจำลองกำหนดให้สถานีวัดระดับน้ำกระบี่ เป็น Upper Stream Boundary และสถานีหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง เป็น Down Stream Boundary ดังแสดงใน รูปที่ 4.4.4-3 โดย การศึ ก ษาจะแบ่ ง พื้ น ที่ อ อกเป็ น 2 ส่ ว น คือ ส่ ว นที่ 1 กำหนดให้ พื้ น ที่ ข นาดใหญ่ ( AREA 1) มี ขนาด 90X8 3 กิโลเมตร เพื่อใช้ปรับแก้แบบจำลอง สำหรับส่วนที่ 2 ได้กำหนดเป็นพื้นที่ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำจาก กิจกรรมของสะพานข้ามเกาะลันตา (AREA 2) มีขนาด 4X12 กิโลเมตร รายละเอียดของแผนที่ความลึกท้องทะเล ในพื้นที่ 1 (AREA 1) และพื้นที่ 2 (AREA 1) แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-4 และรูปที่ 4.4.4-5 ตามลำดับ กรมทางหลวงชนบท 4-49 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Upper Steream Boundary condition AREA 1 พื้นที่โครงการ AREA 2 สถานีปากเมง สถานีวัดน้ำกระบี่ สถานีวัดน้ำหาดเจ้าไหม โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ สำรวจออกแบบปรับปรุงท่าเรือปากเมง อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง Down Stream Boundary condition ที่มา : กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ รูปที่ 4.4.4-3 แผนที่แสดงขอบเขตของการศึกษาวิเคราะห์ด้วยแบบจำลอง กรมทางหลวงชนบท 4-50 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-4 แผนที่แสดงความลึกท้องทะเลในพื้นที่ 1 (AREA 1) กรมทางหลวงชนบท 4-51 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-5 แผนที่แสดงความลึกท้องทะเลในพื้นที่ 2 (AREA 2) ง) การปรับเทียบแบบจำลอง การปรับแก้แบบจำลองการเปลี่ยนแปลงกระแสน้ำ (Calibrate) จะประกอบไปด้วย - ข้อ มู ล ที่ ใช้ ในการปรับ แก้ แบบจำลองคณิ ต ศาสตร์ ค่ า Bottom friction จาก Chezy coefficient หรือ Manning coefficient - ข้อมูลระดับน้ำและข้อมูลกระแสน้ำสำรวจในพื้นที่ที่ใช้ในการยืนยันความถูกต้อง ของแบบจำลองคณิตศาสตร์ สำหรับข้อมูลระดับน้ำและข้อมูลกระแสน้ำสำรวจที่ปรึกษาได้ทำการตรวจวัดระดับน้ำ ความเร็ว กระแสน้ำ และทิศทางการไหลของกระแสน้ำ รายชั่ว โมง จำนวน 3 วัน ต่อเนื่อ ง ในพื้ น ที่โ ครงการ กลางคลองตำแหน่งจุดตรวจวัด ดังแสดงรูปที่ 4.4.5-6 โดยในบริเวณพื้นที่สำรวจตั้งอยู่ในเขตอนุรักษ์ฯ ก่อนการ ดำเนินการสำรวจที่ปรึกษาได้ทำการขออนุญาตเข้าสำรวจในพื้นที่แล้ว การสำรวจดำเนินการเริ่มตั้งแต่เวลา 8.00 น. ของวันที่ 15 มกราคม 2564 ถึงเวลา 9.00 น. ของวันที่ 18 มกราคม 2564 อุปกรณ์ที่ใช้ตรวจวัดค่าระดับน้ำ และกระแสน้ำ เป็นเครื่องวัดกระแสน้ำรุ่น Valeport 106 ตรวจวัดกระแสน้ำที่พิกัด U.T.M. 849 539 N และ 511 013 (ละติจูด 7 º 41’ 8.0628” N ลองติจูด 99º 05’ 59.503” E) ทำการวัดทุกต้นชั่วโมงที่ระดับความลึก 0.50 เมตรใต้ผิวน้ำ ระดับกึ่งกลางน้ำ และระดับความลึก 0.50 เมตร เหนือท้องน้ำ กรมทางหลวงชนบท 4-52 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-6 ตำแหน่งจุดติดตั้งเครื่องมือสำรวจความสูงคลื่น ความเร็วกระแสน้ำ และระดับน้ำ วิธีการตรวจวัดกระแสน้ำโดยใช้เรือทิ้งสมอจอดที่กลางลำน้ำ จากนั้นทำการหย่อนเครื่องมือ ตรวจวัดกระแสน้ำทั้ง 3 ระดับ และทำการตรวจวัดทุกๆ ชั่วโมง ต่อเนื่อง 3 วัน และการตรวจวัดระดับน้ำโดยการ ติดตั้งเครื่องมือวัดระดับน้ำอัตโนมัติที่บริเวณด้านข้างท่าเทียบเรือข้ามฝากไปเกาะลันตา ภาพแสดงการตรวจวัด กระแสน้ำและค่าระดับน้ำของโครงการ ดังแสดงรูปที่ 4.4.4-7 ผลการตรวจวัด ค่า ระดับ น้ำ และกระแสน้ำ ดัง แสดงไว้ต ารางที ่ 4.4.4 -1 และ รูป ที ่ 4.4.4-8 ถึงรูปที่ 4.4.4-10 จากผลการวิเคราะห์ พบว่า ค่าความถูกต้อง ( Correlation Coefficient ) ของค่า ระดับน้ำ ความเร็วกระแสน้ำและทิศทางการไหลจากแบบจำลอง มีค่าเป็น 0.988, 0.905 และ 0.833 ตามลำดับ ซึ่งถือว่ามีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากมีค่ามากกว่า 0.80 สรุปในบริเวณพื้นที่โครงการระดับน้ำมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ +2.425 ม.รทก. ความเร็วกระแสน้ำ เฉลี่ยมีค่าเท่ากับ -0.044 ม./วินาที ในช่วงน้ำขึ้นทิศทางการไหลไปทางทิศตะวันออก (89.2 องศา) ความเร็วเฉลี่ย มีค่าเท่ากับ 0.220 ม./วินาที และสูงสุดเท่ากับ 0.450 ม./วินาที ส่วนในช่วงน้ำลงทิศทางการไหลไปทางทิศตะวันตก (251.1 องศา) ความเร็วเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 0.280 ม./วินาที และสูงสุดเท่ากับ 0.464 ม./วินาที ส่วนผลการวิเคราะห์ ความเร็วกระแสน้ำในช่วงน้ำขึ้นและน้ำลง (รูปที่ 4.4.5-8 ถึงรูปที่ 4.4.5-10) ตามลำดับ กรมทางหลวงชนบท 4-53 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เครื่องมือตรวจวัดกระแสน้ำและการติดตั้ง เครื่องมือวัดระดับน้ำและการติดตั้ง รูปที่ 4.4.4-7 ภาพแสดงการตรวจวัดกระแสน้ำและค่าระดับน้ำของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 4-54 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.4-1 ผลการปรับเทียบค่าระดับน้ำ ความเร็วกระแสน้ำและทิศทางการไหลของกระแสน้ำ ของแบบจำลอง ช่วงระหว่างวันที่ 15-18 มกราคม 2564 ระดับน้ำ (ม.รทก.) ความเร็วกระแสน้ำ (ม./วิ.) ทิศงทางการไหล (องศาเหนือ) เวลา / วัน Model Observed Model Observed Model Observed 15/01/2020 9:00 2.078 2.000 0.213 0.220 68.5 69.0 15/01/2020 10:00 3.008 2.660 0.044 0.170 63.6 65.0 15/01/2020 11:00 3.640 3.220 0.062 0.050 97.7 95.2 15/01/2020 12:00 3.717 3.450 -0.211 -0.285 275.3 234.2 15/01/2020 13:00 3.579 3.370 -0.253 -0.371 239.2 233.2 15/01/2020 14:00 3.496 3.110 -0.357 -0.400 249.3 241.3 15/01/2020 15:00 3.173 2.630 -0.411 -0.335 249.5 265.8 15/01/2020 16:00 2.442 2.100 -0.271 -0.283 251.7 244.9 15/01/2020 17:00 1.747 1.570 -0.199 -0.146 253.9 239.6 15/01/2020 18:00 1.319 1.130 0.031 0.197 32.9 73.3 15/01/2020 19:00 1.039 1.130 0.411 0.394 66.6 90.4 15/01/2020 20:00 1.395 1.590 0.368 0.225 68.2 89.9 15/01/2020 21:00 2.208 2.220 0.268 0.195 68.0 71.8 15/01/2020 22:00 3.098 2.930 0.100 0.240 67.2 75.6 15/01/2020 23:00 3.934 3.530 0.025 0.162 35.0 109.4 16/01/2020 0:00 4.174 3.870 -0.145 -0.079 312.8 296.8 16/01/2020 1:00 4.046 3.910 -0.168 -0.079 261.3 248.7 16/01/2020 2:00 3.933 3.630 -0.347 -0.346 251.0 252.1 16/01/2020 3:00 3.451 3.040 -0.392 -0.430 250.1 259.3 16/01/2020 4:00 2.634 2.310 -0.343 -0.399 250.4 257.2 16/01/2020 5:00 1.905 1.630 -0.295 -0.351 251.2 255.8 16/01/2020 6:00 1.295 1.110 -0.225 0.087 254.3 42.5 16/01/2020 7:00 0.850 0.890 0.330 0.450 65.8 51.0 16/01/2020 8:00 0.920 1.150 0.396 0.350 68.4 82.1 16/01/2020 9:00 1.552 1.740 0.283 0.235 68.7 80.5 16/01/2020 10:00 2.447 2.330 0.119 0.150 72.0 64.6 16/01/2020 11:00 3.205 2.890 0.039 0.075 65.0 74.7 16/01/2020 12:00 3.758 3.340 -0.176 -0.028 260.7 249.6 16/01/2020 13:00 3.749 3.420 -0.196 -0.304 264.5 235.6 16/01/2020 14:00 3.459 3.270 -0.225 -0.408 255.4 252.5 16/01/2020 15:00 3.221 2.910 -0.283 -0.423 249.5 252.7 16/01/2020 16:00 2.780 2.390 -0.285 -0.305 250.4 244.5 16/01/2020 17:00 2.236 1.910 -0.334 -0.228 250.0 227.6 16/01/2020 18:00 1.699 1.460 -0.236 -0.046 253.6 195.9 16/01/2020 19:00 1.199 1.230 0.354 0.340 65.3 63.6 16/01/2020 20:00 1.298 1.420 0.365 0.350 67.7 68.1 16/01/2020 21:00 1.946 1.940 0.230 0.300 67.8 82.0 16/01/2020 22:00 2.680 2.530 0.129 0.205 67.7 85.4 16/01/2020 23:00 3.412 3.160 0.077 0.175 66.0 82.2 กรมทางหลวงชนบท 4-55 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.4-1 ผลการปรับเทียบค่าระดับน้ำ ความเร็วกระแสน้ำและทิศทางการไหลของกระแสน้ำ ของแบบจำลอง ช่วงระหว่างวันที่ 15-18 มกราคม 2564 (ต่อ) ระดับน้ำ (ม.รทก.) ความเร็วกระแสน้ำ (ม./วิ.) ทิศงทางการไหล (องศาเหนือ) เวลา / วัน Model Observed Model Observed Model Observed 17/01/2020 0:00 4.014 3.670 -0.151 0.155 280.6 141.7 17/01/2020 1:00 4.124 3.830 -0.195 -0.275 256.5 289.5 17/01/2020 2:00 3.916 3.730 -0.201 -0.425 254.7 248.0 17/01/2020 3:00 3.621 3.340 -0.295 -0.442 250.8 255.4 17/01/2020 4:00 3.128 2.680 -0.383 -0.340 249.7 252.5 17/01/2020 5:00 2.445 2.000 -0.364 -0.203 250.1 249.3 17/01/2020 6:00 1.744 1.440 -0.231 -0.041 253.7 245.1 17/01/2020 7:00 1.209 1.040 0.023 0.192 25.0 56.0 17/01/2020 8:00 0.934 1.080 0.419 0.436 66.3 61.6 17/01/2020 9:00 1.204 1.540 0.384 0.235 68.4 102.7 17/01/2020 10:00 2.043 2.060 0.215 0.130 68.1 112.7 17/01/2020 11:00 2.894 2.610 0.042 0.180 61.3 86.0 17/01/2020 12:00 3.490 3.130 -0.165 0.114 261.1 82.5 17/01/2020 13:00 3.728 3.410 -0.153 -0.182 277.2 237.3 17/01/2020 14:00 3.591 3.340 -0.182 -0.394 256.1 259.4 17/01/2020 15:00 3.352 3.120 -0.238 -0.401 250.5 269.6 17/01/2020 16:00 3.014 2.730 -0.292 -0.291 249.9 265.8 17/01/2020 17:00 2.493 2.240 -0.280 -0.289 250.9 278.0 17/01/2020 18:00 1.928 1.770 -0.236 -0.282 252.1 200.1 17/01/2020 19:00 1.480 1.410 0.080 0.146 59.4 163.8 17/01/2020 20:00 1.250 1.370 0.386 0.212 66.7 86.9 17/01/2020 21:00 1.622 1.730 0.293 0.329 67.8 94.0 17/01/2020 22:00 2.315 2.190 0.126 0.074 67.9 94.9 17/01/2020 23:00 2.951 2.720 0.055 0.085 65.1 80.6 18/01/2020 0:00 3.463 3.280 0.050 0.055 59.5 122.0 18/01/2020 1:00 3.772 3.570 0.022 -0.150 10.6 265.0 18/01/2020 2:00 3.876 3.600 -0.198 -0.317 253.7 252.0 18/01/2020 3:00 3.737 3.420 -0.255 -0.421 251.4 244.3 18/01/2020 4:00 3.353 2.950 -0.370 -0.464 250.0 264.6 18/01/2020 5:00 2.669 2.310 -0.347 -0.326 250.5 265.5 18/01/2020 6:00 1.954 1.710 -0.251 -0.224 251.7 275.5 18/01/2020 7:00 1.424 1.260 -0.167 -0.175 264.3 239.0 18/01/2020 8:00 1.061 1.150 0.328 0.375 65.6 98.9 18/01/2020 9:00 1.190 1.440 0.354 0.400 67.9 137.8 เฉลี่ย - 2.425 - -0.044 - 172.4 เฉลี่ยช่วงน้ำขึ้น - - - 0.220 - 89.2 เฉลี่ยช่วงน้ำลง - - - -0.280 - 251.1 สูงสุดช่วงน้ำขึ้น - - - 0.450 - - สูงสุดช่วงน้ำลง - - - -0.464 - - ที่มา : จากการวิเคราะห์ของกลุ่มบริษัทที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 4-56 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.5 Corr. Coe. = 0.988 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0 15/01/2020 0:00 16/01/2020 0:00 17/01/2020 0:00 18/01/2020 0:00 19/01/2020 0:00 รูปที่ 4.4.4-8 ผลการเปรียบเทียบระดับน้ำจากการสำรวจจากแบบจำลอง 0.6 Corr. Coe. = 0.905 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 -0.6 15/01/2020 0:00 16/01/2020 0:00 17/01/2020 0:00 18/01/2020 0:00 19/01/2020 0:00 รูปที่ 4.4.4-9 ผลการเปรียบเทียบความเร็วกระแสน้ำจากการสำรวจจากแบบจำลอง 360 Corr. Coe. = 0.833 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2020 0:00 16/01/2020 0:00 17/01/2020 0:00 18/01/2020 0:00 19/01/2020 0:00 รูปที่ 4.4.4-10 ผลการเปรียบเทียบทิศทางการไหลของกระแสน้ำจากการสำรวจจากแบบจำลอง กรมทางหลวงชนบท 4-57 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม จ) การวิเคราะห์การไหลเวียนกระแสน้ำในสภาพกรณีไม่มีโครงการ จากการจำลองการไหลเวียนกระแสน้ำด้วยแบบจำลอง พบว่า ในบริเวณพื้นที่โครงการ ในช่ วงน้ ำขึ้น ทิ ศทางของกระแสน้ ำมี ทิ ศทางไหลไปทางทิ ศตะวั นออกเฉียงเหนื อ และช่ วงน้ ำลงมี ทิ ศทางไหลไป ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ ดังแสดงรูปที่ 4.4.4-11 ถึงรูปที่ 4.4.4-12 ส่วนรูปที่ 4.4.4-13 แสดงการไหลเวียนของ กระแสน้ำบริเวณพื้นที่โครงการในช่วงชั่วโมงต่าง ๆ พบว่า การไหลเวียนของกระแสน้ำเปลี่ยนไปตามการขึ้น -ลง ของระดับน้ำทะเล โดยในรอบ 12 ชั่วโมง มีน้ำขึ้นและน้ำลงวันละ 1 ครั้ง 854000 852000 850000 848000 FLOOD TIDE 502000 504000 506000 508000 510000 512000 514000 รูปที่ 4.4.4-11 ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำในช่วงน้ำขึ้นในสภาพไม่มีโครงการ 854000 852000 850000 848000 EBB TIDE 502000 504000 506000 508000 510000 512000 514000 รูปที่ 4.4.4-12 ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำในช่วงน้ำลงในสภาพไม่มีโครงการ กรมทางหลวงชนบท 4-58 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 1 hour 2 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 3 hour 4 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 5 hour 6 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 รูปที่ 4.4.4-13 การไหลเวียนของกระแสน้ำในพื้นที่โครงการในชั่วโมงต่าง ๆ ในสภาพไม่มีโครงการ กรมทางหลวงชนบท 4-59 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 7 hour 8 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 9 hour 10 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 850,500 850,500 850,000 850,000 849,500 849,500 11 hour 12 hour 511,000 511,500 512,000 512,500 511,000 511,500 512,000 512,500 รูปที่ 4.4.4-13 การไหลเวียนของกระแสน้ำในพื้นที่โครงการในชั่วโมงต่าง ๆ ในสภาพไม่มีโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 4-60 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะก่อนก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพน้ำทะเล รูปแบบการพัฒนาโครงการเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประกอบด้วย สะพานข้ามทะเล และทางระดับดิน โดยจุดเริ่มต้นบนทางหลวง หมายเลข 4206 ผ่านบริเวณเกาะปลิง ไปบรรจบกับจุดสิ้นสุดพื้นที่ศึกษา ทางหลวงชนบทหมายเลข กบ.5035 ความยาวสะพานรวมเชิงลาดประมาณ 2 ,240 เมตร ประกอบด้ วย โครงสร้างหลัก 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 -1 (Section 1-1) สะพานบก เป็น โครงสร้างยกระดั บเหนื อพื้ นดิน ขนาด 2 ช่องจราจร ไป -กลับ ความกว้างช่อง จราจร 3.75 เมตร มีไหล่ทางความกว้าง 2.50 เมตร และทางเดินเข้าจุดชมวิวความกว้าง 1.75 เมตร ส่วนที่ 2-2 (Section 2-2) รูปแบบสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) เป็นโครงสร้างสะพานแบบขึงสายเคเบิ้ลแบบระนาบคู่ ขนาด 2 ช่องจราจร ไป-กลับ ความกว้างช่องจราจร 3.75 เมตร มีไหล่ทางความกว้าง 2.50 เมตร และทางเดินเข้า จุดชมวิวความกว้าง 1.75 เมตร มีระยะทางรวม 460 เมตร และส่วนที่ 3-3 และส่วนที่ 4 -4 (Section 3-3 & Section 4-4) รูป แบบสะพานคานยื่น สมดุล ( Balanced Cantilever Bridge) เป็น รูปแบบสะพานที่พ บเห็น ได้ ทั่วไป สะพานมีรูปแบบเรียบง่าย ไม่มีการติดตั้งเคเบิล ขนาด 2 ช่องจราจร ไป-กลับ ความกว้างช่องจราจร 3.75 เมตร และมีไหล่ทางความกว้าง 2.50 เมตร มีระยะทางรวม 1,740 เมตร การดำเนินกิจกรรมก่อสร้างของโครงการ คาดว่าจะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำทะเล ดังนี้ ก. กิจกรรมก่อสร้างถนนบนฝั่ง การเปิดหน้าดินเพื่อปรับพื้นที่ การถมและบดอัดดิน เพื่อก่อสร้างถนนพื้นราบ กิจกรรมการ ก่อสร้างเชิงลาดสะพานฝั่งตำบลเกาะกลาง (กม.0+000-กม.0+500) และการก่อสร้างเชิงลาดสะพานฝั่งตำบล เกาะลัน ตาน้อย (กม.2+000-กม.2+527) ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะทำให้พื้นที่กลายเป็นที่โล่ง มีขนาดพื้นที่ 9.38 และ 8.81 ไร่ ตามลำดับ ซึ่งการชะล้างพังทลายของดินส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากน้ำฝน พลังงานของฝน ที่ตกกระทบพื้นดิน ทำให้ดินแตกออกจากกัน ความคงทนของดินต่อการชะล้างพังทลาย (Soil Erodibility) ขึ้นอยู่ กับคุณสมบัติของดิน ได้แก่ การจับตัวของดิน การซึมน้ำของดิน โครงสร้างของดินและเนื้อดิน ดินที่แตกออกจาก กันสามารถถูกพัดพาไปกับน้ำไหลบ่าหน้าดิน (Run-off Water) โดยปริมาณน้ำไหลบ่าและความเร็วของน้ำไหลบ่า อาจทำให้เกิดขบวนการกัดเซาะและการพัดพาของตะกอน (Detachment and Transportation) มากหรือน้อยนั้น ้ อยู่กับ สภาพภูมิป ระเทศ ซึ่งได้แก่ ความยาวของพื้นที่และความลาดชัน ของพื้น ที่ที่น้ำท่าไหลผ่า นหน้าดิ น ขึน สิ่ งปกคลุ มดิ นหรือชนิ ดของพื ชพรรณต่ างๆ สามารถลดแรงตกกระทบของพลั งงานฝนที่ จะตกกระทบลงสู่ ดิ น ตลอดจนลดการไหลบ่าของน้ำ โดยชนิดของสิ่งปกคลุมดินและพืชพรรณซึ่งมีชนิดต่างกัน จะมีผลต่อการลดความ รุนแรงของน้ำได้ต่างกัน ทั้งนี้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการชะล้างพังทลายโดยน้ำ ดังนี้ • น้ำหรือฝน (precipitation) หมายถึงการตกลงมาของน้ำในรูปของแข็งหรือของเหลว ก็ตาม เช่น ฝน หิมะ ลูกเห็บ หมอก หรือน้ ำค้าง โดยทั่วไปแล้วถือว่าฝนเป็นตัวการใหญ่ที่ท ำให้เกิดการชะล้าง พังทลาย แต่สำหรับประเทศหนาวหิมะก็มีส่วนมากเหมือนกัน การกัดกร่อนจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับลักษณะ ของฝน เช่น ความมากน้อยที่ตกครั้งหนึ่ง ระยะเวลา จำนวนน้ำฝนทั้งหมด ขนาด ความเร็ว รูปร่างของเม็ดฝน และการแพร่กระจายของฝนในแต่ละฤดู • สภาพภูมิประเทศ (topography) มีความสัมพันธ์อย่างมากกับน้ำไหลบ่า จะมีอิทธิพล แค่ไหน ขึ้นอยู่กับความชันของความลาดเท ความยาวความลาดเท รูปร่างของความลาดเท ความไม่สม่ ำเสมอ ของความลาดเทและทิศทางของความลาดเท • สมบัติของดิน (soil properties) การชะล้างพังทลายจะเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่ กับปัจจัยของดิน ดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-61 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ความสามารถในการทนทานต่อการชะล้างพังทลายของดิน ซึ่งขึ้นอยู่กับปริ มาณ อินทรียวัตถุ ปริมาณอนุภาคดินเหนียว ชนิดของไอออนบวกที่แลกเปลี่ยนได้ ปริมาณของเม็ดดินที่เสถียร กิจกรรม ของเชื้อจุลินทรีย์ ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน และปริมาณความชุ่มชื้นในดิน - ความสามารถในการทนทานต่อการพั ดพา ซึ่งขึ้นอยู่กับเนื้อดิน และขนาดของ อนุภาคของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน - ความสามารถในการทนทานต่อ น้ำไหลบ่ า ซึ่งขึ้นอยู่กับ เนื้ อดิน และขนาดของ อนุภาคของดิน ปริมาณช่องอากาศ ปริมาณความชื้นในดินชั้นดินดาน • สิ่งปกคลุมผิวดิน การใช้ประโยชน์จากที่ดิน และการจัดการดิน ซึ่งอาจมีผลดังนี้ - สิ่งปกคลุมผิวดิน (soil cover) การที่ผิวหน้าดินมีพืชหรือเศษวัสดุของพืชปกคลุม อยู่ก็มีผลโดยตรงต่อการลดแรงปะทะของเม็ดฝน ลดการแตกกระจายของดิน และการไหลบ่าของน้ ำบนผิวดิน ทำให้การชะล้างพังทลายของดินลดลง - การใช้ประโยชน์ที่ดิน (land use) โดยใช้ที่ดินให้เหมาะสมตามสมรรถนะของดิน การปลูก พืชปกคลุมหน้าดิน การเลือกชนิดพืชที่ปลูก มีผลทำให้การชะล้างพังทลายและการสูญเสียดินลดลงได้ - การจัดการดิน (soil management) ได้แก่ การไถพรวน โดยปกติเป็นการเพิ่ม การชะล้างพังทลายของดิน โดยถ้าทำให้ถูกวิธีที่เหมาะสมจะช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน วิธีการปลูกพืช มีอิทธิพลต่อการชะล้างพังทลายของดินขึ้นอยู่กับชนิดของพืชที่ปลูก จำนวนพืชต่อเนื้อที่ ระยะระหว่างต้นและ ระหว่างแถว และทิศทางของแถวกับความลาดเท ซึ่งถ้ามีพืชหนาแน่นและปลูกตามแนวระดับหรือขั้นบันไดจะลด การชะล้างพังทลายของดินเป็นอย่างมาก ผลจากการวิเคราะห์อัต ราการชะล้ างพังทลายของดิน ตามสมการสูญ เสียดิน สากล (USLE) จะมีโอกาสเกิดการชะล้างพังทลายเท่ากับ 0.256 ตัน/ไร่/ปี ซึ่งมีระดับการชะล้า งพังทลายของดิ นอยู่ใน ระดับ ปานกลาง (น้อ ยกว่า 2-5 ตัน /ไร่/ ปี) มีปริมาณการชะล้างดินเท่ากับ 2.40 และ 1.15 ตัน/ปี ตามลำดับ และมีผลผลิตตะกอน (SY) เท่ากับ 2.80 และ 1.50 ตัน/ปี โดยเศษมวลดินที่เกิดขึ้นจะไหลผสมกับปริมาณน้ำฝน ลงสู่พื้นที่รับน้ำหรือทะเลที่อยู่ใกล้เคียง แต่อย่างไรก็ตาม พื้นที่ดำเนินการส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่เขตทางเดิม หรือ แนวถนนที่มีอยู่เดิม จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง ข. กิจกรรมก่อสร้างในทะเล การขุดเจาะฐานรากสะพาน ในขั้นตอนการขุดเจาะด้ายระบบเปียกจะมีการเติมสารละลาย โพลิเมอร์ที่ ใช้ พ ยุ งหลุ ม เจาะและการเทคอนกรีต ซึ่ งในระหว่ างการดำเนิ น งานอาจเกิด การหกเลอะออกจาก ปากหลุมเจาะและตกลงสู่ทะเลได้ ก่อให้เกิดการปนเปื้อนและส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำทะเล ในบริเวณพื้นที่ดังกล่าว และอาจมีผลกระทบต่อเนื่องไปยังนิเวศวิทยาทางน้ำได้ โดยเฉพาะสัตว์น้ำกลุ่มหอยและ สัตว์หน้าดิน ซึ่งปกติคอนกรีตจะมีสภาพเป็นด่าง หรือค่า pH ประมาณ 12.5 (CPAC Concrete Academy) และ จากการศึกษาของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (2548) ซึ่งได้ทำการทดสอบของเหลว พยุ ง เสถีย รภาพของหลุ ม เจาะ (ทดสอบคุณ สมบั ติ ที่ อุ ณ หภู มิ 20 องศาเซลเซี ย ส) ของสารละลายโพลิ เมอร (Polymers) มีค่าความเป็ นกรด/ด่ าง (pH) ระหว่างการขุดเมื่อเติมลงในหลุมเจาะมี ค่าความเป็ นกรด -ด่าง (pH) อยู่ ระหว่าง 8.0 – 10.0 และเมื่ อเก็บ ตั ว อย่ างจากกนหลุ ม เจาะก่อนเทคอนกรีต มี ค่าความเป็ น กรด -ด่ าง (pH) อยู่ระหว่าง 8.0 – 11.0 ทั้งนี้ การก่อสร้างฐานรากสะพานในทะเล นอกจากก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากร ในทะเลแล้ว ยังมีผลต่อการรบกวนตะกอนที่อยู่พื้นทะเลทำให้ตะกอนเกิดการฟุ้งกระจายขึ้นมา ซึ่งการฟุ้งกระจาย ของตะกอน จะลดความสามารถในการส่ งผ่ านของแสงลงสู่ ในน้ ำ ทำให้ ประสิ ทธิ ภาพในการสั งเคราะห์ แสงของ แพลงก์ตอนพืช และพืชน้ำลดลง ปริมาณออกซิเจนในน้ำจึงลดลงเช่นเดียวกัน ขณะเดียวกันการฟุ้งกระจายของ ตะกอนยังส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตหลายชนิดโดยตรง เช่น ตะกอนเข้าไปอุดตันบริเวณอวัยวะที่ใช้หายใจของ กรมทางหลวงชนบท 4-62 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตในน้ำหรือตะกอนปกคลุมทับถมบนปะการังและหญ้าทะเล ส่งผลทำให้ปะการังและหญ้าทะเลอ่อนแอ และตายได้ ส่งผลให้ระบบนิเวศเกิดความเสื่อมโทรมลง นอกจากนี้ความขุ่น ของน้ำทะเลที่เกิดขึ้น คาดว่าจะมี ผลกระทบต่อ ปลา สัต ว์ห น้า ดิน ปู และหอย ไม่ ม ากนั ก เนื่ อ งจากสั ต ว์ เหล่ านี้ ส ามารถปรั บ ตั ว ในเข้ า กั บ สภาพแวดล้อมได้ดี และสามารถเคลื่อนย้ายไปยังพื้นที่อื่นได้ ประกอบกับผลกระทบที่เกิดขึ้นมีระยะเวลาในช่วงสั้นๆ และเกิดขึ้นเฉพาะจุด ปริมาณตะกอนดินจะถูกกระแสน้ำพัดพาออกไปและเกิดการตกตะกอนจมลงในพื้นที่ที่ไม่ห่าง จากพื้นที่ก่อสร้าง จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง ค. การรั่วไหลของน้ำมันจากเครื่องจักรกล การรั่วไหลของน้ำมันสามารถเกิดได้จากการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างที่ต้องใช้เครื่องจักรกล ขนาดใหญ่ ซึ่งการรั่วไหลส่วนมากมักเกิดจากเครื่องมือ/เครื่องจักรกลที่มีสภาพไม่ดีหรือไม่พร้อมต่อการปฏิบัติงาน รวมถึงกิจกรรมการขนส่งทางทะเลที่อาจเกิดการรั่วไหลของน้ำมันได้ เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ในการเดินเรือ เก็บกัก หรือ สูบถ่ายน้ำมันชำรุด ซึ่งน้ำมันที่รั่วไหลสู่แหล่งน้ำจะเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพ ทั้งทางกายภาพ เคมี และ ชีวภาพ เริ่มจากน้ำมันบางส่วนระเหยไป น้ำมันที่เหลือจะเปลี่ยนสภาพไปตามคุณสมบัติเฉพาะของชนิดน้ำมันนั้นๆ และปัจจัยต่างๆ เช่น แสงแดด กระแสน้ำ อุณหภูมิ ฯลฯ นอกจากนี้คราบน้ำมันที่ลอยอยู่บนผิวน้ำจะทำปฏิกิริยา กับออกซิเจน ทำให้ออกซิเจนในน้ำลดลง และปิดกั้นการสังเคราะห์แสงของแพลงก์ตอนพืช สาหร่าย และพืชน้ำต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงสภาวะการย่อยสลายของแบคทีเรียในน้ำ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดล้วนส่งผลเสียต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น (ปลา สัตว์หน้าดิน ปะการัง ฯลฯ) รวมถึงนกน้ำด้วย เกิดการสะสมสารพิษในห่วงโซ่อาหาร ที่เริ่มตั้งแต่ผู้ผลิต (แพลงก์ตอนพืช ) ผู้บริโภคขั้นต้น (แพลงก์ตอนสัตว์ /ปลา) จนถึงผู้บริโภคขั้นสุดท้ายซึ่งก็คือ มนุษย์ ทั้งนี้ น้ำมันที่รั่วไหลลงสู่ทะเลจะส่งผลกระทบทางตรงต่อระบบนิเวศ แม้จะไม่เกิดขึ้นในทันที แต่ก็จะ ยังคงอยู่ระยะยาวและค่อยๆ ซึมลึกสู่ใต้น้ำและหาดทรายจากสารพิษตกค้าง อีกทั้งการกำจัดไม่ง่ายที่จะขจัดให้ หมดจดในคราวเดียว นอกจากนี้คราบน้ำมันยังส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ประมงและการเพาะลี้ ยงชายฝั่ง เช่น สัตว์น้ำตายจากคราบน้ำมัน ขาดออกซิเจน ชายหาดสกปรกจากคราบน้ำมัน ทำลายทัศนียภาพ มีกลิ่นเหม็น ไม่เหมาะกับการท่องเที่ยวและพักผ่อน ส่งผลกระทบทางอ้อมต่อเศรษฐกิจในชุม ชนท้องถิ่น และ ระดับ ประเทศ โดยความรุน แรงของผลกระทบจากน้ำ มัน รั่ว ไหล ขึ้น อยู่กับ หลายปัจ จัย ทั้ง ชนิด ของน้ำ มัน ปริม าณที ่รั่ว ไหล สภาพภูมิศ าสตร์ข องบริเวณที ่เกิด รั่ว ไหล กระแสน้ำ กระแสลม การขึ้น -ลงของน้ำ ทะเล ตลอดจนความหลากหลายและความสมบูรณ์ของทรัพยากรรอบๆ บริเวณนั้น แต่อย่างไรก็ตาม เครื่องจักรกล ขนาดใหญ่ที ่ใช้ด ำเนิน การการก่อสร้า งของโครงการมี จ ำนวนน้ อย และทางผู้ รับ จ้ างก่อสร้างจะมี ม าตรการ ตรวจเช็คสภาพเครื่องจักรหลให้อยู่ในสภาพดีก่อนนำมาปฏิบัติงาน ดังนั้น โอกาสที่น้ำมันจากเครื่องจักรกลจะรั่วไหล ลงสู่ทะเลจึงมีน้อย พิจารณาให้มีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง ง. การร่วงหล่นของวัสดุก่อสร้าง การก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เป็นสะพานยกระดับที่มีโครงสร้างขนาดใหญ่มีความสูงจากระดับดินเดิม เพื่อเชื่อมต่อ เส้ น ทางคมนาคมระหว่ า งพื้ น ที่ ฝั่ งตำบลเกาะกลางและเกาะลั น ตาน้ อย ช่ ว ยให้ โครงข่ ายคมนาคมในพื้ น ที่ มี ประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้ในระหว่างการก่อสร้างอาจเกิดการร่วงหล่นของวัสดุ เช่น เศษปูน เศษเหล็ก อุปกรณ์/วัสดุ ก่อสร้างต่างๆ ลงสู่พื้นล่างหรือลงสู่ทะเลได้ ในกรณีที่มีการคมนาคมบนถนนเดิมหรือการสัญ ญจรทางน้ำอยู่ใน บริเวณพื้นที่ดำเนินกิจกรรมก่อสร้าง พื้นที่ดังกล่าวอาจเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ จึงมีผลกระทบอยู่ใน ระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-63 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านสมุทรศาสตร์ ก. การประเมินผลกระทบจากโครงสร้างท่าเรือชั่วคราว การวิ เคราะห์ ก ารเปลี่ ย นแปลงด้ า นสมุ ท รศาสตร์ ค รั้ ง นี้ ได้ ด ำเนิ น การวิ เคราะห์ ก าร เปลี่ยนแปลงกระแสน้ำและการแพร่กระจายตะกอนในระยะก่อสร้างจากโครงสร้างท่าเรือชั่วคราว เพื่อใช้เป็น ท่ า เรือ ชั่ ว คราวสำหรับ ขนส่ ง วั ส ดุ ก่ อ สร้า งสะพานข้ า มคลองช่ องลาดไปเกาะลั น ตาน้ อ ย โดยใช้ แ บบจำลอง คณิตศาสตร์ Aquasea แบบ 2 มิติที่ ผ่านการปรับเทียบกับข้อมูลระดับน้ำกระแสน้ำจริงมาแล้ว ดังนี้ ก) รูปแบบท่าเรือชั่วคราว การก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) เพื่อจะใช้ เป็นเส้นทางขนส่งวัสดุก่อสร้างในคลองช่องลาด โดยโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวยื่นออกจากฝั่งตำบลเกาะกลางยาว ประมาณ 50 เมตร และฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ยาวประมาณ 200 เมตร เป็นแบบเสาเข็มแบบท่อเหล็กกลม ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 1.0 เมตร ความหนาของท่อ 15 มิลลิเมตร ยาว 15 เมตร โครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวมีความกว้าง ระหว่างเสา 8.5 เมตร และความยาวระหว่างเสา 15 เมตร ดังแสดงรูปที่ 4.4.4-14 ข) ขนาดของเม็ดดิน จากผลการเจาะสำรวจชั้นดินในทะลของโครงการบริเวณคลอง ช่องหลาด จำนวน 4 หลุม ( BH-3 ถึง BH-6) แสดงดัง รูป ที่ 4.4.4-15 ถึงรูป ที่ 4.4.4-17 เป็น การเจาะหลุม ขนาดเล็กขนาดเส้ น ผ่านศูน ย์กลาง 3 นิ้ ว และมีความลึกตั้ งแต่ 3 เมตรขึ้น ไป จนถึงชั้น ดิ น แข็ง พร้อมกับ เก็บ ตัวอย่างดิน มาทดสอบความแน่ น หรือความแข็งของชั้น ดิน ที่ ความลึ กต่างมาทดสอบให้ห้องปฏิบั ติการ พบว่า ลักษณะชั้ น ดิ น จากท้ องทะเลไปจนถึงชั้ น ดิ น แข็ง ลั กษณะดิน เป็ น ชั้ น ทรายปนทรายแป้ งแน่ น มาก ( SM, silty sands, sand silt mixtures) ไปจนถึ ง ชั้ น ทรำยปนดิ น เหนี ย วแน่ น ปำนกลาง ( SC ,Silty clay) และจากการ วิเคราะห์หาส่วนขนาดคละของมวลรวมด้วยตะแกรง ( Sieve Analysis) พบว่า ขนาดตะดอนดินจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ หลุม BH-3 และ BH-6 เป็นดินที่มีขนาดตะกอนเม็ดใหญ่ มีขนาดเม็ดดินเฉลี่ยประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ซึ่งตำแหน่งจะอยู่ใกล้ริมตลิ่ง ส่วนหลุมที่อยู่บริเวณกลางลำน้ำใกล้กับเกาะปลิง BH-4 และ BH-5 ขนาดเม็ดดิน จะเล็กกว่า มีขนาดตะกอนดิน D30 เท่ากับ 0.015 มิลลิเมตร แสดงดังรูปที่ 4.4.4-18 ดังนั้นในการวิเคราะห์การฟุ้ง กระจายตะกอนด้วยแบบจำลองคณิตศาสตร์ที่ปรึกษาเลือกใช้ตะกอนที่มีขนาดเล็กสุดเท่ากับ 0.015 มิลลิเมตร ค) การวิ เคราะห์ ก ารเปลี่ ย นแปลงความเร็ ว และทิ ศ ทางการไหลกระแสน้ ำ ได้ ทำการศึกษาเปรียบเทียบของความเร็วกระแสน้ำในกรณีมีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) กับกรณีไม่มีโครงการ โดยได้กำหนดจุดตรวจสอบบริเวณเสาเข็มเหล็กที่ด้านเหนือน้ำ (ด้านทิศตะวันออกของ แนวสะพาน) 3 จุด คือ E1 E2 และ E3 ห่างจากเสาเข็มเหล็ก เป็น 20 50 และ 100 เมตร ตามลำดับ ด้านท้ายน้ำ (ด้านทิศตะวันตกของแนวท่าเทียบเรือชั่วคราว ทั้งฝั่งเกาะกลางและฝั่งเกาะลันตาน้อย) 3 จุด ได้แก่ W1 W2 และ W3 ห่างจากเสาเข็มเหล็ก เป็น 20 50 และ 100 เมตร ตามลำดับ รวมจำนวนจุดตรวจสอบ 6 จุด แสดงดังรูปที่ 4.4.4-1 9 การวิเคราะห์การเปลี่ย นแปลงของกระแสน้ำ โดยทำการศึกษาเปรียบเทีย บสภาพก่อนและหลังมี โครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวจากข้อมูลระดับน้ำในวันที่ 15-18 มกราคม 2564 - การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงกระแสน้ำบริเวณท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง ผลการวิเคราะห์ การเปลี่ ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ ำ สภาพก่อนและหลั งมี โครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวบริเวณฝั่งตำบลเกาะกลาง แสดงดังตารางที่ 4.4.4-2 รายละเอียดมีดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-64 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ท่าเทียบเรือชั่วคราว (แปลนตำแหน่งท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง) ท่าเทียบเรือชั่วคราว (แปลนตำแหน่งท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย) รูปที่ 4.4.4-14 แบบโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) กรมทางหลวงชนบท 4-65 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม BH-5 BH-4 BH-6 BH-3 รูปที่ 4.4.4-15 ตำแหน่งหลุมเจาะสำรวจชั้นดิน BH-3 ถึง BH-6 รูปที่ 4.4.4-16 ตัวอย่างการขุดเจาะสำรวจชั้นดินและหินหลุมเจาะ กรมทางหลวงชนบท 4-66 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-17 ตัวอย่างผลการเก็บตัวอย่างดินในกระบอกเจาะดิน กรมทางหลวงชนบท 4-67 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม M.I.T. SAND SILT Classify Coarse Medium Fine Coarse Medium 100 BH-3 90 BH-4 80 BH-5 70 BH-6 % Passing by Weight 60 50 40 30 D30 = 0.015 20 10 0 10.000 1.000 0.100 0.010 Diameter in Milimeter รูปที่ 4.4.4-18 ผลการวิเคราะห์หาส่วนขนาดคละของเม็ดดินจากหลุมเจาะ BH3 ถึง BH6 กรมทางหลวงชนบท 4-68 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (แปลนตำแหน่งท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง) (แปลนตำแหน่งท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตาน้อย) รูปที่ 4.4.4-19 แผนที่แสดงตำแหน่งตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำ ของบริเวณท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) กรมทางหลวงชนบท 4-69 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.4-2 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง ความเร็วกระแสน้ำ (เมตร/วินาที) Station ก่อนมี หลังมี การ ร้อยละการ หมายเหตุ โครงการ โครงสร้าง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง KE1 0.376 0.380 0.005 1.33 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 20 เมตร KE2 0.363 0.363 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 50 เมตร KE3 0.314 0.314 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 100 เมตร KW1 0.406 0.406 0.005 1.23 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 20 เมตร KW2 0.408 0.408 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 50 เมตร KW3 0.366 0.366 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 100 เมตร หมายเหตุ : + หมายถึง ความเร็วกระแสน้ำเพิ่มขึ้น - หมายถึง ความเร็วกระแสน้ำลดลง • บริ เวณด้ า นเหนื อ น้ ำ (ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของท่ า เที ย บเรื อ ชั่ ว คราว) ( KE1-KE3) พบว่ า ในระยะห่ างจากท่ าเที ยบเรื อชั่ วคราว 20 เมตร (KE1) ความเร็ วกระแสน้ ำ เพิ่ ม ขึ้ น 0.005 เมตร/วินาที มีค่าร้อยละการเปลี่ยนแปลง 1.33 ส่วนในรัศมีจากตอม่อ 50-100 เมตร ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว กระแสน้ำ สรุปผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำสภาพ ก่อนและหลังมีโครงการของสถานี KE1-KE3 แสดงดังรูปที่ 4.4.4-20 • บริ เวณด้ า นท้ า ยน้ ำ (ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของท่ า เที ย บเรื อ ชั่ ว คราว) (KW1-KW3) พบว่ า ในระยะห่ างจากท่ าเที ยบเรื อชั่ วคราว 20 เมตร (KE1) ความเร็ วกระแสน้ ำ เพิ่ มขึ้ น 0.005 เมตร/วินาที มีค่าร้อยละการเปลี่ยนแปลง 1.23 ส่วนในรัศมีจากตอม่อ 50-100 เมตร ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว กระแสน้ำ สรุปผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำสภาพ ก่อนและหลังมีโครงการของสถานี KW1-KW3 แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-21 กรมทางหลวงชนบท 4-70 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Temporary jetty KE1 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 -0.5 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KE1 Temporary jetty KE2 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 -0.5 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KE2 Temporary jetty KE3 0.8 0.6 0.4 0.2 0 -0.2 -0.4 -0.6 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KE3 รูปที่ 4.4.4-20 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง บริเวณด้านเหนือน้ำของสะพาน (KE1-KE3) กรมทางหลวงชนบท 4-71 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Temporary jetty KW1 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 -0.5 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KW1 Temporary jetty KW2 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 -0.5 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KW2 Temporary jetty KW3 0.8 0.6 0.4 0.2 0 -0.2 -0.4 -0.6 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KW3 รูปที่ 4.4.4-21 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง บริเวณด้านท้ายน้ำของสะพาน (KW1-KW3) กรมทางหลวงชนบท 4-72 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลบริเวณท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง ตำแหน่งติดตามการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำใช้ตำแหน่งเดียวกันกับ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) ฝั่งเกาะกลาง สรุปรายละเอี ยดได้ดัง แสดงในตารางที่ 4.4.4-3 ดังนี้ ตารางที่ 4.4.4-3 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีท่าเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง ทิศทางการไหล (องศา) Station ก่อนมี หลังมี การ ร้อยละการ หมายเหตุ โครงการ โครงการ เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง KE1 153.1 153.7 0.6 0.39 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 20 เมตร KE2 155.4 155.4 0.0 0.00 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 50 เมตร KE3 156.7 156.7 0.0 0.00 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 100 เมตร KW1 148.8 145.7 0.6 0.40 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 20 เมตร KW2 148.2 148.2 0.0 0.00 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 50 เมตร KW3 148.2 148.2 0.0 0.00 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 100 เมตร จากผลการศึกษาทิศทางการไหลของกระแสน้ำบริเวณรอบโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) ฝั่งเกาะกลาง ในระยะ 20 เมตร พบว่า ทิศทางการไหลเปลี่ยนไป 0.6 องศา หรือคิดเป็นร้อยละ 0.40 ของสภาพก่อนมีโครงการ ถัดจากระยะ 20 เมตร เป็นต้นไปทิศทางการไหลของกระแสน้ำจะไหลตามปกติ ผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงและเปรียบเทียบทิศทางการไหลของกระแสน้ำแสดงไว้ ในรูปที่ 4.4.4-22 และรูปที่ 4.4.4-23 - การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงกระแสน้ำบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตา ผลการวิ เคราะห์ ก ารเปลี่ ย นแปลงของความเร็ ว กระแสน้ ำ สภาพก่ อ นและหลั ง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวบริเวณฝั่งเกาะลันตาน้อย สรุปไว้ในตารางที่ 4.4.4-4 รายละเอียดมีดังนี้ ตารางที่ 4.4.4-4 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ความเร็วกระแสน้ำ (เมตร/วินาที) Station หลังมี ร้อยละการ หมายเหตุ ก่อนมีโครงการ ่ นแปลง การเปลีย โครงสร้าง เปลี่ยนแปลง LE1 0.376 0.380 0.005 1.33 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 20 เมตร LE2 0.363 0.363 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 50 เมตร LE3 0.314 0.314 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 100 เมตร LW1 0.406 0.406 0.005 1.23 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 20 เมตร LW2 0.408 0.408 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 50 เมตร LW3 0.366 0.366 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 100 เมตร หมายเหตุ : + หมายถึง ความเร็วกระแสน้ำเพิ่มขึ้น - หมายถึง ความเร็วกระแสน้ำลดลง กรมทางหลวงชนบท 4-73 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Temporary jetty KE1 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KE1 Temporary jetty KE2 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KE2 Temporary jetty KE3 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KE3 รูปที่ 4.4.4-22 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง บริเวณด้านเหนือน้ำของสะพาน (KE1-KE3) กรมทางหลวงชนบท 4-74 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Temporary jetty KW1 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KW1 Temporary jetty KW2 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KW2 Temporary jetty KW3 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี KW3 รูปที่ 4.4.4-23 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำสภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง บริเวณด้านท้ายน้ำของสะพาน (KW1-KW3) กรมทางหลวงชนบท 4-75 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม • บริ เวณด้ า นเหนื อ น้ ำ (ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของท่ า เที ย บเรื อ ชั่ ว คราว) (LE1-LE3) พบว่า ในระยะห่างจากท่ าเรือชั่วคราว 20 เมตร (LE1) ความเร็วกระแสน้ำ เพิ่ มขึ้น 0.005 เมตร/วินาที ร้อยละการเปลี่ยนแปลง 1.33 ส่วน ในรัศมีจากตอม่อ 50-100 เมตร ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ ำ สรุป ผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ผลการเปรียบเที ยบการเปลี่ ยนแปลงของความเร็ว กระแสน้ ำสภาพก่อนและหลั ง มีโครงการของสถานี LE1-LE3 แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-24 • บริ เวณด้ า นท้ า ยน้ ำ (ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของท่ า เที ย บเรื อ ชั่ ว คราว) (LW1-LW3) พบว่า ในระยะห่างจากท่าเรือชั่วคราว 20 เมตร (LE1) ความเร็วกระแสน้ำ เพิ่มขึ้น 0.005 เมตร/วินาที ร้อยละการเปลี่ยนแปลง 1.23 ส่วน ในรัศมีจากตอม่อ 50 -100 เมตร ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ ำ สรุปผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำสภาพก่อนและหลัง มีโครงการของสถานี LW1-LW3 แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-25 - การวิ เคราะห์ ก ารเปลี่ ยนแปลงทิ ศทางการไหลบริเวณท่ า เที ยบเรือ ชั่ วคราวฝั่ ง ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำแหน่งติดตามการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำใช้ตำแหน่งเดียวกันกับการ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) ฝั่งเกาะลันตาน้อย สรุปรายละเอียดได้ ดังแสดงในตารางที่ 4.4.4-5 ดังนี้ ตารางที่ 4.4.4-5 ผลการวิเคราะห์ การเปลี่ ยนแปลงทิ ศทางการไหลของกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลั ง มีท่าเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ทิศทางการไหล (องศา) Station ก่อนมี หลังมี การ ร้อยละการ หมายเหตุ โครงการ โครงการ เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง LE1 186.2 187.4 1.3 0.70 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 20 เมตร LE2 171.7 171.7 0.2 0.00 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 50 เมตร LE3 166.1 166.1 0.0 0.0 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 100 เมตร LW1 188.7 189.9 1.2 0.64 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 20 เมตร LW2 185.4 185.4 0.0 0.00 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 50 เมตร LW3 188.2 188.2 0.0 0.00 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 100 เมตร จากผลการศึกษาทิ ศทางการไหลของกระแสน้ ำบริเวณรอบโครงสร้างท่ าเที ยบเรือ ชั่วคราว (Temporary Jetty) ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ในระยะ 20 เมตร พบว่า ทิศทางการไหลเปลี่ยนไป 1.2-1.3 องศา หรือ คิด เป็ น ร้อ ยละ 0.64 -0.70 ของสภาพก่อนมี โครงการ ถัด จากระยะ 20 เมตร เป็ น ต้ น ไป ทิ ศทาง การไหลของกระแสน้ ำ จะไหลตามปกติ ผลกระทบอยู่ ในระดั บ ต่ ำ ผลการวิ เคราะห์ ก ารเปลี่ ย นแปลงและ เปรียบเทียบทิศทางการไหลของกระแสน้ำ แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-26 และรูปที่ 4.4.4-27 กรมทางหลวงชนบท 4-76 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Temporary jetty LE1 0.8 0.6 0.4 0.2 0 -0.2 -0.4 -0.6 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LE1 Temporary jetty LE2 0.8 0.6 0.4 0.2 0 -0.2 -0.4 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LE2 Temporary jetty LE3 0.8 0.6 0.4 0.2 0 -0.2 -0.4 -0.6 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LE3 รูปที่ 4.4.4-24 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย บริเวณด้านเหนือน้ำของสะพาน (LE1-LE3) กรมทางหลวงชนบท 4-77 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Temporary jetty LW1 0.8 0.6 0.4 0.2 0 -0.2 -0.4 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LW1 Temporary jetty LW2 0.8 0.6 0.4 0.2 0 -0.2 -0.4 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LW2 Temporary jetty LW3 0.8 0.6 0.4 0.2 0 -0.2 -0.4 -0.6 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LW3 รูปที่ 4.4.4-25 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย บริเวณด้านท้ายน้ำของสะพาน (LW1-LW3) กรมทางหลวงชนบท 4-78 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Temporary jetty LE1 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LE1 Temporary jetty LE2 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LE2 Temporary jetty LE3 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LE3 รูปที่ 4.4.4-26 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย บริเวณด้านเหนือน้ำของสะพาน (LE1-LE3) กรมทางหลวงชนบท 4-79 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Temporary jetty LW1 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LW1 Temporary jetty LW2 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LW2 Temporary jetty LW3 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/1/2564 0:00 15/1/2564 12:00 16/1/2564 0:00 16/1/2564 12:00 17/1/2564 0:00 17/1/2564 12:00 18/1/2564 0:00 18/1/2564 12:00 15-18 2564 สถานี LW3 รูปที่ 4.4.4-27 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำสภาพก่อนและหลัง มีโครงสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย บริเวณด้านท้ายน้ำของสะพาน (LW1-LW3) กรมทางหลวงชนบท 4-80 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ง) การประเมิ นปริมาณตะกอนที่ เกิ ดจากการก่ อสร้างท่ า เที ยบเรือชั่ วคราว การก่ อสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคาว (Temporary Jetty) ใช้เสาแบบท่อเหล็กกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.0 เมตร ความหนาของ ท่อเหล็ก 15 มิลลิเมตร ยาว 15 เมตร จมลงในดินลึกประมาณ 2.0 เมตร ซึ่งเป็นจุดที่มีความลึกมากที่สุดของ งานก่อสร้าง การเจาะเสาเข็มเหล็ก โดยใช้เครื่องเจาะเสาเข็ม Hydrualic ลงไปในชั้นดินลึกประมาณ 2.0 เมตร แล้วจึงเชื่อมคานระหว่างเสาเข็มเหล็กแล้วติดตั้งแผ่นพื้นเหล็กทำเป็นเส้นทางขนส่งวัสดุก่อสร้าง จากกิจกรรมการกด Hydrualic เสาเข็มเหล็กลงในชั้นดินมีโอกาสทำให้เกิดการฟุ้งกระจาย ตะกอนได้ เพราะเสาเข็มเหล็กจะไปดันชั้นดินอาจจะไปทำให้ตะกอนดินเกิดการฟุ้งขึ้นมาได้ โดยปริมาณตะกอนดิน ที่อาจจะฟุ้งขึ้นมาเท่ากับปริมาตรของเสาเข็มแบบท่อเหล็กกลมที่จมลงไปในชั้นดิน การวิเคราะห์การฟุ้งกระจาย ตะกอนโดยกำหนดเงื่อนไขการคำนวณดังต่อไปนี้ - ขนาดของเสาเข็มเหล็ก ขนาด  = 1.0 เมตร - ความยาวเสาเข็มส่วนที่จมในดิน = 2 เมตร - จำนวนเสาเข็ม (เจาะที่ละต้น) = 1 ต้น ∙ 2 ∙2 - ปริมาณของตะกอนต่อต้น = ( 4 − 4 ) x 2.0 ∙1.02 ∙0.9852 = ( − ) x 2.0 4 4 = (0.785-0.762) x 2.0 = 0.046 ลบ.ม./ต้น - ระยะเวลาการกดเสาเข็ม = 15 นาที/ต้น - ปริมาณตะกอนแพร่กระจาย = 0.046/(15x60) = 0.00005 ลบ.ม./วินาที - ความหนาแน่นของดิน (Silty Clay) = 1,430 กก./ลบ.ม. - ขนาดของเม็ดเดิน = 0.011 มิลลิเมตร - อัตราการตกตะกอนของดิน = 0.00013 เมตร/วินาที (Settling Rate) - ความเข้มข้นของปริมาณตะกอน = 0.00005 x1,430 - ปริมาณตะกอนที่เกิดจากการเจาะเสาเข็ม = 0.0715 กก./วินาที จ) การวิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนจากการก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว - ท่าเทียบเรือชั่วคราวบริเวณริมฝั่งตำบลเกาะกลาง ผลการวิเคราะห์การแพร่กระจาย ของตะกอนจากการเจาะเสาเข็ ม เหล็ ก ท่ า เที ย บเรือ ชั่ ว คราว (Temporary Jetty) โดยแบบจำลองพิ จ ารณา ครอบคลุมช่วงเวลาน้ำขึ้นและน้ำลงที่เกิดกรณีเลวร้ายที่สุด ตำแหน่งในการตรวจสอบที่บริเวณริมฝั่งจังหวัดกระบี่ และจากการจำลองความเร็วกระแสน้ำสูงสุด พบว่า ลักษณะการฟุ้งกระจายของตะกอนจากกิจกรรมของงาน เสาเข็มเหล็กท่าเทียบเรือชั่วคราว มีรูปร่างลักษณะวงรีตามทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำ โดยค่าความเข้มข้น ของตะกอนสูงสุด 6.3 ppm อยู่บริเวณตำแหน่งเจาะเสาเข็มในระยะไม่เกิน 1.0 เมตร แล้วแพร่ฟุ้งกระจายตาม ขนาดความเร็วและทิศทางการไหลของกระแสน้ำ และความเข้ม ข้นของตะกอนจะค่อยๆ ลดลง จนเหลือ 2.0 ppm การแพร่ตะกอนจะไปได้ไกลสูงสุด 67.0 เมตร ในช่วงน้ำลง ส่วนในช่วงน้ำขึ้นค่าความเข้มข้นของตะกอน สูงสุด 6.0 ppm การแพร่ฟุ้งกระจายตะกอนจะไปไกล 64 เมตร เมื่อทำการเจาะเสาเข็มแล้วเสร็จภายใน 20 นาที จะเข้าสู่ สภาวะปกติ เนื่ องเสาเข็ม เหล็ กที่ น ำมาก่อสร้างท่ าเที ยบเรือ ชั่ วคราว การเจาะเสาเข็ม จะใช้ วิธีการกด Hydrualic เสาเข็มลงในชั้นดิน ผลกระทบของกระจายของการฟุ้งกระจายของตะกอนอยู่ในระดับต่ำ แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อมิให้ผลกระทบในการแพร่กระจายของตะกอนให้ดำเนินการติดม่านป้องกันการฟุ่งกรจายได้ระดับหนึ่ง ผลการ วิเคราะห์ได้แสดงในตารางที่ 4.4.4-6 และรูปที่ 4.4.4-28 ถึงรูปที่ 4.4.4-30 กรมทางหลวงชนบท 4-81 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.4-6 ผลการวิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนแขวนลอยบริเวณจุดก่อสร้างท่าเทียบเรือ ชั่วคราว ระยะทางรัศมีแพร่กระจายจากตำแหน่งเสาเข็ม (เมตร) ความเข้มข้นของตะกอน บริเวณริมฝั่งจังหวัดกระบี่ (ppm) ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง 6 2 1 5 9 6 4 15 17 3 33 36 2 64 67 ที่มา : จากการวิเคราะห์ของที่ปรึกษา รูปที่ 4.4.4-28 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณปลายสะพานท่าเรือชั่วคราวในช่วงน้ำขึ้น กรมทางหลวงชนบท 4-82 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-29 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณปลายสะพานท่าเทียบเรือชั่วคราวในช่วงน้ำลง 5 นาทีหลังจากหยุด 10 นาทีหลังจากหยุด ก่อสร้าง ก่อสร้าง 15 นาทีหลังจากหยุด 20 นาทีหลังจากหยุด ก่อสร้าง ก่อสร้าง รูปที่ 4.4.4-30 ผลการจำลองระยะเวลาในการตกตะกอนดินทั้งหมดหลังจากหยุดก่อสร้าง ท่าเทียบเรือชั่วคราวจนสู่สภาวะปกติภายใน 20 นาที กรมทางหลวงชนบท 4-83 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ท่ า เที ย บเรือ ชั่ ว คราวบริ เวณริม ฝั่ ง ตำบลเกาะลั น ตาน้ อ ย ผลการวิ เคราะห์ ก าร แพร่กระจายของตะกอนจากงานเจาะเสาเข็มเหล็ก ท่ าเที ยบเรือชั่ วคราว (Temporary Jetty) โดยแบบจำลอง พิจารณาครอบคลุมช่วงเวลาน้ำขึ้นและน้ำลงที่เกิดกรณีเลวร้ายที่สุด ตำแหน่งในการตรวจสอบที่บริเวณริม ฝั่ง ตำบลเกาะลันตาน้อย ซึ่งจากการจำลองความเร็วกระแสน้ำสูงสุด พบว่า ลักษณะการฟุ้งกระจายของตะกอนจาก กิจกรรมของงานเสาเข็มเหล็ก Temporary Jetty มีรูปร่างลักษณะวงรีตามทิ ศทางการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำ โดยค่าความเข้มข้นของตะกอนสูงสุด 6.2 ppm อยู่บริเวณตำแหน่งเจาะเสาเข็มในระยะไม่เกิน 3.0 เมตร แล้วแพร่ ฟุ้งกระจายตามขนาดความเร็วและทิศทางการไหลของกระแสน้ำ และความเข้มข้นของตะกอนจะค่อย ๆ ลดลง จนเหลือ 2.0 ppm การแพร่ตะกอนจะไปได้ไกลสูงสุด 65.0 เมตร ในช่วงน้ำลง ส่วนในช่วงน้ำขึ้นค่าความเข้มข้น ของตะกอนสูงสุด 6.1 ppm การแพร่ฟุ้งกระจายตะกอนจะไปไกล 63.0 เมตร เมื่อทำการเจาะเสาเข็มแล้วเสร็จ ภายใน 20 นาทีจะเข้าสู่สภาวะปกติ เนื่องเสาเข็มเหล็กที่นำมาก่อสร้ างท่าเทียบเรือชั่วคราว การเจาะเสาเข็มจะใช้ วิธีการกด Hydrualic เสาเข็มลงในชั้นดิน ผลกระทบของกระจายของการฟุ้งกระจายของตะกอนอยู่ในระดับต่ำ แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อมิให้ผลกระทบในการแพร่กระจายของตะกอนให้ดำเนินการติด ตั้งม่านดักตะกอนในน้ำ (Silt Curtain) เพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของตะกอนดินในน้ำได้ระดับหนึ่ง ผลการวิเคราะห์ได้แสดงใน ตารางที่ 4.4.4-7 และรูปที่ 4.4.4-31 ถึงรูปที่ 4.4.4-33 ตารางที่ 4.4.4-7 ผลการวิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนแขวนลอยบริเวณจุดก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) ระยะทางรัศมีแพร่กระจายจากตำแหน่งเสาเข็ม (เมตร) ความเข้มข้น บริเวณริมฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ของตะกอน (ppm) ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง 6 2 3 5 7 10 4 17 15 3 32 34 2 63 65 ที่มา : จากการวิเคราะห์ของที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 4-84 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-31 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณปลายท่าเทียบเรือชั่วคราวในช่วงน้ำขึ้น รูปที่ 4.4.4-32 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณปลายท่าเทียบเรือชั่วคราวในช่วงน้ำลง กรมทางหลวงชนบท 4-85 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5 นาทีหลังจากหยุด 10 นาทีหลังจากหยุด ก่อสร้าง ก่อสร้าง 15 นาทีหลังจากหยุด 20 นาทีหลังจากหยุด ก่อสร้าง ก่อสร้าง รูปที่ 4.4.4-33 ผลการจำลองระยะเวลาในการตกดินทั้งหมดหลังจากหยุดก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว จนสู่สภาวะปกติภายใน 20 นาที ข. การประเมินผลกระทบจากเสาเข็มในคลองช่องลาด ก) รูปแบบเสาเข็มและตอม่อสะพาน การก่อสร้างสะพานข้ามคลองช่องลาดจากฝั่งตำบลเกาะกลาง ไปยังตำบลเกาะลันตาน้อย ได้ออกแบบโครงสร้างสะพานวางอยู่บ นเสาเข็ม ( Open Deck On Pile) โดยใช้เสาเข็มกลมแบบ Bored pile steel casing ขนาด 1,500 มม. รูปแบบตอม่อที่ก่อสร้างในทะเลมีทั้งหมด 3 รูปแบบ - F1 Type 1 มีขนาดฐานรากตอม่อ 12.0 X 21.75 เมตร มีเสาเข็มเจาะ (Bored pile) ขนาด Φ 1.5 เมตร จำนวน 18 ต้น มีจำนวนตอม่อ 2 ตัว ดังรูปที่ 4.4.4-34 - F2 Type 2 (Back Span) มีขนาดฐานรากตอม่อ 7.5 X 18.0 เมตร มีเสาเข็มเจาะ (Bored pile) ขนาด Φ 1.5 เมตร จำนวน 10 ต้น มีจำนวนตอม่อ 1 ตัว ดังรูปที่ 4.4.4-35 - F3 Type 3 มี ขนาดฐานรากตอม่ อ 11.0x21.0 เมตร มี เสาเข็มเจาะ (Bored pile) ขนาด Φ 1.5 เมตร จำนวน 12 ต้น มีจำนวนตอม่อ 13 ตัว ดังรูปที่ 4.4.4-36 กรมทางหลวงชนบท 4-86 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-34 ลักษณะโครงสร้างของสร้างสะพาน F1 Type 1 รูปที่ 4.4.4-35 ลักษณะโครงสร้างของสร้างสะพาน F2 Type 2 รูปที่ 4.4.4-36 ลักษณะโครงสร้างของสร้างสะพาน F3 Type 3 กรมทางหลวงชนบท 4-87 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ข) การประเมินปริมาณตะกอนที่เกิดจากการเจาะเสาเข็ม การก่อสร้างโดยวิธีเสาเข็มเจาะและฐานรากของสะพานข้ามคลองช่องลาดโดยทำการ ใช้เครื่องเจาะปลอกเหล็กแบบสั่น (Vibro Hammer) การกดเสาเหล็กรูปพรรณลงสู่ชั้นดิน การก่อ สร้า งตอม่อ จะใช้เสาเข็ม เจาะขนาด  1.50 เมตร เจาะลึก ถึง ชั้น ดิน แข็ง ซึ่งวิธีการก่อสร้างโดยใช้โป๊ะปั่นจั่นในการเจาะเสาเข็ม เสาเข็มที่ใช้งานเป็นประเภทเสาเข็มเจาะแบบมีแผ่นเหล็กหุ้ม หรือ Bored pile steel casing ลักษณะโครงสร้างเสาเข็มกระแสน้ำสามารถไหลผ่านไป -มาระหว่างช่องว่างของ เสาเข็มได้ การเจาะเสาเข็มจะใช้วิธีการติดตั้งแท่นกดปลอกเหล็ก ( Steel casing) ลงไปก่อนที่ละระดับเพื่อใช้เป็น ผนังกั้นน้ำ จากนั้นจึงสลับกับการขุดดินภายในเข็มขึ้นมาใส่กระบะรองรับดินที่จะอยู่ล้อมรอบเสาเข็ม แล้วค่อยๆ เจาะเสาเข็มให้ถึงระดับความลึ ก 30 เมตร แล้วทำการติดตั้งเหล็กเสริม แล้วเทคอนกรีตลงในหลุมเจาะ ทำการ ตรวจสอบความสมบูรณ์ของคอนกรีต (Sonic testing) ผ่านท่อเหล็กที่ฝั่งในคอนกรีต ทั้งนี้ปลอกเหล็กที่กดลงไปนั้น จะไม่สามารถถอนออกมาใช้งานได้อีก จากกิจกรรมการเจาะเสาเข็มข้างต้น จะเห็นได้ว่าในช่วงการขุดดินจะมีกระบะรองรับ ล้อมรอบตลอด ดังนั้นจึงไม่มีโอกาสทำให้เกิดการฟุ้งกระจายตะกอนได้ ยกเว้นในช่วงการเจาะปลอกเหล็กเพราะตัว เนื้อแผ่นเหล็กอาจจะไปทำให้ตะกอนดินเกิดการฟุ้งขึ้นมาได้ โดยปลอกเหล็กที่ใช้จะมีขนาดความหนา 70 มิลลิเมตร ขนาด  1.50 เมตร การศึกษาแพร่กระจายของตะกอนดินจากกิจกรรมของงานเจาะเสาเข็ม การวิเคราะห์การฟุ้ง กระจายตะกอนโดยกำหนดเงื่อนไขการคำนวณดังต่อไปนี้ กรณีตอม่อรูปที่ F1 Type 1 (เสาเข็ม 18 ต้น) - ขนาดของปลอกเหล็กกลม ขนาด  1.50 เมตร = 70 มิลลิเมตร - ความยาวเสาเข็มส่วนที่กดลงในดิน = 12 เมตร - จำนวนเสาเข็ม = 18 ต้น 2 2 - ปริมาณของตะกอนดินต่อต้น = (∙ 4 − ∙ 4 ) × 12 ∙1.642 ∙1.502 = ( 4 − 4 ) × 12 = 0.345 x 12 = 4.14 ลบ.ม./ต้น - ระยะเวลาการเจาะเสาเข็ม = 240 นาที/ต้น - ปริมาณตะกอนแพร่กระจาย = 6.576/240/60 = 0.00029 ลบ.ม./วินาที - อัตราการเจาะเสาเข็ม = 1 ตัน/วัน - ความหนาแน่นของดิน (Silty Clay) = 1,430 กก/ลบ.ม. - ความลึกน้ำ = 7 เมตร - ขนาดของตะกอนดิน = 0.015 มิลลิเมตร - อัตราการตกตะกอนของดิน (Settling Rate) = 0.00024 เมตร/วินาที - ความเข้มข้นของปริมาณตะกอน = 0.00029 x 1,430 ปริมาณตะกอนที่เกิดจากการเจาะปลอกเสาเข็มเหล็ก = 0.41 กก./วินาที กรมทางหลวงชนบท 4-88 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม กรณีตอม่อรูปที่ F2 Type 2 (เสาเข็ม 10 ต้น) - ขนาดของปลอกเหล็กกลม ขนาด  1.50 เมตร = 70 มิลลิเมตร - ความยาวเสาเข็มส่วนที่กดลงในดิน = 10.6 เมตร - จำนวนเสาเข็ม = 18 ต้น 2 ∙ 2 - ปริมาณของตะกอนดินต่อต้น = (∙ 4 − 4 ) × 10.6 2 2 = (∙1.64 4 ∙1.50 − 4 ) × 10.6 = 0.345 x 10.6 = 3.66 ลบ.ม./ต้น - ระยะเวลาการเจาะเสาเข็ม = 240 นาที/ต้น - ปริมาณตะกอนแพร่กระจาย = 3.66/240/60 = 0.00025 ลบ.ม./วินาที - อัตราการเจาะเสาเข็ม = 1 ตัน/วัน - ความหนาแน่นของดิน (Silty Clay) = 1,430 กก/ ลบ.ม. - ความลึกน้ำ = 4 เมตร - ขนาดของตะกอนดิน = 0.015 มิลลิเมตร - อัตราการตกตะกอนของดิน (Settling Rate) = 0.00024 เมตร/วินาที - ความเข้มข้นของปริมาณตะกอน = 0.00025 x 1,430 ปริมาณตะกอนที่เกิดจากการเจาะปลอกเสาเข็มเหล็ก = 0.36 กก./วินาที กรณีตอม่อรูปที่ F3 Type 3 (เสาเข็ม 12 ต้น) - ขนาดของปลอกเหล็กกลม ขนาด  1.50 เมตร = 70 มิลลิเมตร - ความยาวเสาเข็มส่วนที่กดลงในดิน = 10.3 เมตร - จำนวนเสาเข็ม = 18 ต้น ∙ 2 ∙ 2 - ปริมาณของตะกอนดินต่อต้น = ( 4 − 4 ) × 10.3 2 ∙1.502 = ( ∙1.64 4 − 4 ) × 10.3 = 0.345 x 10.3 = 3.55 ลบ.ม./ต้น - ระยะเวลาการเจาะเสาเข็ม = 240 นาที/ต้น - ปริมาณตะกอนแพร่กระจาย = 3.55/240/60 = 0.00025 ลบ.ม./วินาที - อัตราการเจาะเสาเข็ม = 1 ตัน/วัน - ความหนาแน่นของดิน (Silty Clay) = 1,430 กก/ ลบ.ม. - ความลึกน้ำ = 4 เมตร - ขนาดของตะกอนดิน = 0.015 มิลลิเมตร - อัตราการตกตะกอนของดิน (Settling Rate) = 0.00024 เมตร/วินาที - ความเข้มข้นของปริมาณตะกอน = 0.00025 x 1,430 ปริมาณตะกอนที่เกิดจากการเจาะปลอกเสาเข็มเหล็ก = 0.36 กก./วินาที กรมทางหลวงชนบท 4-89 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ค) การวิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนจากการเจาะเสาเข็ม ผลการวิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนจากการเจาะปลอกเสาเข็มเหล็ก โดยใน แบบจำลองพิ จารณาครอบคลุ มช่วงเวลาน้ ำขึ้น และน้ำลงที่เกิดกรณี เลวร้ายที่ สุด ตำแหน่งในการตรวจสอบที่ ปรึกษากำหนดไว้ 4 จุด ดังนี้ ▪ จุดที่ 1 ตอม่อ F2 type 2 บริเวณริมฝั่งแผ่นดินจังหวัดกระบี่ ▪ จุดที่ 2 ตอม่อ F1 type 1 บริเวณช่องเดินเรือ ▪ จุดที่ 3 ตอม่อ F3 type 3 บริเวณริมตลิ่งฝั่งเกาะลันตาน้อย จากการจำลองความเร็วกระแสน้ำสูงสุด พบว่า ลักษณะการฟุ้งกระจายของตะกอน จากกิจกรรมของงานเจาะปลอกเหล็กมีรูปร่างลักษณะวงรียาวตามทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำ โดยค่าความ เข้มข้นของตะกอนสูงสุด อยู่ บริเวณตำแหน่ ง เจาะเสาเข็มแล้วแพร่ฟุ้ งกระจายตามขนาดความเร็วและทิศทาง การไหลของกระแสน้ำ โดยค่าความเข้มข้นของตะกอนสูงสุด 6.0 ppm อยู่บริเวณตำแหน่งเจาะเสาเข็มในระยะไม่เกิน 3 เมตร (บริเวณจุดที่ 3) แล้วแพร่ฟุ้งกระจายตามขนาดความเร็วและทิศทางการไหลของกระแสน้ำ และความ เข้ม ข้นของตะกอนจะค่อย ๆ ลดลงจนเหลือ 2.0 ppm การแพร่ตะกอนจะไปได้ไกลสูงสุด 70 เมตร ในช่ วงน้ ำลง (บริเวณจุดที่ 3) ส่วนในช่วงน้ำขึ้นการแพร่ฟุ้งกระจายตะกอนจะไปไกล 65 เมตร เมื่อทำการเจาะเสาเข็มแล้วเสร็จ ภายใน 20 นาทีจะเข้าสู่สภาวะปกติ การเจาะเสาเข็มจะใช้วิธีการกด Hydraulic เสาเข็มลงในชั้นดิน ผลกระทบ ของกระจายของการฟุ ้ง กระจายของตะกอนอยู ่ใ นระดับ ต่ำ แต่อ ย่า งไรก็ต าม เพื ่อ มิใ ห้ผ ลกระทบในการ แพร่กระจายของตะกอนให้ดำเนินการติด ตั้งม่านดักตะกอนในน้ำ (Silt Curtain) เพื่อป้องกันการฟุ้งกระจาย ของตะกอนดินในน้ำ ซึ่ง ผลการวิเคราะห์ได้แสดงใน ตารางที่ 4.4.4-8 และรูปที่ 4.4.4-37 ถึงรูปที่ 4.4.4-40 รายละเอียดการแพร่กระจายได้ดังนี้ ตารางที่ 4.4.4-8 ผลการวิเคราะห์การแพร่กระจายของตะกอนแขวนลอยบริเวณจุดเจาะเสาเข็ม ระยะทางรัศมีแพร่กระจายจากตำแหน่งเสาเข็ม (เมตร) ความเข้มข้นของตะกอน จุดที่ 1 ตอม่อ F2 type 2 จุดที่ 2 ตอม่อ F1 type 1 จุดที่ 3 ตอม่อ F3 type 3 (ppm) บริเวณริมฝั่งจังหวัดกระบี่ บริเวณช่องเดินเรือ บริเวณริมฝั่งเกาะลันตา ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง 6 2 1 2 1 3 2 5 6 4 9 6 10 7 4 17 15 18 17 15 17 3 29 30 37 36 34 32 2 52 48 58 57 65 70 ที่มา : จากการวิเคราะห์ของที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 4-90 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-37 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณกลางสะพานในช่วงน้ำขึ้น กรมทางหลวงชนบท 4-91 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-38 ลักษณะการแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณกลางสะพานในช่วงน้ำลง กรมทางหลวงชนบท 4-92 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5 นาทีหลังจากหยุดก่อสร้าง 10 นาทีหลังจากหยุดก่อสร้าง รูปที่ 4.4.4-39 ผลการจำลองระยะเวลาในการตกตะกอนดินทัง ้ หมดหลังจากหยุดก่อสร้างตอม่อสะพาน บริเวณริมฝั่งตำบลเกาะกลาง จนสู่สภาวะปกติภายใน 20 นาที กรมทางหลวงชนบท 4-93 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 10 นาทีหลังจากหยุดก่อสร้าง 15 นาทีหลังจากหยุดก่อสร้าง 20 นาทีหลังจากหยุดก่อสร้าง รูปที่ 4.4.4-39 ผลการจำลองระยะเวลาในการตกตะกอนดินทั้งหมดหลังจากหยุดก่อสร้างตอม่อสะพาน บริเวณริมฝั่งตำบลเกาะกลาง จนสู่สภาวะปกติภายใน 20 นาที (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 4-94 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5 นาทีหลังจากหยุดก่อสร้าง 10 นาทีหลังจากหยุดก่อสร้าง รูปที่ 4.4.4-40 ผลการจำลองระยะเวลาในการตกดินทั้งหมดหลังจากหยุดก่อสร้างตอม่อสะพาน บริเวณริมฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย จนสู่สภาวะปกติภายใน 20 นาที กรมทางหลวงชนบท 4-95 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 15 นาทีหลังจากหยุดก่อสร้าง 20 นาทีหลังจากหยุดก่อสร้าง รูปที่ 4.4.4-40 ผลการจำลองระยะเวลาในการตกดินทั้งหมดหลังจากหยุดก่อสร้างตอม่อสะพาน บริเวณริมฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย จนสู่สภาวะปกติภายใน 20 นาที (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 4-96 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ ก. ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพน้ำทะเล ระยะดำเนินการของโครงการ เจาะผลกระทบจากการเปิดใช้เส้นทางที่มีต่อคุณ ภาพน้ำ ทะเลชายฝั่งอาจเกิดขึ้นเนื่องจากการรั่วไหลของน้ำมันจากยานพาหนะที่วิ่งบนถนนชะล้างลงสู่แหล่งน้ำ น้ำทิ้งที่ไหล มาจากสะพานโครงการจะไหลลงสู่ทะเล ส่งผลให้เกิดการปนเปื้อนของฝุ่นละออง และคราบน้ำมันที่อยู่บนผิว จราจร พบว่า ประเภทรถที่วิ่งบนสะพานส่วนใหญ่เป็นรถยนต์ส่วนบุคคล และรถบรรทุก รถโดยสารสาธารณะ ซึ่งส่วนใหญ่ รถดังกล่ าวได้รับการดูแลจากเจ้าของเป็ นประจำ ดังนั้ น โอกาสการเกิดการรั่วไหลของน้ ำมัน จาก ยานพาหนะจึงมีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก จึงไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำทะเล ข. ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านสมุทรศาสตร์ ภายหลังจากมีโครงการแล้วผลกระทบด้านสมุทรศาสตร์และการกัดเซาะที่อาจจะเกิดขึ้น จากตอม่อสะพานข้ามคลองช่องหลาดไปยังเกาะลันตาน้อย ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงความเร็วของกระแสน้ำบริเวณ รอบตอม่อสะพาน การเปลี่ยนแปลงความเร็วของกระแสน้ำบริเวณรอบตอม่อสะพาน และการประเมินการกัดเซาะ บริเวณริมตลิ่ง รายละเอียดการวิเคราะห์มีดังนี้ การศึกษาเปรีย บเทีย บของความเร็ว กระแสน้ำในกรณีมีโครงการกับกรณี ไม่มีโครงการ โดยได้กำหนดจุดตรวจสอบบริเวณตอม่อสะพานที่ด้านเหนือน้ำ (ด้านทิศตะวันออกของแนวสะพาน) 3 จุด คือ E1 E2 และ E3 ห่ างจากตอม่ อสะพานเป็ น 20 50 และ 100 เมตร ตามลำดั บ ด้ านท้ ายน้ ำ (ด้านทิ ศตะวันตกของ แนวสะพาน) 3 จุ ด ได้ แ ก่ W1 W2 และ W3 ห่ า งจากตอม่ อ สะพานเป็ น 20 50 และ 100 เมตร ตามลำดั บ รวมจำนวนจุดตรวจสอบ 6 จุดต่อหนึ่งตอม่อ และจำนวนตอม่อที่ทำการตรวจสอบมี 3 พื้นที่ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ - พื้นที่ 1 บริเวณกลางลำน้ำช่องเดินเรือ (ตอม่อแบบ F1 Type 1) - พื้นที่ 2 บริเวณใกล้ริมชายฝั่งด้านแผ่นดินใหญ่ (ตอม่อแบบ F2 Type 2) - พื้นที่ 3 บริเวณใกล้ริมชายฝั่งด้านเกาะลันตา (ตอม่อแบบ F3 Type 3) รายละเอียดของตำแหน่งตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงสภาพก่อนและหลังมีโครงการบริเวณ ตอม่อสะพานดังแสดงในรูปที่ 4.4.4-41 ก) ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงความเร็วของกระแสน้ำ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำและทิศทางการไหล โดยทำการศึกษา เปรียบเทียบสภาพก่อนและหลังมีโครงการ จากข้อมูลระดับน้ำในวันที่ 1 5-18 มกราคม 2564 จากการจำลอง การไหลเวียนกระแสน้ำด้วยแบบจำลองคณิตศาสตร์ AQUASEA ในบริเวณพื้นที่โครงการ ในช่วงน้ำขึ้น ทิศทางของ กระแสน้ำมีทิศทางไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และช่วงน้ำลงมีทิศทางไหลไปทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ เหมือนกรณีไม่มีโครงการ จากผลการวิเคราะห์การไหลเวียนของกระแสน้ำบริเวณพื้นที่โครงการในช่วงชั่วโมงต่าง ๆ พบว่า การไหลเวียนของกระแสน้ำเปลี่ยนไปตามการขึ้นลงของระดับน้ำทะเล โดยในรอบ 12 ชั่วโมง มีน้ำขึ้นและ น้ำลงวันละ 1 ครั้ง ดังแสดงรูปที่ 4.4.4-42 กรมทางหลวงชนบท 4-97 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม FE FE F E1 F1E F1E F W1 F1E1 F W1 F W3 F1W1 F1W2 F1W3 F3E F3E F3E1 F3W1 F3W2 F3W3 รูปที่ 4.4.4-41 แผนที่แสดงตำแหน่งตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำของบริเวณตอม่อสะพาน กรมทางหลวงชนบท 4-98 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม น้ำลง น้ำลง น้ำลง น้ำลง น้ำลง น้ำขึ้น รูปที่ 4.4.4-42 แสดงการไหลเวียนของกระแสน้ำในพื้นที่โครงการในชั่วโมงต่าง ๆ ในสภาพมีโครงการ กรมทางหลวงชนบท 4-99 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม น้ำขึ้น น้ำขึ้น น้ำขึ้น น้ำขึ้น น้ำลง น้ำลง รูปที่ 4.4.4-42 แสดงการไหลเวียนของกระแสน้ำในพื้นที่โครงการในชั่วโมงต่าง ๆ ในสภาพมีโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 4-100 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ก) ตอม่อ F1 Type 1 (F1E1 - F1E3 และ F1W1 - F1W3) ตอม่ อสะพาน F1 Type 1 ตั วที่ ใช้ ในการเปรียบเที ยบอยู่ บริเวณช่ องเดิ นเรื อฝั่ ง แผ่นดิ นใหญ่ ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมี โครงการ สรุป ไว้ใน ตารางที่ 4.4.4-9 รายละเอียดสามารถสรุปได้ดังนี้ ตารางที่ 4.4.4-9 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีโครงการของตอม่อ FT type 1 ความเร็วกระแสน้ำ (เมตร/วินาที) Station ก่อนมี หลังมี การ ร้อยละการ หมายเหตุ โครงการ โครงการ เปลี่ยนแปลง เปลีย ่ นแปลง F1E1 0.200 0.235 0.035 17.5 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F1E2 0.220 0.219 -0.001 -0.5 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F1E3 0.206 0.206 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 100 เมตร F1W1 0.177 0.176 -0.001 -0.6 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F1W2 0.175 0.176 0.001 0.6 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F1W3 0.201 0.201 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 100 เมตร หมายเหตุ : + หมายถึง ความเร็วกระแสน้ำเพิ่มขึ้น - หมายถึง ความเร็วกระแสน้ำลดลง - บริเวณพื้นที่ F1 Type 1 ด้านเหนือน้ำ (ทางด้านทิศตะวันออกของตอม่อ สะพาน) (F1E1-F1E3) พบว่า ทั้งสามสถานี (F1E1-F1E3) ความเร็วกระแสน้ำสภาพก่อนและหลังมีโครงการ มีการ เปลี่ยนแปลงในระดับต่ำ โดยในรัศมีจากตอม่อ 20 เมตร จะมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำในอัตราที่เพิม ้ ่ ขึน 0.035 เมตร/วินาที อยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ คิดเป็นร้อยละ 17.5 ของสภาพก่อนมีโครงการ นอกระยะ 50 เมตรขึ้นไป ความเร็วกระแสน้ำเปลี่ยนแปลงน้อยมากเพียง -0.001 เมตร/วินาที และในระยะ 100 เมตร ความเร็วกระแสน้ำไม่มี การเปลี่ยนแปลง ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำสภาพก่อนและหลังมีโครงการของ สถานี F1E1-F1E3 แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-43 - บริเวณพื้ นที่ F1 Type 1 ด้ านท้ ายน้ ำ (ทางด้ านทิ ศตะวั นตกของตอม่ อ สะพาน) (F1W1-F1W3) พบว่า ทั้งสามสถานี (F1W1-F1W3) ความเร็วกระแสน้ ำสภาพก่อนและหลังมีโครงการ มีการเปลี่ ยนแปลงในระดับ ต่ ำ โดยในรัศมีจ ากตอม่ อ 20 -50 เมตร จะมี การเปลี่ย นแปลงความเร็วกระแสน้ ำ ในอัตรา 0.001 เมตร/วินาที หรือ 1-2 มม./วินาที อยู่ระดับที่ค่อนข้างต่ำ คิดเป็นร้อยละ 0.6 ก่อนมีโครงการ และ ในระยะ 100 เมตร ความเร็วกระแสน้ำไม่มีการเปลี่ยนแปลง ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของความเร็ว กระแสน้ำสภาพก่อนและหลังมีโครงการของสถานี F1W1-F1W3 แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-44 กรมทางหลวงชนบท 4-101 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F E1 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 -0.6 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1E1 F E2 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1E2 F E3 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1E3 รูปที่ 4.4.4-43 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน (F1E1-F1E3) กรมทางหลวงชนบท 4-102 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F W1 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 -0.5 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1W1 F W2 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 -0.6 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1W2 F W3 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1W3 รูปที่ 4.4.4-44 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F1W1-F1W3) กรมทางหลวงชนบท 4-103 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ข) ตอม่อ F2 Type 2 (F2E1-F2E3 และ F2W1-F2W3) ตอม่ อสะพาน F2 Type 2 ที่ ใช้ ในการวิ เคราะห์ ค รั้ง นี้ จ ะใช้ ต้ น ที่ อยู่ ชิ ดชายฝั่ ง แผ่ นดิ นใหญ่ เพราะอาจจะส่ งผลกระทบต่ อชายฝั่งมากที่ สุ ดได้ ผลการวิเคราะห์ การเปลี่ ยนแปลงของความเร็ว กระแสน้ำสภาพก่อนและหลังมีโครงการ ได้สรุปรายละเอียดไว้ในตารางที่ 4.4.4-10 ดังนี้ ตารางที่ 4.4.4-10 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำเฉลี่ยสภาพก่อนและหลังมีโครงการ ของตอม่อ F2 type 2 ความเร็วกระแสน้ำ (เมตร/วินาที) Station ก่อนมี หลังมี การ ร้อยละการ หมายเหตุ โครงการ โครงการ เปลี่ยนแปลง เปลีย ่ นแปลง F2E1 0.191 0.197 0.006 3.1 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F2E2 0.187 0.189 0.002 1.1 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F2E3 0.162 0.162 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 100 เมตร F2W1 0.180 0.182 0.002 1.1 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F2W2 0.169 0.171 0.002 1.2 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F2W3 0.155 0.154 -0.001 -0.6 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 100 เมตร หมายเหตุ : + หมายถึง ความเร็วกระแสน้ำเพิ่มขึ้น - หมายถึง ความเร็วกระแสน้ำลดลง - บริเวณพื้นที่ F2 Type 2 ด้านเหนือน้ำ (ทางด้านทิศตะวันออกของตอม่อ สะพาน) (F2 E1-F2 E3) พบว่ า ทั้ งสามสถานี (F2E1-F2E3) ความเร็ วกระแสน้ ำสภาพก่ อนและหลั งมี โครงการ มีการเปลี่ยนแปลงระดับต่ำเช่นกัน โดยในรัศมีจากตอม่อ 20 -50 เมตร มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 0.002 -.006 เมตร/วินาที จากสภาพก่อนมีโครงการ คิดเป็นร้อยละ 1.1 -3.1 ของก่อนมีโครงการ ซึ่งความเร็วที่เพิ่มขึ้นมาไม่ได้ ส่งผลกระทบต่ อการกัด เซาะชายฝั่งเดิม ในระยะ 100 เมตร ความเร็วกระแสน้ ำไม่ มีการเปลี่ยนแปลง ผลการ เปรียบเทียบการเปลี่ย นแปลงของความเร็ว กระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโ ครงการของสถานี F2 E1-F2 E3 แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-45 - บริเวณพื้นที่ F2 Type 2 ด้านท้ายน้ำ (ทางด้านทิศตะวันตกของตอม่ อ สะพาน) (F2W1-F2W3) พบว่า ทั้งสามสถานี (F2W1-F2W3) ความเร็วกระแสน้ำสภาพก่อนและหลังมีโครงการ มีการเปลี่ยนแปลงระดับต่ำเช่นกัน โดยในรัศมีจากตอม่อ 20 -100 เมตร มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 0.001-0.002 เมตร/วิ น าที คิ ด เป็ น ร้อ ยละ 0.6 -1.2 ของสภาพก่ อนมี โครงการ ซึ่ งถื อว่ าอยู่ ในระดั บ ต่ ำผลการเปรี ยบเที ย บ การเปลี่ย นแปลงของความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการของสถานี F2W1-F2W3 แสดงไว้ใน รูปที่ 4.4.4-46 กรมทางหลวงชนบท 4-104 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F2E1 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 -0.6 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2E1 F2E2 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 -0.6 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2E2 F2E3 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 -0.5 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2E3 รูปที่ 4.4.4-45 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน(F2E1-F2E3) กรมทางหลวงชนบท 4-105 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F2W1 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 -0.6 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2W1 F2W2 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 -0.5 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2W2 F2W3 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2W3 รูปที่ 4.4.4-46 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F2W1-F2W3) กรมทางหลวงชนบท 4-106 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ค) ตอม่อ F3 Type 3 (F3E1-F3E3 และ F3W1-F3W3) สำหรับตอม่อ F3 Type 3 ในการวิเคราะห์ครั้งนี้จะใช้ต้นที่อยู่ใกล้ชายงฝั่งเกาะลันตา มากที่สุดเพราะอาจจะส่งผลกระทลต่อชายฝั่งมากที่สุด ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ ได้สรุปในตารางที่ 4.4.4-11 รายละเอียดสามารถสรุปได้ดังนี้ ตารางที่ 4.4.4-11 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลังมีโครงการของตอม่อ F3 type 3 ความเร็วกระแสน้ำ (เมตร/วินาที) Station ก่อนมี หลังมี การ ร้อยละการ หมายเหตุ โครงการ โครงการ เปลี่ยนแปลง เปลีย ่ นแปลง F3E1 0.272 0.267 -0.005 -1.8 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F3E2 0.272 0.267 -0.005 -1.8 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F3E3 0.261 0.262 0.001 0.4 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 100 เมตร F3W1 0.214 0.243 0.029 13.6 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F3W2 0.275 0.278 0.003 1.1 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F3W3 0.263 0.263 0.000 0.0 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 100 เมตร หมายเหตุ : + หมายถึง ความเร็วกระแสน้ำเพิ่มขึ้น - หมายถึง ความเร็วกระแสน้ำลดลง - บริเวณพื้ น ที่ F3 Type 3 ด้ านเหนื อน้ ำ (ทางด้ านทิ ศตะวั น ออกของตอม่ อ สะพาน) (F3E1-F3E3) พบว่า ทั้งสามสถานี (F3E1-F3E3) ความเร็วกระแสน้ำสภาพก่อนและหลังมีโครงการ มี การเปลี่ยนแปลงระดับต่ำเช่นกัน โดยในรัศมีจากตอม่อ 20-50 เมตร มีการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำอัตราลดลง 0.005 เมตร/วินาที คิดเป็นร้อยละ 1.8 ก่อนมีโครงการ ส่วนที่ระยะ 100 เมตร ความเร็วกระแสน้ำมีอัตราเพิ่มขึ้น 0.001 เมตร/วินาที ซึ่งความเร็วที่เพิ่มขึ้นมาไม่ได้ส่งผลกระทบต่อการกัดเซาะชายฝั่งเดิม ผลการเปรียบเทียบการ เปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำสภาพก่อนและหลังมีโครงการของสถานี F3E1-F3E3 แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-47 - บริ เวณพื้ นที่ F3 Type 3 ด้ า นท้ า ยน้ ำ (ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของตอม่ อ สะพาน) (F3W1-F3W3) พบว่า ทั้งสามสถานี (F3W1-F3W3) ความเร็วกระแสน้ำสภาพก่อนและหลังมีโครงการ มีการเปลี่ยนแปลงระดับต่ำเช่นกัน โดยในรัศมีจากตอม่อ 20 เมตร มีการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำอัตราเพิ่มขึ้น 0.029 เมตร/วินาที คิดเป็นร้อยละ 13.6 ก่อนมีโครงการ ซึ่งความเร็วที่เพิ่มขึ้นมายังไม่ได้ส่งผลกระทบต่อการกัดเซาะ ชายฝั่งเดิม ส่วนที่ ระยะ 50 เมตร ความเร็วกระแสน้ ำมีอัต ราเพิ่ มขึ้น 0.001 เมตร/วินาที ในระยะ 100 เมตร ความเร็วกระแสน้ำไม่มีการเปลี่ยนแปลง ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของความเร็วกระแสน้ำสภาพก่อน และหลังมีโครงการของสถานี F3W1-F3W3 แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-48 กรมทางหลวงชนบท 4-107 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F3E1 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3E1 F3E2 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3E2 F3E3 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3E3 รูปที่ 4.4.4-47 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน (F3E1-F3E3) กรมทางหลวงชนบท 4-108 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F3W1 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 -0.1 -0.2 -0.3 -0.4 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3W1 F3W2 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3W2 F3W2 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 -0.2 -0.4 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3W3 รูปที่ 4.4.4-48 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ บริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F3W1-F3W3) กรมทางหลวงชนบท 4-109 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ข) ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของทิศทางการไหลของกระแสน้ำ (ก) ตอม่อ F1 Type 1 (F1E1-F1E3 และ F1W1-F1W3) ตอม่ อสะพาน F1 Type 1 ตั วที่ ใช้ ในการเปรียบเที ยบอยู่ บริเวณช่ องเดิ นเรื อฝั่ ง แผ่นดินใหญ่ ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ สรุปรายละเอียดได้ดังแสดงในตารางที่ 4.4.4-12 ดังนี้ ตารางที่ 4.4.4-12 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลังมี โครงการ F1 TYPE 1 ทิศทางการไหล (องศา) Station ก่อนมี หลังมี การ ร้อยละการ หมายเหตุ โครงการ โครงการ เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง F1E1 150.6 147.3 -3.4 -2.2 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F1E2 150.5 150.2 -0.3 -0.2 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F1E3 149.8 149.6 -0.2 -0.1 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 100 เมตร F1W1 140.7 138.6 -2.1 -1.5 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F1W2 145.5 144.7 -0.8 -0.5 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F1W3 137.0 136.8 -0.2 -0.1 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 100 เมตร จากผลการศึกษาทิศทางการไหลของกระแสน้ำบริเวณรอบตอม่อสะพาน F1 Type 1 ในระยะ 20-50 เมตร พบว่า ทิศทางการไหลเปลี่ยนไป 0.3-3.4 องศา หรือคิดเป็นร้อยละ 0.2 -2.2 ของ สภาพก่อนมีโครงการ และในระยะ 100 เมตร ทิศทางการไหลเปลี่ยนไป 0.1 องศา หรือคิดเป็นร้อยละ 0.1 ของ สภาพก่อนมีโครงการ ถือว่ามีผลกระทบในระดับต่ำ ถัดจากนั้นทิศทางการไหลของกระแสน้ำจะไหลตามปกติ ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงและเปรียบเทียบทิศทางการไหลของกระแสน้ำ แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-49 และรูปที่ 4.4.4-50 กรมทางหลวงชนบท 4-110 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F1E1 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1E1 F1E2 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1E2 F1E3 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1E3 รูปที่ 4.4.4-49 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการ บริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน (F1E1-F1E3) กรมทางหลวงชนบท 4-111 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F1W1 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1W1 F1W2 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1W2 F1W3 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F1W3 รูปที่ 4.4.4-50 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการบริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F1W1-F1W3) กรมทางหลวงชนบท 4-112 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ข) ตอม่อ F2 Type 2 (F2E1-F2E3 และ F2W1-F2W3) ตอม่ อสะพาน F2 Type 2 ที่ ใช้ ในการวิ เคราะห์ ครั้งนี้ จ ะใช้ ต้ น ที่ อยู่ ชิ ด ชายฝั่ ง แผ่นดินใหญ่เพราะอาจจะส่งผลกระทบต่อชายฝั่งมากที่สุดได้ ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหล ของกระแสน้ำสภาพก่อนและหลังมีโครงการ ได้สรุปรายละเอียดไว้ในตารางที่ 4.4.4-13 ดังนี้ ตารางที่ 4.4.4-13 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำเฉลี่ย สภาพก่อนและหลัง มีโครงการ F2 TYPE 2 ทิศทางการไหล (องศา) Station ก่อนมี หลังมี การ ร้อยละการ หมายเหตุ โครงการ โครงการ เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง F2E1 157.1 157.6 0.5 0.3 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F2E2 156.1 156.0 -0.1 0.1 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F2E3 152.3 152.1 -0.2 -0.1 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 100 เมตร F2W1 158.1 159.0 0.9 0.6 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F2W2 159.0 159.2 0.2 0.1 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F2W3 159.9 160.0 0.1 0.1 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 100 เมตร จากผลการศึกษาทิ ศ ทางการไหลของกระแสน้ ำบริเวณรอบตอม่ อสะพาน F2 Type 2 พบว่า ในระยะ 20-100 เมตร ทิศทางการไหลเปลี่ยนไปน้อยมากเพียง 0.1 -0.9 องศา หรือคิดเป็นร้อยละ 0.1-0.6 ของสภาพก่อนมีโครงการ ถือว่ามีผลกระทบระดับต่ำ ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงและเปรียบเทียบ ทิศทางการไหลของกระแสน้ำ แสดงไว้ในรูปที่ 4.4.4-51 และรูปที่ 4.4.4-52 กรมทางหลวงชนบท 4-113 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F2E1 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2E1 F2E 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2E2 F2E3 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2E3 รูปที่ 4.4.4-51 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการบริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน (F2E1-F2E3) กรมทางหลวงชนบท 4-114 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F2W1 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2W1 F2W 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2W2 F2W 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F2W3 รูปที่ 4.4.4-52 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการบริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F2W1-F2W3) กรมทางหลวงชนบท 4-115 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ค) ตอม่อ F3 Type 3 (F3E1-F3E3 และ F3W1-F3W3) ตอม่ อสะพาน F3 Type 3 ที่ ใช้ ในการวิ เคราะห์ ครั้งนี้ จ ะใช้ ต้ น ที่ อยู่ ชิ ด ชายฝั่ ง แผ่นดินใหญ่เพราะอาจจะส่งผลกระทบต่อชายฝั่งมากที่สุดได้ ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของ กระแสน้ำ สภาพก่อนและหลังมีโครงการ ได้สรุปรายละเอียดไว้ในตารางที่ 4.4.4-14 ดังนี้ ตารางที่ 4.4.4-14 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำเฉลี่ยสภาพก่อนและหลัง มีโครงการ F3 TYPE 3 ทิศทางการไหล (องศา) Station ก่อนมี หลังมี การ ร้อยละการ หมายเหตุ โครงการ โครงการ เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง F3E1 188.9 181.7 -7.2 -3.8 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F3E2 193.0 188.7 -4.3 -2.2 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F3E3 195.8 196.5 0.7 0.4 ด้านทิศตะวันออกห่างจากตอม่อ 100 เมตร F3W1 169.6 171.7 2.1 1.2 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 20 เมตร F3W2 174.0 174.3 0.3 0.2 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 50 เมตร F3W3 177.4 177.7 0.3 0.2 ด้านทิศตะวันตกห่างจากตอม่อ 100 เมตร จากผลการศึกษาทิ ศทางการไหลของกระแสน้ ำ บริเวณรอบตอม่ อสะพาน F3 Type 3 และพื้นที่ใกล้เคียง พบว่า บริเวณด้านทิศตะวันออกของตอม่อที่ระยะห่าง 20 -50 เมตร ทิศทางการไหล เปลี่ยนไป 4.3-7.2 องศา หรือคิดเป็นร้อยละ 2.2 -3.8 ของสภาพก่อนมีโครงการ ถือว่ามีผลกระทบในระดับต่ำ ถัดจากนั้นทิศทางการไหลของกระแสน้ำเปลี่ยนแปลงน้อยลงเหลือเพียง 0.3 -0.7 หรือคิดเป็นร้อยละ 0.2 -0.4 ของสภาพก่อนมีโครงการ ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงและเปรียบเทียบทิศทางการไหลของกระแสน้ำ แสดงไว้ใน รูปที่ 4.4.4-53 และรูปที่ 4.4.4-54 สรุปผลการประเมินผลกระทบการเปลี่ยนแปลงของความเร็วและทิศทางการไหล ของกระแสน้ำจากกิจกรรมก่อสร้างตอม่อสะพานที่อยู่ในทะเล พบว่า ความเร็วกระแสน้ำที่มีการเปลี่ยนแปลงจะอยู่ บริเวณใกล้ ต อม่อ สะพานในรัศ มี ประมาณ 2 0 เมตร โดยความเร็ว กระแสน้ำ จะเปลี่ย นแปลงสูง สุด 0.035 เมตร/วิน าที เมื่อเปรียบเทียบสภาพระหว่างก่อนและหลังมีโครงการที่บริเวณตอม่อ F2 type 2 ส่วนระยะห่าง 50- 100 เมตร ความเร็วกระแสน้ำจะเปลี่ยนแปลงสูงสุดเพียง 0.003 เมตร/วินาที ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับที่ต่ำ ส่วนทิศ ทางการไหลของกระแสน้ำมีการเปลี่ยนแปลงทั้งเพิ่มขึ้นและลดลงสูงสุด 7.2 องศาที่ระยะห่าง 20 เมตรที่บริเวณ ตอม่ อ F2 type 2 ส่ วนระยะห่ าง 50 เมตร จะเปลี่ ยนแปลงอยู่ ในช่ วง 0.1 -4.3 องศา และที่ ระยะห่ าง 50 เมตร จะเปลี่ยนแปลงน้อยกว่า 1 องศาเมื่อเปรียบเทียบระหว่างสภาพก่อนและหลังมีโครงการ ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับที่ต่ำ เช่นกัน ในส่วนการศึกษากระทบการเปลี่ยนแปลงของความเร็วและทิศทางการไหลจึงไม่ต้องมีมาตรการป้องกัน หรือแก้ไขจากผลกระทบนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-116 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F3E 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3E1 F3E2 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3E2 F3E 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3E3 รูปที่ 4.4.4-53 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการบริเวณด้านเหนือน้ำของตอม่อสะพาน (F3E1-F3E3) กรมทางหลวงชนบท 4-117 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม F3W 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3W1 F3W2 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3W2 F3W 360 315 270 225 180 135 90 45 0 15/01/2021 0:00 16/01/2021 0:00 17/01/2021 0:00 18/01/2021 0:00 19/01/2021 0:00 20/01/2021 0:00 สถานี F3W3 รูปที่ 4.4.4-54 ผลการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสน้ำ สภาพก่อนและหลัง มีโครงการบริเวณด้านท้ายน้ำของตอม่อสะพาน (F3W1-F3W3) กรมทางหลวงชนบท 4-118 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ค) มาตรการป้ องกั นและแก้ ไขผลกระทบจากโครงสร้างท่ าเรือชั่ วคราวและตอม่ อ สะพาน เนื่องจากเสาเข็มเหล็กโครงสร้างที่นำมาก่อสร้างท่าเรือชั่วคราวเป็นโครงสร้างเหล็ก และปริมาณตะกอนดินที่ จะทำให้ เกิดการฟุ้ งกระจายน้อยกว่าชนิดแบบเสาคอนกรีต การก่อสร้างหรือรื้อย้าย เสาเข็มจะใช้วิธีการสั่น Hydraulic เสาเข็มเพื่อให้ดินคล้ายตัว การก่อสร้างท่าเรือชั่วคราวจะแบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ ดังนี้ ท่าเรือชั่วคราวฝั่งจังหวัดกระบี่ รูปแบบท่าเรือชั่วคราวจะต่อจากท่าเรือขนส่งเดิมแล้ว ต่อยื่น ออกไปประมาณ 45 เมตร การก่อสร้า งจะกำหนดให้ท ำการล้อมม่า นดักตะกอนโดยรอบทั้ง หมด ดัง แสดงรูปที่ 4.4.5-55 จากนั้นจำกำหนดให้เริ่มทำการก่ อสร้างท่าเรือชั่วคราวฝั่งจังหวัดกระบี่และก่อสร้างตอม่อ สะพาน F2 type 2 ตัวริมตลิ่ง เมื่อก่อสร้างกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพาน F2 type 2 ตัวที่ 1 แล้วเสร็จ จึงจะกำหนดให้รื้อม่านดักตะกอนออกแล้วใช้งานท่าเรือชั่วคราวเพื่อก่อสร้างตอม่อสะพาน F1 type 1 ต่อไปได้ ท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตา รูปแบบท่าเรือจะต่อยื่นออกมาจากตลิ่งตามแนวที่จะ ก่อ สร้า งสะพาน และยื่น ออกไปในทะเลประมาณ 235 เมตร การก่อ สร้า งท่า เรือ ชั่ว คราวนี้จ ะกำหนดให้ ก่อสร้างที่ละชุด จำนวน 3 ชุด ดังแสดงรูปที่ 4.4.4-56 การล้อมม่านดักตะกอนชุดแรกสำหรับกั้นเขตก่อสร้างแท่น ก่อสร้าง Platform และการกดเสาเข็มตอม่อสะพานแบบ F3 type 3 ทั้ง 2 ตัว เมื่อทำการกดเสาเข็มและหล่อเสา ตอม่อสะพานเสร็จแล้วก็จะให้รื้อย้ายม่านดักตะกอนชุดที่ 1 แล้วไปยังชุดก่อสร้างชุดที่ 2 สำหรับกั้นเขตก่อสร้าง แท่นก่อสร้าง และการกดเสาเข็มตอม่อสะพานตัวที่ 3 เมื่อทำการกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพานตัวที่ 3 เสร็จแล้ว ก็จะให้รื้อย้ายม่ านดักตะกอนชุดที่ 2 แล้วไปยังชุดก่อสร้างชุดที่ 3 เมื่อทำการกดเสาเข็มและหล่อเสา ตอม่อสะพานตัวที่ 4 เสร็จแล้ว ก็จะให้รื้อย้ายม่านดักตะกอนออกไป แล้วใช้แท่นก่อสร้างเป็นท่าเรือชั่วคราวเพื่อใช้ ขนส่งวัสดุก่อสร้างเพื่อก่อสร้างตอม่อสะพานแบบ F3 type 3 ตัวที่ 5-13 ต่อไป สำหรับการก่อสร้างตอม่อสะพานแบบ F1 type 1, F2 type 2 ตัวที่ 2 และ F3 type 3 ตัวที่ 5-13 การก่อสร้างจะใช้บั้นจั่นกดเสาเข็มทำงานบนเรือตลอดเวลาไม่มีการก่อสร้างแท่นก่อสร้าง Platform ดังนั้นก่อนจะก่อสร้างตอม่อสะพานเหล่านี้จะกำหนดให้ทำการล้อมม่านดักตะกอนก่อนจะเริ่มก่อสร้าง โดยรูปแบบ การล้อมม่านดักตะกอนตอม่อสะพานทั้ง 3 แบบ ดังแสดงรูปที่ 4.4.4-57 การติดตั้งม่านดักตะกอนจะกำหนดให้ ล้อมม่านโดยรอบห่างจากแนวเสาเข็มที่ระยะ 5 เมตร หลังจากติดตั้งม่านดักตะกอนแล้วผลกระทบของกระจาย ของการฟุ้งกระจายของตะกอนอยู่ในระดับต่ำเพราะประสิทธิภาพของม่านดักตะกอนนี้จะย่อมให้ตะกอนออกไปได้ 0.2% ของความเข้มข้นตะกอนสูง สุด โดยความเข้มข้นของตะกอนที่เกินขึ้นสูงสุดประมาณ 6.3 ppm (ช่วงการ ก่อสร้างตอม่อสะพานแบบ F1 type 1) ดังนั้นตะกอนดินที่สามารถออกไปได้จะเหลือเพียง 0.012 ppm และ ผลกระทบที่เกิดขึ้นอยู่ในระดับต่ำ โดยคุณสมบัติและการติดตั้งม่านดักตะกอนที่นำมาใช้ในโครงการ ดังแสดง รูปที่ 4.4.4-48 และรูปที่ 4.4.4-59 ตามลำดับ กรมทางหลวงชนบท 4-119 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-55 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งจังหวัดกระบี่ รูปที่ 4.4.4-56 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตา กรมทางหลวงชนบท 4-120 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-57 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณตอม่อสะพานในแต่ละแบบ กรมทางหลวงชนบท 4-121 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.4-58 คุณสมบัติของม่านดักตะกอนที่ใช้ในโครงการ ่ ช้ในโครงการ รูปที่ 4.4.4-59 วิธีการติดตั้งม่านดักตะกอนทีใ กรมทางหลวงชนบท 4-122 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.4.5 คุณภาพอากาศ การประเมินผลกระทบด้านฝุ่นละออง และมลสารจากโครงการ ต่อพื้นที่อ่ อนไหวทางสิ่ง แวดล้ อม (Sensitive Area) และตัวแทนจุดสังเกตคุณภาพสิ่งแวดล้อม ( Discrete Receptor) ทำการประเมินผลกระทบ ทั้งในช่วงกิจกรรมการก่อสร้างทั้งหมดของโครงการ และในช่วงกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ ทั้งกรณีไม่มี โครงการ (Do-nothing Scenario) และกรณีมีโครงการ (Proposed Scenario) ดังนี้ 1) กรณีไม่มีโครงการ การตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษา การตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ศึกษา โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งที่ผ่านมาทางโครงการได้ทำการเก็บตัวอย่าง 3 วัน ต่อเนื่อง จำนวน 2 ครั้ง รวม 4 สถานี ได้แก่ สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม และสถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ซึ่งจากผลการ ตรวจวัดตัวแปรคุณภาพสิ่งแวดล้อมในสภาพปัจจุบัน พบว่า ตัวแปรด้านคุณภาพอากาศ ที่ประกอบด้วย ปริมาณ ฝุ่นละอองรวม (TSP) มีค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.023 – 0.040 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ( PM10) มีค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.014 - 0.027 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เฉลี่ยสูงสุด 1 ชั่วโมง (CO) มีค่าอยู่ในช่วง 0.300 – 0.500 ส่วนในล้านส่วน (ค่ามาตรฐาน ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน) และปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดอกไซด์ (NO2) มีค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.0033 - 0.0141 ส่วนในล้านส่วน (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) ซึ่งทั้งหมดมี ค่าไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพ อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2538) ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) และเรื่ อ ง กำหนดมาตรฐานค่ า ก๊ า ซไนโตรเจนไดออกไซด์ ในบรรยากาศโดยทั่ ว ไป ฉบั บ ที่ 33 (พ.ศ. 2552) แสดงดังตารางที่ 4.4.5-1 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะก่อสร้าง การประเมินผลกระทบด้ านคุณ ภาพอากาศในระยะก่ อสร้าง โดยใช้แบบจำลอง AERMOD เพื่อคาดการณ์ผลกระทบด้านฝุ่นละออง โดยค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสารของกิจกรรมการก่อสร้างครั้งนี้ อ้างอิงจากรายงาน Compilation of Air Pollutant Emission Factors ของสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ (US EPA) ในปี 1995 ซึ่งเป็นกิจกรรมการก่อสร้างหนัก (Heavy Construction Operations) เพื่อใช้ในการศึกษา ครอบคลุมกรณีเลวร้ายที่สุด ( Worst Case Scenario ) ซึ่งค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสารของกิจกรรม การก่อสร้างหนัก จะมีค่าอัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองรวม (TSP) เท่ากับ 2.69 เมกะกรัม/เฮกเตอร์/เดือน ดังนี้ TSP Emission Rate = TSP Emission Rate (AP-42)/(10000x30x24x3600) TSP Emission Rate = 1038 x 10-4 กรัม/ตารางเมตร/วินาที เมื่อ TSP Emission Rate คือ ค่ าอั ตราการปลดปล่ อยฝุ ่ นละอองรวมของกิ จกรรมการก่ อสร้ า งหนั ก ในช่วงเวลา 24 ชั่วโมง TSP Emission Rate (AP-42) คือ ฐานข้อมูลของค่าอัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองรวมของ กิจกรรมการก่อสร้างหนักที่ 2.690x106 กรัม/เฮกเตอร์/เดือน กรมทางหลวงชนบท 4-123 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.5-1 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ศึกษาในสภาพปัจจุบัน สถานีตรวจวัด วันที่ตรวจวัด TSP (mg/m3) PM10 (mg/m3) CO (ppm) NO2 (ppm) 3-4 ธ.ค. 2563 0.034 0.023 0.300 0.0054 4-5 ธ.ค. 2563 0.032 0.022 0.400 0.0054 5-6 ธ.ค. 2563 0.035 0.024 0.400 0.0056 สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) 7-8 ก.พ. 2564 0.038 0.026 0.400 0.0042 8-9 ก.พ. 2564 0.024 0.017 0.300 0.0045 9-10 ก.พ. 2564 0.025 0.015 0.500 0.0045 ค่าเฉลี่ยรวม 0.031 0.021 0.383 0.0049 3-4 ธ.ค. 2563 0.040 0.026 0.400 0.0108 4-5 ธ.ค. 2563 0.040 0.024 0.400 0.0090 5-6 ธ.ค. 2563 0.032 0.021 0.400 0.0141 สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) 7-8 ก.พ. 2564 0.038 0.027 0.500 0.0090 8-9 ก.พ. 2564 0.025 0.018 0.500 0.0103 9-10 ก.พ. 2564 0.023 0.016 0.500 0.0102 ค่าเฉลี่ยรวม 0.033 0.022 0.450 0.0106 3-4 ธ.ค. 2563 0.025 0.019 0.500 0.0087 4-5 ธ.ค. 2563 0.024 0.021 0.400 0.0091 5-6 ธ.ค. 2563 0.024 0.019 0.400 0.0088 สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 7-8 ก.พ. 2564 0.034 0.023 0.400 0.0035 8-9 ก.พ. 2564 0.023 0.014 0.400 0.0033 9-10 ก.พ. 2564 0.025 0.015 0.300 0.0041 ค่าเฉลี่ยรวม 0.026 0.019 0.400 0.0063 3-4 ธ.ค. 2563 0.024 0.019 0.300 0.0051 4-5 ธ.ค. 2563 0.029 0.021 0.300 0.0048 5-6 ธ.ค. 2563 0.026 0.018 0.400 0.0051 สถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม 7-8 ก.พ. 2564 0.039 0.024 0.400 0.0047 8-9 ก.พ. 2564 0.024 0.015 0.300 0.0044 9-10 ก.พ. 2564 0.026 0.015 0.300 0.0057 ค่าเฉลี่ยรวม 0.028 0.019 0.333 0.0050 ค่ามาตรฐาน 0.33 1 0.12 1 30 2 0.17 3 ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กำหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2547 2 กำหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2538 3 กำหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2552 กรมทางหลวงชนบท 4-124 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับค่าอั ตราการปลดปล่ อยฝุ่ นละอองรวม ( TSP) ของกิจกรรมการก่ อสร้างหนั ก ( Heavy Construction Operations) จะถูกนำมาใช้เป็นตัวแทนในช่วงที่มีการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างของโครงการ โดยใช้ค่า อัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองรวม เท่ากับ 1038 x 10-4 กรัม/ตารางเมตร/วินาที ซึ่งจะมีการระบุเฉพาะค่าอัตรา การปลดปล่อยฝุ่นละอองรวม เท่ากับ 2.69 เมกะกรัม/เฮกเตอร์/เดือน สำหรับค่าอัตราการปลดปล่อยฝุ่นละออง ขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ( PM10) ได้อ้างอิงข้อมูลจากรายงาน Building Construction Fugitive Dust ของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมของรัฐแคลิเฟอร์เนีย ( California Air Resources Board; CARB) ในปี 1997 กำหนด อัตราการปลดปล่อยอยู่ในช่วงร้อยละ 52 ของค่าอัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองรวม ซึ่งในการคำนวณโดยสมการ ดังนี้ PM10 Emission Rate = TSP Emission Rate / (100/52) PM10 Emission Rate = 5.40 x 10-5 เมื่อ PM10 Emission Rate คือ ค่าอัตราการปลดปล่อยฝุน ่ ละอองขนาด เล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ของกิจกรรมการ ก่อสร้างหนักในช่วงที่มีการดำเนินงาน กิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ TSP Emission Rate คือ ค่าอัตราการปลดปล่อยฝุน ่ ละอองรวมของ กิจกรรมการก่อสร้างหนักในช่วงที่มีการ ดำเนินงานกิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ ในการคาดการณ์ผลกระทบด้านคุณภาพอากาศจากกิจกรรมการก่อสร้าง กำหนดให้อัตราการ ปลดปล่อยฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร เท่ากับ 5.40 x 10-5 กรัม/ตารางเมตร/วินาที การประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศจากฝุ่นละอองและมลสาร ของกิจกรรมการก่อสร้าง จากเครื่องจักรและอุปกรณ์ โดยชนิดของฝุ่นละอองและมลสาร ประกอบด้วย ฝุ่นละอองรวม ( TSP) ฝุ่นละออง ขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ( NO2) จาก กิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ ซึ่งค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสาร ( Emission Factor) อ้างอิงจาก รายงาน Exhaust and Crankcase Emission Factors for Nonroad Engine Modeling (NR-009d), US EPA (2010) ของสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ ( US EPA) ในปี 2010 อ้างอิงข้อมูลของรูปแบบเครื่องจั กรกล อุปกรณ์และเครื่องมือก่อสร้าง ช่วงระดับ 3 (Tier 3 Construction Equipment) ตั้งแต่ ปี 2008 แสดงดังตารางที่ 4.4.5-2 ซึ่งการก่อสร้างของโครงการจะมีการใช้เครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือก่อสร้างคำนวณตามค่าสัดส่วน การใช้งานของอุปกรณ์ ( Usage Factor, %) พบว่า ค่าอัตราการระบายมลสารของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และ เครื่องมือก่อสร้าง แสดงดังตารางที่ 4.4.5-3 การคาดการณ์ผลกระทบด้านคุ ณภาพอากาศของกิจกรรมการเคลื่อนย้าย และการขนส่งวัสดุ จากฝุ่นละออง จะมีการอ้างอิงค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสาร (Emission Factor) และค่าตัวแปรอัตราการ ปลดปล่อยมลสารจากพื้นผิวจราจรแบบลูกรัง ( Traffic Dust from Un-Paved Road) โดยอ้างอิงจากรายงาน Compilation of Air Pollutant Emission Factors ของสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ (US EPA) ในปี 1997 ซึ่งสมการพื้นฐานสามารถแจกแจงได้ดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-125 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม E = k(S/12)a x (W/3)b เมื่อ E คือ ค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสารจากพื้นผิวจราจรแบบลูกรัง k, a, และ b คือ ค่าคงตัวของฝุ่นละอองจากพื้นดิน S คือ ร้อยละของหน้าดินของ พื้นผิวจราจรแบบลูกรัง (Surface Material Silt Content) W คือ น้ำหนักบรรทุกเฉลี่ยของยานพาหนะ ตารางที่ 4.4.5-2 อัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองและมลสารจากเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือก่อสร้าง ค่าอัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองและมลสารจากยานพาหนะ ค่าแรงม้า (กรัม/แรงม้า-ชั่วโมง; g/hp-hr) เครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือ เฉลี่ย อ้างอิงรูปแบบเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือ ช่วงระดับ 3 (Equipment) (hp) 1 ตั้งแต่ ปี 2008 (Base-T3/2008) TSP PM10 CO NO2 All Other Equipment 175 2.83 1.47 1.53 1.04 Backhoe 100 4.56 2.37 2.57 1.21 Chain Saw/Concrete Saw 11 2.83 1.47 1.53 1.04 Compactor 600 1.92 1.00 1.00 1.00 Concrete Mixer 600 1.92 1.00 1.00 1.00 Crane 300 1.92 1.00 1.00 1.00 Dozer 175 2.83 1.47 1.53 1.04 Drill Rig/Pile Driver 175 1.92 1.00 1.00 1.00 Dump Truck 600 4.56 2.37 2.57 1.21 Excavator 175 2.83 1.47 1.53 1.04 Flat Bed Truck 600 2.83 1.47 1.53 1.04 Grader 300 2.83 1.47 1.53 1.04 Loader 100 4.56 2.37 2.57 1.21 Paver 175 2.83 1.47 1.53 1.04 Roller 100 2.83 1.47 1.53 1.04 Scraper 600 2.83 1.47 1.53 1.04 Slurry Trenching Machine 600 2.83 1.47 1.53 1.04 Tractor 600 4.56 2.37 2.57 1.21 ที่มา : Exhaust and Crankcase Emission Factors for Nonroad Engine Modeling (NR-009d), US EPA 2010 หมายเหตุ : 1 International Emission Inventory (EPA-420-F-09-020), US EPA 2012 กรมทางหลวงชนบท 4-126 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.5-3 ผลการคำนวณอัตราการปลดปล่อยมลสารจากเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือก่อสร้างใน 1 วัน กิจกรรมเตรียมพื้นที่ กิจกรรมงานผิวทางและชั้นทาง เครื่องจักรกลอุปกรณ์และ 1 % UF จำนวน อัตราการปลดปล่อยมลสาร (กรัม/วินาที/ตารางเมตร) จำนวน อัตราการปลดปล่อยมลสาร (กรัม/วินาที/ตารางเมตร) เครื่องมือ (Equipment) เครื่องจักร TSP PM10 CO NO2 เครื่องจักร TSP PM10 CO NO2 All Other Equipment 50 - - - - - - - - - - Backhoe 40 1 1.41E-08 7.31E-09 7.93E-09 3.73E-09 - - - - - Chain Saw/Concrete Saw 20 - - - - - - - - - - Compactor 20 - - - - - - - - - - Concrete Mixer 40 - - - - - - - - - - Crane 16 - - - - - - - - - - Dozer 40 1 1.53E-08 7.94E-09 8.26E-09 5.62E-09 - - - - - Drill Rig/Pile Driver 20 - - - - - - - - - - Dump Truck 40 1 8.44E-08 4.39E-08 4.76E-08 2.24E-08 1 8.44E-08 4.39E-08 4.76E-08 2.24E-08 Excavator 40 - - - - - - - - - - Flat Bed Truck 40 1 5.24E-08 2.72E-08 2.83E-08 1.93E-08 1 5.24E-08 2.72E-08 2.83E-08 1.93E-08 Grader 40 - - - - - 1 2.62E-08 1.36E-08 1.42E-08 9.63E-09 Loader 40 - - - - - - - - - - Paver 50 - - - - - 1 1.91E-08 9.92E-09 1.03E-08 7.02E-09 Roller 20 - - - - - 1 4.36E-09 2.27E-09 2.36E-09 1.60E-09 Scraper 40 - - - - - - - - - - Slurry Trenching Machine 50 - - - - - - - - - - Tractor 40 - - - - - - - - - - รวม 4 1.66E-07 8.64E-08 9.21E-08 5.10E-08 5 1.86E-07 9.69E-08 1.03E-07 5.99E-08 ดัดแปลงจาก : 1 Federal Highway Administration, U.S. Department of Transportation กรมทางหลวงชนบท 4-127 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.5-3 ผลการคำนวณอัตราการปลดปล่อยมลสารจากเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือก่อสร้างใน 1 วัน (ต่อ) งานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่าง งานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบน เครื่องจักรกลอุปกรณ์และ 1 % UF จำนวน อัตราการปลดปล่อยมลสาร (กรัม/วินาที/ตารางเมตร) จำนวน อัตราการปลดปล่อยมลสาร (กรัม/วินาที/ตารางเมตร) เครื่องมือ (Equipment) เครื่องจักร TSP PM10 CO NO2 เครื่องจักร TSP PM10 CO NO2 All Other Equipment 50 - - - - - - - - - - Backhoe 40 1 1.41E-08 7.31E-09 7.93E-09 3.73E-09 - - - - - Chain Saw/Concrete Saw 20 - - - - - - - - - - Compactor 20 - - - - - - - - - - Concrete Mixer 40 1 3.56E-08 1.85E-08 1.85E-08 1.85E-08 1 3.56E-08 1.85E-08 1.85E-08 1.85E-08 Crane 16 - - - - - 1 7.12E-09 3.70E-09 3.70E-09 3.70E-09 Dozer 40 - - - - - - - - - - Drill Rig/Pile Driver 20 1 5.19E-09 2.70E-09 2.70E-09 2.70E-09 - - - - - Dump Truck 40 1 8.44E-08 4.39E-08 4.76E-08 2.24E-08 1 8.44E-08 4.39E-08 4.76E-08 2.24E-08 Excavator 40 - - - - - - - - - - Flat Bed Truck 40 1 5.24E-08 2.72E-08 2.83E-08 1.93E-08 1 5.24E-08 2.72E-08 2.83E-08 1.93E-08 Grader 40 - - - - - - - - - - Loader 40 1 1.41E-08 7.31E-09 7.93E-09 3.73E-09 - - - - - Paver 50 - - - - - 1 1.91E-08 9.92E-09 1.03E-08 7.02E-09 Roller 20 1 4.36E-09 2.27E-09 2.36E-09 1.60E-09 - - - - - Scraper 40 - - - - - - - - - - Slurry Trenching Machine 50 - - - - - - - - - - Tractor 40 - - - - - - - - - - รวม 7 2.10E-07 1.09E-07 1.15E-07 7.20E-08 5 1.99E-07 1.03E-07 1.08E-07 7.09E-08 ดัดแปลงจาก : 1 Federal Highway Administration, U.S. Department of Transportation กรมทางหลวงชนบท 4-128 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม จากการคาดการณ์ ค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสาร จากพื้นผิวจราจรแบบลูกรัง จะมีการ ใช้สมมติฐาน ซึ่งได้ทำการระบุตัวแปร ดังต่อไปนี้ โดยในส่วนของค่าคงตัวของฝุ่นละอองจากพื้นดิน ( k, a, and b Constant) จะอ้างอิงค่าคงตัวของการคำนวณ ค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสารจากพื้นผิวจราจรแบบลูกรัง สำหรับค่าอัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองรวม ( TSP) จากพื้นผิวจราจรแบบลูกรัง และค่าอัตราการปลดปล่อยฝุ่น ละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ( PM10) จากพื้นผิวจราจรแบบลูกรัง ในส่วนของร้อยละของหน้าดินของ พื้นผิวจราจรแบบลูกรัง (Surface Material Silt Content ) จะอ้างอิงค่าคงตัวที่ร้อยละหน้าดิน ที่ 25.2 ซึ่งอ้างอิง ค่าคงตัวสำหรับการคำนวณค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสารจากพื้นผิวจราจรแบบลูกรังเช่นเดียวกัน (ตารางที่ 4.4.5-4) และในการการคาดการณ์ ผลกระทบจากกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ ได้ทำการระบุ ประเภทของยานพาหนะให้เป็นเงื่อนไขของการประเมิน โดยให้ยานพาหนะที่ใช้ในกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการ ขนส่งวัสดุ เป็นแบบยานพาหนะเครื่องยนต์ดีเซลขนาดใหญ่ ( Heavy Duty Diesel Truck; HDDV) แบบรถบรรทุก ขนาดใหญ่ (3 เพลา ; 10 ล้อ) ขึ้นไป โดยอัตราน้ำหนักบรรทุกสูงสุดมีค่าไม่เกิน 50.5 ตัน ซึ่งในส่วนของค่าตัวแปร ของน้ำหนักบรรทุกเฉลี่ยของยานพาหนะ จะมีการอ้างอิงจากมาตรฐานของรายงานการกำหนดนํ้าหนักรถบรรทุก และบทแก้ไขเพิ่มเติม ตามพระราชบัญญัติทางหลวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2549) โดยประกาศของพระราชบัญญัติตาม กฎกระทรวงคมนาคม ในปี พ.ศ. 2552 ในส่วนของความเร็วยานพาหนะเครื่องยนต์ดีเซลขนาดใหญ่ อ้างอิงความเร็วเฉลี่ยที่ 60 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง แสดงดังตารางที่ 4.4.5-5 ซึ่งในส่วนปริมาณจราจรของยานพาหนะในกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการ ขนส่งวัสดุ จะมีการนำข้อมูลการประเมินปริมาณจราจรของยานพาหนะในกิจกรรมการเคลื่อนย้าย และการขนส่ง วัสดุของรายงานการศึกษาความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรม และผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ จะใช้การอ้างอิงข้อมูลเบื้องต้นของปริมาณจราจรของยานพาหนะใน กิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ ที่ระบุถึงปริมาณจราจรของยานพาหนะในกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการ ขนส่งวัสดุ (รถบรรทุกขนส่ง แบบน้ำหนักมากกว่า 20 ตันขึ้นไป) เมื่อคิดรวมไปกลับ ที่ 44 คัน/ชั่วโมงทำงาน จากการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศของกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ จากฝุ่นละออง ซึ่งสามารถแจกแจงได้ดัง ตารางที่ 4.4.5-6 ในการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศของ กิ จกรรมการเคลื ่ อนย้ ายและการขนส่ ง วั ส ดุ ใ นส่ ว นของผลกระทบด้ า นคุ ณ ภาพอากาศจากมลสาร จะมี การ คาดการณ์ผลกระทบด้านคุณภาพอากาศของกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ เช่นเดียวกันกับการ ประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศของกิจกรรมการก่อสร้าง และการประเมิน ผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ ของกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุจากฝุ่นละออง ทั้งนี้จากกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่ง วัสดุ และผลกระทบด้านคุณภาพอากาศของกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุจากมลสาร สามารถแจก แจงได้ดังตารางที่ 4.4.5-7 ตารางที่ 4.4.5-4 ข้อมูลอ้างอิงของค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสารจากพื้นผิวจราจรแบบลูกรัง พื้นผิวจราจรแบบ Un-paved Industrial Roads; Surface Silt ค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อย Content, 18-25.2% มลสารจากพื้นผิวจราจร ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า ฝุ่นละอองรวม แบบลูกรัง 10 ไมโครเมตร (PM10) (TSP) k-factors 0.15 4.9 a-factors 0.9 0.7 b-factors 0.45 0.45 ที่มา : Compilation of Air Pollutant Emission Factors, US.EPA. 1997 กรมทางหลวงชนบท 4-129 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.5-5 ประเภทของยานพาหนะและอัตราความเร็วของยานพาหนะ อัตราความเร็วของยานพาหนะ (กิโลเมตร/ชั่วโมง) พื้นที่เขต ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7, พื้นที่ ประเภทยานพาหนะ กรุงเทพมหานคร, ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9, นอกเขต เขตเมืองพัทยา, และทางสายถนนวงแหวนรอบ เทศบาล หรือเขตเทศบาล นอกกรุงเทพมหานคร รถยนตนั่งไมเกิน 7 คน (Car<=7) 80 90 120 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน (Car>7) 80 90 120 รถโดยสารขนาดเล็ก (Light Bus) 60 80 100 รถโดยสารขนาดกลาง (Medium Bus) 60 80 100 รถโดยสารขนาดใหญ่ (Heavy Bus) 60 80 100 รถบรรทุกขนาดเล็ก 4 ล้อ (Light Truck) 60 80 100 รถบรรทุกขนาดกลาง 6 ล้อ (Medium Truck) 60 80 100 รถบรรทุกขนาดใหญ่ 10 ล้อ (Heavy Truck) 45 60 80 รถบรรทุกพ่วง (Full Trailer) 45 60 80 รถบรรทุกกึ่งพ่วง (Semi-Trailer) 45 60 80 จักรยานยนตและสามลอเครื่อง (Motorcycle) 80 90 - ที่มา : อัตราความเร็วของยานพาหนะ, กระทรวงคมนาคม 2551 ตารางที่ 4.4.5-6 อัตราการระบายฝุ่นละอองจากพื้นผิวจราจรแบบลูกรังของกิจกรรมการเคลื่อนย้าย และการขนส่งวัสดุ ค่าตัวแปรอัตราการ ค่าตัวแปรอัตราการ ค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อย ค่าความเข้มข้น ตัวแปรมลพิษ ปลดปล่อยมลสาร ปลดปล่อยมลสาร มลสารของยานพาหนะจำนวน ของมลสาร (กรัม/ชั่วโมง/คัน) (กรัม/กิโลเมตร/คัน) 44 คัน (กรัม/วินาที/44 คัน) (กรัม/วินาที./ตร.ม.) ฝุ่นละอองรวม 29.59 0.493 21.699 6.027 x 10-6 ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10.53 0.175 7.723 2.145 x 10-6 10 ไมโครเมตร ที่มา : จากการวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 ตารางที่ 4.4.5-7 อัตราการระบายมลสารของยานพาหนะจากกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ ค่าตัวแปรอัตราการ ค่าตัวแปรอัตราการ ค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อย ค่าความเข้มข้น ตัวแปรมลพิษ ปลดปล่อยมลสาร 1 ปลดปล่อยมลสาร มลสารของยานพาหนะจำนวน ของมลสาร (กรัม/ชั่วโมง/คัน) (กรัม/กิโลเมตร/คัน) 44 คัน (กรัม/วินาที/44 คัน) (กรัม/วินาที./ตร.ม.) ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ 4.74 0.079 3.476 9.656 x 10-7 ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ 10.56 0.176 7.744 2.151 x 10-6 ที่มา : จากการวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 Emission Database from Motor Vehicles in Thailand, USAID-PCD 1994 กรมทางหลวงชนบท 4-130 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบด้านฝุ่นละอองโดยใช้จำลอง AERMOD จะต้องใช้ข้อมูลของค่าสภาพทาง อุตุนิยมวิทยาพื้นฐาน ดังนี้ - ค่าสภาพทางอุตุนิยมวิทยาพื้นฐานของข้อมูลสภาวะบรรยากาศชั้นสูงที่ช่วงเวลา 12 ชั่วโมง (Twice-daily Upper Air Soundings) ได้ทำการอ้างอิงข้อมูลอุตุนิยมวิทยาของกรมอุตุนิยมวิทยา จากสถานีตรวจวัด อากาศจังหวัดภูเก็ต เพื่อใช้เป็นตัวแทนอ้างอิง สภาวะบรรยากาศชั้นสูงในพื้นที่โครงการ - ค่าสภาพทางอุตุนิยมวิทยาพื้นฐานของข้อมูลสภาวะบรรยากาศพื้นผิวที่ช่วงเวลา 1 ชั่วโมง (Hourly Surface Observations) ได้ทำการอ้างอิงข้อมูลอุตุนิยมวิทยาจากการตรวจวัด สถานีของกรมอุตุนิยมวิทยา ในช่วงเดือนมกราคม – ธันวาคม ปี 2562 ที่ สอต.เกาะลันตา (รหัสหมายเลขสถานี 48566) เพื่อใช้เป็นตัวแทนอ้างอิง สภาวะบรรยากาศพื้นผิวในพื้นที่โครงการ - ส่ ว นของภู ม ิ อากาศย้ อนหลั ง 30 ปี ได้ อ้ า งอิ ง ข้ อมู ล อุ ตุ นิ ย มวิ ทยาจากสถานี ของกรม อุตุนิยมวิทยา สอต.เกาะลันตา (รหัสหมายเลขสถานี 48566 ย้อนหลัง 30 ปี (พ.ศ. 2533-2562) - ข้อมูลของค่าสภาพทางภูมิศาสตร์พื้นฐาน ( Geographical Baseline Data) แผนที่ความ สูงของภูมิประเทศ (Global Digital Elevation Model; DEM) ที่ชั้นความละเอียดของข้อมูล 90 เมตร ซึ่งอ้างอิง ข้อมูลแผนที่ความสูงของภูมิประเทศจากกรมแผนที่ภูมิศาสตร์ของของสหรัฐ (U.S. Geological Survey; USGS) ผลการประเมินผลกระดับด้านคุณภาพอากาศในระยะก่อสร้างโครงการ จากการดำเนิน กิจกรรมก่อสร้างต่าง ๆ ของโครงการ ได้แก่ การก่อสร้างถนน โครงสร้างสะพาน และการเคลื่อนย้ายและการขนส่ง วัสดุ สรุปผลการประเมินได้ดังนี้ ฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากการดำเนินกิจกรรมเตรียมพื้นที่และการก่อสร้างถนน จะมีค่าอยู่ในช่วง 0.033 – 0.068 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ โดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ โดยการดำเนินกิจกรรมงานผิวทาง และชั้นทาง มีค่าอยู่ในช่วง 0.026 – 0.033 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐาน คุณภาพอากาศใน บรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ส่วนงานก่อสร้าง โครงสร้างสะพานส่วนล่าง มีค่าอยู่ในช่วง 0.026 – 0.033 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐาน คุณภาพ อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เ กิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ สำหรับงาน ก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบน มีค่าอยู่ในช่วง 0.026 – 0.033 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐาน คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ นอกจากนี้ กิจกรรมการขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างโครงการ พบว่า มีค่าอยู่ในช่วง 0.026 – 0.034 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.5-8 ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มี ค่าอยู่ในช่วง 0.0 22 – 0.040 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ โดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ส่วนกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทาง มีค่าอยู่ในช่ วง 0.019 – 0.022 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกิน ค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ โดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ สำหรับงานก่อสร้างโครงสร้าง สะพานส่วนล่าง มีค่าอยู่ในช่วง 0.019 – 0.022 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศใน บรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เ กิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ส่วนงานก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 4-131 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงสร้างสะพานส่วนบน มีค่าอยู่ในช่วง 0.019 – 0.022 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพ อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบอยู่ใ นระดับต่ำ นอกจากนี้ กิจกรรมการขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างโครงการ มีค่าอยู่ในช่วง 0.0 19 – 0.023 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่ง ไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบ อยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.5-9 ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.333 – 0.450 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วน ในล้านส่วน) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ส่วนกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทาง มีค่าอยู่ในช่วง 0.333 – 0.450 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน) จึงมี ผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ สำหรับงานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่าง มีค่าอยู่ในช่วง 0.333 – 0.450 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน) จึงมีผลกระทบอยู่ใน ระดับต่ำ ส่วนงานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบน มีค่าอยู่ในช่วง 0.333 – 0.450 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่า มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ สำหรับกิจกรรมการขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างโครงการ พบว่ามีค่าอยู่ในช่วง 0.333 – 0.451 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน) จึงมีผลกระทบอยู่ใน ระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.5-10 ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.0051 – 0.0109 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ส่วนกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทาง มีค่าอยู่ในช่วง 0. 0051 – 0.0107 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ สำหรับงานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่าง มีค่าอยู่ในช่วง 0. 0051 – 0.0107 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) จึงมี ผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ส่วนงานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบน มีค่าอยู่ในช่วง 0.0051 – 0.0107 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) จึงมีผลกระทบอยู่ใน ระดับต่ำ สำหรับกิจกรรมการขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างโครงการ พบว่า มีค่าอยู่ในช่วง 0.0054 – 0.0116 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) จึงมี ผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.5-11 กรมทางหลวงชนบท 4-132 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.5-8 ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) จากกิจกรรมก่อสร้างถนน สะพาน การขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างของโครงการ ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง (มิลลิกรัม/ ระยะห่าง (มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จากกิจกรรมงาน (มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จากงานก่อสร้าง (มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จากงานก่อสร้าง (มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จากกิจกรรมการ ลูกบาศก์เมตร) จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ จากจุด ผิวทางและชั้นทาง โครงสร้างสะพานส่วนล่าง โครงสร้างสะพานส่วนบน ขนส่งวัสดุและอุปกรณ์กอ่ สร้าง ลาดับ พื้นที่ออ ่ นไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว TSP จาก TSP จาก TSP จาก TSP จาก TSP จาก TSP จาก TSP จาก TSP จาก TSP จาก TSP จาก โครงการ TSP จากการ กิจกรรม เครื่องจักร กิจกรรมการ เครื่องจักร กิจกรรมการ เครื่องจักร กิจกรรมการ เครื่องจักร กิจกรรมการ กิจกรรมการ (เมตร) TSP พื้นฐาน การก่อสร้าง และอุปกรณ์ ก่อสร้างรวม TSP พื้นฐาน และอุปกรณ์ ก่อสร้างรวม TSP พื้นฐาน และอุปกรณ์ ก่อสร้างรวม TSP พื้นฐาน และอุปกรณ์ ก่อสร้างรวม TSP พื้นฐาน ขนส่งวัสดุ ก่อสร้างรวม ก่อสร้าง เปิดหน้าดิน ในการก่อสร้าง พื้นฐาน ในการก่อสร้าง พื้นฐาน ในการก่อสร้าง พื้นฐาน ในการก่อสร้าง พื้นฐาน พื้นฐาน 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.031 0.035 0.0002 0.066 0.031 0.0002 0.031 0.031 0.0002 0.031 0.031 0.0002 0.031 0.031 0.0014 0.032 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.033 0.035 0.0002 0.068 0.033 0.0002 0.033 0.033 0.0002 0.033 0.033 0.0002 0.033 0.033 0.0014 0.034 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.026 0.023 0.0001 0.049 0.026 0.0001 0.026 0.026 0.0001 0.026 0.026 0.0001 0.026 0.026 0.0009 0.027 4 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.026 0.007 0.0000 0.033 0.026 0.0000 0.026 0.026 0.0000 0.026 0.026 0.0000 0.026 0.026 0.0002 0.026 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.028 0.005 0.0000 0.033 0.028 0.0000 0.028 0.028 0.0000 0.028 0.028 0.0000 0.028 0.028 0.0003 0.028 ค่ามาตรฐาน 1 0.330 ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2547 ตารางที่ 4.4.5-9 ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) จากกิจกรรมก่อสร้างถนน สะพาน การขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างของโครงการ ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง ระยะห่าง เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง (มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จาก เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง (มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จากงาน เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง (มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จากงาน เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง (มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จาก (มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ จากจุด กิจกรรมงานผิวทางและชั้นทาง ก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่าง ก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบน กิจกรรมการขนส่งวัสดุและอุปกรณ์กอ ่ สร้าง ลาดับ ่ นไหว พื้นที่ออ ประเภท ่ กลางแนว กึง PM10 จาก PM10 จาก PM10 จาก PM10 จาก PM10 จาก PM10 จาก PM10 จาก PM10 จาก PM10 จาก โครงการ PM10 จากการ PM10 กิจกรรมการ เครื่องจักร และ กิจกรรมการ PM10 เครื่องจักร และ กิจกรรมการ PM10 เครื่องจักร และ กิจกรรมการ PM10 เครื่องจักร และ กิจกรรมการ PM10 PM10 (เมตร) ขนส่งวัสดุ พื้นฐาน ก่อสร้างเปิดหน้า อุปกรณ์ ในการ ก่อสร้างรวม พื้นฐาน อุปกรณ์ ในการ ก่อสร้างรวม พื้นฐาน อุปกรณ์ ในการ ก่อสร้างรวม พื้นฐาน อุปกรณ์ ในการ ก่อสร้างรวม พื้นฐาน รวมพื้นฐาน ก่อสร้าง ดิน ก่อสร้าง พื้นฐาน ก่อสร้าง พื้นฐาน ก่อสร้าง พื้นฐาน ก่อสร้าง พื้นฐาน 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.021 0.018 0.0001 0.039 0.021 0.0001 0.021 0.021 0.0001 0.021 0.021 0.0001 0.021 0.021 0.0005 0.022 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.022 0.018 0.0001 0.040 0.022 0.0001 0.022 0.022 0.0001 0.022 0.022 0.0001 0.022 0.022 0.0005 0.023 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.019 0.012 0.0001 0.031 0.019 0.0001 0.019 0.019 0.0001 0.019 0.019 0.0001 0.019 0.019 0.0003 0.019 4 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.019 0.004 0.0000 0.023 0.019 0.0000 0.019 0.019 0.0000 0.019 0.019 0.0000 0.019 0.019 0.0001 0.019 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.019 0.003 0.0000 0.022 0.019 0.0000 0.019 0.019 0.0000 0.019 0.019 0.0000 0.019 0.019 0.0001 0.019 ค่ามาตรฐาน 1 0.120 ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2547 กรมทางหลวงชนบท 4-133 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ่ สร้างของโครงการ ตารางที่ 4.4.5-10 ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) จากกิจกรรมก่อสร้างถนน สะพาน การขนส่งวัสดุและอุปกรณ์กอ ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ ย 1 ชั่วโมง ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ ย 1 ชั่วโมง ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ ย 1 ชั่วโมง ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ ย 1 ชั่วโมง ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ ย 1 ชั่วโมง (ส่วนในล้านส่วน) จากงานก่อสร้างโครงสร้างสะพาน (ส่วนในล้านส่วน) จากงานก่อสร้างโครงสร้างสะพาน (ส่วนในล้านส่วน) จากกิจกรรมการขนส่งวัสดุและ ระยะห่าง (ส่วนในล้านส่วน) จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ (ส่วนในล้านส่วน) จากกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทาง ส่วนล่าง ส่วนบน อุปกรณ์กอ ่ สร้าง จากจุดกึง ่ กลาง ลาดับ พื้นที่ออ ่ นไหว ประเภท CO จาก CO จาก CO จาก CO จาก แนวโครงการ CO จากกิจกรรม CO จากกิจกรรม CO จากกิจกรรม CO จากกิจกรรม CO จากการ (เมตร) เครื่องจักร และ เครื่องจักร และ เครื่องจักร และ เครื่องจักร และ CO พื้นฐาน จากการก่อสร้าง CO พื้นฐาน จากการก่อสร้าง CO พื้นฐาน จากการก่อสร้าง CO พื้นฐาน จากการก่อสร้าง CO พื้นฐาน ขนส่งวัสดุ CO รวมพื้นฐาน อุปกรณ์ในการ อุปกรณ์ในการ อุปกรณ์ในการ อุปกรณ์ในการ รวมพื้นฐาน รวมพื้นฐาน รวมพื้นฐาน รวมพื้นฐาน ก่อสร้าง ก่อสร้าง ก่อสร้าง ก่อสร้าง ก่อสร้าง 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.383 0.0011 0.384 0.383 0.0012 0.384 0.383 0.0013 0.384 0.383 0.0013 0.384 0.383 0.0025 0.386 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.450 0.0003 0.450 0.450 0.0004 0.450 0.450 0.0004 0.450 0.450 0.0004 0.450 0.450 0.0008 0.451 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.400 0.0003 0.400 0.400 0.0003 0.400 0.400 0.0004 0.400 0.400 0.0003 0.400 0.400 0.0007 0.401 4 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.400 0.0001 0.400 0.400 0.0002 0.400 0.400 0.0002 0.400 0.400 0.0002 0.400 0.400 0.0003 0.400 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.333 0.0001 0.333 0.333 0.0001 0.333 0.333 0.0001 0.333 0.333 0.0001 0.333 0.333 0.0002 0.333 ค่ามาตรฐาน 1 30.0 ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2538 ตารางที่ 4.4.5-11 ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) จากกิจกรรมก่อสร้างถนน สะพาน การขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างของโครงการ ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ระยะห่าง ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ่ โมง (ส่วนในล่านส่วน) จากกิจกรรมงานผิวทาง ชัว ่ โมง (ส่วนในล่านส่วน) จากงานก่อสร้าง ชัว ่ โมง (ส่วนในล่านส่วน) จากงานก่อสร้าง ชัว ่ โมง (ส่วนในล้านส่วน) จากกิจกรรมการขนส่ง ชัว ่ โมง (ส่วนในล่านส่วน) จากกิจกรรมเตรียมพืน จากจุด ชัว ้ ที่ ้ ทาง และชัน โครงสร้างสะพานส่วนล่าง โครงสร้างสะพานส่วนบน วัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง กึ่งกลาง ลาดับ ้ ที่อ่อนไหว พืน ประเภท NO2 จาก NO2 จาก NO2 จาก NO2 จาก NO2 จาก NO2 จาก NO2 จาก NO2 จาก แนว NO2 จากการ โครงการ NO2 พืน เครื่องจักร กิจกรรมจาก เครื่องจักร กิจกรรมจาก เครื่องจักร กิจกรรมจาก เครื่องจักร กิจกรรมจาก ้ ฐาน ้ ฐาน NO 2 พืน ้ ฐาน NO2 พืน NO2 พืน ้ ฐาน ้ ฐาน NO2 พืน ้ ฐาน ขนส่งวัสดุ NO2 รวมพืน (เมตร) และอุปกรณ์ใน การก่อสร้าง และอุปกรณ์ใน การก่อสร้าง และอุปกรณ์ใน การก่อสร้าง และอุปกรณ์ใน การก่อสร้าง ก่อสร้าง การก่อสร้าง รวมพืน ้ ฐาน การก่อสร้าง รวมพืน้ ฐาน การก่อสร้าง รวมพืน้ ฐาน การก่อสร้าง รวมพืน้ ฐาน 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.0049 0.0010 0.0059 0.0049 0.0004 0.0053 0.0049 0.0004 0.0053 0.0049 0.0004 0.0053 0.0049 0.0032 0.0081 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.0106 0.0003 0.0109 0.0106 0.0001 0.0107 0.0106 0.0001 0.0107 0.0106 0.0001 0.0107 0.0106 0.0010 0.0116 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.0063 0.0003 0.0066 0.0063 0.0001 0.0064 0.0063 0.0001 0.0064 0.0063 0.0001 0.0064 0.0063 0.0009 0.0072 4 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.0063 0.0001 0.0064 0.0063 0.0000 0.0063 0.0063 0.0000 0.0063 0.0063 0.0000 0.0063 0.0063 0.0002 0.0065 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.0050 0.0001 0.0051 0.0050 0.0001 0.0051 0.0050 0.0001 0.0051 0.0050 0.0001 0.0051 0.0050 0.0004 0.0054 1 ค่ามาตรฐาน 0.17 ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2552 กรมทางหลวงชนบท 4-134 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ การก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศในกิจกรรมการเปิดใช้ถนนโครงการ คาดว่าจะมีปริมาณเพิ่มขึ้น ตามปริมาณจราจรที่เพิ่มสูงขึ้นในแต่ละปี ซึ่งกิจกรรมการคมนาคมบนถนนโครงการ อาจมีการปล่อยมลพิษออกสู่ ชั ้ นบรรยากาศ เช่น ปริ มาณฝุ ่ นละอองรวม ( TSP) และฝุ ่ นละอองขนาดเล็ กกว่า 10 ไมโครเมตร ( PM10) ปริ มาณ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) จากการประเมินผลกระทบจะมี การ คาดการณ์โดยแบบจำลอง AERMOD เช่นเดียวกันกับการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศในระยะก่อสร้าง การประเมิ นระดั บความเข้ มข้ นในบรรยากาศสู งสุ ดที ่ 24 ชั ่ วโมงเฉลี ่ ย (1st Highest 24 hr Average Concentration Level) โดยแบบจำลอง AERMOD ซึ่งใช้สมการหลัก Gaussian Plume Dispersion Model มาใช้ควบคู่ไปกับการใช้ค่าอัตราการปลดปล่อยมลสาร (Emission Factor) อ้างอิงจากรายงานผลการ ดำเนินงานประจําปีงบประมาณ 2553 ห้องปฏิบัติการตรวจวัดมลพิษจากยานพาหนะ โดยกรมควบคุมมลพิษ (PCD) ในปี 2554 (ตารางที่ 4.4.5-12) ซึ่งค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยมลสารจะถูกนำไปคำนวณค่าอัตราการ ปลดปล่อยฝุ่นละอองและมลสารจากกิจกรรมการคมนาคมบนแนวเส้นทางโครงการตามผลคาดการณ์ปริมาณ จราจรในปี พ.ศ. 2570-2590 (20 ปี) และสัดส่วนของยานพาหนะประเภทต่างๆ (ตารางที่ 4.4.5-13) มาใช้เป็น ฐานข้อมูลเพื่อทำการหาอัตราการปลดปล่อยมลสารของยานพาหนะแต่ละประเภท ซึ่งในส่วนข้อมูลของค่าสภาพ ทางอุตุนิยมวิทยาพื้นฐาน และค่าสภาพทางภูมิศาสตร์ พื ้นฐานใช้ข้ อมูลอ้างอิ ง เช่นเดี ยวกัน กับ การประเมิ น ผลกระทบด้านคุณภาพอากาศของกิจกรรมการก่อสร้าง - ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) พบว่า มีค่าอยู่ในช่วง 0.026 – 0.034 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกิน ค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม /ลูกบาศก์เมตร) จึงมี ผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.5-14 - ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ( PM10) พบว่า มีค่าอยู่ในช่วง 0.019 – 0.023 มิลลิกรัม /ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกิน ค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.5-15 - ปริ ม าณก๊ า ซคาร์ บ อนมอนอกไซด์ ( CO) พบว่ า มี ค ่ า อยู ่ ใ นช่ ว ง 0. 400 – 0.517 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกิน ค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30 ส่วนในล้านส่วน) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.5-16 - ปริ มาณก๊ าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) พบว่ า มี ค่ าอยู ่ ในช่ วง 0.0063 – 0.0118 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.5-17 กรมทางหลวงชนบท 4-135 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.5-12 ข้อมูลอ้างอิงของค่าตัวแปรอัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองและมลสารจากยานพาหนะ ค่าอัตราการปลดปล่อยฝุ่นละอองและมลสารจากยานพาหนะ ประเภทของยานพาหนะ (กรัม/กิโลเมตร/คัน) TSP 1 PM-10 1 PM-2.5 5 CO 1 NO2 3 รถจักรยานยนต์และสามล้อเครื่อง (Motorcycle; MC) 0.010 2 0.005 2 0.004 3.030 4 0.027 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน (Auto<=7; PC-1) 0.010 2 0.005 2 0.002 0.190 0.014 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน (Auto>7; PC-2) รถโดยสารขนาดเล็ก (Light Bus; LB) รถโดยสารขนาดกลาง (Medium Bus; MB) 0.475 0.238 0.165 1.374 0.080 5 รถโดยสารขนาดใหญ่ (Heavy Bus; HB) รถบรรทุกขนาดเล็ก (Light Truck; LT) 0.053 0.026 0.016 0.288 0.050 4 รถบรรทุกขนาดกลาง (Medium Truck; MT) รถบรรทุกขนาดใหญ่ (Heavy Truck; HT) รถบรรทุกพ่วง (Full Trailer; TR) 0.475 0.238 0.194 1.374 0.080 5 รถบรรทุกกึ่งพวง (Semi-Trailer; STR) ที่มา : 1 รายงานผลการดำเนินงานประจําปีงบประมาณ 2553 ห้องปฏิบัติการตรวจวัดมลพิษจากยานพาหนะ, กรมควบคุม มลพิษ 2554 2 The Assumptions Used and Results of the 1997 Road Transport Emission Projections, UK National Atmospheric Emissions Inventory 1997 3 รายงานผลการดำเนินงานประจําปีงบประมาณ 2551 ห้องปฏิบัติการตรวจวัดมลพิษจากยานพาหนะ, กรมควบคุม มลพิษ 2552 4 EMEP/EEA Air Pollutant Emission Inventory Guidebook, European Environment Agency 2009 5 EMEP/EEA Air Pollutant Emission Inventory Guidebook, European Environment Agency 2013 กรมทางหลวงชนบท 4-136 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.5-13 ผลการคาดการณ์ปริมาณจราจรกรณีมีโครงการของยานพาหนะแต่ละประเภท ปริ มาณจราจรของยานพาหนะกรณีมีโครงการ (คัน/วัน) ความเร็ วเฉลี่ ย แนวเส้นทาง รถยนต์ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ปริ มาณจราจรรวม ปีคาดการณ์ รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก ของยานพาหนะ โครงการ นัง ่ ส่วนบุคคล นัง ่ ส่วนบุคคล รถบรรทุ กพ่วง และสามล้อ (คัน/วัน) ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ กึ่ งพวง (กิโลเมตร /ชั่วโมง) ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน เครื่ อง ไป ต .เกาะลันตาน้อย 1,438 988 337 5 0 0 732 101 11 0 1034 4,646 56.60 พ.ศ. 2570 ไป ต .เกาะกลาง 1,443 762 279 29 0 0 633 87 14 0 917 4,163 57.90 ไป ต .เกาะลันตาน้อย 1,642 1,128 385 5 0 0 835 116 13 0 1,168 5,292 56.20 พ.ศ. 2575 ไป ต .เกาะกลาง 1,647 870 318 33 0 0 723 99 16 0 1,036 4,742 56.40 ไป ต .เกาะลันตาน้อย 1,844 1,267 433 6 0 0 938 130 14 0 1,308 5,941 54.40 พ.ศ. 2580 ไป ต .เกาะกลาง 1,850 977 357 37 0 0 812 112 18 0 1,160 5,324 56.20 ไป ต .เกาะลันตาน้อย 2,043 1,404 479 7 0 0 1,040 144 16 0 1,439 6,572 54.80 พ.ศ. 2585 ไป ต .เกาะกลาง 2,050 1,082 396 41 0 0 900 124 20 0 1,276 5,889 54.90 ไป ต .เกาะลันตาน้อย 2,237 1,537 525 7 0 0 1,138 158 17 0 1,568 7,187 52.60 พ.ศ. 2590 ไป ต .เกาะกลาง 2,244 1,185 434 44 0 0 985 135 22 0 1,391 6,441 55.00 ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 4-137 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.5-14 ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) ในระยะดำเนินการ กรณีมีโครงการ ระยะห่าง ฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง (มิลลิ กรัม/ลู กบาศก์เมตร) ลาดับ พืน ้ ทีอ ่อ ่ นไหว ประเภท จากจุดกึง ่ กลางแนว ค่าจากแบบจาลอง ค่าจากแบบจาลองรวมค่าคุณภาพอากาศพืน ้ ฐาน TSP พืน ้ ฐาน โครงการ (เมตร) พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 พ.ศ. 2580 พ.ศ. 2585 พ.ศ. 2590 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 พ.ศ. 2580 พ.ศ. 2585 พ.ศ. 2590 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.031 0.0006 0.0006 0.0007 0.0008 0.0009 0.032 0.032 0.032 0.032 0.032 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.033 0.0006 0.0007 0.0008 0.0009 0.0010 0.034 0.034 0.034 0.034 0.034 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุง่ โต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.026 0.0004 0.0005 0.0005 0.0006 0.0006 0.026 0.027 0.027 0.027 0.027 4 มัสยิดบ้านทุง ่ โต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.028 0.0002 0.0002 0.0002 0.0003 0.0003 0.028 0.028 0.028 0.028 0.028 1 ค่ามาตรฐาน 0.33 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัว ่ ไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2547 ตารางที่ 4.4.5-15 ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) ในระยะดำเนินการ กรณีมีโครงการ ระยะห่าง ฝุ่นละอองขนาดเล็ กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง (มิลลิ กรัม/ลู กบาศก์เมตร) ลาดับ พืน ้ ทีอ ่อ ่ นไหว ประเภท จากจุดกึง ่ กลางแนว ค่าจากแบบจาลอง ค่าจากแบบจาลองรวมค่าคุณภาพอากาศพืน้ ฐาน PM10 พืน ้ ฐาน โครงการ (เมตร) พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 พ.ศ. 2580 พ.ศ. 2585 พ.ศ. 2590 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 พ.ศ. 2580 พ.ศ. 2585 พ.ศ. 2590 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.021 0.0003 0.0003 0.0004 0.0004 0.0004 0.021 0.021 0.021 0.021 0.021 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.022 0.0003 0.0003 0.0004 0.0004 0.0005 0.022 0.022 0.022 0.022 0.023 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุง่ โต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.019 0.0002 0.0002 0.0003 0.0003 0.0003 0.019 0.019 0.019 0.019 0.019 4 มัสยิดบ้านทุง ่ โต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.019 0.0001 0.0001 0.0001 0.0001 0.0001 0.019 0.019 0.019 0.019 0.019 1 ค่ามาตรฐาน 0.12 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัว ่ ไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2547 กรมทางหลวงชนบท 4-138 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.5-16 ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ในระยะดำเนินการ กรณีมีโครงการ ระยะห่าง ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ส่ วนในล้ านส่ วน) ลาดับ ้ ทีอ พืน ่ นไหว ่อ ประเภท ่ กลางแนว จากจุดกึง ค่าจากแบบจาลอง ค่าจากแบบจาลองรวมค่าคุณภาพอากาศพืน้ ฐาน ้ ฐาน CO พืน โครงการ (เมตร) พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 พ.ศ. 2580 พ.ศ. 2585 พ.ศ. 2590 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 พ.ศ. 2580 พ.ศ. 2585 พ.ศ. 2590 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.383 0.028 0.032 0.036 0.040 0.044 0.411 0.415 0.419 0.423 0.427 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.450 0.042 0.048 0.055 0.061 0.067 0.492 0.498 0.505 0.511 0.517 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุง่ โต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.400 0.020 0.023 0.026 0.029 0.032 0.420 0.423 0.426 0.429 0.432 4 มัสยิดบ้านทุง ่ โต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.333 0.015 0.017 0.020 0.022 0.024 0.348 0.350 0.353 0.355 0.357 1 ค่ามาตรฐาน 30.0 ่ า : การวิเคราะห์โดยทีป ทีม ่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัว ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2538 ่ ไป, คณะกรรมการสิง ตารางที่ 4.4.5-17 ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ในระยะดำเนินการ กรณีมีโครงการ ระยะห่าง ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ส่ วนในล้ านส่ วน) ลาดับ ้ ทีอ พืน ่ นไหว ่อ ประเภท ่ กลางแนว NO2 จากจุดกึง ค่าจากแบบจาลอง ้ ฐาน ค่าจากแบบจาลองรวมค่าคุณภาพอากาศพืน โครงการ (เมตร) พืน ้ ฐาน พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 พ.ศ. 2580 พ.ศ. 2585 พ.ศ. 2590 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 พ.ศ. 2580 พ.ศ. 2585 พ.ศ. 2590 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.0049 0.0005 0.0006 0.0007 0.0007 0.0008 0.0054 0.0055 0.0056 0.0056 0.0057 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.0106 0.0008 0.0009 0.0010 0.0011 0.0012 0.0114 0.0115 0.0116 0.0117 0.0118 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุง ่ โต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.0063 0.0004 0.0004 0.0005 0.0005 0.0006 0.0067 0.0067 0.0068 0.0068 0.0069 4 มัสยิดบ้านทุง ่ โต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.0050 0.0003 0.0003 0.0004 0.0004 0.0004 0.0053 0.0053 0.0054 0.0054 0.0054 1 ค่ามาตรฐาน 0.17 ่ า : การวิเคราะห์โดยทีป ทีม ่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทัว ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2552 ่ ไป , คณะกรรมการสิง กรมทางหลวงชนบท 4-139 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.4.6 เสียง การประเมินผลกระทบด้านเสียงจากโครงการต่อพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม จะถูกแบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ กรณีไม่มีการเกิดขึ้นของโครงการ ( Do-nothing Scenario) และกรณีมีการเกิดขึ้นของโครงการ ( Proposed Scenario) โดยสามารถแจกแจงได้ ดังนี้ 1) กรณีไม่มีโครงการ การตรวจวัดเสียงในพื้นที่ศึกษา โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งที่ผ่านมาทางโครงการได้ทำการเก็บตัวอย่าง 3 วันต่อเนื่อง จำนวน 2 ครั้ง รวม 4 สถานี สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) สถานีที่ 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) สถานีที่ 3 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม และสถานีที่ 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ซึ่งจากผลการตรวจวัดตัวแปรคุณภาพสิ่งแวดล้อม ในสภาพปัจจุบัน พบว่า ตัวแปรด้านระดับเสียง ที่ประกอบด้วย ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) อยู่ในช่วง 53.8 – 62.3 เดซิเบล (เอ) และมีค่าระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) อยู่ในช่วง 85.4 – 99.3 เดซิเบล (เอ) โดยพบว่าตัว แปรด้านระดับเสียง มีค่าไม่เกินค่ามาตรฐานของกำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) แสดงดังตารางที่ 4.4.6-1 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะก่อสร้าง การดำเนินกิจกรรมงานเตรียมพื้นที่สำหรับก่อสร้าง งานดิน/หิน จากยานพาหนะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในการก่อสร้าง งานเตรียมวัสดุก่อสร้างและงานขนย้าย งานโครงสร้างสะพาน งานระบบระบายน้ำ จำเป็นต้องใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ ซึ่งจะก่อให้เกิดเสียงดังในขณะดำเนินกิจกรรมได้ ซึ่งในการประเมิ น ผลกระทบด้านเสียงต่อพื้นที่อ่อนไหวทางด้านสิ่งแวดล้อม ดังนี้ ก) กิจกรรมก่อสร้างถนนโครงการ (ก) การประเมินผลกระทบด้านเสียง การประเมินผลกระทบด้านเสียงจากกิจกรรมการ ก่อสร้าง จะมีการใช้ทั้งวิธีการที่อ้างอิงข้อมูลจากรายงาน Handbook of Noise Assessment โดยกรมทางหลวง ของสหรัฐ (U.S. Federal Highway Authority; FHWA) ในปี 1975 โดยข้อมูลอ้างอิงระดับเสียงจากกิจกรรมการ ก่อสร้างในรูปแบบต่างๆ ที่ระยะ 15 เมตร (50 ฟุต) นอกจากนี้จะมีการใช้การวิเคราะห์จากแบบจำลอง RCNM ควบคู่ไปกับการใช้การอ้างอิงระบบ ฐานข้อมูลของระดับเสียงสูงสุด ( Lmax) ที่เรียกว่า Construction Noise Control Specification 721.560 หรือฐานข้อมูลของระดับเสียงสูงสุดของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือที่ ระยะ 15 เมตร (50 ฟุต) อ้างอิงจากรายงาน CA/T Construction Nosie Control Specification โดยกระทรวง คมนาคมของสหรัฐ ( U.S. Department of Transportation ; USDT) ในปี 2002 โดยมีรายละเอียดแสดงดั ง ตารางที่ 4.4.6-2 กรมทางหลวงชนบท 4-140 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-1 ผลการตรวจวัดระดับเสียงบริเวณพื้นที่ศึกษาในสภาพปัจจุบัน สถานีตรวจวัด วันที่ตรวจวัด Leq 24 hr, dB(A) Lmax, dB(A) L90, dB(A) สถานีที่ 1 3-4 ธ.ค. 2563 62.3 94.4 50.8 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 4-5 ธ.ค. 2563 61.6 91.0 51.0 (ก่อนเข้าท่าเรือ) 5-6 ธ.ค. 2563 61.1 95.0 49.1 7-8 ก.พ. 2564 60.5 96.0 44.8 8-9 ก.พ. 2564 60.8 95.8 43.0 9-10 ก.พ. 2564 60.5 95.2 43.1 ค่าเฉลี่ยรวม 61.1 96.0 47.0 สถานีที่ 2 3-4 ธ.ค. 2563 57.8 97.6 46.6 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 4-5 ธ.ค. 2563 60.7 95.8 48.3 (บ้านท่าเรือ) 5-6 ธ.ค. 2563 61.8 96.5 47.6 7-8 ก.พ. 2564 61.8 99.3 44.7 8-9 ก.พ. 2564 61.0 97.5 43.4 9-10 ก.พ. 2564 60.6 96.1 44.8 ค่าเฉลี่ยรวม 60.6 99.3 45.9 สถานีที่ 3 3-4 ธ.ค. 2563 60.5 89.3 52.5 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 4-5 ธ.ค. 2563 61.1 91.8 53.2 5-6 ธ.ค. 2563 58.5 85.4 52.8 7-8 ก.พ. 2564 53.8 91.4 44.1 8-9 ก.พ. 2564 55.4 91.8 44.6 9-10 ก.พ. 2564 55.6 90.3 44.4 ค่าเฉลี่ยรวม 57.5 91.8 48.6 สถานีที่ 4 3-4 ธ.ค. 2563 60.6 90.3 52.5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม 4-5 ธ.ค. 2563 61.1 91.8 53.2 5-6 ธ.ค. 2563 58.5 86.4 52.8 7-8 ก.พ. 2564 55.1 90.9 36.3 8-9 ก.พ. 2564 56.9 87.8 38.1 9-10 ก.พ. 2564 55.0 85.4 61.8 ค่าเฉลี่ยรวม 57.9 91.8 49.1 ค่ามาตรฐาน 1 70.0 115.0 - ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2540 กรมทางหลวงชนบท 4-141 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-2 เครื่องจักรทั้งหมดที่ใช้ในกิจกรรมก่อสร้างถนนโครงการ กิจกรรมเตรียมพื้นที่ กิจกรรมงานผิ วทางและชั้นทาง งานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่าง งานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบน ระดั บเสียง ระดั บเสียง ระดั บเสียง ระดั บเสียง ระดั บเสียงที่ระยะ ่ ระดั บเสียงเฉลีย ระดั บเสียงเฉลีย ่ ่ ระดั บเสียงเฉลีย ระดั บเสียงเฉลีย ่ ่ 8 เฉลีย ่ 24 เฉลีย ่ 8 เฉลีย ่ 24 เฉลีย ่ งจักรกลอุปกรณ์แ ละเครือ เครือ ่ งมื อ 15 เมตร 8 ชั่วโมง ที่ 24 ชั่วโมง ที่ 8 ชั่วโมง ที่ 24 ชั่วโมง ที่ % UF 1 จานวน จานวน จานวน ชั่วโมง ที่ระยะ ชั่วโมง ที่ระยะ จานวน ชั่วโมง ที่ระยะ ชั่วโมง ที่ระยะ (Equipment) (50 ฟุต ) ระยะ 15 เมตร ระยะ 15 เมตร ระยะ 15 เมตร ระยะ 15 เมตร (เดซิเบล(เอ)) ่ งจักร เครือ เครือ ่ งจักร ่ งจักร เครือ 15 เมตร 15 เมตร เครือ ่ งจักร 15 เมตร 15 เมตร (50 ฟุต ) (50 ฟุต ) (50 ฟุต ) (50 ฟุต ) (50 ฟุต ) (50 ฟุต ) (50 ฟุต ) (50 ฟุต ) (เดซิเบล(เอ)) (เดซิเบล(เอ)) (เดซิเบล(เอ)) (เดซิเบล(เอ)) (เดซิเบล(เอ)) (เดซิเบล(เอ)) (เดซิเบล(เอ)) (เดซิเบล(เอ)) All Other Equipment 85.0 50 - - - - - - - - - - - - Backhoe 80.0 40 1 76.0 71.2 - - - 1 76.0 71.2 - - - Chain Saw 85.0 20 - - - - - - - - - - - - Concrete Saw 90.0 20 - - - - - - - - - - - - Compactor 82.0 20 - - - - - - - - - - - - Concrete Mixer 85.0 40 - - - - - - 1 81.0 76.2 1 81.0 76.2 Crane 85.0 16 - - - - - - - - - 1 77.1 72.3 Dozer 85.0 40 1 81.0 76.2 - - - - - - - - - Drill Rig 85.0 20 - - - - - - - - - - - - Vibratory Pile Driver 95.0 20 - - - - - - 1 88.0 83.2 - - - Impact Pile Driver 101.0 20 - - - - - - - - - - - - Dump Truck 84.0 40 1 80.0 75.2 1 80.0 75.2 1 80.0 75.2 1 80.0 75.2 Excavator 85.0 40 - - - - - - - - - - - - Flat Bed Truck 84.0 40 1 80.0 75.2 1 80.0 75.2 1 80.0 75.2 1 80.0 75.2 Grader 85.0 40 - - - 1 81.0 76.2 - - - - - - Loader 80.0 40 - - - - - - 1 76.0 71.2 - - - Paver 85.0 50 - - - 1 82.0 77.2 - - - 1 82.0 77.2 Roller 85.0 20 - - - 1 78.0 73.2 1 78.0 73.2 - - - Scraper 85.0 40 - - - - - - - - - - - - Slurry Trenching Machine 82.0 50 - - - - - - - - - - - - Tractor 84.0 40 - - - - - - - - - - - - รวม 4 85.6 80.8 5 87.4 82.6 7 90.4 85.6 5 87.3 82.5 กรมทางหลวงชนบท 4-142 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งการคิดคำนวณโดยอ้างอิงฐานข้อมูลดังกล่าว จะสามารถใช้ในการคิดคำนวณค่าของ ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) ของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือ ที่ระยะต่างๆ ได้ โดยในแบบจำลอง RCNM จะมี การใช้สมการหลักของการคำนวณที่สามารถแจกแจงได้ ดังนี้ Lmax (Cal) = Lmax (Database) – 20log10(D/50) – Shielding เมื่อ Lmax (Cal) ่ ด้จากการคำนวณ คือ ระดับเสียงสูงสุดทีไ Lmax (Database) คือ ฐานข้อมูลของระดับเสียงสูงสุดของเครื่องจักรกลอุปกรณ์ และเครื่องมือที่ระยะ 15 เมตร (50 ฟุต) D คือ ระยะห่างระหว่างเครื่องจักรขณะมีกิจกรรมถึงจุดผู้รับเสียง (Receptor) ที่ใช้เป็น ตัวแทนพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม และตัวแทนจุดสังเกตุคุณภาพทางสิ่งแวดล้อม Shielding คือ ค่าการลดทอนเสียงโดยแนวกันเสียง (Insertion Loss, ้ แนวกันเสียง กำหนดให้ IL) โดยในกรณีที่ไม่มีการติดตัง ค่านี้เป็นศูนย์ โดยค่าระดับเสียงสูงสุดที่ได้จากการคำนวณ (Lmax (Cal)) จากสมการดังกล่าว จะถูกนำไป เป็นค่าระดับเสียงสูงสุดที่จะเกิดขึ้นของเครื่องจักรแต่ละชนิด ตามแต่ละช่วงระยะห่างระหว่า งเครื่องจักรขณะมี กิจกรรมถึงตำแหน่งพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมและตัวแทนจุดสังเกตคุณภาพทางสิ่งแวดล้อม โดยเมื่อ จะ ต้องการรวมความดังเสียงสูงสุดของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือหลายชนิดที่ใช้งาน เพื่อระบุถึงลักษณะของ กิจกรรมการก่อสร้างจะมีการใช้สมการหลักของการคำนวณเพื่อหาค่าระดับเสียงสูงสุดที่ได้จากการคำนวณรวม (Total Lmax) ที่สามารถแจกแจงได้ ดังนี้ Total Lmax = Maximum among individual equipment Lmax values เมื่อ Total Lmax คือ ระดับเสียงสูงสุดทีไ ่ ด้จากการคำนวณรวม Maximum among individual equipment Lmax values คือ ค่า ระดับเสียงสูงสุดที่ได้ จากการคำนวณ (Lmax (Cal)) ที่สูงสุดในกลุ่มของระดับเสียงสูงสุดที่ได้ จากการคำนวณ ( Lmax) ของเครื่องจักรชนิดต่างๆ โดยค่า ระดับเสียง สูงสุดที่ได้จากการคำนวณรวมนี้ จะถูกนำมาใช้เป็นตัวแทนระดับเสียง สูงสุดที่เกิดขึ้นในกิจกรรมการก่อสร้างที่ระยะต่างๆ กัน เมื่อสามารถทำการหาค่าระดับเสียงสูงสุดที่ได้จากการคำนวณ (Lmax (Cal)) ของเครื่องจักรกล อุปกรณ์และเครื่องมือแต่ละชนิดที่ใช้งานในกิจกรรมการก่อสร้างได้แล้ว การคำนวณระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) ของ เครื่องจักรแต่ละชนิด (โดยในที่นี้ ระดับเสียงเฉลี่ย จะหมายถึง ระดับเสียงเฉลี่ย ในช่วงเวลาการทำงานของ เครื่องจักร) จะสามารถคำนวณได้จากสมการ ดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-143 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Leq = Lmax (Cal) + 10log10(U.F.% / 100) เมื่อ Leq คือ ระดับเสียงเฉลี่ยของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือแต่ละชนิด Lmax (Cal) คือ ระดับเสียงสูงสุดทีไ่ ด้จากการคำนวณ U.F.% (Usage Factor) คือ สัดส่วนเวลาของการใช้งานเครื่องจักรที่เต็มกำลังเทียบ กับช่วงระยะเวลาของการทำงานของเครื่องจักร ซึ่งค่าดังกล่าวมีค่าปกติ (Default) ที่อ้างอิงจากฐานข้อมูลของระดับเสียงสูงสุดของเครื่องจักรกล อุปกรณ์และเครื่องมือที่ระยะ 15 เมตร (50 ฟุต) (Construction Noise Control Specification 721.560) โดยระดับเสียงเฉลี่ย ของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือแต่ละชนิด ( Leq) ที่ได้จาก สมการข้างต้นดังกล่าว จะเป็นค่า ระดับเสียงเฉลี่ยของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือแต่ละชนิด โดยเมื่อจะ ต้องการรวมค่าดังกล่ าว เพื่อทำการหาระดับเสียงเฉลี่ยของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือทั้งหมดที่ใช้งาน ในกิจกรรมการก่อสร้าง (Total Leq) จะสามารถคำนวณได้จากสมการที่สามารถแจกแจงได้ ดังนี้ Total Leq = 10log10(SUM (individual Leq3)) เมื่อ Total Leq คือ ระดับเสียงเฉลี่ยรวมของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือ ทั้งหมดที่ใช้งานในกิจกรรมการก่อสร้าง Leq คือ ระดับเสียงเฉลี่ยของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือแต่ละชนิด ซึ่งค่า ระดับเสียงเฉลี่ยรวมของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือทั้งหมดที่ใช้งานใน กิจกรรมการก่อสร้าง (Total Leq) จะถูกนำมาใช้เป็นตัวแทนของระดับเสียงเฉลี่ยรวม ในช่วงกิจกรรมการก่อสร้าง ของโครงการ โดยจะพิจารณาระดับเสียงเฉลี่ยที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมด้วยเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือ แต่ละชนิด ที่เป็นไปตามลักษณะของกิจกรรมการก่อสร้างของโครงการประเภทต่างๆ ในรูปแบบที่เครื่องจั กรกล อุปกรณ์และเครื่องมือดังกล่าว จะต้องทำงานแบบพร้อมกันและผลของระดับเสียงเฉลี่ย ( Leq) จะเป็นไปตาม ระยะห่างระหว่างเครื่องจักรขณะมีกิจกรรมถึงตำแหน่งพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมและตัวแทนจุดสังเกตคุณภาพ ทางสิ่งแวดล้อม ตามที่ได้กำหนดโดยอ้างอิงจากลักษณะของพื้นที่โครงการ อย่างไรก็ตาม ระดับเสียงเฉลี่ยรวม ในช่วงกิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ ที่ได้จากการคาดการณ์จากแบบจำลอง RCNM สามารถทำการปรับแต่ง ผลของระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) ให้มีความละเอียดมากขึ้น เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการเปรียบเทียบกับระดับเสียง เฉลี่ยที่ 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) ตามกำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ซึ่งจะสามารถคำนวณได้จากสมการ ที่สามารถแจกแจงได้ ดังนี้ Leq 24 hr = Total Leq + 10log10(T/24) เมื่อ Leq 24 hr คือ ระดับเสียงเฉลี่ยที่ 24 ชั่วโมง Total Leq คือ ระดับเสียงเฉลี่ยรวมของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือทั้งหมด ที่ใช้งานในกิจกรรมการก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 4-144 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม T คือ ระยะเวลาเฉลี่ยของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือทั้งหมดที่ใช้ งานในกิจกรรมการก่อสร้าง โดยในกรณีการประเมินผลกระทบด้าน คุณภาพเสียงจากกิจกรรมการก่อสร้าง กำหนดให้ค่านี้เป็น 8 เพื่อ ใช้เป็นตัวแทนช่วงระยะเวลาการทำงานในแต่ละวันที่ประมาณชั่วโมง ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จะถูกนำมาใช้เป็นตัวแทนของระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ที่ตำแหน่งพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมและตัวแทนจุดสังเกตคุณภาพทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะได้รับในช่วงที่มีการ ก่อสร้างของโครงการ โดยผลกระทบของระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จะเป็นไปตามระยะห่างระหว่างเครื่องจักร ขณะมีกิจกรรมถึงตำแหน่งพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมและตั วแทนจุดสังเกตคุณภาพทางสิ่งแวดล้อม ตามที่ได้ กำหนดโดยอ้างอิงจากลักษณะของพื้นที่โครงการ ในส่วนของการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพเสียงจากกิจกรรม การก่อสร้างของโครงการ นอกจากจะใช้การวิเคราะห์จากแบบจำลอง RCNM โดยอ้างอิงสมการพื้นฐานดังที่ได้ กล่าวมาข้างต้นทั้งหมดแล้ว ยังต้องใช้ข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่อการนำเข้าแบบจำลอง RCNM คือ การระบุลักษณะ กิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ และกลุ่มของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือ ตามประเภทของกิจกรรมการ ก่อสร้าง ซึ่งในส่วนของลักษณะกิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ สามารถที่จะแบ่งตามลักษณะงาน โดยทำการ อ้างอิงจากฐานข้อมูล 2011, National Emissions Inventory Data (NEI) ของสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ (U.S. Environmental Protection Agency; US EPA) ในปี 2012 โดยฐานข้อมูลดังกล่าวเป็นการรวบรวมข้อมูล ลักษณะของเครื่องจักรและลักษณะของกิจกรรมที่ใช้ในการก่อ สร้างที่รูปแบบของกิจกรรมต่างๆ โดยฐานข้อมูล NEI ดังกล่าวนี้ ได้ถูกนำไปใช้เป็นฐานข้อมูล (SCC Data Files) ของฐานข้อมูลที่จัดทำในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งรวม ไปถึ ง MOVES ( Motor Vehicle Emission Simulator) , NMIM ( National Mobile Inventory Model) และ NONROAD Inventory Model ฐานข้อมูลที่จะใช้ในการประเมินผลกระทบด้านเสียงได้ อ้างอิงจาก NONROAD Inventory Model ที่อ้างอิงจาก International Emission Inventory (EPA-420-F-09-020) โดยสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อม สหรัฐ (US EPA) ในปี 2012 ซึ่งในส่วนของการประเมินผลกระทบด้านเสียง จะนำข้อมูลลักษณะของเครื่องจักร และกิจกรรมที่ใช้ในการก่อสร้างมาใช้ในการอ้างอิง ชนิดและประเภทของเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือที่ อาจจะมีการนำมาใช้งานในช่วงกิจกรรมการก่อสร้าง โดยมีการกำหนดลักษณะงานของกิจกรรมการก่อสร้า งของ โครงการ จากกิจกรรมการก่อสร้างในประเภท Service Road เพื่อใช้เป็นตัวแทนของกิจกรรมการก่อสร้างเส้นทาง จราจร โดยได้มีการเพิ่มเติมข้อมูลของกลุ่มงาน Concrete Foundations และกลุ่มงาน Structural Concrete Frame เข้ามาเพิ่มเติมเพื่อใช้เป็นตัวแทนของกิจกรรมการก่อสร้างงานฐานราก (Foundations) ของโครงสร้างฐาน รากและโครงสร้างคอนกรีตของทางแยกต่างระดับและสะพาน แสดงดังตารางที่ 4.4.6-3 กรมทางหลวงชนบท 4-145 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-3 ฐานข้อมูลของลักษณะงานของกิจกรรมการก่อสร้างและชนิดและประเภทของเครื่องจักรกล อุปกรณ์และเครื่องมือในช่วงกิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ ลักษณะกิจกรรมการ ประเภทของกิจกรรม เครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือ ค่าแรงม้าเฉลี่ย ก่อสร้างของโครงการ การก่อสร้าง (Activity) (Equipment) (hp) (Construction Type) Service Road Asphalt Placement Asphalt Paver 175 Dump Truck 600 Other General Equipment 175 Pickup Truck 600 Roller 100 Skid Steer Loader 75 Surfacing Equipment (Grooving) 25 Clearing and Grubbing Chain Saw 11 Chipper/Stump Grinder 100 Pickup Truck 600 Drainage 24-inch SICPP Dozer 175 Dump Truck 600 Excavator 175 Loader 175 Other General Equipment 175 Pickup Truck 600 Roller 100 Drainage 6-inch Dump Truck 600 Perforated Underdrain Loader 175 Other General Equipment 175 Pickup Truck 600 Tractors/Loader/Backhoe 100 Dust Control Water Truck 600 Excavation (Borrow) Dozer 175 Dump Truck (12 cy) 600 Pickup Truck 600 Roller 100 Excavation (Cut to Fill) Dozer 175 Dump Truck (12 cy) 600 Excavator 175 Pickup Truck 600 Roller 100 Scraper 600 กรมทางหลวงชนบท 4-146 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-3 ฐานข้อมูลของลักษณะงานของกิจกรรมการก่อสร้างและชนิดและประเภทของเครื่องจักรกล อุปกรณ์และเครื่องมือในช่วงกิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ (ต่อ) ลักษณะกิจกรรมการ ประเภทของกิจกรรม เครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือ ค่าแรงม้าเฉลี่ย ก่อสร้างของโครงการ การก่อสร้าง (Activity) (Equipment) (hp) (Construction Type) Excavation Dozer 175 (Topsoil Stripping) Fencing Concrete Truck 600 Dump Truck 600 Other General Equipment 175 Pickup Truck 600 Skid Steer Loader 75 Tractors/Loader/Backhoe 100 Grading Dozer 175 Grader 300 Roller 100 Hydroseeding Hydroseeder 600 Off-Road Truck 600 Markings Flatbed Truck 600 Other General Equipment 175 Pickup Truck 600 Sidewalks Concrete Truck 600 Dump Truck 600 Pickup Truck 600 Tractors/Loader/Backhoe 100 Vibratory Compactor 6 Soil Erosion/ Sediment Other General Equipment 175 Control Pickup Truck 600 Pumps 11 Tractors/Loader/Backhoe 100 Street Lighting Dump Truck 600 Loader 175 Other General Equipment 175 Pickup Truck 600 Skid Steer Loader 75 Tractors/Loader/Backhoe 100 Subbase Placement Dozer 175 Dump Truck (12 cy) 600 Pickup Truck 600 Roller 100 กรมทางหลวงชนบท 4-147 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-3 ฐานข้อมูลของลักษณะงานของกิจกรรมการก่อสร้างและชนิดและประเภทของเครื่องจักรกล อุปกรณ์และเครื่องมือในช่วงกิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ (ต่อ) ลักษณะกิจกรรมการ ประเภทของกิจกรรม เครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือ ค่าแรงม้าเฉลี่ย ก่อสร้างของโครงการ การก่อสร้าง (Activity) (Equipment) (hp) (Construction Type) Topsoil Placement Dozer 175 Dump Truck 600 Pickup Truck 600 Tree Planting Flatbed Truck 600 Other General Equipment 175 Pickup Truck 600 Tractors/Loader/Backhoe 100 Concrete Foundations Backhoe 100 Caisson Drilling Rig 175 Concrete Pump 11 Concrete Ready-Mix Trucks 600 Excavator 175 Fork Truck 100 Pile Driver 175 Tool Truck 600 Tractor Trailer- Material Delivery 600 Structural Concrete 90 Ton Crane Supplemental Hoisting 300 Frame Concrete Truck Pump 11 Concrete Truck 600 Fork Truck 100 Tool Truck 600 Tower Crane 300 Tractor Trailers- Rebar Deliveries 600 Trowel Machine 600 ที่มา : International Emission Inventory, US EPA 2009 การประเมินผลกระทบด้านเสียง การดำเนินกิจกรรมงานเตรียมพื้นที่สำหรับก่อสร้าง งานดิน/หิน จากยานพาหนะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในการก่อสร้าง งานเตรียมวัสดุก่อสร้างและงานขนย้าย งานโครงสร้างสะพาน งานระบบระบายน้ำ จำเป็นต้องใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ ซึ่งจะก่อให้เกิด เสียงดังในขณะดำเนินกิจกรรมได้ ซึ่งในการประเมิ น ผลกระทบด้านเสียงต่อพื้นที่อ่อนไหวทางด้านสิ่งแวดล้อม ดังนี้ • กิจกรรมเตรียมพื้นที่โครงการ การดำเนินงานก่อสร้างโครงการโดยใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ การอ้างอิงข้อมูลของรูปแบบเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือเตรียมพื้นที่โครงการ โดยใช้แบบจำลอง RCNM พบว่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 57.9 – 76.7 เดซิเบล (เอ) ซึ่งเกินค่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) ส่งผลกระทบต่อพื้นที่อ่อนไหวจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) และกุโบร์ บ้านทุ่งโต๊ะหยุม จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง แสดงดังตารางที่ 4.4.6-4 กรมทางหลวงชนบท 4-148 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม • กิ จ กรรมงานผิ ว ทางและชั ้ น ทางโครงการ การดำเนิ น งานก่ อ สร้ า งโครงการโดยใช้ เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ การอ้างอิงข้อมูลของรูปแบบเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมืองานผิวทางและชั้นทาง โครงการ โดยใช้แบบจำลอง RCNM พบว่า ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 58.2 – 78.4 เดซิเบล (เอ) ซึ่ง เกินค่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) ส่งผลกระทบต่อพื้นที่อ่อนไหวจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) และกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง แสดงดังตารางที่ 4.4.6-5 • งานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ การดำเนินงานก่อสร้างโครงการโดยใช้ เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ การอ้างอิงข้อมูลของรูปแบบเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือก่อสร้างฐานรากทางแยก ต่างระดับและสะพานโครงการ โดยใช้แบบจำลอง RCNM พบว่ า ระดั บเสี ยงเฉลี่ย 24 ชั่ ว โมง มี ค่ า อยู่ในช่วง 58.3 – 81.7 เดซิเบล (เอ) ซึ่งเกิน ค่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) ส่งผลกระทบต่อพื้นที่อ่อนไหว จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) และกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปาน กลาง แสดงดังตารางที่ 4.4.6-6 • งานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการ การดำเนินงานก่อสร้างโครงการโดยใช้ เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ การอ้างอิงข้อมูลของรูปแบบเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือก่อสร้างฐานรากทางแยก ต่างระดับและสะพานโครงการ โดยใช้แบบจำลอง RCNM พบว่ า ระดั บเสี ยงเฉลี่ย 24 ชั่ ว โมง มี ค่ า อยู่ในช่วง 57.9 – 78.3 เดซิเบล(เอ) ซึ่งเกิน ค่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล(เอ)) ส่งผลกระทบต่อพื้นที่อ่อนไหว จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) และกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปาน กลาง แสดงดังตารางที่ 4.4.6-7 • กิจกรรมการขนส่งวัสดุก ่อสร้าง กิจกรรมการขนส่งวัสดุก่อสร้างของโครงการโดยใช้ รถบรรทุกขนาดใหญ่ จะมีตัวแปรที่สำคัญ คือ จำนวนการขนส่งของรถบรรทุกขนาดใหญ่ ที่จะเป็นปัจจัยหลักที่ ก่อให้เกิดผลกระทบด้านเสียงดัง ในการประเมินผลกระทบด้านระดับเสียง จำนวนของรถบรรทุกขนาดใหญ่ ที่ 10 คัน/ชั่วโมง จะมีการอ้างอิงข้อมูลจากรายงาน Noise Prediction for Highways in Thailand ของ Pamanikabud P และ Vivitjinda P. ในปี 2002 ซึ่งได้ทำการคาดการณ์ผลกระทบด้านระดับเสียงเฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากประเภทของ ยานพาหนะและ อั ต ราความเร็ ว ของยานพาหนะ แสดงดั ง ตารางที ่ 4.4.6-8 โดยระบุ อั ต ราความเร็ ว ของ ยานพาหนะของแบบรถบรรทุกขนาดใหญ่ (Heavy Truck; HT) ให้มีค่าอัตราความเร็วไม่เกิน 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง ซึ่งในส่วนของอัตราความเร็วของยานพาหนะจะอ้างอิงข้อมูลตามพระราชบัญญัติจราจรทางบกฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2551) แสดงดังตารางที่ 4.4.6-9 โดยการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ จะใช้การอ้างอิงข้อมูล เบื้องต้นของปริมาณจราจรของยานพาหนะในกิ จ กรรมการเคลื่ อ นย้ า ยและการขนส่ ง วั ส ดุ ที่ ร ะบุ ถึ ง ปริ ม าณ จราจรของยานพาหนะในกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ (รถบรรทุกขนส่ง แบบน้ำหนักมากกว่า 20 ตันขึ้นไป) เมื่อคิดรวมไป-กลับ ที่ 10 คัน/ชั่วโมง กรมทางหลวงชนบท 4-149 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-4 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่โครงการ ระยะห่าง ผลกระทบด้านระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) จากจุดกึ่งกลาง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ (เดซิเบล (เอ)) ลำดับ พื้นที่อ่อนไหว ประเภท แนวโครงการ Leq 24 hr Leq 8 hr Leq 24 hr Lmax จาก Leq 8 hr Leq 24 hr (เมตร) พื้นฐาน จากแบบจำลอง จากแบบจำลอง แบบจำลอง รวมค่าพื้นฐาน รวมค่าพื้นฐาน 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 61.1 63.3 58.5 62.7 65.3 63.0 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 60.6 81.4 76.6 80.7 81.4 76.7 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 57.5 78.7 73.9 78.0 78.7 74.0 4 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 57.5 52.6 47.8 52.0 58.7 57.9 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 57.9 49.6 44.8 49.0 58.5 58.1 ค่ามาตรฐาน 1 70.0 - 70.0 115.0 - 70.0 ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2540 ตารางที่ 4.4.6-5 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทางโครงการ ระยะห่าง ผลกระทบด้านระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) จากจุดกึ่งกลาง จากกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทาง (เดซิเบล (เอ)) ลำดับ พื้นที่อ่อนไหว ประเภท แนวโครงการ Leq 24 hr Leq 8 hr Leq 24 hr Lmax จาก Leq 8 hr Leq 24 hr (เมตร) พื้นฐาน จากแบบจำลอง จากแบบจำลอง แบบจำลอง รวมค่าพื้นฐาน รวมค่าพื้นฐาน 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 61.1 65.1 60.3 62.7 66.6 63.7 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 60.6 83.1 78.3 80.7 83.1 78.4 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 57.5 80.4 75.6 78.0 80.4 75.7 4 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 57.5 54.4 49.6 52.0 59.2 58.2 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 57.9 51.4 46.6 49.0 58.8 58.2 ค่ามาตรฐาน 1 70.0 - 70.0 115.0 - 70.0 ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2540 กรมทางหลวงชนบท 4-150 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-6 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ ระยะห่าง ่ โมง (Leq 24 hr) และระดับเสียงสูงสุดรวม (Lmax) ผลกระทบด้านระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชัว ประเภท จากจุดกึ่งกลาง จากกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่าง (เดซิเบล (เอ)) ลำดับ พื้นที่อ่อนไหว ประเภท เสาเข็ม แนวฐานราก Leq 24 hr Leq 8 hr จาก Leq 24 hr จาก Lmax จาก Leq 8 hr Leq 24 hr (เมตร) พื้นฐาน แบบจำลอง แบบจำลอง แบบจำลอง รวมกับค่าพื้นฐาน รวมกับค่าพื้นฐาน 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน เสาเข็มเจาะ 393 61.1 62.6 57.8 66.8 64.9 62.8 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน เสาเข็มเจาะ 25 60.6 86.5 81.7 90.7 86.5 81.7 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน เสาเข็มเจาะ 34 57.5 83.8 79.0 88.0 83.8 79.0 4 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน เสาเข็มเจาะ 880 57.5 55.6 50.8 59.8 59.7 58.3 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน เสาเข็มเจาะ 1,166 57.9 53.1 48.3 57.3 59.1 58.4 ค่ามาตรฐาน 1 70.0 - 70.0 115.0 - 70.0 ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2540 ตารางที่ 4.4.6-7 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการ ผลกระทบด้านระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) และระดับเสียงสูงสุดรวม (Lmax) ระยะห่าง จากกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบน (เดซิเบล (เอ)) ประเภท จากจุดกึ่งกลาง ลำดับ พื้นที่อ่อนไหว ประเภท Leq 24 Leq 24 hr Leq 8 hr เสาเข็ม แนวฐานราก Leq 8 hr จาก Lmax จาก Leq 24 hr hr จาก รวมกับค่า (เมตร) แบบจำลอง แบบจำลอง รวมกับค่าพื้นฐาน พื้นฐาน แบบจำลอง พื้นฐาน 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน เสาเข็มเจาะ 393 61.1 59.1 54.3 56.8 63.2 61.9 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน เสาเข็มเจาะ 25 60.6 83.0 78.2 80.7 83.0 78.3 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน เสาเข็มเจาะ 34 57.5 80.3 75.5 78.0 80.3 75.6 4 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน เสาเข็มเจาะ 880 57.5 52.1 47.3 49.8 58.6 57.9 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน เสาเข็มเจาะ 1,166 57.9 49.6 44.8 47.3 58.5 58.1 ค่ามาตรฐาน 1 70.0 - 70.0 115.0 - 70.0 ที่มา : การวิเคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2540 กรมทางหลวงชนบท 4-151 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-8 ระดับเสียงจากยานพาหนะที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียงและอัตราความเร็วของยานพาหนะ ระดับเสียงเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ประเภทยานพาหนะ จากยานพาหนะประเภทต่างๆ1 ที่อัตราความเร็ว ไม่เกิน 60 (Type of Vehicle) (Equations Estimated กิโลเมตร/ชั่วโมง (เดซิเบล(เอ)) Equivalent Noise Level) (Equivalent Noise Level, dB(A)) รถยนต์นั่งส่วนบุคคล (Automobile) 63.07 + 0.07(S) - รถบรรทุกขนาดเล็ก (Light Truck) 63.78 + 0.12(S) - รถบรรทุกขนาดกลาง (Medium Truck) 72.57 - 0.01(S) - รถบรรทุกขนาดใหญ่ (Heavy Truck) 72.35 + 0.07(S) 76.55 รถโดยสาร (Bus) 68.18 + 0.10(S) - รถบรรทุกกึ่งพวง/รถบรรทุกพ่วง 67.09 + 0.14(S) 75.49 (Semi-Trailer and Full-Trailer) รถจักรยานยนต์และสามล้อเครื่อง 65.93 + 0.12(S) - (Motorcycle) ที่มา : Noise Prediction for Highways in Thailand, Pamanikabud P and Vivitjinda P 2002 หมายเหตุ : 1 S อัตราความเร็วของยานพาหนะ (Vehicle Speed, Average Spot Speed) ตารางที่ 4.4.6-9 ประเภทของยานพาหนะและอัตราความเร็วของยานพาหนะ อัตราความเร็วของยานพาหนะ (กิโลเมตร/ชั่วโมง) ประเภทยานพาหนะ พื้นพื้นที่เขตกรุงเทพมหานคร, พื้นที่นอกเขตเทศบาล เขตเมืองพัทยา, หรือ เขตเทศบาล รถยนตนั่งไมเกิน 7 คน (Car<=7) 80 90 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน (Car>7) 80 90 รถโดยสารขนาดเล็ก (Light Bus) 60 80 รถโดยสารขนาดกลาง (Medium Bus) 60 80 รถโดยสารขนาดใหญ่ (Heavy Bus) 60 80 รถบรรทุกขนาดเล็ก 4 ล้อ (Light Truck) 60 80 รถบรรทุกขนาดกลาง 6 ล้อ (Medium Truck) 60 80 รถบรรทุกขนาดใหญ่ 10 ล้อ (Heavy Truck) 45 60 รถบรรทุกพ่วง (Full Trailer) 45 60 รถบรรทุกกึ่งพ่วง (Semi-Trailer) 45 60 จักรยานยนตและสามลอเครื่อง (Motorcycle) 80 90 ที่มา : อัตราความเร็วของยานพาหนะ, กระทรวงคมนาคม 2551 กรมทางหลวงชนบท 4-152 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในการประเมินผลกระทบด้านเสียงจากกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุก่อสร้างของ โครงการ จะมีการคาดการณ์ผลกระทบด้านเสียงโดยใช้แบบจำลอง SoundPLAN โดยจะมีการประเมินตามรูป สมการที่สามารถแจกแจงได้ ดังนี้ LAeq1h = ELi + Atraff(i) + Ad + As เมื่อ LAeq1h คือ ระดับเสียงเฉลี่ย 1 ชั่วโมงจากกิจกรรมของยานพาหนะ Eli คือ ระดับเสียงจากยานพาหนะประเภทต่างๆ โดยเริ่มที่ ประเภทที่ i Atraff(i) คือ ตัวแปรค่าอิทธิพลของปริมาณจราจรของยานพาหนะ และความเร็ว ของยานพาหนะประเภทต่างๆ โดยเริ่มที่ประเภทที่ i Ad คือ ตัวแปรค่าอิทธิพลของผลกระทบอันเนื่องมาจากระยะทางระหว่าง ตัวแทนพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมตามแนวเส้นทาง As คือ ตัวแปรค่าอิทธิพลของลักษณะการลดทอนจากพื้นดินและการลดทอน ต่างๆ ระหว่างแนวเส้นทางจราจรและพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม ตามแนวเส้นทาง i คือ ประเภทของยานพาหนะ ค่าระดับเสียงจากยานพาหนะประเภทต่างๆ ( Eli) สามารถคำนวณได้จากข้อมูลปริมาณจราจร ของยานพาหนะแต่ ล ะประเภท ในรู ป แบบของสั ด ส่ ว นของประเภทยานพาหนะ ดั ง นั ้ น ผล ระดั บ เสี ย งจาก ยานพาหนะประเภทต่างๆ จะมีสมการที่สามารถแจกแจงได้ ดังนี้ เมื่อ EA(Si) คือ ระดับเสียงจากยานพาหนะที่ความเร็วของยานพาหนะ (S) ประเภท ต่างๆ โดยเริ่มที่ประเภทที่ i Lemis(Sif) คือ ระดับความดังของเสียง หรือ ระดับเสียงรับสัมผัส (Sound Exposure Level; SEL) จากยานพาหนะที่ความเร็วของยานพาหนะ (S) ประเภทต่างๆ โดยเริ่มที่ประเภทที่ i f คือ ความถี่ของคลื่นเสียง (Hertz of Frequency; Hz) Si คือ อัตราความเร็วของยานพาหนะประเภทต่างๆ โดยเริ่มที่ ประเภทที่ i i คือ ประเภทของยานพาหนะ กรมทางหลวงชนบท 4-153 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ส่วนค่าตัวแปรค่าอิทธิพลของปริมาณจราจรของยานพาหนะและความเร็วของยานพาหนะประเภท ต่างๆ (Atraff (i)) จะมีสมการที่สามารถแจกแจงได้ ดังนี้ (Atraff (i)) = Vi  10xLog10   − 13.2dB  Si  เมื่อ Atraff (i) คือ ตัวแปรค่าอิทธิพลของปริมาณจราจรของยานพาหนะและความเร็ว ของยานพาหนะประเภทต่างๆ โดยเริ่มที่ประเภทที่ i Vi คือ ปริมาณจราจรของยานพาหนะประเภทต่างๆ โดยเริ่มที่ประเภทที่ i Si คือ อัตราความเร็วของยานพาหนะประเภทต่างๆ โดยเริ่มที่ประเภทที่ i โดยตัวแปรค่าอิทธิพลของผลกระทบอันเนื่องมาจากระยะทางระหว่างตัวแทนพื้นที่อ่อนไหวทาง สิ่งแวดล้อมและตัวแทนจุดสังเกตคุณภาพทางสิ่งแวดล้อม ถึงจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของแนวเส้นทางจราจร (Ad) จะมีสมการที่อาศัยพื้นฐานของระยะทางระหว่างตำแหน่ง ตัวแทนพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมและตัวแทนจุดสังเกต คุณภาพทางสิ่งแวดล้อมถึงจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของแนวเส้นทางจราจรทั้งสองด้าน โดยใช้สมการสามารถ แจกแจงได้ ดังนี้  d −d  Ad = 10 xLog10  2 1  + 12 dB  d 2 d1  เมื่อ Ad คือ ตัวแปรค่าอิทธิพลของผลกระทบอันเนื่องมาจากระยะทางระหว่างตัวแทน พื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมและตัวแทนจุดสังเกตคุณภาพทางสิ่งแวดล้อม ถึงจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของแนวเส้นทางจราจร d1, d2 คือ จุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของแนวเส้นทางจราจรทั้งสองด้าน ตัวแปรค่าอิทธิพลของลักษณะทางผ่านระหว่างจุดผู้รับเสียง ที่ใช้เป็นตัวแทนพื้นที่อ่อนไหวทาง สิ่งแวดล้อมและตัวแทนจุดสังเกตคุณภาพทางสิ่งแวดล้อม และแนวเส้นทางจราจรจะใช้สมการที่สามารถแจกแจงได้ ดังนี้ PTotal AS = 20 xLog10 Pfree− field เมื่อ As คือ ตัวแปรค่าอิทธิพลของลักษณะทางผ่านระหว่างจุดผู้รับเสียงที่ใช้เป็นตัวแทน พื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมและตัวแทนจุดสังเกตคุณภาพทางสิ่งแวดล้อม และแนวเส้นทางจราจร PTotal คือ แรงดันของเสียง (Sound Pressure) ทั้งหมดที่ตัวแทนพื้นที่อ่อนไหวทาง สิ่งแวดล้อมและตัวแทนจุดสังเกตคุณภาพทางสิ่งแวดล้อมได้รับจากส่วน ต่างๆ ของแนวเส้นทางจราจร กรมทางหลวงชนบท 4-154 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Pfree-field คือ แรงดั น ของเสี ย งที่ ตั ว แทนพื้ น ที่ อ่ อ นไหวทางสิ่ ง แวดล้ อมและตั ว แทน จุดสังเกตคุณภาพทางสิ่งแวดล้อม ได้รับจากส่วนต่างๆ ของแนวเส้นทาง จราจรเมื่อพื้นที่โดยรอบแนวเส้นทางจราจรไม่มีปัจจัยการกีดขวางจาก สภาพภูมิประเทศหรือสภาพในอุดมคติ ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมของยานพาหนะที่ได้จากการวิเคราะห์ โดยแบบจำลอง SoundPLAN จะถูกนำมาใช้เป็นตัวแทนของระดับเสียงเฉลี่ยจากกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ และ ระดับเสียงเฉลี่ยจากกิจกรรมการคมนาคมบนแนวเส้นทางโครงการ โดยพิจารณาบนสมมติฐานที่กำหนดให้ปริมาณ จราจรของยานพาหนะประเภทต่างๆ และอัตราความเร็วของยานพาหนะประเภทต่างๆ มีค่าคงที่ตลอดช่วงเวลา 24 ชั่วโมง และสามารถคำนวณได้จากสมการที่แจกแจงได้ ดังนี้ Leq 24 hr = LAeq1h + 10log10(T/24) เมื่อ Leq 24 hr คือ ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง LAeq 1 h คือ ระดับเสียงเฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมของยานพาหนะ T คือ ระยะเวลาเฉลี่ยของกิจกรรมของยานพาหนะของแนวเส้นทางจราจร การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ จะใช้การอ้างอิงข้อมูลเบื้องต้นของปริมาณ จราจรของยานพาหนะในกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ ที่ระบุถึงปริมาณจราจรของยานพาหนะ ในกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ (รถบรรทุกขนส่ง แบบน้ำหนักมากกว่า 20 ตันขึ้นไป) เมื่อคิดรวม ไป-กลับที่ 44 คัน/ชั่วโมง สำหรับการประเมินผลกระทบด้านระดับเสียงจากกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ โดยใช้แบบจำลอง SoundPLAN พบว่า ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) มีค่าอยู่ในช่วง 57.5 – 63.0 เดซิเบล (เอ) ซึ่งมีค่าไม่เกินค่ามาตรฐาน ตามกำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปที่กำหนดไว้ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ) จึงมี ผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.6-10 ตารางที่ 4.4.6-10 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมขนส่งวัสดุก่อสร้างโครงการ ผลกระทบด้านระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชัว ่ โมง (Leq 24 hr) จากกิจกรรม ระยะห่าง ่ โมง (เดซิเบล (เอ)) ขนส่งวั สดุก่อสร้ างโครงการ จานวน 44 คันต่อชัว ลาดับ ้ ที่อ่อนไหว พืน ประเภท ่ กลางแนว จากจุดกึง โครงการ (เมตร) Leq 24 hr Leq 24 hr จาก Leq 24 hr ้ ฐาน พืน แบบจาลอง ้ ฐาน รวมค่าพืน 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 61.1 40.7 61.1 2 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 60.6 59.3 63.0 3 กุโบร์บ้านทุง ่ โต๊ะหยุม สุสาน 34 57.5 57.6 60.6 4 หมู่ที่ 2 บ้านทุง ่ โต๊ะหยุม ชุมชน 683 57.5 26.9 57.5 5 มัสยิดบ้านทุง ่ โต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 57.9 28.6 57.9 1 ค่ามาตรฐาน 70.0 ่ รึกษา, 2564 ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทัว ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 ่ ไป, คณะกรรมการสิง กรมทางหลวงชนบท 4-155 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ การประเมินผลกระทบทางด้านเสียง โดยการใช้โปรแกรม Sound PLAN 7.2 เป็นซอฟต์แวร์ที่ มีความสามารถในการสร้างแบบจำลองทางคอมพิวเตอร์ในด้านมลพิษทางเสียงมลพิษทางอากาศ เสียงรบกวนจาก การจราจร เสียงดังในโรงงานอุตสาหกรรมและเสียงเครื่องบิน มีมาตรฐานมากกว่า 50 มาตรฐานที่ใช้ซอฟต์แวร์นี้ ในการคำนวณโดย SoundPLAN จะแสดงแบบจำลองในการแพร่ของมลพิษออกแบบ โดยบริษัท Braunstein + Berndt GmbH ประเทศเยอรมนี และมี SoundPLAN International LLC ประเทศสหรัฐอเมริกา พัฒนาอินเตอร์ เฟซระหว่างสำนักงานพัฒนามากกว่า 30 ประเทศในการจัดจำหน่ายระหว่างประเทศที่ช่วยกระจายและการ บำรุงรักษาซอฟต์แวร์ SoundPLAN บนพื้นฐานทั่วโลกและมีการเชื่อมต่อโมเดลให้ใช้งานร่วมกับซอฟต์ แวร์ Google Earth ในการใช้โปรแกรม SoundPLAN การประเมินผลกระทบด้านเสียงที่ต่อพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ตามผลการคาดการณ์ ปริมาณจราจรในช่วงปี พ.ศ. 2570–2590 (20 ปี) แสดงดัง ตารางที่ 4.4.6-11 ซึ่งได้ทำการรวบรวมข้อมูล เช่น แบบของอาคาร ปริมาณจราจร ผู้รับผลกระทบ แบบของตัวดูดซับเสียง เช่น ต้นไม้ยืนต้น และอัตราความเร็ว จากนั ้ นจึง ทำการสร้ างแบบจำลองโดยอาศั ยข้ อมูล จากแผนที่ ที ่ ได้ จากโปรแกรม Google earth เป็ น แผนที่ ฐานข้ อมู ล แบบอาคาร จากการเดิ น สำรวจข้ อมู ล ปริ ม าณและอั ต ราความเร็ ว พาหนะของโครงการ มาสร้ าง แบบจำลองเส้นเสียง (Grid noise map) ซึ่งผลที่ได้จะถูกนำมาวิเคราะห์และเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับ เสียงโดยทั่วไปของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2540 กำหนดค่ามาตรฐานระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมงไว้ที่ ไม่เกิน 70 เดซิเบล(เอ) โดยผลกระทบด้านระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ( Leq 24 hr) จากกิจกรรมคมนาคมบน ถนนโครงข่ายในพื้นที่ศึกษาโครงการ พบว่ามีค่าอยู่ในช่วง 57.6 – 70.7 เดซิเบล(เอ) ซึ่งเกินค่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล(เอ)) ส่งผลกระทบต่อพื้นที่อ่อนไหวจำนวน 1 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง แสดงดัง ตารางที่ 4.4.6-12 กรมทางหลวงชนบท 4-156 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-11 ผลการคาดการณ์ปริมาณจราจร กรณีมีโครงการ ตารางที่ 4.4.6-11 ผลการคาดการณ์ปริมาณจราจรกรณีมีโครงการของยานพาหนะแต่ละประเภท ปริ มาณจราจรของยานพาหนะกรณีมีโครงการ (คัน/วัน) ความเร็ วเฉลี่ ย ปี แนวเส้นทาง รถยนต์ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ปริ มาณจราจรรวม รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก รถบรรทุ ก ของยานพาหนะ คาดการณ์ โครงการ นัง ่ ส่วนบุคคล นัง ่ ส่วนบุคคล และ (คัน/วัน) ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พ่วง กึ่ งพวง (กิโลเมตร /ชั่วโมง) ไม่เกิน 7 คน เกิน 7 คน สามล้อเครื่ อง ไป ต .เกาะลันตาน้อย 1,438 988 337 5 0 0 732 101 11 0 1034 4,646 56.60 พ.ศ. 2570 ไป ต .เกาะกลาง 1,443 762 279 29 0 0 633 87 14 0 917 4,163 57.90 ไป ต .เกาะลันตาน้อย 1,642 1,128 385 5 0 0 835 116 13 0 1,168 5,292 56.20 พ.ศ. 2575 ไป ต .เกาะกลาง 1,647 870 318 33 0 0 723 99 16 0 1,036 4,742 56.40 ไป ต .เกาะลันตาน้อย 1,844 1,267 433 6 0 0 938 130 14 0 1,308 5,941 54.40 พ.ศ. 2580 ไป ต .เกาะกลาง 1,850 977 357 37 0 0 812 112 18 0 1,160 5,324 56.20 ไป ต .เกาะลันตาน้อย 2,043 1,404 479 7 0 0 1,040 144 16 0 1,439 6,572 54.80 พ.ศ. 2585 ไป ต .เกาะกลาง 2,050 1,082 396 41 0 0 900 124 20 0 1,276 5,889 54.90 ไป ต .เกาะลันตาน้อย 2,237 1,537 525 7 0 0 1,138 158 17 0 1,568 7,187 52.60 พ.ศ. 2590 ไป ต .เกาะกลาง 2,244 1,185 434 44 0 0 985 135 22 0 1,391 6,441 55.00 ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 4-157 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-12 ผลการประเมินผลกระทบด้านเสียงในระยะดำเนินการ ตารางที่ 4.4.6-12 ผลการประเมินผลกระทบด้านเสี ยงระยะดาเนินการกรณีมีโครงการ ระยะห่างจาก ผลกระทบด้านระดับเสี ยงเฉลี่ ย 24 ชั่วโมง (Leq24hr) (เดซิเบล(เอ)) ระยะดาเนินการกรณีมีโครงการ จุดกึ่งกลาง ลาดับ พืน ้ ที่อ่อนไหว ประเภท ค่า ค่าจากแบบจาลอง ค่าจากแบบจาลองรวมค่าพื้นฐาน แนวโครงการ (เมตร) พื้นฐาน พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 พ.ศ. 2580 พ.ศ. 2585 พ.ศ. 2590 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 พ.ศ. 2580 พ.ศ. 2585 พ.ศ. 2590 1 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 61.1 50.6 51.1 51.4 51.8 52.0 61.5 61.5 61.5 61.6 61.6 2 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 60.6 68.9 69.3 69.7 70.0 70.2 69.5 69.8 70.2 70.5 70.7 3 หมู่ ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 57.5 38.3 38.8 39.1 39.5 39.8 57.6 57.6 57.6 57.6 57.6 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 57.9 38.0 38.4 38.8 39.1 39.4 57.9 57.9 58.0 58.0 58.0 1 ค่ามาตรฐาน 70.0 ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2540 กรมทางหลวงชนบท 4-158 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (3) มาตรการในการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการป้องกันเพื่อลดผลกระทบเรื่องเสียงจากเครื่องจักรกล/อุปกรณ์และเครื่องมือจาก กิจกรรมการก่อสร้างถนนระดับดินของโครงการ และผลกระทบจากการก่อสร้างฐานรากสะพาน กำแพงกันเสียง จะมีความสามารถในการลดทอนระดับความดั งของเสียง ( Sound Pressure Level; SPL หรือ Lp) เนื่องจาก กำแพงกันเสียง ทำหน้าที่เป็นตัวขวางกั้น ( Shielding) ก่อนที่ระดับความดันของเสียงจะเข้าถึงจุดพื้นที่รับเสียง (Receiver) สำหรับการคาดการณ์ผลกระทบด้านระดับเสี ยงในกรณีมีการการติดตั้งกำแพงกันเสียง จะให้ความ สนใจไปที่ ข้ อมู ล คุ ณ สมบั ติ ของรู ป แบบชนิ ด และขนาดความยาว ของกำแพงกั น เสี ย ง โดยสำหรั บ ข้ อมู ล คุณสมบัติของวัสดุกำแพงกันเสียง จะทำการพิจารณาข้อมูลอ้างอิงค่าการสูญเสียระดับกำลังเสียงขณะส่งผ่าน (Transmission Loss; TL) และ คาสัมประสิทธิ์การลดลงของเสียง ( Noise Reduction Coefficient; NRC ) การสูญเสียระดับกำลังเสียงขณะส่งผ่าน ( TL) ดังกล่าว จะมีค่าที่แตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับวัสดุ แต่ละประเภท ซึ่งจากรายงาน Noise Barrier Design Handbook ของกรมทางหลวงของสหรัฐ ( FHWA) ในปี 2006 ได้ระบุถึง ช่วงของค่าการสูญเสียระดับกำลังเสียงขณะส่งผ่านของวัสดุประเภทต่างๆที่เหมาะสมสำหรับ กำแพงกันเสียงในรูปแบบการถ่วงน้ำหนักแบบ A (A-Weighting Corrected) โดยพบว่าวัสดุที่ช่วงค่าการสูญเสีย ระดับกำลังเสียงขณะส่งผ่าน ( TL) ตั้งแต่ 25 เดซิเบล(เอ) ขึ้นไป จะเป็ นวัสดุที่มีความเหมาะสมสำหรับกำแพงกัน เสียง โดยค่าการสูญเสียระดับกำลังเสียงขณะส่งผ่านของวัสดุประเภทต่างๆที่เหมาะสมสำหรับกำแพงกันเสียง แสดงดังตารางที่ 4.4.6-13 การลดทอนของระดับเสียงจากกำแพงกันเสียงแบบแข็งในรูปแบบยาวเสมือนไม่สิ้นสุดแบบ สูตรของมาเอกาวาในรูปแบบคลื่นทรงกลมจากแหล่งกำเนิดแบบจุดตำแหน่ง หรือสูตรของมาเอกาวาสำหรับ รูปแบบคลื่นทรงกลม (Maekawa Formulas for Spherical Field) ในกรณีจำนวนเฟรสเนล (Fresnel Number) ที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 1 สามารถแจกแจงได้ดังนี้ L = 10 log 10 (3 + 20 N ) เมื่อ ΔL คือ ค่าการลดทอนของระดับเสียง ที่แต่ละความถี่เสียงศูนย์กลาง ( Insertion Loss at Octave Band Centre Frequencies) N คือ จำนวนเฟรสเนล (Fresnel Number) กรมทางหลวงชนบท 4-159 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-13 ข้อมูลอ้างอิงของค่าการสูญเสียระดับกำลังเสียงขณะส่งผ่าน ( TL) ของวัสดุประเภทต่างๆ ค่าการสูญเสียระดับ ความหนา ความหนาแน่น กำลังเสียงขณะส่งผ่าน ชนิดและวัสดุของกำแพงกันเสียง (มิลลิเมตร) (กิโลกรัม/ ตาราง (เดซิเบล(เอ)) (Material) (Thickness; เมตร) (Weight; (Transmission Loss; mm) kg/sq.m) dB(A)) โพลีคาร์บอเนต (Polycarbonate) 8-14 10 30 อะคริลิค (Acrylic, PMMA) 15 18 32 คอนกรีตบล็อก (Concrete Block Light Weight) 200 151 34 คอนกรีตหนาแน่น (Dense Concrete) 100 244 40 คอนกรีตมวลเบา (Light Concrete) 150 244 39 คอนกรีตมวลเบา (Light Concrete) 100 161 36 อิฐ (Brick) 150 288 40 เหล็กกล้า (Steel, 18 ga) 1.27 9.8 25 เหล็กกล้า (Steel, 20 ga) 0.95 7.3 22 เหล็กกล้า (Steel, 22 ga) 0.79 6.1 20 เหล็กกล้า (Steel, 24 ga) 0.64 4. 9 18 แผ่นอลูมิเนียม (Aluminium Sheet) 1.59 4.4 23 แผ่นอลูมิเนียม (Aluminium Sheet) 3.18 8.8 25 แผ่นอลูมิเนียม (Aluminium Sheet) 6.35 17.1 27 ไม้ (Wood, Fir) 12 8.3 18 ไม้ (Wood, Fir) 25 18 21 ไม้ (Wood, Fir) 50 32.7 24 ไม้อัด (Plywood) 13 8.3 20 ไม้อัด (Plywood) 25 16.1 23 แก้วนิรภัย (Safety Glass) 3.18 7.8 22 โพลิเมอร์ผสมแบบใส (Plexiglas) 6 7.3 22 ที่มา : Noise Barrier Design Handbook, FHWA 2006 เมื่อจำนวนเฟรสเนล (Fresnel Number) มีค่าน้อยกว่า 1 จะทำการใช้สมการการลดทอนของ Kurze-Anderson (Kurze-Anderson Formula) ในการคำนวณค่าการลดทอนของระดับเสียงแทน เนื่องจาก ช่วงค่าการลดทอนของระดับเสียง ( IL หรือ ΔL) ที่เกิดขึ้นในช่วงค่า จำนวนเฟรสเนล ( Fresnel Number) ที่มีค่า น้อยกว่า 1 ดังกล่าว จะถูกอธิบายได้ดีกว่าโดยอาศัย สมการที่ใช้รูปแบบค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometric Function) ซึ่งสมการการลดทอนของครูซ-แอนเดอร์สัน (Kurze-Anderson Formula) ได้ทำการปรับปรุงมาจาก สมการของ ทฤษฎีการเลี้ยวเบนในรูปแบบเรขาคณิตของเคลเลอร์ (Keller's Geometrical Theory of Diffraction; GTD) หรือค่าการลดทอนของระดับเสียงรูปแบบเคลเลอร์ (Keller’s Insertion Loss; ILk, หรือ ΔLk) ที่ใช้รูปแบบ ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ( Trigonometric Function) ในการคำนวณค่าการลดทอนของระดับเสียง ซึ่งในกรณี จำนวนเฟรสเนล ( Fresnel Number) ที่มีค่าน้อยกว่า 1 นี้ สมการการลดทอนของครูซ -แอนเดอร์สัน ( Kurze- Anderson Formula) สามารถแจกแจงได้ดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-160 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม  2N  L = 5 + 20 log 10  (   tanh 2N  ) เมื่อ คือ ค่าการลดทอนของระดับเสียง ที่แต่ละความถี่เสียงศูนย์กลาง ( Insertion ΔL Loss at Octave Band Centre Frequencies) N คือ จำนวนเฟรสเนล (Fresnel Number) tanh คือ ค่าไฮเพอร์โบลิกของอัตราส่วนของด้านตรงข้ามมุมน้อยกับด้านประชิดมุม น้อย (Hyperbolic Tangent) สำหรับจำนวนเฟรสเนล ( Fresnel Number) สามารถคำนวณได้จากสมการพื้นฐาน สามารถ แจกแจงได้ในรูปแบบสมการ 2 N= xδ  เมื่อ N คือ จำนวนเฟรสเนล (Fresnel Number)  คือ ความยาวของคลืน ่ เสียง (Wavelength) δ คือ ค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด ( Path-Length Difference; PLD หรือ δ) โดยเป็นค่าของความสัมพันธ์ระหว่าง ระยะห่างของแนวกำแพงกันเสียงจาก แหล่งกำเนิดเสียงและความสูงของกำแพงกันเสียง (The difference between the noise path over the barrier and the direct line of sight path.) ในขณะเดียวกันจำนวนเฟรสเนล ในวิธีการแบบสูตรของมาเอกาวา ( Maekawa Formulas) สามารถแทนค่าโดยการใช้ ค่าความถี่ของคลื่นเสียง ( Noise Frequency) และค่าความเร็วของเสียง ( Sound Speed) ในการคำนวณได้ ดังนี้ 2 2 f c N= = ; =  c f เมื่อ N คือ จำนวนเฟรสเนล (Fresnel Number)  คือ ความยาวของคลืน ่ เสียง (Wavelength) δ คือ ค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด (PLD หรือ δ) โดยเป็นค่าของความสัมพันธ์ ระหว่าง ระยะห่างของแนวกำแพงกันเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงและความ สูงของกำแพงกันเสียง (The difference between the noise path over the barrier and the direct line of sight path.) f คือ ค่าความถี่ของคลื่นเสียง (Noise Frequency) c คือ ค่าความเร็วของเสียง (Sound Speed) ซึ่งค่าความเร็วของเสียง (Sound Speed) สามารถคำนวณได้จากสมการเบื้องต้น (Approximately Equation) สามารถแจกแจงได้ในรูปแบบสมการ ดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-161 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม c = 331.4 + 0.6(T) เมื่อ c คือ ค่าความเร็วของเสียง (Sound Speed) T คือ ค่าอุณหภูมิที่หน่วยวัดองศาเซลเซียส (°C) (Temperature in Celsius) สำหรับการคำนวณ ผลต่างของระยะทางทั้งหมด ( Path-Length Difference; PLD หรือ δ) จะทำการอ้ า งอิ ง จากรายงาน Sound Attenuation by Barrier โดย Kurze U.J. และ Anderson G.S. ที ่ ไ ด้ ตีพิมพ์ในวารสาร Elsevier Applied Acoustics ในปี 1971 ได้กล่าวถึงการคำนวณผลกระทบของ ค่าการลดทอน ของระดับเสียง (IL หรือ ΔL) ที่เกิดขึ้นจากรูปแบบการเลี้ยวเบนแบบของคลื่นทรงกลม (Diffraction of Spherical Wave) ซึ่งเกิดจากแหล่งกำเนิดแบบจุดตำแหน่ง (Point Source) ซึ่งเป็นการต่อยอดจาก การอธิบาย รูปแบบการ ลดทอนของระดับเสียงเกิดจากรูปแบบการเลี้ยวเบนในแนวตั้งของแนวกำแพงกันเสียงและในแนวนอนของแนว กำแพงกันเสียง ในรายงาน Noise Reduction by Screen โดย Maekawa Z. ในปี 1968 ซึ่งรูปแบบค่าการลดทอน ของระดับเสียงที ่ เกิดขึ้ นจากรูปแบบการเลี้ ยวเบนแบบของคลื ่นทรงกลม ( Attenuation due to diffraction of spherical wave of sound rays emanating from a point source.) ในที่นี้อนุมานให้รูปแบบ ผลกระทบของ ระดับเสียงจากกิจกรรมการก่อสร้างและการลดทอนจากแนวกำแพงกันเสียง (Sound Attenuation by Barriers) ซึ่งแหล่งกำเนิดเสียงจากกิจกรรมการก่อสร้างจะมีลักษณะเป็นแหล่งกำเนิดแบบจุดตำแหน่ง สมการของรูปแบบการเลี้ยวเบนแบบของคลื่นทรงกลม จะทำการอ้างอิงจาก ข้อมูลการลดทอน ของระดับเสียงของเรธอ์ (Rathe’s Table of Attenuation Data) ซึ่งอ้างอิงจากรายงาน Note on Two Common Problems of Sound Attenuation/Sound Propagation (Swiss Federal Institute of Technology in Zürich, Switzerland; ETH Zürich) 1969 และการใช้รูปแบบสมการอ้างอิงเพื่ออธิบาย ข้อมูลการลดทอนของระดับเสียง ของเรธอ์ จะอ้างอิงจากสมการของ ทฤษฎีการเลี้ยวเบนในรูปแบบเรขาคณิตของเคลเลอร์ (Keller's Geometrical Theory of Diffraction; GTD) ซึ ่ ง อ้ า งอิ ง จากรายงาน Geometrical Theory of Diffraction ( The Courant Institute of Mathematical Sciences, New York University; CIMS, NYU) โดยได้กล่าวถึงค่าผลต่างของระยะทาง ทั้งหมด (PLD หรือ δ) และผลกระทบต่อการลดลงของ ระดับความดันของเสียง ( Sound Pressure Level; SPL หรื อ Lp) จากค่ า การลดทอนของระดั บ เสี ยงหลั ง จากที่ จ ะมี การลดทอนของระดั บ เสี ย งด้ วยกำแพงกั นเสียง ซึ่งรูปแบบสมการพื้นฐานของ ค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด สามารถแจกแจงได้ดังนี้และแสดงดังรูปที่ 4.4.6-1 เมื่อ δ คือ ค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด PLD หรือ δ) โดยเป็นค่าของความสัมพันธ์ ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงกันเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงและความสูง ของกำแพงกั น เสี ย ง ( The difference between the noise path over the barrier and the direct line of sight path.) A คือ ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ( Hypotenuse) ที่เท่ากับผลรวมพื้นที่ของ สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านเป็นด้านประชิดมุมฉากของสามเหลี่ยมมุมฉาก โดย เป็นค่าของความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงจากแหล่งกำเนิด เสียง (Source) และ ความสูงของกำแพงกันเสียง กรมทางหลวงชนบท 4-162 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม B คือ ความยาวด้า นตรงข้ามมุมฉาก ( Hypotenuse) ที่เท่ากับผลรวมพื้นที่ของ สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านเป็นด้านประชิดมุมฉากของสามเหลี่ยมมุมฉาก โดย เป็นค่าของความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงจากจุดพื้นที่ตรวจวัด (Receiver) และ ความสูงของกำแพงกันเสียง d คือ ระยะกระจัด (Direct Path Distance) ระหว่างแหล่งกำเนิดเสียง ( Source) และจุดพื้นที่ตรวจวัด (Receiver) ที่มา : Sound Attenuation by Barrier, Kurze U.J. and Anderson G.S. 1971 รูปที่ 4.4.6-1 ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงและแหล่งกำเนิดเสียงและความสูง ของกำแพงกันเสียงในรูปแบบการเลี้ยวเบนแบบของคลื่นทรงกลม ดังนั้น ผลต่างของระยะทางทั้งหมด ( PLD หรือ δ) ของความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของ แนวกำแพงและแหล่งกำเนิดเสียงและความสูงของกำแพงกั นเสียง จะทำการคำนวณได้ โดยอ้างอิงจากรายงาน Noise and Vibration Control (TM 5-805-4) ของกระทรวงกองทัพบกสหรัฐ ( United States Department of the Army; DA) ในปี 1995 ซึ่งจะสามารถคำนวณได้จากข้อมูลของความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนว กำแพงและแหล่ งกำเนิด เสี ยงและความสูง ของกำแพงกันเสี ยง ( Parameters and Geometry of Outdoor Sound Barrier) โดยความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ที่เท่ากับผลรวมพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านเป็นด้าน ประชิดมุมฉากของสามเหลี่ยมมุมฉากของค่าระยะห่างของแนวกำแพงจากแหล่งกำเนิดเสียง และความสูงของ กำแพงกันเสียง และค่าระยะห่างของแนวกำแพงจากจุดพื้นที่ตรวจวัด และความสูงของกำแพงกันเสียง จะแสดง ในรูปแบบของความสัมพันธ์ในเรขาคณิตแบบยุคลิดเดียน ( Euclidean Geometry) ระหว่า งด้านทั้งสามของ สามเหลี่ยมมุมฉาก ยกกำลังสองของด้านตรงข้ามมุมฉาก ซึ่งจะเท่ากับผลรวมของกำลังสองของอีกสองด้านที่เหลือ ในแง่ของพื้นที่ โดยสามารถแจกแจงได้ในรูปแบบสมการและ รูปที่ 4.4.6-2 กรมทางหลวงชนบท 4-163 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่มา : Noise and Vibration Control, DA 1995 รูปที่ 4.4.6-2 ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงและแหล่งกำเนิดเสียงและความสูง ของกำแพงกันเสียงในรูปแบบสำหรับการคำนวณค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด δ=A+B–d A = ((S2) + (hA2)) 0.5 B = ((R2) + (hB2)) 0.5 d = ((S+R) 2 + (hA-hB) 2) 0.5 เมื่อ δ คือ ค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด (PLD หรือ δ) โดยเป็นค่าของความสัมพันธ์ ระหว่าง ระยะห่างของแนวกำแพงกันเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงและความ สูงของกำแพงกันเสียง (The difference between the noise path over the barrier and the direct line of sight path.) A คือ ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ( Hypotenuse) ที่เท่ากับผลรวมพื้นที่ของ สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านเป็นด้านประชิดมุมฉากของสามเหลี่ยมมุมฉาก โดย เป็นค่าของความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงจากแหล่งกำเนิด เสียง (Source) และ ความสูงของกำแพงกันเสียง B คือ ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ( Hypotenuse) ที่เท่ากับผลรวมพื้นที่ของ สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านเป็นด้านประชิดมุมฉากของสามเหลี่ยมมุมฉาก โดย เป็นค่าของความสั มพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงจากจุด พื ้ น ที่ ตรวจวัด (Receiver) และ ความสูงของกำแพงกันเสียง d คือ ระยะกระจัด (Direct Path Distance) ระหว่างแหล่งกำเนิดเสียง ( Source) และจุดพื้นที่ตรวจวัด (Receiver) S คือ ระยะห่างของแหล่งกำเนิดเสียง จากแนวกำแพงกันเสียง ( Actual Distance between Source and Barrier) R คือ ระยะห่างของแนวกำแพงจากจุดพื้นที่ตรวจวัด (Actual Distance between Barrier and Receiver) กรมทางหลวงชนบท 4-164 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม hA คือ ความสูงของกำแพงกันเสียงที่สัมพันธ์ระหว่างความสูงของกำแพงกันเสียง และความสูงของแหล่งกำเนิดเสียง (Barrier Height above Source’s Line of Sight) hB คือ ความสูงของกำแพงกันเสียงที่สัมพันธ์ระหว่าง ความสูงของกำแพงกันเสียง และความสูงของจุดพื้นที่ตรวจวัด (Barrier Height above Receiver’s Line of Sight) ดังนั้น เมื่อทราบค่าความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงและแหล่งกำเนิดเสียงและ ความสูงของกำแพงกันเสียงในรูปแบบสำหรับการคำนวณค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมดดังกล่าว สามารถนำไปใช้ ในการคำนวณหาค่าการลดทอนของระดับเสียง ( IL หรือ ΔL) จากกำแพงกันเสียงแบบแข็งในรูปแบบยาวเสมือน ไม่สิ้นสุดตามรูปแบบ สูตรของมาเอกาวา (Maekawa Formulas) ในกรณีที่จำนวนเฟรสเนล (Fresnel Number) มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 1 หรือสมการการลดทอนของครูซ-แอนเดอร์สัน (Kurze-Anderson Formula) ในกรณี ที่จำนวนเฟรสเนล มีค่าน้อยกว่า 1 ตามรูปแบบสมการที่กล่าวมาในข้างต้น การคาดการณ์ผลกระทบด้านระดับเสียงในกรณีมีการการติดตั้งกำแพงกันเสียงจะให้ความสนใจ ไปที่การพิจารณาความยาวของกำแพงกันเสียง โดยอ้างอิงรายงาน Noise Barrier Design Handbook ของ กรมทางหลวงของสหรัฐ ( FHWA) ในปี 2006 ที่ได้ระบุถึงหลักการเบื้องต้น โดยให้ความยาวของกำแพงกันเสียง ควรมีความยาวที่เพียงพอจะบดบังจุดพื้นที่รับเสียง (Receiver) แสดงรายละเอียดดังรูปที่ 4.4.6-3 ที่มา : Noise Barrier Design Handbook, FHWA 2006 รูปที่ 4.4.6-3 ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของแนวกำแพงกับระยะทางตั้งฉาก และจุดพื้นที่รับเสียง (Receiver) กรมทางหลวงชนบท 4-165 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้พิจารณาเพิ่มเติมมาตรการลดผลกระทบที่กุโบร์ระยะก่อสร้าง ที่ค่าเสียงจากกิจกรรมการ ทำงานของเครื่องจักรของโครงการ กำหนดให้มีมาตรการติดตั้งกำแพงกันเสียงชั่วคราวและเพื่อป้องกันเสียงจาก การก่อสร้างให้หยุดกิจกรรมการก่อสร้างขณะที่มีกิจกรรมทางศาสนาจนแล้วเสร็จจึงเริ่มก่อสร้างต่อไป ทั้งนี้การ ติดตั้งกำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิด เมทัลชีท หนา 0.64 มิลลิเมตร หรือวัสดุที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า ระยะแนว กำแพงกันเสียงชั่วคราวรวมทั้งหมด 285 เมตร สูง 3 เมตร คิดเป็นพื้นที่กำแพงกันเสียงชั่วคราวรวม 855 ตาราง เมตร แสดงดังตารางที่ 4.4.6-14 และรูปที่ 4.4.6-4 ถึงรูปที่ 4.4.6-5 ้ ของกำแพงกันเสียงชั่วคราวบนแนวเส้นทางโครงการ ตารางที่ 4.4.6-14 รายละเอียดการติดตัง รายละเอียดของแนวกำแพงกันเสียงชั่วคราวกลุ่มเมทัลชีท หนา 0.64 มิลลิเมตร หรือวัสดุที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า ลำดับ กำแพงกันเสียงชั่วคราว ความสูง ความยาว พื้นที่ พื้นที่อ่อนไหว (ตาราง (เมตร) เมตร) 1 กิจกรรมการก่อสร้างถนน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) 3.0 100 300 2 กิจกรรมการเจาะเสาเข็มสะพาน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) 3.0 100 300 กิจกรรมการก่อสร้างถนนและ 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 3.0 85 255 กิจกรรมการเจาะเสาเข็มสะพาน รวมทั้งหมด 285 855 ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา , 2564 ในระยะก่อสร้างฐานรากสะพานจะมีการกำหนดมาตรการติดตั้ง กำแพงกันเสียงแบบผสมหรือ แบบคู่ และในจุดอื่นที่มีค่าเสียงเกินจากการก่อสร้างฐานรากจะเป็นกำแพงกันเสียงแบบเดี่ยวเหมือนปกติ ซึ่งการ คำนวณกำแพงกันเสียงแบบผสมหรือแบบคู่ ซึ่งผลต่างของระยะทางทั้งหมด ( PLD หรือ δ) ของความสัมพันธ์ ระหว่าง ระยะห่างของแนวกำแพงกับแหล่งกำเนิดเสียง และระยะห่างของแนวกำแพงกั บจุดที่ได้รับเสียง กับความ สูงของกำแพงกันเสียง จะใช้วิธีการคำนวณ โดยอ้างอิงจากรายงาน Noise and Vibration Control (TM 5-805-4) ของกระทรวงกองทัพบกสหรัฐ ( United States Department of the Army ; DA) ในปี 1995 จากข้อมูลของ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของแนวกำแพงและแหล่งกำเนิดเสียง กับความสูงของกำแพงกันเสียง (Parameters and Geometry of Outdoor Sound Barrier) โดยจะแสดงในรูปแบบของความสัมพันธ์ในเรขาคณิตแบบยุคลิดเดียน (Euclidean Geometry) หรือสมการพีทาโกรัส ระหว่างด้านทั้งสามของสามเหลี่ยมมุมฉาก กำลังสองของด้านตรง ข้ามมุมฉากเท่ากับผลรวมของกำลังสองของอีกสองด้านที่เหลือ ซึ่งการแทนค่าในสมการสามเหลี่ยมมุมฉากของ ระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงกับแนวกำแพงที่หนึ่ง และความสูงของกำแพงกันเสียงที่หนึ่งจะเท่ากับด้าน ประชิดมุมฉาก ต่อมาในส่วนที่สอง ค่าระยะห่างของแนวกำแพงที่หนึ่ง และสอง กั บค่าผลต่างของความสูงกำแพง ที่หนึ่ง และสองจะเท่ากับด้านประชิดมุมฉาก และสุดท้ายในส่วนที่สาม ระยะห่างระหว่างจุดที่ได้รับเสียง และแนว กำแพงที่สองจะเท่ากับด้านประชิดมุมฉาก (รูปที่ 4.4.6-6) โดยสามารถแจกแจงได้ในรูปแบบสมการดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-166 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.4.6-4 การติดตั้งกำแพงกันเสียงชั่วคราวบริเวณหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) รูปที่ 4.4.6-5 การติดตั้งกำแพงกันเสียงชั่วคราวบริเวณกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม กรมทางหลวงชนบท 4-167 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม = [(√( 2 + ℎ2 ) − ) + (√(12 + ℎ12 − 1 ) + (√(22 + ℎ22 ) − 2 )] = [ + + ] = (√( 2 + ℎ2 ) − ) = (√(12 + ℎ12 − 1 ) = (√(22 + ℎ22 ) − 2 ) เมื่อ δ คือ ค่ า ผลต่ า งของระยะทางทั ้ ง หมด ( PLD หรื อ δ) โดยเป็ น ค่ า ของความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า ง ระยะห่างของแนวกำแพงกับแหล่งกำเนิดเสียง และระยะห่างของแนวกำแพงกับจุดที่ได้รับ เสียง กับความสูงของกำแพงกันเสียง A คือ ค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด โดยเป็นค่าของความสัมพันธ์ระหว่าง ระยะห่างของแนว กำแพงกับแหล่งกำเนิดเสียงกับความสูงของกำแพงกันเสียงที่หนึ่ง B คือ ค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด โดยเป็นค่าของความสัมพันธ์ระหว่าง ระยะห่างของแนว กำแพงที่หนึ่ง และสอง กับค่าผลต่างของความสูงกำแพงที่หนึ่ง และสอง C คือ ค่าผลต่างของระยะทางทั้งหมด โดยเป็นค่าของความสัมพันธ์ระหว่าง ระยะห่างของแนว กำแพงกับจุดที่ได้รับเสียง กับความสูงของกำแพงกันเสียงที่สอง S คือ ระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงกับแนวกำแพงที่หนึ่ง ( Actual Distance between Source and Barrier) R1 คือ ระยะห่างระหว่างแนวกำแพงที่หนึ่งกับสอง ( Actual Distance between Barrier1 and Barrier2) R2 คือ ระยะห่างระหว่างแนวกำแพงที่สองกับจุดที่ได้รับเสียง (Actual Distance between Barrier2 and Receiver) h คือ ความสูงของกำแพงกันเสียงที่หนึ่ง h1 คือ ค่าผลต่างของความสูงกำแพงกันเสียงที่หนึ่ง และสอง โดยค่าต้องเป็นบวกเสมอ h2 คือ ความสูงของกำแพงกันเสียงที่สอง ที่มา : Noise and Vibration Control, DA 1995 รูปที่ 4.4.6-6 ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของกำแพงคู่ กับแหล่งกำเนิดเสียง และความสูง ของกำแพงกันเสียงในรูปแบบสำหรับการคำนวณค่าผลต่างของระยะทางทัง ้ หมด กรมทางหลวงชนบท 4-168 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลการคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงในช่วงกิจกรรมการเตรียมพื้นที่ โครงการและค่าลดทอนระดับเสียงจากการกำหนดให้มีมาตรการการติดตั้งกำแพงกันเสียงบริเวณพื้นที่อ่อนไหวด้าน สิ่งแวดล้อม พบว่า มีค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงกันเสียงเท่ากับ 10.733-11.617 เดซิเบล (เอ) (ตารางที่ 4.4.6-15) และมีค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง รวมภายหลังติดตั้งกำแพงกันเสียง 64.8-67.0 เดซิเบล (เอ) ทำให้ระดับเสียงมีค่าไม่เกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนด ตามมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปที่ 70 เดซิเบล (เอ) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 15 (ปี พ.ศ. 2540) แสดงดังตารางที่ 4.4.6-16 ผลการคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงในช่วงกิจกรรมงานผิวทางและ ชั้นทางโครงการและค่าลดทอนระดับเสียงจากการกำหนดให้มีมาตรการการติดตั้งกำแพงกันเสียงบริเวณ พื้นที่ อ่ อนไหวด้ านสิ่งแวดล้ อม พบว่ ามีค่าการเลี้ยวเบนระดับเสี ยงในแนวตั้ งของกำแพงกันเสียงเท่ากั บ 10.733- 11.617 เดซิเบล (เอ) (ตารางที่ 4.4.6-17) และมีค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง รวมภายหลังติดตั้งกำแพงกันเสียง 64.8-67.0 เดซิเบล (เอ) ทำให้ระดับเสียงมีค่าไม่เกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนด ตามมาตรฐานระดับเสียง โดยทั่วไปที่ 70 เดซิเบล (เอ) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 15 (ปี พ.ศ. 2540) แสดง ดัง ตารางที่ 4.4.6-18 ผลการคำนวณค่ า การเลี ้ ย วเบนระดั บ เสี ย งในแนวตั ้ ง ของกำแพงในช่ ว งกิ จ กรรมก่ อสร้ า ง โครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการและค่าลดทอนระดับเสียงจากการกำหนดให้มีมาตรการการติดตั้งกำแพงกันเสียง บริเวณพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม พบว่ามีค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงกั นเสียงเท่ากับ 11.798-16.624 เดซิเบล (เอ) (ตารางที่ 4.4.6-19) และมีค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง รวมภายหลังติดตั้ง กำแพงกันเสียง 68.3-68.5 เดซิเบล (เอ) ทำให้ระดับเสียงมีค่าไม่เกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนด ตามมาตรฐาน ระดับเสียงโดยทั่วไปที่ 70 เดซิเบล (เอ) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 15 (ปี พ.ศ. 2540) แสดงดังตารางที่ 4.4.6-20 ผลการคำนวณค่ า การเลี ้ ย วเบนระดั บ เสี ย งในแนวตั ้ ง ของกำแพงในช่ ว งกิ จ กรรมก่ อสร้ า ง โครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการและค่าลดทอนระดับเสียงจากการกำหนดให้มีมาตรการการติดตั้งกำแพงกัน เสียงบริเวณพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า มีค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงกันเสียง เท่ากับ 11.798-16.624 เดซิเบล (เอ) (ตารางที่ 4.4.6-21) และมีค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง รวมภายหลัง ติ ด ตั้ ง กำแพงกัน เสี ยง 65.4-65.6 เดซิ เบล (เอ) ทำให้ ระดั บเสี ยงมี ค่ าไม่ เกิ นค่ ามาตรฐานที่ กฎหมายกำหนด ตามมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปที่ 70 เดซิเบล (เอ) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 15 (ปี พ.ศ. 2540) แสดงดังตารางที่ 4.4.6-22 การติดตั้งกำแพงกันเสียงในระยะดำเนินการ โดยใช้กำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใส หรือวัสดุที่มี ประสิทธิภาพสูงกว่า ระยะแนวกำแพงกันเสียงทั้งหมด 100 เมตร สูง 1.5 เมตร คิดเป็นพื้นที่กำแพงกันเสียงรวม 150 ตารางเมตร แสดงดังตารางที่ 4.4.6-23 ผลการประเมิ น ผลการคำนวณค่ า การเลี ้ ย วเบนระดั บ เสี ย งในแนวตั ้ ง ของกำแพงในระยะ ดำเนินการ และค่าลดทอนระดับเสียง ภายหลังจากการติดตั้งกำแพงกันเสียงต่อพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า มีค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงกันเสียงเท่ากับ 5.378 เดซิเบล (เอ) (ตารางที่ 4.4.6-24) และมีค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง รวมภายหลังติดตั้งกำแพงกันเสียง 66.2 เดซิเบล (เอ) ทำให้ระดับเสียงมีค่า ไม่เกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนด ตามมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปที่ 70 เดซิเบล (เอ) ประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (ปี พ.ศ. 2540) แสดงดังตารางที่ 4.4.6-25 กรมทางหลวงชนบท 4-169 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-15 รายละเอียดการคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงในช่วงกิจกรรมการเตรียมพื้นที่โครงการ แนวกาแพงกันเสี ยงมีระยะห่างจากจุดกึง ่ กลางแนวโครงการ ประมาณ 15 เมตร N ค่าการเลี้ ยวเบน ระยะห่าง ระดับเสี ยง ่ กลางแนว ระยะห่าง จุดกึง ความสู ง ความสู ง ความสู ง ลาดับ พื้นทีอ ่อ ่ นไหว ประเภท ในแนวตั้ง โครงการกับผู้รับ ผู้รับกับ กาแพง แหล่ งกาเนิด ผู้รับ A B d PLD 500 Hz กาแพง ของกาแพง (เมตร) 30 °C (เดซิเบล (เอ)) 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 10 3.0 1.0 1.5 15.133 10.112 25.005 0.240 0.686 11.617 2 กุโบร์บ้านทุง ่ โต๊ะหยุม สุสาน 34 19 3.0 1.0 1.5 15.133 19.059 34.004 0.188 0.539 10.733 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 ตารางที่ 4.4.6-16 รายละเอียดการคำนวณค่าลดทอนระดับเสียงในช่วงดำเนินกิจกรรมการเตรียมพื้นที่โครงการ ระยะห่าง ระดับเสี ยงพื้นฐานที่ ระดับเสี ยงทีส ่ ู ญเสี ย ระดับเสี ยงทีล ่ ดทอน รวมค่าระดับเสี ยง 1 ค่ามาตรฐาน จุดกึง ่ กลางแนว ลดทอนหลั งติดตั้ง จากการส่ งผ่านจาก ลาดับ พื้นทีอ ่อ ่ นไหว ประเภท หลั งติดตั้งกาแพง ภายหลั งติดตั้งกาแพง Leq 24 hr โครงการกับผู้รับ กาแพง วัสดุ (เดซิเบล (เอ)) (เมตร) Leq24hr (เดซิเบล(เอ)) 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 60.6 58.6 65.0 67.0 ไม่เกิน 70.0 2 กุโบร์บ้านทุง ่ โต๊ะหยุม สุสาน 34 57.5 55.9 63.2 64.8 ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทัว ่ ไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 กรมทางหลวงชนบท 4-170 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-17 รายละเอียดการคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงในช่วงกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทางโครงการ แนวกาแพงกันเสี ยงมีระยะห่างจากจุดกึง ่ กลางแนวโครงการ ประมาณ 15 เมตร N ค่าการเลี้ ยวเบน ระยะห่าง ระดับเสี ยง ่ กลางแนว ระยะห่าง จุดกึง ความสู ง ความสู ง ความสู ง ลาดับ พื้นทีอ ่อ ่ นไหว ประเภท ในแนวตั้ง โครงการกับผู้รับ ผู้รับกับ กาแพง แหล่ งกาเนิด ผู้รับ A B d PLD 500 Hz กาแพง ของกาแพง (เมตร) 30 °C (เดซิเบล (เอ)) 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 10 3.0 1.0 1.5 15.133 10.112 25.005 0.240 0.686 11.617 2 กุโบร์บ้านทุง ่ โต๊ะหยุม สุสาน 34 19 3.0 1.0 1.5 15.133 19.059 34.004 0.188 0.539 10.733 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 ตารางที่ 4.4.6-18 รายละเอียดการคำนวณค่าลดทอนระดับเสียงในช่วงดำเนินกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทางโครงการ ระยะห่าง ระดับเสี ยงพื้นฐานที่ ่ ู ญเสี ย ระดับเสี ยงทีส ่ ดทอน รวมค่าระดับเสี ยง ระดับเสี ยงทีล 1 ค่ามาตรฐาน ่ กลางแนว จุดกึง ลดทอนหลั งติดตั้ง จากการส่ งผ่านจาก ลาดับ พื้นทีอ ่อ ่ นไหว ประเภท หลั งติดตั้งกาแพง ภายหลั งติดตั้งกาแพง Leq 24 hr โครงการกับผู้รับ กาแพง วัสดุ (เดซิเบล (เอ)) (เมตร) Leq24hr (เดซิเบล(เอ)) 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 60.6 60.3 66.7 67.0 ไม่เกิน 70.0 2 ่ โต๊ะหยุม กุโบร์บ้านทุง สุสาน 34 57.5 57.6 64.9 64.8 ่ รึกษา, 2564 ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทัว ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 ่ ไป, คณะกรรมการสิง กรมทางหลวงชนบท 4-171 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-19 รายละเอียดการคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงในช่วงกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ ระยะห่าง N ค่าการเลี้ ยวเบน ระยะห่างจุด ระยะห่าง ่ กลางแนว จุดกึง ความสู ง ความสู ง ความสู ง ระดับเสี ยง รูปแบบ กาเนิดเสี ยงกับ ผู้รับกับ ลาดับ พื้นทีอ่ นไหว ่อ ประเภท ฐานรากโครงการ กาแพง แหล่ งกาเนิด ผู้รับ A B d PLD 500 Hz ในแนวตั้ง ฐานราก กาแพง กาแพง กับผู้รับ ของกาแพง (เมตร) 30 °C (เดซิเบล (เอ)) 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน เจาะเสาเข็ม 25 4.0 21.0 3.0 0.5 1.5 4.717 21.054 25.020 0.751 2.148 16.624 2 กุโบร์บ้านทุง่ โต๊ะหยุม สุสาน เจาะเสาเข็ม 34 15.0 19.0 3.0 0.5 1.5 15.207 19.059 34.015 0.251 0.719 11.798 ่ า : การวิเคราะห์โดยทีป ทีม ่ รึกษา, 2564 ตารางที่ 4.4.6-20 รายละเอียดการคำนวณค่าลดทอนระดับเสียงในช่วงดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ ระยะห่าง ระดับเสี ยงพื้นฐานที่ ระดับเสี ยงทีส ่ ู ญเสี ย ระดับเสี ยงทีล ่ ดทอน รวมค่าระดับเสี ยง 1 ค่ามาตรฐาน ่ กลางแนวฐาน ลดทอนหลั งติดตั้ง รูปแบบ จุดกึง จากการส่ งผ่านจาก หลั งติดตั้งกาแพง ภายหลั งติดตั้งกาแพง ลาดับ พื้นทีอ ่อ ่ นไหว ประเภท กาแพง วัสดุ Leq 24 hr ฐานราก รากโครงการกับผู้รับ (เดซิเบล (เอ)) (เมตร) Leq24hr (เดซิเบล(เอ)) 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน เจาะเสาเข็ม 25 60.6 63.7 65.1 68.3 ไม่เกิน 70.0 2 กุโบร์บ้านทุง่ โต๊ะหยุม สุสาน เจาะเสาเข็ม 34 57.5 61.0 67.2 68.5 ไม่เกิน 70.0 ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทัว ่ ไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 กรมทางหลวงชนบท 4-172 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-21 รายละเอียดการคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพงในช่วงกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการ ระยะห่าง N ค่าการเลี้ ยวเบน ระยะห่างจุด ระยะห่าง จุดกึง ่ กลางแนว ความสู ง ความสู ง ความสู ง ระดับเสี ยง รูปแบบ กาเนิดเสี ยงกับ ผู้รับกับ ลาดับ พื้นทีอ ่อ ่ นไหว ประเภท ฐานราก กาแพง แหล่ งกาเนิด ผู้รับ A B d PLD 500 Hz ในแนวตั้ง ฐานราก กาแพง กาแพง โครงการกับผู้รับ ของกาแพง (เมตร) 30 °C (เดซิเบล (เอ)) 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน เจาะเสาเข็ม 25 4.0 21.0 3.0 0.5 1.5 4.717 21.054 25.020 0.751 2.148 16.624 2 กุโบร์บ้านทุง่ โต๊ะหยุม สุสาน เจาะเสาเข็ม 34 15.0 19.0 3.0 0.5 1.5 15.207 19.059 34.015 0.251 0.719 11.798 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 ตารางที่ 4.4.6-22 รายละเอียดการคำนวณค่าลดทอนระดับเสียงในช่วงดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการ ระยะห่าง ระดับเสี ยงพื้นฐานที่ ระดับเสี ยงทีส ่ ู ญเสี ย ระดับเสี ยงทีล ่ ดทอน รวมค่าระดับเสี ยง 1 ค่ามาตรฐาน รูปแบบ ่ กลางแนวฐาน ลดทอนหลั งติดตั้ง จุดกึง จากการส่ งผ่านจาก หลั งติดตั้งกาแพง ภายหลั งติดตั้งกาแพง ลาดับ พื้นทีอ ่อ ่ นไหว ประเภท กาแพง วัสดุ Leq 24 hr ฐานราก รากโครงการกับผู้รับ (เดซิเบล (เอ)) (เมตร) Leq24hr (เดซิเบล(เอ)) 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน เจาะเสาเข็ม 25 60.6 60.2 61.6 65.6 ไม่เกิน 70.0 2 กุโบร์บ้านทุง่ โต๊ะหยุม สุสาน เจาะเสาเข็ม 34 57.5 57.5 63.7 65.4 ไม่เกิน 70.0 ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทัว ่ ไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 กรมทางหลวงชนบท 4-173 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.6-23 การติดตั้งกำแพงกันเสียงบนแนวเส้นทางโครงการ ระยะดำเนินการ รายละเอียดของแนวกาแพงกันเสี ยงชนิดอะคริลิคใส หรือวัสดุทม ี่ ีประสิ ทธิภาพสู งกว่า ลาดับ กาแพงกันเสี ยง ความสู ง ความยาว พื้นที่ พื้นทีอ ่อ ่ นไหว (เมตร) (ตารางเมตร) 1 กิจกรรมการจราจรในระยะดาเนินการ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) 1.5 100 150 รวมทัง ้ หมด 100 150 ตารางที่ 4.4.6-24 การคำนวณค่าการเลี้ยวเบนระดับเสียงในแนวตั้งของกำแพง ระยะดำเนินการ แนวกาแพงกันเสี ยงมีระยะห่างจากจุดกึง ่ กลางแนวโครงการ ประมาณ 10 เมตร N ค่าการเลี้ ยวเบน ระยะห่าง ระยะห่าง ระดับเสี ยงใน จากจุดกึง ่ กลาง ความสู ง ความสู ง ความสู ง ลาดับ พื้นทีอ ่อ ่ นไหว ประเภท ผู้รับกับ 500 Hz แนวตั้งของ แนวโครงการ กาแพง แหล่ งกาเนิด ผู้รับ A B d PLD กาแพง กาแพง (เมตร) 30 °C (เดซิเบล (เอ)) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 1 ชุมชน 25 5 1.5 1.0 1.5 10.012 15.000 25.005 0.007 0.021 5.378 (บ้านท่าเรือ) ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 ตารางที่ 4.4.6-25 รายละเอียดการคำนวณค่าลดทอนระดับเสียง ระยะดำเนินการ ระยะห่าง รวมค่า ระดับเสียงที่ ระดับเสียง จากจุด ระดับ ระดับเสียง 1ค่ามาตรฐาน สูญเสียจาก ที่ลดทอน กึ่งกลาง เสียง ภายหลัง Leq 24 hr ลำดับ พื้นที่อ่อนไหว ประเภท การส่งผ่าน หลังติดตั้ง แนว พื้นฐาน ้ ติดตัง (เดซิเบล จากวัสดุ กำแพง โครงการ กำแพง (เอ)) (เมตร) Leq 24 hr (เดซิเบล (เอ)) หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 1 ชุมชน 25 60.6 38.2 64.8 66.2 ไม่เกิน 70.0 (บ้านท่าเรือ) ที่มา : การวิเคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2540 กรมทางหลวงชนบท 4-174 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.4.7 ความสั่นสะเทือน การประเมินผลกระทบด้านความสั่นสะเทือนจากโครงการต่อพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม ( Sensitive Area) ทำการประเมินผลกระทบทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ ซึ่งในการ ประเมินจะถูกแบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ กรณีไม่มีการเกิดขึ้นของโครงการ ( Do-nothing Scenario) และกรณี มีการเกิดขึ้นของโครงการ (Proposed Scenario) โดยสามารถแจกแจงได้ดังนี้ 1) กรณีไม่มีโครงการ การตรวจวัดด้านความสั่นสะเทือนในพื้นที่ศึกษา โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยที่ผ่านมาทางโครงการได้ทำการเก็บตัวอย่าง 3 วัน ต่อเนื่อง รวม 4 สถานี ครอบคลุมพื้นที่โครงการ ซึ่งจากผลการตรวจวัดตัวแปรคุณภาพสิ่งแวดล้อมในสภาพปัจจุบน ั พบว่า ตัวแปรด้านแรงสั่นสะเทือนที่ประกอบด้วย ความเร็วอนุภาคสูงสุด (Peak Particle Velocity; PPV) มีค่าอยู่ ในช่วง <0.300–0662 มิลลิเมตร/วินาที โดยอ้างอิงจากความสั่นสะเทื อนที่ เกิดขึ้นทำให้ เกิดปรากฏการณ์ ล้ า (Fatigue) และการสั่นพ้อง (Resonance) ต่ออาคารอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่าง ที่ตำแหน่ง ชั้นบนสุดของ อาคารที่ทุกความถี่ของแรงสั่นสะเทือนของ กลุ่มอาคารประเภทที่ 1 ที่ระดับ แรงสั่นสะเทือนที่ 10.0 มิลลิเมตร/ วินาที กลุ่มอาคารประเภทที่ 2 ที่ระดับ แรงสั่นสะเทือนที่ 5.0 มิลลิเมตร/วินาที และกลุ่มอาคารประเภทที่ 3 ที่ระดับแรงสั่นสะเทือนที่ 2.5 มิลลิเมตร/วินาที ซึ่งมีค่าไม่เกินมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2553) แสดงดังตารางที่ 4.4.7-1 ดังนั้นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตามสภาพปัจจุบัน ในกรณีไม่มีการเกิดขึ้นของโครงการ จะไม่ส่งผล กระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมในด้านแรงสั่นสะเทือน 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะก่อสร้าง การดำเนินกิจกรรมที่ทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือน ได้แก่ การเตรียมพื้นที่ งานดิน/หิน การขุดเจาะ เสาเข็ม การขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างด้วยรถบรรทุกขนาดใหญ่ รวมทั้งการใช้เครื่องจักรกลต่างๆ เป็นต้น จึงมีความเป็นไปได้ที่จะส่งผลกระทบด้านความสั่นสะเทือนต่อพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมที่ตั้งอยู่ในบริเวณ ใกล้เคียง การประเมินผลกระทบด้านแรงสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการก่อสร้างจะมีการอ้างอิงข้อมูลเบื้องต้นของ แรงสั่นสะเทือนจากรายงาน Guidance Manual for Transit Noise and Vibration Impact Assessment ของ สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ (U.S. Environmental Protection Agency; US EPA) ในปี 2006 โดยข้อมูล อ้างอิงของแรงสั่นสะเทือนจากเครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือในกิจกรรมการก่อสร้างต่างๆ ที่ระยะ 7.62 เมตร (25 ฟุต) (ตารางที่ 4.4.7-2) ซึ่งการประเมินผลกระทบด้านความสั่นสะเทือนจะมีการคาดการณ์ผลกระทบ ด้านแรงสั่นสะเทือนโดยใช้สมการ ดังนี้ PPV (equip) = PPV (ref) x (D1/D2)1.5 เมื่อ PPV (equip) คือ ความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) ทีไ ่ ด้จากการคำนวณ PPV (ref) คือ ฐานข้อมูลของความเร็วอนุภาคสูงสุดของเครื่องจักรกลอุปกรณ์ และเครื่องมือที่ระยะ 7.62 เมตร (25 ฟุต) D1 คือ ระยะห่างระหว่างเครื่องจักรขณะมีกิจกรรมถึงจุดอ้างอิงที่ระยะ 7.62 เมตร (25 ฟุต) กรมทางหลวงชนบท 4-175 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม D2 คือ ระยะห่างระหว่างเครื่องจักรขณะมีกิจกรรมถึงจุดผู้รับแรงสั่นสะเทือน ้ ที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมและ (Receptor) ที่ใช้เป็น ตัวแทนพืน ตัวแทนจุดสังเกตคุณภาพทางสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-1 ผลการตรวจวัดระดับแรงสั่นสะเทือนบริเวณพื้นที่ศึกษาในสภาพปัจจุบัน ค่ามาตรฐาน1 ความสัน ่ สะเทือนทีเ่ กิดขึ้นทาให้เกิดปรากฎการณ์ลา้ ความเร็วอนุภาคสูงสุด (Fatigue) และการสัน ่ พ้อง (Resonance) ต่ออาคารชั้นบนสุด สถานีตรวจวัด ช่วงเวลาทีต่ รวจวัด (PPV) (มิลลิเมตรต่อ ของอาคารทีท ่ องความสัน ่ ุกความถีข ่ สะเทือน วินาที) อาคารประเภทที่ 1 อาคารประเภทที่ 2 อาคารประเภทที่ 3 PPV = 10 PPV = 5 PPV = 2.5 หมูท่ ี่ 8 บ้านหัวหิน 3-4 ธ.ค. 2563 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) 4-5 ธ.ค. 2563 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 5-6 ธ.ค. 2563 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 7-8 ก.พ. 2564 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 8-9 ก.พ. 2564 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 9-10 ก.พ. 2564 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ค่าสูงสุด <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน หมูท่ ี่ 8 บ้านหัวหิน 3-4 ธ.ค. 2563 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน (บ้านท่าเรือ) 4-5 ธ.ค. 2563 0.552 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 5-6 ธ.ค. 2563 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 7-8 ก.พ. 2564 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 8-9 ก.พ. 2564 0.418 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 9-10 ก.พ. 2564 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ค่าสูงสุด 0.552 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ่ ี่ 2 บ้านทุง หมูท ่ โต๊ะหยุม 3-4 ธ.ค. 2563 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 4-5 ธ.ค. 2563 0.386 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 5-6 ธ.ค. 2563 0.662 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 7-8 ก.พ. 2564 0.623 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 8-9 ก.พ. 2564 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 9-10 ก.พ. 2564 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ค่าสูงสุด 0.662 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ่ โต๊ะหยุม มัสยิดบ้านทุง 3-4 ธ.ค. 2563 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 4-5 ธ.ค. 2563 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 5-6 ธ.ค. 2563 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 7-8 ก.พ. 2564 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 8-9 ก.พ. 2564 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน 9-10 ก.พ. 2564 <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ค่าสูงสุด <0.300 ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนโดยเพือ ่ ป้องกันผลกระทบต่ออาคาร, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2553 กรมทางหลวงชนบท 4-176 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-2 แรงสั่นสะเทือนจากเครื่องจักรกลต่างๆ ที่ระยะ 7.62 เมตร (25 ฟุต) ความเร็วอนุภาคสูงสุด เครื่องจักรกลอุปกรณ์และเครื่องมือ นิ้ว/วินาที มิลลิเมตร/วินาที Pile Driver (impact device), upper range 1.518 38.56 Pile Driver (impact device), Typical 0.644 16.36 Pile Driver (sonic/vibratory), upper range 0.734 18.64 Pile Driver (sonic/vibratory), Typical 0.170 4.32 Vibratory Roller 0.210 5.33 Clam Shovel Drop (slurry wall) 0.202 5.13 Mounted Impact Hammer (Hoe Ram) 0.089 2.26 Caisson Drilling 0.089 2.26 Loaded Trucks 0.076 1.93 Jackhammer 0.035 0.89 Small Bulldozer 0.003 0.08 ที่มา : Guidance Manual for Transit Noise and Vibration Impact Assessment, US EPA 2006 ความเร็วอนุภาคสูงสุดที่ได้จากการคำนวณ ( PPV (equip)) ที่ได้จากสมการดังกล่าวในข้างต้น จะถูกนำไปเป็นค่าความเร็ วอนุภาคสูงสุดที่จะเกิดขึ้นของเครื่องจักรแต่ละชนิดตามแต่ละช่วงระยะห่างระหว่าง เครื่องจักรขณะมีกิจกรรมถึงตำแหน่งพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 4.4.7-3) โดยผลการประเมินผล กระทบด้า นความสั่นสะเทือน จะนำไปทำการเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานความแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิด ผลกระทบต่ออาคาร โดยอ้างอิงมาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2553) (ตารางที่ 4.4.7-4) และทำการเปรียบเทียบความเร็ว อนุภาคสูงสุดที่ได้จากการคำนวณกับค่ามาตรฐานระบบเยอรมนี หมายเลข 4150 ที่ระบุถึงระดับแรงสั่นสะเทือนที่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่ อ อาคาร อ้างอิงรายงาน DIN 4150:1999 โดย มาตรฐานระบบเยอรมนี ( Deutsches Institut für Normung ; DIN) ในปี 1999 (ตารางที่ 4.4.7-5) และทำการอ้างอิงตามการประเมินผลกระทบจาก แรงสั่นสะเทือนต่อมนุษย์จากกิจกรรมการก่อสร้าง (Guidance on Effects of Vibration Levels on Construction and Open Sites) ตามแนวทางของสำนักงานสิ่งแวดล้อมของสหราชอาณาจักร (Environment Agency) อ้างค่า มาตรฐานระบบบริทิช หมายเลข 5228 ที่ระบุถึงระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ มนุษย์ โดยอ้างอิง รายงาน BS 5228:2009 + A1:2014 โดยมาตรฐานระบบบริทิช ( British Standards ; BS) ในปี 2014 (ตารางที่ 4.4.7-6) และเมื่อพิจารณาจะพบว่าตัวแทนเครื่องจักรกล อุปกรณ์และเครื่องมือของกิจกรรมเตรียมพื้นที่โครงการ คือ Large Bulldozer (4.36 มิลลิเมตร/วินาที), จากกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทาง คือ Vibratory Roller (10.29 มิ ลลิ เมตร/วิ นาที ), งานก่ อสร้ างโครงสร้ างสะพานส่ วนล่างโครงการ คื อ Pile Driver (Vibratory), upper range (18.64 มิลลิเมตร/วินาที) และจากงานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบน คือ Dump Truck (3.73 มิลลิเมตร/วินาที) กรมทางหลวงชนบท 4-177 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-3 ผลการประเมินด้านแรงสั่นสะเทือนจากกิจกรรมแต่ละประเภทที่ระยะต่างๆ จากแนวกึ่งกลางโครงการ ระยะห่างจากจุด ความเร็ วอนุภาคสูงสุด (PPV) ของเครื่ องจักรกลอุปกรณ์และเครื่ องมือจากกิจกรรมการก่อสร้ าง (มิลลิเมตรต่อวิ นาที) กึ่งกลางแนว Impact Pile Driver Impact Pile Driver Vibratory Pile Driver Vibratory Pile Driver Vibratory Large Caisson Loaded Small Jackhammer โครงการ (เมตร) (upper range) (typical) (upper range) (typical) Roller Bulldozer Drilling Trucks Bulldozer 5 74.41 31.57 35.98 8.33 10.29 4.36 4.36 3.73 1.72 0.15 10 26.31 11.16 12.72 2.95 3.64 1.54 1.54 1.32 0.61 0.05 15 14.32 6.07 6.92 1.60 1.98 0.84 0.84 0.72 0.33 0.03 20 9.30 3.95 4.50 1.04 1.29 0.55 0.55 0.47 0.21 0.02 25 6.65 2.82 3.22 0.75 0.92 0.39 0.39 0.33 0.15 0.01 30 5.06 2.15 2.45 0.57 0.70 0.30 0.30 0.25 0.12 0.01 35 4.02 1.70 1.94 0.45 0.56 0.24 0.24 0.20 0.09 0.01 40 3.29 1.40 1.59 0.37 0.45 0.19 0.19 0.16 0.08 0.01 45 2.76 1.17 1.33 0.31 0.38 0.16 0.16 0.14 0.06 0.01 50 2.35 1.00 1.14 0.26 0.33 0.14 0.14 0.12 0.05 0.00 55 2.04 0.87 0.99 0.23 0.28 0.12 0.12 0.10 0.05 0.00 60 1.79 0.76 0.87 0.20 0.25 0.10 0.10 0.09 0.04 0.00 65 1.59 0.67 0.77 0.18 0.22 0.09 0.09 0.08 0.04 0.00 70 1.42 0.60 0.69 0.16 0.20 0.08 0.08 0.07 0.03 0.00 75 1.28 0.54 0.62 0.14 0.18 0.08 0.08 0.06 0.03 0.00 80 1.16 0.49 0.56 0.13 0.16 0.07 0.07 0.06 0.03 0.00 85 1.06 0.45 0.51 0.12 0.15 0.06 0.06 0.05 0.02 0.00 90 0.97 0.41 0.47 0.11 0.13 0.06 0.06 0.05 0.02 0.00 95 0.90 0.38 0.43 0.10 0.12 0.05 0.05 0.04 0.02 0.00 100 0.83 0.35 0.40 0.09 0.12 0.05 0.05 0.04 0.02 0.00 200 0.29 0.12 0.14 0.03 0.04 0.02 0.02 0.01 0.01 0.00 300 0.16 0.07 0.08 0.02 0.02 0.01 0.01 0.01 0.00 0.00 400 0.10 0.04 0.05 0.01 0.01 0.01 0.01 0.01 0.00 0.00 500 0.07 0.03 0.04 0.01 0.01 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 ที่มา : การวิเคราะห์ โดยที่ปรึกษา, 2559 กรมทางหลวงชนบท 4-178 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-4 มาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ความเร็วอนุภาคสูงสุด (มิลลิเมตร/วินาที) ประเภท จุดตรวจวัด ความถี่ (เฮิรตช์) ความสั่นสะเทือน ความสั่นสะเทือน อาคาร กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 ประเภทที่ 1 1.1 ฐานรากหรือชั้นล่างของอาคาร f  10 20 10  f  50 0.5 f+15 - 50  f  100 0.2 f+50 f  100 50 1.2 ชั้นบนสุดของอาคาร ทุกความถี่ 40* 10* 1.3 พืน้ อาคารในแต่ละชั้น ทุกความถี่ 20** 10** ประเภทที่ 2 2.1 ฐานรากหรือชั้นล่างของอาคาร f  10 5 10  f  50 0.25 f+2.5 - 50  f  100 0.1 f+10 f  100 20 2.2 ชั้นบนสุดของอาคาร ทุกความถี่ 15* 5* 2.3 พืน้ อาคารในแต่ละชั้น ทุกความถี่ 20** 10** ประเภทที่ 3 3.1 ฐานรากหรือชั้นล่างของอาคาร f  10 3 10  f  50 0.125 f+1.75 - 50  f  100 0.04 f+6 f  100 10 3.2 ชั้นบนสุดของอาคาร ทุกความถี่ 8* 2.5* 3.3 พืน้ อาคารในแต่ละชั้น ทุกความถี่ 20** 10** ่ สะเทือนโดยเพือ ที่มา : มาตรฐานระดับความสัน ่ ป้องกันผลกระทบต่ออาคาร, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ, 2553 หมายเหตุ : f หมายถึง ความถีข ่ องความสัน่ สะเทือน ณ เวลาที่มีความเร็วอนุภาคสูงสุด * หมายถึง กำหนดมาตรฐานไว้เฉพาะค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดในแกนนอน ** หมายถึง กำหนดมาตรฐานไว้เฉพาะค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดในแกนตั้ง กรณีที่ 1 หมายถึง ความสัน ่ สะเทือนที่เกิดขึน ่ พ้อง (Resonance) ต่ออาคาร ้ ไม่ทำให้เกิด ปรากฎการณ์ล้า (Fatigue) และการสัน กรณีที่ 2 หมายถึง ความสัน ่ สะเทือนที่เกิดขึน ้ สองอย่าง ้ ทำให้เกิดปรากฎการณ์ล้าและการสั่นพ้องต่ออาคาร อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทัง อาคารประเภทที่ 1 หมายความว่า (1) อาคารที่ใช้เป็นโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน (2) อาคารพาณิชย์ อาคารสำนักงาน อาคารคลังสินค้า อาคารพิเศษ อาคารขนาดใหญ่ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร อาคารประเภทที่ 2 หมายความว่า (1) อาคารอยูอ ่ าศัย อาคารอยู่อาศัยรวม ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว บ้านแฝด ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร (2) อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด (3) หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก (4) อาคารที่ใช้เป็นสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล และอาคารที่ใช้เป็นโรงพยาบาลของทางราชการ (5) อาคารที่ใช้เป็นสถานที่ศึกษาตามกฎหมายของทางราชการและเอกชน (6) อาคารที่ใช้ประโยชน์เพือ ่ กิจกรรมทางศาสนา อาคารประเภทที่ 3 หมายความว่า (1) โบราณสถานตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (2) อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างในลักษณะอื่นใดที่มีลักษณะไม่มั่นคงแข็งแรงแต่มีคุณค่าทางวัฒนธรรม กรมทางหลวงชนบท 4-179 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-5 ระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่ออาคารตามมาตรฐานระบบเยอรมนี หมายเลข 4150 ความเร็วอนุภาคสูงสุด (มิลลิเมตร/วินาที) ผลกระทบของแรงสั่นสะเทือนต่ออาคาร 2.0 แรงสั่นสะเทือน ที่ไม่เป็นอันตรายแม้แต่สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ 5.0 แรงสั่นสะเทือน ที่เป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดความเสียหายทางสถาปัตยกรรม 10.0 แรงสั่นสะเทือน ที่ระดับสูงสุดของที่พักอาศัยยอมรับได้ 20.0 แรงสั่นสะเทือน ที่ระดับสูงสุดของอาคารคอนกรีตแข็งยอมรับได้ 20.0 - 40.0 แรงสั่นสะเทือน ที่ระดับอนุญาตให้เกิดขึ้นในโรงงานอุตสาหกรรมเท่านั้น ที่มา : DIN 4150:1999, Deutsches Institut für Normung ,1999 ตารางที่ 4.4.7-6 ระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์ โดยมาตรฐานระบบบริทิช หมายเลข 5228 ความเร็วอนุภาคสูงสุด ผลกระทบของแรงสั่นสะเทือนต่อมนุษย์ (มิลลิเมตร/วินาที) ▪ แรงสั่นสะเทือนที่มีความเป็นไปได้ที่จะถูกรับรู้โดยมนุษย์ได้ (Perceptible) ในกรณีอ่อนไหว 0.14 (Sensitive Situation) (Vibration might be just perceptible in the most sensitive situations for most vibration frequencies associated with construction.) ▪ แรงสั่นสะเทือนที่สามารถรับรู้โดยมนุษย์ (Perceptible) ในสภาพแวดล้อมที่พักอาศัย 0.30 (Residential Environments) (Vibration might be just perceptible in residential environments.) ▪ แรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดความรำคาญต่อมนุษย์ (Cause Complaint) แต่สามารถทนได้ (Can be Tolerated) โดยจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้าในกรณีกิจกรรมก่อสร้าง (It is likely that 1.0 vibration of this level in residential environments will cause complaint, but can be tolerated if prior warning and explanation has been given to residents .) ▪ แรงสั่นสะเทือนที่เกินจุดที่มนุษย์สามารถทนได้ (Intolerable) ในสภาพแวดล้อมของอาคาร 10.0 (Building Environments) (Vibration is likely to be intolerable for any more than a very brief exposure to this level.) ที่มา : BS 5228:2009 + A1:2014, British Standards 2014 กิจกรรมเตรียมพื้นที่โครงการ จะก่อให้เกิดความสั่นสะเทือนที่มาจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ (Large Bulldozer) ในขณะดำเนินกิจกรรมก่อสร้างต่อพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.002 – 0.390 มิลลิเมตร/วินาที พบว่า มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) ไม่เกินค่ามาตรฐาน ที่กฎหมายกำหนดมาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร อาคารที่กำหนดไว้ 10.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 1, 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 และ 2.5 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (ปี พ.ศ. 2553) โดยเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานระบบเยอรมนีหมายเลข 4150 และมาตรฐานระบบ บริทิชหมายเลข 5228 ปรากฏว่าความสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นนั้นไม่เป็นอันตรายแม้แต่สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ และ สูงกว่าแรงสั่นสะเทือนที่สามารถรับรู้โดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมที่พักอาศัย แต่ต่ำกว่าแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิด ความรำคาญต่อมนุษย์แต่สามารถทนได้โดยจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้าในกรณีกิจกรรมก่อสร้าง จึงมีผลกระทบอยู่ใน ระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.7-7 กรมทางหลวงชนบท 4-180 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม งานผิ วทางและชั ้ นทาง จะก่ อให้ เกิ ดความสั ่ นสะเทื อนที ่ มาจากเครื ่ องจั กรกลขนาดใหญ่ (Vibratory Roller) ในขณะดำเนินกิจกรรมก่อสร้างต่อพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.004 – 0.921 มิลลิเมตร/วินาที พบว่า มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) ไม่เกินค่ามาตรฐาน ที่กฎหมายกำหนดมาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร อาคารที่กำหนดไว้ 10.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 1, 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 และ 2.5 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (ปี พ.ศ. 2553) โดยเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานระบบเยอรมนีหมายเลข 4150 และมาตรฐานระบบ บริทิชหมายเลข 5228 ปรากฏว่าความสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นนั้นไม่เป็นอันตรายแม้แต่สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ และสูง กว่าแรงสั่นสะเทือนที่สามารถรับรู้โดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมที่พักอาศัย แต่ต่ำกว่าแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิด ความรำคาญต่อมนุษย์แต่สามารถทนได้โดยจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้าในกรณีกิจกรรมก่อสร้าง จึงมีผลกระทบอยู่ใน ระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.7-8 งานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ (เจาะเสาเข็ม) จะก่อให้เกิดความสั่นสะเทือน ที่มาจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ (Vibratory Pile Driver) มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.010 – 3.218 มิลลิเมตร/วินาที พบว่า มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) ไม่เกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนดมาตรฐาน ระดับความสั่นสะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร อาคารที่กำหนดไว้ 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่า มาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (ปี พ.ศ. 2553) โดยเมื่อ เปรียบเทียบกับมาตรฐานระบบเยอรมนีหมายเลข 4150 และมาตรฐานระบบบริทิชหมายเลข 5228 ปรากฏว่า ความสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นนั้น สูงกว่าแรงสั่นสะเทือนที่ไม่เป็นอันตรายแม้แต่สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ แต่ต่ำกว่า แรงสั่นสะเทือนที่เป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดความเสียหายทางสถาปัตยกรรม และสูงกว่า แรงสั่นสะเทือนที่ ก่อให้เกิดความรำคาญต่อมนุษย์แต่สามารถทนได้โดยจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้าในกรณีกิจกรรมก่อสร้าง แต่ต่ำกว่า แรงสั่นสะเทือนที่เกินจุดที่มนุษย์สามารถทนได้ในสภาพแวดล้อมของอาคาร จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง แสดงดังตารางที่ 4.4.7-9 งานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบน จะก่อให้เกิดความสั่นสะเทือนที่มาจากเครื่องจักรกล ขนาดใหญ่ (Dump Truck) มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.001 – 0.334 มิลลิเมตร/วินาที พบว่า มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด ( PPV) ไม่เกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนดมาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนโดย เพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร อาคารที่กำหนดไว้ 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 37 (ปี พ.ศ. 2553) โดยเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานระบบ เยอรมนีหมายเลข 4150 และมาตรฐานระบบ บริทิชหมายเลข 5228 ปรากฏว่าความสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นนั้นไม่ เป็นอันตรายแม้แต่สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ และสูงกว่าแรงสั่นสะเทือนที่สามารถรับรู้โดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมที่พก ั อาศัย แต่ต่ำกว่าแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดความรำคาญต่อมนุ ษย์แต่สามารถทนได้โดยจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้า ในกรณีกิจกรรมก่อสร้าง จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.7-10 ในกิจการก่อสร้างฐานรากสะพานบริเวณจุด หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) มีค่าทีส ่ ูง เนื่องจากอยู่ใกล้พื้นที่ก่อสร้างเสาเข็มตอม่อของโครงการ แต่อย่างไรก็ดีการสร้างตอม่อจะเกิดขึ้นเพียงแค่ชั่วคราว ในระยะเวลาสั้น ๆ จึงจำเป็นต้องมีมาตรการระยะก่อสร้างเพื่อป้องกันในจุดดังกล่าว กรมทางหลวงชนบท 4-181 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-7 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการเตรียมพื้นที่โครงการ ผลกระทบด้านแรงสั่ นสะเทือนจากกิจกรรมเตรียมพื้นที่โครงการ ระยะห่าง ค่ามาตรฐาน1 ความสั่ นสะเทือนที่เกิดขึ้นทาให้เกิดปรากฎการณ์ล้า (Fatigue)และ ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่ ความเร็วอนุภาคสู งสุ ด ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่ จากจุด การสั่ นพ้อง (Resonance) ต่ออาคารชั้นบนสุ ดของอาคารที่ทก ุ ความถีข่ องความ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ (PPV) ของเครื่องจักรกล ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ลาดับ พื้นที่ออ ่ นไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว สั่ นสะเทือน มนุษย์ โดยมาตรฐาน อุปกรณ์ อาคาร โดยมาตรฐานระบบ โครงการ อาคารประเภทที่ 1 อาคารประเภทที่ 2 อาคารประเภทที่ 3 ระบบบริทช ิ Large Bulldozer เยอรมนี หมายเลข 41502 (เมตร) PPV = 10 PPV = 5 PPV = 2.5 หมายเลข 5228 3 (มิลลิ เมตร ต่อ วินาที) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 1 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.017 0 0 1 A. (A) 2 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.390 4 8 16 A. (C) 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.246 2 5 10 A. (B) 4 หมู่ ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.003 0 0 0 A. (A) 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.002 0 0 0 A. (A) ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับความสัน ่ สะเทือนโดยเพื่ อป้องกั นผลกระทบต่ออาคาร , คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2553 2 DIN 4150:1999, Deutsches Institut für Normung 1999 3 BS 5228:2009 + A1:2014, British Standards 2014 A. = แรงสัน ่ สะเทือนทีไ ่ ม่เป็นอั นตรายแม้แต่สง ิ่ ปลูกสร้างทีเ่ ก่ าแก่ (A) = ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีม ่ ีความเป็นไปได้ทจ ี่ ะถูกรับรูโ ้ ดยมนุษย์ได้ในกรณีอ่อนไหว (B) = สูงกว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีม ่ ีความเป็นไปได้ทจ ี่ ะถูกรับรูโ้ ดยมนุษย์ได้ในกรณีอ่อนไหว แต่ ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีส ่ ามารถรับรูโ ้ ดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมทีพ ่ ักอาศัย (C) = สูงกว่ า แรงสัน่ สะเทือนทีส ่ ามารถรับรูโ ้ ดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมทีพ ่ ักอาศัย แต่ ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีก ่ ่ อให้เกิ ดความราคาญต่อมนุษย์แต่สามารถทนได้โดยจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้าในกรณีกิจกรรมก่ อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 4-182 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-8 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทางโครงการ ผลกระทบด้านแรงสั่ นสะเทือนจากกิจกรรมงานผิวทางและชั้นทางโครงการ ระยะห่าง ค่ามาตรฐาน1 ความสั่ นสะเทือนที่เกิดขึ้นทาให้เกิดปรากฎการณ์ล้า (Fatigue)และ ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่ ความเร็วอนุภาคสู งสุ ด ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่ จากจุด การสั่ นพ้อง (Resonance) ต่ออาคารชั้นบนสุ ดของอาคารที่ทก ุ ความถีข่ องความ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ (PPV) ของเครื่องจักรกล ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ลาดับ พื้นที่ออ ่ นไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว สั่ นสะเทือน มนุษย์ โดยมาตรฐาน อุปกรณ์ อาคาร โดยมาตรฐานระบบ โครงการ อาคารประเภทที่ 1 อาคารประเภทที่ 2 อาคารประเภทที่ 3 ระบบบริทช ิ Vibratory Roller เยอรมนี หมายเลข 41502 (เมตร) PPV = 10 PPV = 5 PPV = 2.5 หมายเลข 5228 3 (มิลลิ เมตร ต่อ วินาที) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 1 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.041 0 1 2 A. (A) 2 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.921 9 18 37 A. (C) 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.580 6 12 23 A. (C) 4 หมู่ ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.006 0 0 0 A. (A) 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.004 0 0 0 A. (A) ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับความสัน ่ สะเทือนโดยเพื่ อป้องกั นผลกระทบต่ออาคาร , คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2553 2 DIN 4150:1999, Deutsches Institut für Normung 1999 3 BS 5228:2009 + A1:2014, British Standards 2014 A. = แรงสัน ่ สะเทือนทีไ ่ ม่เป็นอั นตรายแม้แต่สง ิ่ ปลูกสร้างทีเ่ ก่ าแก่ (A) = ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีม ่ ีความเป็นไปได้ทจ ี่ ะถูกรับรูโ ้ ดยมนุษย์ได้ในกรณีอ่อนไหว (B) = สูงกว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีม ่ ีความเป็นไปได้ทจ ี่ ะถูกรับรูโ้ ดยมนุษย์ได้ในกรณีอ่อนไหว แต่ ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีส ่ ามารถรับรูโ ้ ดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมทีพ ่ ักอาศัย (C) = สูงกว่ า แรงสัน่ สะเทือนทีส ่ ามารถรับรูโ ้ ดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมทีพ ่ ักอาศัย แต่ ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีก ่ ่ อให้เกิ ดความราคาญต่อมนุษย์แต่สามารถทนได้โดยจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้าในกรณีกิจกรรมก่ อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 4-183 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-9 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ (เจาะเสาเข็ม) ผลกระทบด้านแรงสั่ นสะเทือนจากกิจกรรมการก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่ วนล่ างโครงการ (เจาะเสาเข็ม) ค่ามาตรฐาน1 ความสั่ นสะเทือนที่เกิดขึ้นทาให้เกิดปรากฎการณ์ล้า (Fatigue) ความเร็วอนุภาคสู งสุ ด และการสั่ นพ้อง (Resonance) ต่ออาคารชั้นบนสุ ดของอาคารที่ทก ุ ความถีข ่ อง ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่กอ ่ ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่กอ ่ ระยะห่าง ความสั่ นสะเทือน (PPV) ของเครื่องจักรกล ให้เกิดผลกระทบต่ออาคาร ให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์ ลาดับ พื้นที่ออ ่ นไหว ประเภท ประเภทเสาเข็ม จากจุดกึ่งกลางแนว โดย มาตรฐานระบบเยอรมนี โดย มาตรฐานระบบบริทช ิ อุปกรณ์ Vibratory Pile ฐานราก (เมตร) อาคารประเภทที่ 1 อาคารประเภทที่ 2 อาคารประเภทที่ 3 Driver หมายเลข 41502 หมายเลข 5228 3 PPV = 10 PPV = 5 PPV = 2.5 (มิลลิ เมตร ต่อ วินาที) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 1 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน เสาเข็มเจาะ 393 0.052 1 1 2 A. (A) 2 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน เสาเข็มเจาะ 25 3.218 32 64 129 B. (D) 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน เสาเข็มเจาะ 34 2.029 20 41 81 A. (D) 4 หมู่ ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน เสาเข็มเจาะ 880 0.015 0 0 1 A. (A) 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน เสาเข็มเจาะ 1,166 0.010 0 0 0 A. (A) ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป ่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับความสัน ่ สะเทือนโดยเพื่ อป้องกั นผลกระทบต่ออาคาร , คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2553 2 DIN 4150:1999, Deutsches Institut für Normung 1999 3 BS 5228:2009 + A1:2014, British Standards 2014 A. = แรงสัน ่ สะเทือนทีไ ่ ม่เป็นอั นตรายแม้แต่สง ิ่ ปลูกสร้างทีเ่ ก่ าแก่ B. = สูงกว่าแรงสั่นสะเทือนที่ไม่เป็นอันตรายแม้แต่สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ แต่ตากว่ ่ า แรงสั่นสะเทือนที่เป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดความเสียหายทางสถาปัตยกรรม (A) = ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีม ่ ีความเป็นไปได้ทจ ี่ ะถูกรับรูโ ้ ดยมนุษย์ได้ในกรณีอ่อนไหว (B) = สูงกว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีม ่ ีความเป็นไปได้ทจ ี่ ะถูกรับรูโ้ ดยมนุษย์ได้ในกรณีอ่อนไหว แต่ ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีส ่ ามารถรับรูโ ้ ดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมทีพ่ ักอาศัย (C) = สูงกว่ า แรงสัน่ สะเทือนทีส ่ ามารถรับรูโ ้ ดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมทีพ ่ ักอาศัย แต่ ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีก ่ ่ อให้เกิ ดความราคาญต่อมนุษย์แต่สามารถทนได้โดยจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้าในกรณีกิจกรรมก่ อสร้าง (D) = สูงกว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีก ่ ่ อให้เกิ ดความราคาญต่อมนุษย์แต่สามารถทนได้โดยจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้าในกรณีกิจกรรมก่ อสร้าง แต่ ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีเ่ กิ นจุดทีม ่ นุษย์สามารถทนได้ในสภาพแวดล้อมของอาคาร กรมทางหลวงชนบท 4-184 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-10 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการ ผลกระทบด้านแรงสั่ นสะเทือนจากกิจกรรมก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่ วนบนโครงการ ระยะห่าง ค่ามาตรฐาน1 ความสั่ นสะเทือนที่เกิดขึ้นทาให้เกิดปรากฎการณ์ล้า (Fatigue)และ ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่ ความเร็วอนุภาคสู งสุ ด ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่ จากจุด การสั่ นพ้อง (Resonance) ต่ออาคารชั้นบนสุ ดของอาคารที่ทก ุ ความถีข่ องความ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ (PPV) ของเครื่องจักรกล ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ลาดับ พื้นที่ออ ่ นไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว สั่ นสะเทือน มนุษย์ โดยมาตรฐาน อุปกรณ์ อาคาร โดยมาตรฐานระบบ โครงการ อาคารประเภทที่ 1 อาคารประเภทที่ 2 อาคารประเภทที่ 3 ระบบบริทช ิ Dump Truck เยอรมนี หมายเลข 41502 (เมตร) PPV = 10 PPV = 5 PPV = 2.5 หมายเลข 5228 3 (มิลลิ เมตร ต่อ วินาที) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 1 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.015 0 0 1 A. (A) 2 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.334 3 7 13 A. (C) 3 กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.210 2 4 8 A. (B) 4 หมู่ ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.002 0 0 0 A. (A) 5 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.001 0 0 0 A. (A) ที่ มา : การวิ เคราะห์โดยทีป่ รึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับความสัน ่ สะเทือนโดยเพื่ อป้องกั นผลกระทบต่ออาคาร , คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2553 2 DIN 4150:1999, Deutsches Institut für Normung 1999 3 BS 5228:2009 + A1:2014, British Standards 2014 A. = แรงสัน ่ สะเทือนทีไ ่ ม่เป็นอั นตรายแม้แต่สง ิ่ ปลูกสร้างทีเ่ ก่ าแก่ (A) = ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีม ่ ีความเป็นไปได้ทจ ี่ ะถูกรับรูโ ้ ดยมนุษย์ได้ในกรณีอ่อนไหว (B) = สูงกว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีม ่ ีความเป็นไปได้ทจ ี่ ะถูกรับรูโ้ ดยมนุษย์ได้ในกรณีอ่อนไหว แต่ ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีส ่ ามารถรับรูโ ้ ดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมทีพ ่ ักอาศัย (C) = สูงกว่ า แรงสัน่ สะเทือนทีส ่ ามารถรับรูโ ้ ดยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมทีพ ่ ักอาศัย แต่ ต่ากว่ า แรงสัน ่ สะเทือนทีก ่ ่ อให้เกิ ดความราคาญต่อมนุษย์แต่สามารถทนได้โดยจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้าในกรณีกิจกรรมก่ อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 4-185 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ การประเมินผลกระทบด้านความสะเทือนจากกิจกรรมการ เคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ โดยรถบรรทุกขนาดใหญ่ในการขนส่งตามแนวถนนลำลองและถนนโครงข่าย จะมี ตัวแปรที่สำคัญคือ น้ำหนักบรรทุก ซึ่งเป็นปัจจัยหลักทำให้เกิดผลกระทบด้านแรงสั่นสะเทือน ในการประเมินผล กระทบอ้างอิงข้อมูล ตามรายงาน Traffic-induced Ground-borne Vibrations in Dwellings โดยสถาบันวิจัย การขนส่งและการจราจรของ สหราชอาณาจักร (ชื่อเดิม) (Transport and Road Research Laboratory; TRRL) ในปี 1987 และรายงาน The Effects of Traffic Changes on Perceived Nuisance โดยสถาบันวิจัยการจราจร ของสหราชอาณาจักร (ชื่อใหม่) (Transport Research Laboratory; TRL) ในปี 1994 เพื่อคาดการณ์ผลกระทบ ด้านแรงสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ สำหรับการคำนวณระดับความสั่นสะเทือนที่ เกิดขึ้นบริเวณใกล้เคียงโครงการใช้สมการ ดังนี้ PPV = 0.021(a) x (V/50) x (W/15) x t(p(R/6)x) เมื่อ PPV คือ ความเร็วอนุภาคสูงสุดที่ได้จากการคำนวณ A คือ ความขรุขระของผิวทาง (Surface Defect) โดยคิดจากระยะความสูงพืน ้ ผิว ที่ต่างระดับสูงสุด (peak to peak value) V คือ อัตราความเร็วของยานพาหนะประเภทต่างๆ W คือ อัตราน้ำหนักบรรทุกของยานพาหนะประเภทต่างๆ t คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของพื้นดิน (Ground Scaling Factor) p คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของผิวทาง (Defect Factor) R คือ ระยะห่างระหว่างยานพาหนะขณะมีกิจกรรมถึงจุดผู้รับเสียง (Receptor) ที่ใช้เป็นตัวแทนพืน้ ที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม x คือ ค่าสัมประสิทธิ์ระหว่างพื้นดินและค่าลดทอนของความเร็วอนุภาค (Attenuation Constance) ความเร็วอนุภาคสูงสุดได้จากการคำนวณที่ได้จากสมการ (2) จะใช้เป็นค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด ที่ได้ระบุให้เป็นเงื่อนไขของการประเมิน โดยประเภทยานพาหนะที่ใช้ในกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ คือ รถบรรทุกขนาดใหญ่ (3 เพลา ; 10 ล้อ) อัตราน้ำหนักบรรทุกสูงสุดไม่เกิน 25 ตัน และมีอัตราความเร็วไม่เกิน 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง ขณะทำการขนส่งตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก ฉบับ 8 (พ.ศ. 2551) (ตารางที่ 4.4.7-11) ในส่วนของค่าสัมประสิทธิ์ต่างๆ ได้ทำการระบุ เงื่อนไขของการประเมิน โดยให้เป็นเส้นทางไม่มีผิวทางที่มีพื้นดิน รองรับทางเป็นทราย ซึ่งมีการอ้างอิงจากรายงาน Traffic-induced Ground-borne Vibrations in Dwellings โดยสถาบันวิจัยการขนส่งและการจราจรของสหราชอาณาจั กร (ชื่อเดิม) (Transport and Road Research Laboratory ; TRRL) ในปี 1987 และรายงาน The Effects of Traffic Changes on Perceived Nuisance โดย สถาบันวิจัยการจราจรของสหราชอาณาจักร (ชื่อใหม่) (Transport Research Laboratory ; TRL) ในปี 1994 แสดงดังตารางที่ 4.4.7-12 และตารางที่ 4.4.7-13 กรมทางหลวงชนบท 4-186 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-11 อัตราความเร็วของยานพาหนะประเภทต่างๆ การกำหนด อัตราความเร็วของยานพาหนะ2 (กิโลเมตร/ชั่วโมง) ลักษณะยานพาหนะบรรทุก1 นํ้าหนักรวม1 พื้นที่เขตกรุงเทพมหานคร, พื้นที่นอกเขต (ตัน) เขตเมืองพัทยา, หรือเขตเทศบาล เทศบาล รถบรรทุกขนาดเล็ก/รถปิกอัพบรรทุกสินค้า (2 เพลา; 4 ล้อ) 9.5 60 80 รถบรรทุกขนาดเล็ก (2 เพลา; 4 ล้อ) 15.0 60 80 รถบรรทุกขนาดกลาง (3 เพลา; 6 ล้อ) 18.0 60 80 รถบรรทุกขนาดกลาง (3 เพลา; 6 ล้อ) 21.5 60 80 รถบรรทุกขนาดใหญ่ (3 เพลา; 8 ล้อ) 21.0 45 60 รถบรรทุกขนาดใหญ่ (4 เพลา; 8 ล้อ) 23.0 45 60 รถบรรทุกขนาดใหญ่ (3 เพลา; 10 ล้อ) 25.0 45 60 รถบรรทุกขนาดใหญ่ (4 เพลา; 12 ล้อ) 30.0 45 60 รถกึ่งพ่วง (5 เพลา; 18 ล้อ) 45.0 45 60 รถกึ่งพ่วง (6 เพลา; 22 ล้อ) 49.0 45 60 รถพ่วง (6 เพลา; 22 ล้อ) 50.5 45 60 รถพ่วง (7 เพลา; 24 ล้อ) 50.5 45 60 ที่มา : 1 การกำหนดนํ้าหนักรถบรรทุกและบทแก้ไขเพิ่มเติม, กระทรวงคมนาคม 2552 2 อัตราความเร็วของยานพาหนะ, กระทรวงคมนาคม 2551 ตารางที่ 4.4.7-12 ข้อมูลอ้างอิงของค่าสัมประสิทธิ์ของผิวทาง ความขรุขระของผิวทาง ค่าสัมประสิทธิ์ของผิวทาง ลักษณะของผิวทาง (Surface Defect) (มิลลิเมตร) (Defect Factor) ผิวทางสร้างใหม่ 1.0 1.0 ถนนลาดยางผิวเรียบ 1.4 1.0 ผิวทางเสียสภาพ 5.0 0.75 ไม่มีผิวทาง 10.0 0.75 ที่มา : Traffic-induced Ground-borne Vibrations in Dwellings, TRRL 1987 และ The Effects of Traffic Changes on Perceived Nuisance, TRL 1994 ตารางที่ 4.4.7-13 ข้อมูลอ้างอิงของค่าสัมประสิทธิ์ของพื้นดิน ค่าสัมประสิทธิ์ของพื้นดิน ค่าสัมประสิทธิ์ระหว่างพื้นดินและค่าลดทอนของ ลักษณะของพื้นดิน (Ground Scaling Factor) ความเร็วอนุภาค (Attenuation Constance) ดินเหนียวอ่อน (Soft Clay) 3.0 -0.67 ดินเหนียวแข็ง (Stiff Clay) 0.43 -0.93 ทราย (Sand) 1.0 -1.40 หินกรวด (Moraine) 0.20 -0.90 ที่มา : Traffic-induced Ground-borne Vibrations in Dwellings, TRRL 1987 และ The Effects of Traffic Changes on Perceived Nuisance, TRL 1994 กรมทางหลวงชนบท 4-187 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบด้านแรงสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการเคลื่อนย้ายและการขนส่งวัสดุ จะมี การอ้างอิงการประเมินผลกระทบจากระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์จากกิจกรรมการจราจร (Reaction of People at the Level of Vibration within Range associated with Traffic) อ้ างอิ งตามแนวทาง ของรายงาน A Survey of Traffic-induced Vibration (LR-418) ของสถาบันวิจัยการขนส่งและการจราจรของ สหราชอาณาจักร (ชื่อเดิม) ( Transport and Road Research Laboratory; TRRL) ในปี 1971 มีรายละเอียด แสดงดังตารางที่ 4.4.7-14 ตารางที่ 4.4.7-14 ระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์จากกิจกรรมการจราจร ความเร็วอนุภาคสูงสุด ระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์ (มิลลิเมตร/วินาที) 0.0 – 0.15 ▪ ระดับแรงสั่นสะเทือน ไม่สามารถถูกรับรู้ได้โดยมนุษย์ ( Imperceptible by People) และไม่ รู้สึกถูกรบกวน (No Intrusion) (Imperceptible by people – no intrusion.) 0.15 – 0.30 ▪ ระดับแรงสั่นสะเทือน มีค่าอยู่ในช่วงเริ่มรับรู้ได้ ( Threshold of Perception) และมีความ เป็นไปได้ที่อาจจะถูกรบกวน (Possibility of Intrusion) (Threshold of perception – possibility of intrusion) 2.0 ▪ ระดับแรงสั่นสะเทือนที่สามารถรับรู้ได้ (Vibrations Perceptible) 2.5 ▪ ระดับแรงสั่นสะเทือน ที่ถ้าเกิดอย่างต่อเนื่อง (Continuous Vibrations) จะเริ่มก่อให้เกิดความ รำคาญ (Begin to Annoy People) (Level at which continuous vibrations begin to annoy people.) 5.0 ▪ ระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก่อให้เกิดความรำคาญต่อมนุษย์ที่อยู่ในอาคาร ( Vibrations Annoying to People in Buildings) 10.0 – 15.0 ▪ ระดับแรงสั่นสะเทือนที่ก ่อให้เกิดความไม่สบายต่อความรู้สึก ( Considered Unpleasant by People) ในกรณีถ้าเกิดอย่างต่อเนื่อง (Continuous Vibrations) และเป็นระดับแรงสั่นสะเทือน ที่ยอมรับไม่ได้ (Unacceptable) ต่อมนุษย์ที่อยู่บนสะพาน (Vibrations considered unpleasant by people subjected to continuous vibrations and unacceptable to some people walking on bridges.) ที่มา : A Survey of Traffic-induced Vibration, TRRL 1971 กิจกรรมการขนส่งวัสดุ ก่อสร้างโครงการ พบว่า แรงสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.064 - 0.734 มิลลิเมตร/วินาที ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนดไว้ มาตรฐานระดับ ความสั่นสะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร อาคาร ที่กำหนดไว้ 10.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐาน อาคารประเภทที่ 1, 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 และ 2.5 มิลลิเมตร/วินาที ของค่า มาตรฐานอาคารประเภทที่ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (ปี พ.ศ. 2553) พบว่า แรงสั่นสะเทือนไม่เป็นอันตรายแม้แต่สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ และเมื่อนำไปเปรียบเทียบข้อกำหนดด้านความสั่นสะเทือน ต่อมนุษย์ จากกิจกรรมการจราจร โดยมาตรฐาน Transport and Road Research Laboratory พบว่า ระดับ แรงสั่นสะเทือน มีค่าอยู่ในช่วงเริ่มรับรู้ได้ และมีความเป็นไปได้ที่อาจจะถูกรบกวน ส่งผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.7-15 กรมทางหลวงชนบท 4-188 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-15 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการขนส่งวัสดุก่อสร้างโครงการ ผลกระทบด้านแรงสั่ นสะเทือนจากกิจกรรมการก่อสร้างถนนโครงการ ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่ ระยะห่าง ความเร็วอนุภาคสู งสุ ด ค่ามาตรฐาน1 ความสั่ นสะเทือนที่เกิดขึ้นทาให้เกิดปรากฎการณ์ล้า ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ จากจุด (PPV) (Fatigue)และการสั่ นพ้อง (Resonance) ต่ออาคารชั้นบนสุ ดของ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ มนุษย์ โดย ลาดับ พื้นที่ออ ่ นไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว ของรถบรรทุกขนาด อาคารที่ทกุ ความถีข ่ องความสั่ นสะเทือน อาคาร โดยมาตรฐาน Transport and โครงการ ใหญ่นาหนั ้ กบรรทุก อาคารประเภทที่ 1 อาคารประเภทที่ 2 อาคารประเภทที่ 3 ระบบเยอรมนี Road Research (เมตร) สู งสุ ดไม่เกิน 50.5 ตัน PPV = 10 PPV = 5 PPV = 2.5 หมายเลข 41502 Laboratory3 (มิลลิ เมตร/วินาที) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 1 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.183 2 4 7 A. (B) 2 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.734 7 15 29 A. (B) 3 หมู่ ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.080 1 2 3 A. (A) 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.064 1 1 3 A. (A) ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนโดยเพือ ่ ป้องกันผลกระทบต่ออาคาร, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2553 2 DIN 4150:1999, Deutsches Institut für Normung 1999 3 A Survey of Traffic-induced Vibration, TRRL 1971 A. = แรงสั่นสะเทือนที่ไม่เป็นอันตรายแม้แต่สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ (A) = ระดับแรงสั่นสะเทือน ไม่สามารถถูกรับรู้ได้โดยมนุษย์และไม่รู้สก ึ ถูกรบกวน (B) = ระดับแรงสั่นสะเทือน มีคา ่ อยู่ในช่วงเริ่มรับรู้ได้ และมีความเป็นไปได้ที่อาจจะถูกรบกวน กรมทางหลวงชนบท 4-189 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ การประเมินผลกระทบด้านแรงสั่นสะเทือนจากการคมนาคมบนถนนโครงการ ได้ใช้ข้อมูลอ้างอิง จากรายงาน Traffic-induced Ground-borne Vibrations in Dwellings ของสถาบันวิจัยการขนส่งและการจราจร ของสหราชอาณาจักร (ชื่อเดิม) (Transport and Road Research Laboratory; TRRL) ในปี 1987 และรายงาน The Effects of Traffic Changes on Perceived Nuisance ของสถาบันวิจัยการจราจรของ สหราชอาณาจักร (ชื่อใหม่) (Transport Research Laboratory; TRL) ในปี 1994 โดยผลการประเมิน พบว่า แรงสั่นสะเทือนมีค่า ความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.032-0.367 มิลลิเมตร/วินาที ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนดไว้ มาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร อาคาร ที่กำหนดไว้ 10.0 มิลลิเมตร/วินาที ของ ค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 1, 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 และ 2.5 มิลลิเมตร/ วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (ปี พ.ศ. 2553) เมื่อนำผลการศึกษาไปเปรียบเทียบข้อกำหนดด้านความสั่นสะเทือนต่อสิ่งปลูกสร้าง (DIN 4150) และมาตรฐาน ระดับความสั่นสะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2553 พบว่า แรงสั่นสะเทือนไม่เป็นอันตรายแม้แต่สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ และเมื่อนำไปเปรียบเทียบข้อกำหนดด้านความ สั่นสะเทือนต่อมนุษย์ โดยมาตรฐานระบบบริทิชหมายเลข 5228 พบว่าระดับแรงสั่นสะเทือน มีค่าอยู่ในช่วงเริ่ม รับรู้ได้ จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.4.7-16 กรมทางหลวงชนบท 4-190 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.4.7-16 ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมคมนาคมบนถนนระยะดำเนินการ กรณีมีโครงการ ผลกระทบด้านแรงสั่ นสะเทือนจากกิจกรรมระยะดาเนินการกรณีมีโครงการ ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่ ระยะห่าง ความเร็วอนุภาคสู งสุ ด ค่ามาตรฐาน1 ความสั่ นสะเทือนที่เกิดขึ้นทาให้เกิดปรากฎการณ์ล้า ระดับแรงสั่ นสะเทือนที่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ จากจุด (PPV) (Fatigue) และการสั่ นพ้อง (Resonance) ต่ออาคารชั้นบนสุ ดของ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ มนุษย์ โดย ลาดับ พื้นที่ออ ่ นไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว ของรถบรรทุกขนาด อาคารที่ทกุ ความถีข ่ องความสั่ นสะเทือน อาคาร โดยมาตรฐาน Transport and โครงการ ใหญ่นาหนั ้ กบรรทุก อาคารประเภทที่ 1 อาคารประเภทที่ 2 อาคารประเภทที่ 3 ระบบเยอรมนี Road Research (เมตร) สู งสุ ดไม่เกิน 50.5 ตัน PPV = 10 PPV = 5 PPV = 2.5 หมายเลข 41502 Laboratory3 (มิลลิ เมตร/วินาที) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 1 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (ก่อนเข้าท่าเรือ) ชุมชน 199 0.091 1 2 4 A. (A) 2 หมู่ ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ชุมชน 25 0.367 4 7 15 A. (B) 3 หมู่ ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ชุมชน 683 0.040 0 1 2 A. (A) 4 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.032 0 1 1 A. (A) ที่มา : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนโดยเพือ ่ ป้องกันผลกระทบต่ออาคาร, คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2553 2 DIN 4150:1999, Deutsches Institut für Normung 1999 3 A Survey of Traffic-induced Vibration, TRRL 1971 A. = แรงสั่นสะเทือนที่ไม่เป็นอันตรายแม้แต่สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ (A) = ระดับแรงสั่นสะเทือน ไม่สามารถถูกรับรู้ได้โดยมนุษย์และไม่รู้สก ึ ถูกรบกวน (B) = ระดับแรงสั่นสะเทือน มีคา ่ อยู่ในช่วงเริ่มรับรู้ได้ และมีความเป็นไปได้ที่อาจจะถูกรบกวน กรมทางหลวงชนบท 4-191 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.5 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ 4.5.1 ระบบนิเวศ 4.5.1.1 ระบบนิเวศบก 1) ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศบก (1) กรณีไม่มีโครงการ พื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ผลการตรวจสอบ พื้นที่ดำเนินการโครงการพบว่าตัดผ่านพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า โดยตัดผ่านพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล ช่วง กม.0+922 – กม.1+369 ระยะทางประมาณ 0.447 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 4.0 ไร่ ซึ่งเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเลเป็นพื้นที่ป่าเสม็ดผืนใหญ่ เนื้อที่หลายพันไร่ ผืนเดียว ในประเทศไทย และเป็นพื้นที่ที่มีสังคมพรรณพืชที่เชื่อมต่อระหว่างป่าชายหาด-ป่าเสม็ด และป่าชายเลนที่คงความ บริสุทธิ์มากที่สุด นอกจากนี้ยังเป็นที่อาศัยของสัตว์ป่า หลายชนิด และแนวเส้นทางยังตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน ตามมติ ค ณะรัฐ มนตรี ซึ่ งผลการตรวจสอบพื้ น ที่ ด ำเนิ น การโครงการตั ด ผ่ า นเฉพาะพื้ น ที่ ป่ า ชายเลนตามมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และ 14 ตุลาคม 2543 (ไม่อยู่ในเขตป่าชายเลนในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ) ช่วง กม.1+828-กม.1+957 ระยะทางประมาณ 0.129 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 1.2 ไร่ และแนวเส้นทาง โครงการยั ง อยู่ ในเขตพื้ น ที่ ป่ า สงวนแห่ งชาติ 1 แห่ ง คื อ ป่ า สงวนแห่ งชาติ ป่ า หลั งสอด/ป่ า ควนบากั น เกาะ ช่วง กม.1+958-กม.2+527 ระยะทาง 0.569 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 4.0 ไร่ และจากการตรวจสอบพื้นที่ ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการกับสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร-ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ตามหนังสือเลขที่ ทส 1009.6/1528 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564 พบว่า พื้นที่ดำเนินโครงการตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำที่ 5 ทั้งหมด มีขนาดพื้นที่ประมาณ 13 ไร่ โดยพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้นที่ 5 มติคณะรัฐมนตรี กำหนดให้ ใช้พื้ นที่ ได้ทุกกิจกรรม ในกรณี ไม่มีโครงการ จะไม่มีกิจกรรมที่ก่อให้ผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลง ระบบนิเวศบก (2) กรณีมีโครงการ ก) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง แนวเส้นทางโครงการบริเวณที่มีการก่อสร้างเชิงลาดสะพานฝั่งตำบลเกาะกลาง ช่วง กม. 0+000-กม.0+500 และพื้นที่ก่อสร้างเชิงลาดสะพานฝั่งตำบลกาะลันตาน้อย ช่วง กม.2+000-กม.2+527 พื้นที่ ริมไหล่ทาง (Roadside verge) มีการใช้ที่ดินเป็น เส้นทางคมนาคม สิ่งปลูกสร้าง และบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของ ชุมชน โดยทั่วไปพื้นที่ในชุมชนปลูกต้นไม้ชนิดพันธุ์ ต่างๆ ไว้ทั้งไม้ใหญ่ ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก และยังคงมีสภาพ หย่อมต้นไม้และพรรณพืชธรรมชาติ วัชพืชใบแคบ-ใบกว้างประเภทและชนิดต่างๆ หลากหลายขึ้นเติบโตปะปนกัน โดยขอบเขตพื้นที่ดังกล่าวมีทั้งขอบเขตกว้างและพื้นที่ขนาดเล็ก อาจเป็นที่ลุ่มรกร้าง บางบริเวณมีชนิดพันธุ์ต้นไม้ ป่าชายเลนในสภาพเป็นกลุ่มกระจั ดกระจายแยกเป็นช่วงๆ และ/หรือต่อเนื่องกันไปตามความยาวของทางหลวง สัต ว์ป่ าที่ แพร่กระจายอยู่ ส่วนมากเป็ น นกประเภทหากิน ตามพุ่ ม ไม้ เรือนยอดต้ น ไม้ เช่น นกกระจิบ ธรรมดา นกอีแพรดแถบอกดำ นกอีเสือสีน้ำตาล เป็นต้น ประเภทหากินบนพื้นดินในพื้นที่กึ่งเปิดโล่งบริเวณไหล่ทางที่มี กลุ่ม/แนวพรรณพืชเป็นหย่อมๆ เช่น นกยางกรอกพันธุ์จีน เป็นต้น อนึ่ง พื้นที่ริมไหล่ทางบริเวณที่มีชนิดพันธุ์ต้นไม้ ของป่าชายเลนขึ้นเติบโต จึงเป็นบริเวณใช้ประโยชน์ของนกที่ผูกพันกับที่ชุ่มน้ำ เพื่อใช้เกาะพักที่กิ่งไม้หรือเกาะ มองหาเหยื่อที่เป็นสัตว์น้ำ และเมื่อระดับน้ำในลำคลองลดต่ำลงจนเห็นดินเลนชายคลองทำให้นกเดินลุยน้ำลุยเลน หากินอาหารประเภทสัตว์น้ำ สำรวจพบนกน้ำบางชนิดในสภาพถิ่นอาศัยเฉพาะที่ (microhabitat) ดังกล่าว เช่น กรมทางหลวงชนบท 4-192 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม นกกินเปี้ยว นกยางกรอกพันธุ์จีน นกยางเปีย นกยางเขียว นอกจากนี้ใ นเรือนยอดต้นไม้ยังเป็นแหล่งหากินแมลง ของนกบางชนิ ด เช่ น นกอี แพรดแถบอกดำ ในสภาพหย่ อมต้ น ไม้ เป็ น แถบยาวตามแนวริม ชายคลองยั งเป็ น ชายขอบเส้นทางที่ตัวเหี้ยเคลื่อนที่ไปตามพื้นผิวดินเลน จากสภาพนิ เวศปั จ จุ บั น ของพื้ น ที่ ต ามแนวเส้ น ทางโครงการและสภาพสั ญ จรไป -มา ของยานพาหนะทั้ ง ประเภทและขนาด รวมทั้ ง เสี ย งจากเครื่ อ งยนต์ เสี ย งแตร และเสี ย งล้ อ ยางรถยนต์ การสั่น สะเทื อนจากการเคลื่ อนที่ ของยานพาหนะ กระแสลม มวลความร้อน แสงไฟส่ องสว่ างเวลากลางคื น และมลพิ ษ จากยานพาหนะประเภทต่ า งๆ และการจั ด การดู แ ลรั ก ษา จากกิ จ กรรมการแผ้ ว ถางพรรณพื ช และตั ดฟั น ต้ นไม้ เป็น ต้ น จึ งมี สภาพนิเวศด้านถิ่น อาศัย สัต ว์ป่าที่ มี ขนาดและคุณ ภาพต่ำ สัต ว์ป่ าที่ ส ำรวจพบ ที่ อาศั ย และเคลื่ อนย้ ายเข้ า มาใช้ ป ระโยชน์ ในบริเวณเขตทางหลวง จึง มี ความหลากชนิ ด และประชากรน้ อ ย และเป็นประเภทปรับตัวคุ้นเคยกับการถูกรบกวนและทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพ แวดล้อม และมี ขนาดตัวเล็ก หลบเลี่ยงซ่อนตัว และมักจะมีประสิทธิภาพการเคลื่อนที่สูง สัตว์ป่าส่วนมากสามารถปรับตัวอาศัย ในที่เปิดโล่ง การปรับตัวของสัตว์ป่าที่อาศัยและเข้ามาใช้ประโยชน์ยังขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพระบบประสาทรับ สัมผัส โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการรับภาพและการรับคลื่นเสียง พฤติกรรมและประสิทธิภาพสัณ ฐานเชิงนิเวศ ด้านการเคลื่อนที่และหลีกเลี่ยงยานพาหนะ รวมทั้งหลีกเลี่ยงการเคลื่อนที่บนพื้นผิวถนน เป็นต้น สัตว์ป่าที่อาศัย ต้องการการปกป้องภัยจากสิ่งแวดล้อมโดยรอบสัตว์ผู้ล่า และเพื่อการหากินและเป็นประเภทปรับตัวคุ้นเคยกั บ การถูกรบกวนและทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม และมีขนาดตัวเล็ก หลบเลี่ยงซ่อนตัว พื้ น ที่ ท่ าเรือบ้ านหั วหิ น เป็ นพื้ น ที่ ดำเนิ น การก่อสร้างเชิ งลาดสะพานของโครงการหรือ บริเวณช่วงต้นถนนโครงการ การศึกษาในด้านสภาพแวดล้อมนั้น มีองค์ประกอบเชิงมิติกายภาพพื้นที่มีสิ่งก่อสร้าง ที่มีความหลากหลาย รูปทรง ขนาดและโครงสร้าง และสิ่งปลูกสร้าง พบว่าพื้นที่ในชุมชนทั่วไปปลูกต้นไม้ชนิดพันธุ์ ต่างๆ ไว้ทั้งไม้ใหญ่ ไม้พุ่ ม และไม้ล้มลุก และยังคงมีสภาพหย่อมต้นไม้และพรรณพืชธรรมชาติ วัชพืชใบแคบ - ใบกว้าง ประเภท และชนิดต่างๆ หลากหลายขึ้นเติบโตปะปนกัน รวมทั้งที่เป็นชนิดพันธุ์ของป่าชายเลน ที่รกร้ าง ที่ ลุ่ ม ที่ เปิ ด โล่ ง และบ่ อเลี้ ย งสั ต ว์ น้ ำ ปะปนอยู่ ในพื้ น ที่ เมื่ อพิ จ ารณาสภาพนิ เวศของพื้ น ที่ ท่ า เรือบ้ า นหั ว หิ น ในปัจจุบัน (จุดบริการแพขยานยนต์) ในด้ านเป็น พื้น ที่อาศัยของสัตว์ป่า กล่าวได้ว่าส่วนมากเป็นนกเข้ามาใช้ ประโยชน์เป็นส่วนมากหรือเกือบทั้งหมด ซึ่งเป็นชนิดที่ปรับตัวคุ้นเคยกับการถูกรบกวนอย่างต่อเนื่องกับกิจกรรม ของมนุษย์และความพลุกพล่านของการจราจรบนพื้นผิวถนนในพื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหิน เช่น นกนางแอ่นแปซิฟิค เป็นต้น ส่วนน้อยเป็นสัตว์ป่ามีกระดูกสันหลัง ชั้นอื่น โดยพบลิงแสมเข้ามาหาอาหารบริเวณกองขยะ นอกจากนี้ แนวเส้นทางโครงช่วงตัดผ่านพื้นที่ชายฝั่งทะเลน้ำตื้นคลองช่องลาด เพื่อก่อสร้างสะพานคานขึงและสะพานคานยื่น สมดุล มีสภาพเป็นส่วนหนึ่งของสังคมป่าชายเลนที่มีสภาพพื้นที่เป็นแนวยาวต่อเนื่อ งกันตามแนวเปิดโล่งชายฝั่ ง น้ำตื้นบริเวณคลองช่องลาด เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล สัตว์ป่าที่อาศัยและใช้ ประโยชน์ส่วนมากเป็นนก รวมทั้ง เป็นสภาพนิเวศของนกน้ำและนกชายเลนอพยพ กอปรกับ พื้นที่ก่อสร้างเชิงลาดสะพานฝั่งตำบลกาะลันตาน้อย ช่วง กม.2+000-กม.2+527 เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งการแพร่กระจายของนากใหญ่ขนเรียบ ทั้งนี้ ในการดำเนินกิจกรรม ก่อสร้างโครงการต่างๆ จะมีการเข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้ มีการตัดไม้ต้นไม้ใหญ่ที่อยู่ในพื้นที่ก่อสร้าง ซึ่งมี ผลทำให้สภาพแวดล้อมแปรเปลี่ยนไป จะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศบนบกและมีผลกระทบ ต่อเนื่องไปยังทรัพยากรสัตว์ป่า ซึ่งทั้งสองมีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน เป็นปัจจัยในการเกื้อหนุนที่มีความสัมพันธ์กัน จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-193 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ข) ระยะดำเนินการ งานบำรุงรักษาปกติเป็นการบำรุงรักษาทางอยู่เป็นประจำ เพื่อให้มีสภาพ ใช้งานได้ดี ส่วนการบำรุงรักษาทางตามช่วงเวลาที่กำหนดเป็นการบำรุงรักษาเพื่ อต่ออายุให้สะพานอยู่ในสภาพ ที่ใช้งานได้นานขึ้น สำหรับงานบำรุงรักษาพิเศษ/งานบูรณะ/งานซ่อมฉุกเฉิน จะเป็น การบำรุง เสริมแต่ง และ ปรับปรุงทางที่ชำรุด เสียหายเกินกว่าที่จะทำการซ่อมบำรุง โดยวิธีปกติให้กลับสู่สภาพเดิม รวมทั้งแก้ไขปรับปรุ ง หรือเพิ่ มเติมสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้ใช้ เส้นทางสามารถใช้ทางเป็ นไปด้วยความปลอดภัย ซึ่ง กิจกรรม ส่วนใหญ่ ที่เกิดขึ้นเป็นการคมนาคมบนถนนโครงการ ซึ่งไม่มีการตัดต้นไม้หรือนำไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้ จึงไม่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศบกแต่อย่างใด 4.5.1.2 นิเวศวิทยาทางน้ำ 1) ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศทางน้ำ (1) กรณีไม่มีโครงการ ผลการสำรวจนิเวศวิทยาทางน้ำในบริเวณพื้นที่โครงการ สามารถสรุปสถานภาพปัจจุบัน ของ สภาพนิเวศวิทยาทางน้ำที่สำรวจได้ดังนี้ แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนพืชในแต่ละสถานีมีอยู่ระหว่าง 27-34 และ 34-37 ชนิด ตามลำดับ ส่วนปริมาณแพลงก์ตอนพืช มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 6 ,521,760-9,756,300 และ 4,695,040 -5,484,780 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ดัช นีความหลากหลายอยู่ในระดั บปานกลาง (2.07-2.39 และ 2.21 -2.89 ตามลำดับ) แพลงก์ตอนสัตว์ แพลงก์ตอนสัตว์ในแต่ละสถานีมีอยู่ระหว่าง 11-16 และ 6-8 ชนิด ตามลำดับ ส่วนปริมาณแพลงก์ ตอนสัตว์มีความหนาแน่น อยู่ระหว่าง 304,380 -403,200 และ 199,520 -385,560 เซลล์ ต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.48 -2.54 และ 1.11-1.33 ตามลำดับ) สัตว์น้ำวัยอ่อน ในส่วนของไข่ปลาที่สำรวจพบในช่วงเดือนมกราคม ในแต่ละสถานี มีจำนวน อยู่ระหว่าง 64-588 ฟอง ต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร (สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ต. เกาะกลาง สุ่มสำรวจ ไม่พบ ไข่ปลา) ส่วนในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พบว่าทั้ง 3 สถานีสำรวจไม่พบไข่ปลา สำหรับการสำรวจชนิดและความอุดม สมบูรณ์ ของลูก ปลาวัยอ่อนในพื้นที่โครงการนั้นในช่วงเดือนมกราคม และกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 พบว่าอยู่ใน เกณฑ์ความอุดมสมบู รณ์ ต่ำ โดยพบจำนวนชนิดในแต่ละสถานีอยู่ในช่ว ง 2-4 และ 4-8 ครอบครัว ตามลำดับ และมีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 15 -24 และ 40-439 ตัวต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ โดยมีดัชนีความ หลากหลายของลูกปลาอยู่ในระดับต่ำไปจนถึงระดับปานกลาง (0.64-1.39 และ 1.18-1.83 ตามลำดับ) สัตว์หน้าดิน สัตว์หน้าดินในแต่ละสถานีมีค่าอยู่ระหว่าง 3-5 และ 6-8 ชนิด ตามลำดับ และมี ความหนาแน่ นอยู่ในช่วง 91 -166 และ 151-280 ตัวต่อตารางเมตร ตามลำดับ ซึ่งมี กลุ่มชนิ ดและความอุด ม สมบูรณ์ ไม่ต่างกันนัก ชนิดส่วนใหญ่ที่พบเป็นพวกไส้เดือนทะเล กุ้ งเต้น กุ้งดีดขัน ปูใบ้ และดาวเปราะ เป็นต้ น โดยมีดัชนีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง (1.05-1.35 และ 1.53-1.70 ตามลำดับ) ปลา ปลาในแต่ละสถานีมีจำนวนชนิด 7 -12 และ 6-17 ชนิด ตามลำดับ สำหรับปริมาณปลา ต่อพื้นที่ (Standing Crop) ในแต่ละสถานีนั้นพบอยู่ในระดับต่ำ โดยพบอยู่ระหว่าง 0.44 -0.81 และ 0.84-1.34 กิโลกรัม /ไร่ ตามลำดั บ และมี ค่ า ดั ช นี ค วามหลากหลายอยู่ ในระดั บ ปานกลาง (1.11 -1.94 และ 1.22 -2.35 ตามลำดั บ ) สรุป ได้ ว่าบริเวณพื้ น ที่ โครงการทั้ ง 3 สถานี มี ช นิ ด ปลาอยู่ น้ อย โดยเป็ น ปลาที่ พ บได้ ทั่ ว ไป และ ส่วนใหญ่ไม่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ จัดว่าผลผลิตปลาอยู่ในระดับต่ำ กรมทางหลวงชนบท 4-194 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม พืชน้ำ จากการสำรวจในช่วงเดื อนมกราคม และกุมภาพัน ธ์ พ.ศ. 2564 สรุปผลการสำรวจ พืชน้ำในบริเวณพื้นที่โครงการ ทั้ง 3 สถานี พบพืชน้ำรวมทั้งสิ้น 8 วงศ์ 9 สกุล 11 ชนิด ซึ่งเป็นพืชชายน้ำทั้งหมด ได้แก่ เป้งทะเล แสมทะเล ฝาดดอกขาว ตาตุ่มทะเล ปอทะเล ตะบูนขาว พัง กาหัวสุมดอกแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ลำแพนหิน และลำพู พบว่า พืชน้ำในแต่ละสถานีมีอยู่ระหว่าง 2-10 ชนิด ผลการสำรวจสภาพนิเวศวิทยาทางน้ำในปัจจุบันของแหล่งน้ำทะเลชายฝั่งในบริเวณแนวสะพาน ของโครงการ พบว่ามีความอุดมสมบูรณ์ของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ปานกลาง-สูง ความอุดมสมบูรณ์ ของสัตว์หน้าดินอยู่ในระดับต่ำถึงระดับปานกลาง ส่วนลูกปลาวัยทรัพยากรปลา และลูกปลาวัยอ่อนมีความอุดม สมบูรณ์ต่ำ กรณีไม่มีโครงการจะไม่มีกิจกรรมใดที่ส่งผลผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศวิทยาทางน้ำ (2) กรณีมีโครงการ ก) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การก่อสร้างตอม่ อสะพานในทะเล จำนวน 17 ตอม่อ ก่อสร้างด้วยวิธีเข็มเจาะทั้ งหมด โดยมี ต อม่ อบางส่ วนที่ อยู่ ในทะเลอยู่ ในเขตห้ า มล่ า สั ต ว์ป่ าทุ่ งทะเล ช่ วง กม.0+922 - กม.1+369 ระยะทาง ประมาณ 0.447 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 4 ไร่ ซึ่งตอม่อมีขนาดใหญ่มีผลต่อการกีดขวางทางน้ำ ก่อให้เกิด การเปลี่ ยนแปลงของกระแสน้ ำ รวมทั้ งมี ผ ลกระทบต่ อการเปลี่ ย นแปลงคุณ ภาพน้ ำ ด้ านความขุ่น เพิ่ ม สู งขึ้น เนื่ อ งจากการฟุ้ งกระจายของตะกอนพื้ น ท้ อ งทะเล ทั้ งนี้ ค่า ความขุ่น ของน้ ำ ทะเลมี ค วามสั ม พั น ธ์กับ ปริม าณ คลอโรฟิลด์แบบแปรผันตรง ซึ่งจะก่อให้เกิดแพลงก์ตอนพืชหรือสาหร่ายในน้ำทะเลที่เพิ่มขึ้น แต่ผลกระทบเกิดขึ้น ชั่วคราวเท่านั้น ดังนั้น จำเป็นต้องดำเนินการจัดเตรียมมาตรการป้องกันและลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น น้ ำเสี ย จากดำเนิ น กิ จ กรรมก่ อสร้า งในทะเล ในระหว่ า งการขุด เจาะฐานราก การเติ ม สารละลายโพลิเมอร์ที่ใช้พยุงหลุ มเจาะและการเทคอนกรีต อาจเกิดการหกเลอะออกจากปากหลุมเจาะและตก ลงสู่ทะเลได้ ก่อให้เกิดการปนเปื้อนและส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำทะเลในบริเวณพื้นที่ดังกล่าว และอาจมีผลกระทบต่อเนื่องไปยังนิ เวศวิท ยาทางน้ ำได้ โดยเฉพาะสัตว์น้ ำกลุ่มหอยและสัตว์หน้าดิน ซึ่งปกติ คอนกรีตจะมีสภาพเป็นด่าง หรือค่า pH ประมาณ 12.5 (CPAC Concrete Academy) และจากการศึกษาของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (2548) ซึ่งได้ทำการทดสอบของเหลวพยุงเสถียรภาพของ หลุมเจาะ (ทดสอบคุณสมบัติที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส) ของสารละลายโพลิเมอร (Polymers) มีค่าความเป็น กรด/ด่าง (pH) ระหว่างการขุดเมื่อเติมลงในหลุมเจาะมีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 8.0 – 10.0 และ เมื่อเก็บตัวอย่างจากกนหลุมเจาะก่อนเทคอนกรีตมีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 8.0 – 11.0 กิจกรรมการก่อสร้างฐานรากสะพานในทะเล นอกจากก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากร ในทะเลแล้ว ยังมีผลต่อการรบกวนตะกอนที่อยู่พื้นทะเลทำให้ตะกอนเกิดการฟุ้งกระจายขึ้นมา ซึ่งการฟุ้งกระจาย ของตะกอน จะลดความสามารถในการส่ งผ่ า นของแสงลงสู่ ในน้ ำ ทำให้ ป ระสิ ท ธิภาพในการสั งเคราะห์ แสง ของแพลงก์ตอนพืช และพืชน้ำลดลง ปริมาณออกซิเจนในน้ำจึงลดลงเช่นเดียวกัน ขณะเดียวกันการฟุ้ งกระจาย ของตะกอนยังส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตหลายชนิดโดยตรง เช่น ตะกอนเข้าไปอุดตันบริเวณอวัยวะที่ใช้หายใจ ของสิ่งมีชีวิตในน้ำหรือตะกอนปกคลุมทับถมบนปะการังและหญ้าทะเล ส่ง ผลทำให้ปะการังและหญ้าทะเลอ่อนแอ และตายได้ ส่ งผลให้ระบบนิ เวศเกิดความเสื่อมโทรมลง นอกจากนี้ ความขุ่นของน้ำทะเลที่เกิดขึ้น คาดว่าจะมี ผลกระทบต่อปลา สัตว์หน้าดิน ปู และหอย แต่เนื่องจากสัตว์เหล่านี้สามารถปรับตัวในเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี และสามารถเคลื่อนย้ายไปยังพื้ นที่อื่นได้ ประกอบกับผลกระทบที่เกิดขึ้น มีระยะเวลาในช่วงสั้นๆ และเกิดขึ้น เฉพาะจุด ปริมาณตะกอนดินจะถูกกระแสน้ำพัดพาออกไปและเกิดการตกตะกอนจมลงในพื้นที่ที่ไม่ห่างจากพื้นที่ ก่อสร้าง จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-195 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การรั่วไหลของน้ำมันจากเครื่องจักรกล การรั่วไหลของน้ำมันสามารถเกิดได้จากการดำเนิน กิจกรรมก่อสร้างที่ต้องใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ ซึ่งการรั่วไหลส่วนมากมักเกิดจากเครื่องมือ/เครื่องจักรกลที่มี สภาพไม่ดีหรือไม่พร้อมต่อการปฏิบัติงาน รวมถึงกิจกรรมการขนส่งทางทะเลที่อาจเกิดการรั่วไหลของน้ำมันได้ เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ในการเดินเรือ เก็บกัก หรือสูบถ่ายน้ำมันชำรุด ซึ่งน้ำมันที่รั่วไหลสู่แหล่งน้ำจะเกิดกระบวนการ เปลี่ยนแปลงสภาพ ทั้งทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ เริ่มจากน้ำมันบางส่วนระเหยไป น้ำมันที่เหลือจะเปลี่ยน สภาพไปตามคุณ สมบั ติ เฉพาะของชนิ ด น้ำมั น นั้ น ๆ และปั จจั ยต่ างๆ เช่น แสงแดด กระแสน้ ำ อุณ หภูมิ ฯลฯ นอกจากนี้คราบน้ำมั นที่ลอยอยู่บนผิวน้ ำจะทำปฏิกิริยากับ ออกซิเจน ทำให้ออกซิเจนในน้ำลดลง และปิด กั้น การสังเคราะห์แสงของแพลงก์ตอนพืช สาหร่าย และพืชน้ำต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงสภาวะการย่อยสลายของแบคทีเรีย ในน้ำ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดล้วนส่งผลเสียต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น (ปลา สัตว์หน้าดิน ปะการัง ฯลฯ) รวมถึงนกน้ำด้วย เกิดการสะสมสารพิษในห่วงโซ่อาหารที่เริ่มตั้งแต่ผู้ผลิต (แพลงก์ตอนพืช) ผู้บริโภคขั้นต้น (แพลงก์ตอนสัตว์/ปลา) จนถึงผู้บริโภคขั้นสุดท้าย แต่อย่างไรก็ตามเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ที่ใช้ดำเนินการการ ก่อสร้างมีจำนวนน้อย และทางผู้รับจ้างจะมีการตรวจเช็คสภาพให้อยู่ในสภาพดีก่อนนำมาปฏิบัติงาน ดังนั้นโอกาส การรั่วไหลน้ำมันจึงมีในปริมาณเล็กน้อย จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง ข) ระยะดำเนินการ ในระยะดำเนินการและบำรุงรักษา ภายหลัง เปิดใช้เส้นทางของโครงการ และในช่วงการ บำรุง รักษาเส้น ทาง จะประกอบด้ วย กิจ กรรมการคมนาคมขนส่ ง การบำรุงรักษาปกติ งานบำรุงรักษาตาม กำหนดเวลา และงานบำรุงรักษาพิเศษ/งานฉุกเฉิน ดำเนินการอยู่บนผิวถนนสะพาน จึงไม่มีกิจกรรมที่คาดว่า จะก่อให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน รวมทั้งกิจกรรมที่ก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงนิเวศวิทยาทางน้ำ จึงอยู่ใน ระดับที่ไม่มีผลกระทบ 4.5.1.3 นิเวศวิทยาชายฝั่ง 1) ผลกระทบต่อป่าชายเลน (1) กรณีไม่มีโครงการ โครงการก่อสร้างสะพานเชื่ อมเกาะลั น ตา จังหวัด กระบี่ เป็ น การก่อสร้างสะพานเพื่ อเชื่ อม ระหว่างพื้นที่ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (ฝั่งแผ่นดิน) กับพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (เกาะลันตาน้อย) โดยพื้นที่ดำเนินการบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการก่อสร้างบนแนวเขตทางเดิม ส่วนบริเวณกลางของสะพานที่อยู่ในทะเลและบริเวณจุดสิ้นสุด โครงการฝั่งเกาะลันตาน้อยเป็นพื้นที่ ป่าชายเลน ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และ 17 ตุลาคม 2543 ช่วง กม.1+828 - กม.1+957 ระยะทาง ประมาณ 0.129 กิโลเมตร คิด เป็ น พื้ น ที่ ป ระมาณ 1.2 ไร่ ในพื้ น ที่ ด ำเนิ น การก่อสร้างโครงการพบต้ น ไม้ ใหญ่ จำนวนรวม 40 ต้น ได้แก่ ไม้บก 2 ชนิด จำนวน 3 ต้น และไม้ชายเลน 6 ชนิด จำนวน 37 ต้น ที่ ต้องทำการ ตัดฟัน /รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ ฝั่งเกาะลันตาน้อย ซึ่งอยู่ในเฉพาะเขตพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติป่าหลังสอด/ป่าควนบากันเกาะเท่านั้น และผลจากการตรวจสอบชนิดไม้ในพื้ นที่ดำเนินการ ครั้งนี้ ไม่พบไม้ที่มีสถานภาพเพื่ อการอนุรักษ์ของกรมอุทยาน สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP 2017) และของ IUCN (2020) แต่อย่างใด ซึ่งพบชนิดไม้หวงห้ามประเภท ก. (ไม้หวงห้ามธรรมดา) จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก ( Rhizophora apiculata Blume.) ตะบู น ขาว ( Xylocarpus granatum Koen) ตะบู น ดำ ( Xylocarpus moluccensis (Lam.)) โปรงแดง (Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob.) และส้ า นใหญ่ (Dillenia obovata (Blume) Hoogland) โดยชนิดไม้หรือต้นไม้ดังกล่าวไม่เป็นไม้ที่มีค่าหรือไม้หายาก ในกรณีไม่มีโครงการ จะไม่มีกิจกรรมใด ่ ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าชายเลน ที่สง กรมทางหลวงชนบท 4-196 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) กรณีมีโครงการ ก) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ป่าชายเลน เป็นกลุ่มสังคมพืชซึ่งขึ้นอยู่ในเขตน้ำลงต่ำสุดและน้ำขึ้นสูงสุด บริเวณตีนเขา อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง สังคมพืชที่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิ ดหลายตระกูล และเป็นพวกที่มีใบเขียว ตลอดปี (evergreen species) ซึ่งมีลักษณะทางสรีรวิทยาและความต้องการสิ่งแวดล้อมที่คล้า ยกัน ซึ่งส่วนใหญ่ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้สกุลโกงกาง (Rhizophora spp.) เป็นไม้สำคัญและมีไม้ตระกูลอื่นบ้าง การก่อสร้างโครงการสะพานเชื่ อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลั น ตา จั ง หวั ด กระบี่ ตั ด ผ่ า นพื้ น ที่ ป่ า ชายเลนตามมติ ค ณะรัฐ มนตรี (2543) ช่ ว ง กม.1+828 - กม.1+957 บริเวณคอสะพานฝั่ งเกาะลั น ตาน้ อย ระยะทางประมาณ 0.129 กิโลเมตร คิด เป็ น พื้ น ที่ 1.2 ไร่ โดยพื้นที่ป่าชายเลนในพื้นที่มีลักษณะ Fringe forest เป็นป่าชายเลนที่พบบริเวณชายฝั่งทะเลที่ ติดกับแผ่นดิน หรือรอบเกาะที่เป็นเกาะใหญ่ น้ำทะเลท่วมถึงเสมอเป็นประจำทุกวัน ยกเว้นชายฝั่งทะเลของเกาะใหญ่ น้ำทะเล ท่วมถึงเมื่อน้ำทะเลขึ้นสูงสุด โดยระบบนิเวศวิทยาที่เกิดขึ้นในป่าชายเลนนั้น เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ ที่มีต่อกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมพืชพรรณธรรมชาติชนิดต่างๆ เมือ ่ ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ เพื่อใช้ในการ สังเคราะห์แสงจะทำให้เกิดอินทรียวัตถุและการเจริญเติบโต กลายเป็นผู้ผลิต (producers) ของระบบส่วนต่าง ๆ ของต้นไม้ นอกเหนือจากมนุษย์นำไปใช้ประโยชน์จะร่วงหล่นทับถมในน้ำและในดิน ในที่สุดก็จะกลายเป็นแร่ธาตุ ของพวกจุลชีวัน เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา แพลงก์ตอน ตลอดจนสัตว์เล็กๆ หน้าดินที่เรียกกลุ่มนี้ว่า ผู้บริโภคของ ระบบ (detritus consumers) พวกจุลชีวันเหล่านี้จะเจริญเติบโตกลายเป็นแหล่งอาหารของสั ตว์น้ำเล็กๆ อื่นๆ และสัตว์เล็กๆ เหล่านี้ จะเจริญ เติบ โตเป็ นอาหารของพวกกุ้ง ปู และปลาขนาดใหญ่ ขึ้นตามลำดับของอาหาร (tropic levels) นอกจากนี้ ใบไม้ที่ ตกหล่ น โคนต้ น อาจเป็ น อาหารโดยตรงของสัต ว์น้ ำ (litter feeding) ก็ได้ ซึ่งทั้งหมดจะเกิดเป็นห่วงโซ่อาหารขึ้น ในระบบนิเวศป่าชายเลน และโดยธรรมชาติแล้ว จะมีความสมดุลในตัวของ มันเอง แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งก็จะเป็นผลทำให้ระบบความสัมพันธ์นี้ถูกทำลาย ลง จนเกิดเป็นผล เสียขึ้นได้ เช่น ถ้าหากพื้นที่ป่าชายเลนถูกบุกรุกทำลาย จำนวนสัตว์น้ำก็จะลดลงตามไปด้ วย ตลอดจนอาจเกิดการเน่าเสียของน้ำ ดังนั้น การดำเนินกิจกรรมของโครงการต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายต้นไม้ใหญ่ ออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ ฝั่งเกาะลันตาน้อย จำนวนรวม 40 ต้น ได้แก่ ไม้บก 2 ชนิด จำนวน 3 ต้น และไม้ชายเลน 6 ชนิด จำนวน 37 ต้น จึงมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศป่าชายเลน อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้ ระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการปลูกบำรุงป่าชายเลนทดแทน เพื่อการอนุรักษ์หรือรักษาสภาพแวดล้อม กรณีการดำเนินการโครงใดๆ ของหน่วยงานรัฐที่มีความจำเป็นต้องเข้าใช้ ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชายเลน พ.ศ. 2556 “ข้อ 6 หน่วยงานของรัฐที่เข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชายเลนต้องจัด งบประมาณให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปลูกป่าชายเลนทดแทนไม่น้อยกว่า 20 เท่ า ของพื้น ที่ป่ าชายเลนที่ใช้ป ระโยชน์ โดยให้ ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของการดำเนิ นโครงการสำหรับ การพั ฒ นา ค่าใช้จ่ายให้เป็น ไปตามมาตรฐานที่ สำนั กงบประมาณกำหนด รวมทั้งเงื่อนไขและหลั กเกณฑ์ที่ คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติกำหนด” ข) ระยะดำเนินการ กิจกรรมส่วนใหญ่ ที่เกิดขึ้นเป็ นการคมนาคมบนถนนโครงการ ซึ่งไม่มีการตัดต้นไม้หรือ เข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชายเลน จึงไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าชายเลน กรมทางหลวงชนบท 4-197 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) ผลกระทบต่อแนวปะการัง (1) กรณีไม่มีโครงการ ลักษณะพื้นท้องทะเลในพื้นที่ศึกษาโครงการโดยทั่วไปเป็นโคลนปนทราย ในบางบริเวณเป็น โคลนเหลว เนื่ องจากพื้ น ท้ องทะเลมี ลั กษณะดั ง ที่ กล่ า วส่ งผลให้ น้ ำทะเลในบริเวณนี้ มี ความขุ่น ค่อนข้ า งมาก มีทัศนวิสัยใต้น้ำอยู่ในช่วง 1-2 เมตร โดยชายหาดบริเวณรอบเกาะปลิง มีลักษณะเป็นชายฝั่งโขดหินและบริเวณ ตอนบนเป็นป่าชายเลนและป่าบก ผลการสำรวจพบแนวปะการังบริเวณรอบเกาะปลิงมีพื้นที่ทั้งหมด 52.3 ไร่ โดยแนวปะการังบริเวณทิศตะวันออกเกาะปลิง แนวเขตปะการังใกล้สุดห่างจากแนวเขตพื้นที่ก่อสร้างสะพาน โครงการประมาณ 6 เมตร เป็นแนวปะการังที่มีชีวิต ส่วนใหญ่ขึ้นปกคลุมโขดหิน โดยมีพื้นหินปกคลุมพื้นที่มากถึง 69.17+6.12 เปอร์เซ็ น ต์ มี ป ะการัง มี ชี วิต ปกคลุ ม พื้ น ที่ 10.62+0.37 เปอร์เซ็ น ต์ ปะการังตายปกคลุ ม พื้ น ที่ 11.55+3.62 เปอร์เซ็นต์ ฟองน้ำปกคลุมพื้นที่ 4.17+0.14 เปอร์เซ็นต์ พื้นโคลนปนทรายหรือโคลนละเอียดปกคลุม พื้ น ที่ 4.50+0.41 เปอร์เ ซ็ น ต์ ส่ ว นแนวปะการังบริเวณทิ ศ เหนื อ เกาะปลิ ง มี ลั ก ษณะแนวปะการังคล้ า ยกั บ ฝั่งทิศตะวันออกเกาะปลิง กล่าวคือ ลักษณะชายฝั่งเป็นโขดหิ นมีพรรณไม้ป่าชายเลนขึ้นอยู่ด้านบน ลักษณะแนว ปะการังส่วนใหญ่เป็นโขดหินพบปะการังมีชีวิตขึ้ นเคลือบบนโขดหินอยู่ทั่วไปในบริเวณนี้มีโขดหิ นปกคลุมพื้นที่ 72.33+4.08 เปอร์เซ็ น ต์ พบปะการังมี ชี วิต 13.58+3.33 เปอร์เซ็ น ต์ ปะการังตาย 9.58+0.37 เปอร์เซ็ น ต์ และฟองน้ำ 3.33+0.54 เปอร์เซ็นต์ บริเวณเกาะปลิงทางทิศตะวันออก โครงสร้างของสังคมปะการังในบริเวณนี้มีโ ครงสร้างหลัก ที่เกิดจากปะการังที่มีรูปทรงแบบก้อนและกึ่งก้อน ซึ่ งเป็นปะการังชนิดเด่นของพื้นที่ คือ ปะการังโขด ( Porites lutea) ปะการังดอกไม้ทะเล (Goniopora lobata) ปะการังวงแหวน (Favia sp.) และปะการังพลีไซแอสเตรีย (Plesiastrea versipora) ปะการังโดยส่วนใหญ่ที่ พบเป็นกลุ่มปะการังที่ทนทานต่อตะกอนพบได้ทั่วไปตามแนว ชายฝั่ ง ส่ ว นบริเวณด้ านนอกแนวปะการังพบปะการังมี ชี วิ ต บนพื้ น ทรายเล็ กน้ อย สภาพทั่ วไปเป็ น พื้ น ทราย ปนโคลนและเศษเปลือกหอย ส่วนบริเวณเกาะปลิงทางทิศเหนือ ชนิดเด่นของปะการังแข็งที่พบในบริเวณนี้มีความ คล้ายคลึงกับด้านทิศตะวันออก ได้แก่ ปะการังดอกไม้ทะเล (Goniopora lobata) ปะการังโขด (Porites lutea) และปะการังวงแหวน (Favia sp.) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากบริเวณนี้อยู่ใกล้ร่องน้ำไหล พื้นด้า นนอกแนวปะการัง มีลักษณะเป็นพื้นทรายปนเปลือกหอย และพบเห็นปะการั งแข็งบ้างเล็กน้อย โดยส่วนใหญ่ในบริเวณนี้พบฟองน้ำ และกัลปังหายึดเกาะอยู่กับก้อนหินหรือแทรกอยู่ตามพื้นทราย การประเมิ น สถานภาพของแนวปะการัง แนวปะการังบริเวณรอบเกาะปลิงมี พื้ น ที่ ทั้ งหมด 52.3 ไร่ การประเมินสถานภาพของแนวปะการัง ใช้อัตราส่วนระหว่างเปอร์เซ็นต์การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง ที่มีชีวิต (LC) และปะการังตาย (DC) มีอัตราส่วน 2 : 1 สถานภาพแนวปะการังอยู่ในระดับสมบูรณ์ดี โดยบริเวณ ที่พบปะการังตายและเสื่อโทรม จะอยู่บริเวณน้ำตื้น 1.0 - 2.0 เมตร รอบๆ เกาะปลิง สาเหตุหลักของความเสื่อม โทรมของแนวปะการัง เกิดจากกิจกรรมของมนุษ ย์ เช่น การนำเรือหั วโทงเข้าไปจอด การทิ้ งสมอเรือ การหา หอยนางรมตามโขดหินเกาะปลิง เป็นต้น การเหยียบย่ำแนวปะการังจนทำให้ปะการังอยู่ในสภาพเสียหายจนถึง เสียหายมาก ไม่สามารถฟื้นตัวได้เองตามธรรมชาติหรือกำลังได้รับผลกระทบจากกิจกรรมต่า งๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการบริหารจัดการพื้นที่แนวปะการังเพื่อลดผลกระทบจาก กิจกรรมที่ก่อให้เกิด ความเสียหาย ส่งเสริมการฟื้นตัว รวมทั้งดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันความ เสื่อมโทรมที่อาจเกิดขึ้น ในอนาคต ดังนั้น การฟื้ น ฟู แนวปะการัง จึ งเป็ น ทางเลือกหนึ่ งที่ น ำมาใช้ เพื่ อสร้างจิต สำนึ กในการอนุ รักษ์ และลดปั ญ หา ความเสื่อมโทรมของแนวปะการัง กรณีไม่มีโครงการจะไม่มีกิจกรรมใดที่ส่งผลกระทบต่อแนวปะการัง กรมทางหลวงชนบท 4-198 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) กรณีมีโครงการ ก) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลจากการสำรวจภาคสนามพบว่าแนวเขตปะการังที่อยู่ใกล้สุด มีระยะห่างจากแนวเขต พื้นที่ก่อสร้างสะพานโครงการประมาณ 6 เมตร เป็นแนวปะการังที่มีชีวิต (รูปที่ 4.5.1.3-1) รูปที่ 4.5.1.3-1 ตำแหน่งแนวปะการังบริเวณรอบเกาะปลิงใกล้กับแนวเส้นทางโครงการ การดำเนินกิจกรรมการก่อสร้างฐานรากของโครงการได้ออกแบบเป็นเสาเข็มเจาะ โดย ก่อสร้างหลี กเลี่ยงแนวปะการัง แต่ อย่ างไรก็ตามกิจกรรมของโครงการ อาจส่ งผลกระทบทางอ้อมให้ กับ แนว ปะการังบริเวณใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการ ซึ่งปริมาณตะกอนและการฟุ้งกระจายที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรม สร้างฐานราก มีการฟุ้งกระจายในมวลน้ำเป็นเวลานานอาจส่งผลต่อการดำรงชีวิตของปะการังและสิ่งมีชีวิตกลุ่ม อื่นๆ ที่เป็นผู้ผลิตขั้นต้นของระบบนิเวศทางทะเล เช่น แพลงก์ตอนพืช สาหร่ ายทะเล หญ้าทะเล ประเด็นที่สำคัญ คือ การตกตะกอนที่พื้นแนวปะการังและพื้นท้องทะเลเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของแนวปะการัง มากที่สุด โดยจะส่งผลต่อพัฒนาการของแนวปะการังและส่งผลต่อตัวปะการังทั้งทางตรงและทางอ้อม ผลกระทบ หลั กที่ เกิด ขึ้น คือ ตะกอนแขวนลอยในน้ ำจะไปขัด ขวางปริม าณแสงที่ ส่ องลงใต้ผื น น้ ำ นำไปสู่ การลดลงของ ขบวนการสังเคราะห์ แ สง ทำให้ ป ะการังได้ รับ สารอาหารจากสาหร่ายเซลล์เดี ยวในเนื้อเยื่อลดลง ผลกระทบ ที่เกิดขึ้นยังส่งผลต่อเนื่องไปยังอัตราการเจริญเติบโตที่ลดลง และปริมาณตะกอนที่ตกทับถมบนเนื้ อเยื่อทำให้ เนื้อเยื่อปะการังได้รับบาดเจ็บ ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคปะการัง นอกจากนั้น ยังส่งผลต่อระดับประชากร ของปะการัง ปริมาณตะกอนในปริมาณสูงทำให้ประชากรของปะการังลดจำนวนลง รวมถึงอัตราการทดแทนที่ของ ประชากรวัยอ่อนต่ำลงเนื่องจากสภาพพื้นผิวที่มีตะกอนตกทับถม มักไม่เหมาะสมสำหรับการลงเกาะของตัวอ่อน ปะการัง ดังนั้น ในพื้นที่ที่อัตราการตกตะกอนสูงจะส่งผลให้พื้นที่นั้นๆ มีความหลากหลายของชนิดปะการังต่ำ ปะการั ง ที่ ด ำรงชี วิ ต ได้ ดี ในบริเวณนี้ ส่ ว นใหญ่ มั กจะมี โคโลนี ข นาดเล็ ก ทั้ งนี้ ปั จ จั ย สิ่ งแวดล้ อ มที่ มี ผ ลต่ อ การ เจริญเติบโตและพัฒนาของแนวปะการัง (ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง) ได้แก่ กรมทางหลวงชนบท 4-199 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม แสง : แสงเป็ น ปั จ จั ย สำคัญ ที่ สุ ด อย่ า งหนึ่ งที่ มี ผลต่ อการแพร่ กระจาย การก่อตั ว และการ พัฒนาของแนวปะการัง เนื่องจากปะการังแข็งจะมีสาหร่ายซูแซนเทลลี่อาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อ ซึ่งสาหร่ายดังกล่าว จำเป็นต้องใช้แสงในการสังเคราะห์แสง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งในกระบวนการสร้างหินปูนของปะการัง ทำให้พบแนวปะการังอยู่ในระดับความลึกที่แสงส่องถึง โดยส่วนใหญ่อยู่ในระดับลึกไม่เกิน 30 เมตร อุ ณ หภู มิ : อุ ณ หภู มิ น้ ำ ทะเลเป็ น ปั จ จั ย หนึ่ ง ในการกำหนดการแพร ่ก ระจายและความ หลากหลายของชนิด ปะการัง โดยอุณ หภูมิที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเกิดแนวปะการังอยู่ในช่วงเฉลี่ ย 26-28 องศาเซลเซียส การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิน้ำทะเลอาจส่งผลต่อแนวปะการัง เช่น ทำให้เกิดการฟอกขาวหรือยับยั้ง การสืบพันธุ์ทั้งนี้แนวปะการังส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณที่มีอุณหภูมิใกล้เคียงกับอุณหภูมิสูงสุดที่ปะการังจะสามารถ ดำรงชีวิตอย่างปกติหากอุณหภูมิน้ำทะเลสูงขึ้ นแม้เพียงเล็กน้อยติดต่อกันเป็นเวลานานในช่วงฤดูร้อน ก็อาจส่งผล ให้ปะการังเกิดภาวะสูญเสียสาหร่ายซูแซนเทลลี่ จนเกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวหากอุณหภูมิน้ำสูงต่อเนื่อง เป็นเวลานาน จะทำให้ปะการังที่ฟอกขาวตายลง เช่น กรณีที่เกิดปะการังฟอกขาวอย่างรุนแรงในระดับภูมิภาค เมื่อ พ.ศ. 2553 ที่น้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงกว่าปกติเป็นเวลานานกว่า 3 เดือน ส่งผลให้ปะการังของประเทศไทยตาย จากการฟอกขาวประมาณ 10-70 กว่า เปอร์เซ็นต์ ความเค็ ม : ปะการังต้ องการความเค็ ม ค่ อนข้า งคงที่ ในช่ ว ง 30-36 ส่ ว นในพั น ส่ วน ดั ง นั้ น แนวปะการังจึงพัฒนาได้ดีในบริเวณห่างไกลจากอิทธิ พลของแม่น้ำหรือแหล่งน้ำจืดจากชายฝั่ง หรือบางบริเวณ อาจมีปะการังบางชนิดที่ทนน้ำกร่อยขึ้นกระจายเป็นหย่อมๆ ตะกอน : ตะกอนแขวนลอยมีผลยับยั้งการเจริญของแนวปะการัง เนื่องจากความขุ่นที่เกิดจาก ตะกอนเป็นตัวลดปริมาณแสงที่ส่องลงสู่ ใต้ผิวน้ำ ทำให้สาหร่ายซูแซนเทลลี่สังเคราะห์แสงลดลงและมีผลต่อการ สะสมหินปูนของปะการัง ปะการังที่ถูกตะกอนปกคลุมสามารถสร้างเมือกเพื่อยึดกั บตะกอนและกำจัดตะกอน ออกไปได้ในระดับหนึ่ง แต่หากตะกอนมีปริมาณมากจนเกินความสามารถของปะการังในการกำจัดออกจะทำให้ ปะการังตายลงได้นอกจากนี้พื้นที่ที่ปกคลุมด้วยตะกอนขนาดเล็กยังเป็นอุปสรรคในการลงเกาะและเจริญเติบโต ของตัวอ่อนปะการัง และมีผลต่อการฟื้นตัวของแนวปะการังด้วย พื้นที่ลงเกาะ : ปะการังจะสามารถเจริญเติบโตและพัฒนาเป็นแนวปะการังได้จะต้องอาศัยพื้นที่ ลงเกาะที่เหมาะสมพื้นที่ที่ตัวอ่อนปะการังสามารถลงเกาะและสามารถเจริญเติบโตได้ดีจะต้อ งเป็นพื้นที่ที่มีความ แข็งแรงมั่น คง ไม่ถูกคลื่นลมหรื อกระแสน้ำพัดพาไปโดยง่าย ไม่ มีสิ่งมีชีวิตที่อาจแก่งแย่ง พื้นที่กับปะการัง เช่น สาหร่าย พรมทะเล ฟองน้ำ พื้นที่ที่ปะการังสามารถลงเกาะได้ดี ได้แก่ ซากปะการัง ก้อนหินขนาดใหญ่ แท่งเหล็ก คอนกรีตที่วางทิ้งอยู่ใต้น้ำระยะหนึ่ง จนกระทั่งมีสาหร่ายหินปูนหรือแบคทีเรียบางชนิดขึน ้ คลุม ผลการศึกษาการไหลเวียนของกระแสน้ำและการแพร่กระจายของตะกอน ในกรณีมีโครงการ ด้วยแบบจำลองทางคณิ ตศาสตร์ AQUASEA ที่ ให้ ผลลั พ ธ์ที่ มีความน่ าเชื่อถือ สอดคล้องกั บ ข้อมู ล ที่ ได้จ ากใน ภาคสนามและสภาพพื้นที่ จริง พบว่า ในขณะดำเนิ นกิจกรรมขุ ดเจาะฐานรากสะพานในทะเลที่ระยะห่างจาก จุดก่อสร้าง 2, 9, 18, 37 และ 58 เมตร จะมีปริมาณความเข้มข้นของตะกอนเท่ากับ 6, 5, 4, 3 และ 2 หนึ่งส่วน ในล้านส่วน (ppm.) แต่ขณะเดียวกันในกรณีที่ หยุดกิจกรรมก่อสร้างตอม่อสะพาน ตะกอนจะตกจมเข้าสู่สภาวะ ปกติภายใน 20 นาที แสดงดังตารางที่ 4.5.1.3-1 และรูปที่ 4.5.1.3-2 ดังนั้น ผลกระทบจากการฟุ้งกระจายของ ปริมาณตะกอนในทะเล เนื่องจากการดำเนินกิจกรรมของโครงการ จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-200 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.5.1.3-1 ผลการวิเคราะห์การไหลเวียนของกระแสน้ำและการแพร่กระจายของตะกอน ระยะทางรัศมีแพร่กระจายจากตำแหน่งเสาเข็ม (เมตร) ความเข้มข้น จุดที่ 1 ตอม่อ F2 type 2 จุดที่ 2 ตอม่อ F1 type 1 จุดที่ 3 ตอม่อ F3 type 3 ของตะกอน บริเวณริมฝั่งแผ่นดิน จ.กระบี่ บริเวณช่องเดินเรือ บริเวณริมตลิ่งฝั่งเกาะลันตา (ppm.) ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง 6 2 1 2 1 3 2 5 6 4 9 6 10 7 4 17 15 18 17 15 17 3 29 30 37 36 34 32 2 52 48 58 57 65 70 ระจายตะกอนในช่วงน้ำขึ้น การแพร่กระจายตะกอนในช่ ระจายตะกอนในช่วงน้ำลง การแพร่กระจายตะกอนในช่ รูปที่ 4.5.1.3-2 การแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณกลางสะพาน ข) ระยะดำเนินการ กิจกรรมส่วนใหญ่ ที่ เกิดขึ้น เป็น การคมนาคมบนถนนโครงการ ไม่ มีการดำเนิ น กิจกรรม ก่อสร้างลงในทะเล จึงไม่มีผลกระทบต่อทรัพยากรปะการังแต่อย่างใด 3) ผลกระทบต่อหญ้าทะเล (1) กรณีไม่มีโครงการ ผลการสำรวจหญ้ าทะเลในพื้ น ที่ โครงการ โดยการสุ่ ม สำรวจและประเมิ น แบบครอบคลุ ม พื้นที่กว้าง จำนวน 34 จุด ในระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ผลการสำรวจไม่พบแนวหญ้าทะเล ที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งพบหญ้าคาทะเล (Enhalus acoroides) เป็นหย่อมขนาดเล็ก จำนวน 8 ตำแหน่ง อยู่บริเวณ เนินทรายน้ำตื้น กระจายตัวเป็น หย่อมๆ ตามแนวชายฝั่งทางด้านตะวันออก (ฝั่งเกาะลันตาน้อย) โดยบริเวณ สภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นทรายปนโคลนและอยู่ใกล้กับร่องน้ำ จึงทำให้น้ำทะเลค่อนข้างขุ่น พื้นทะเลมีตะกอนมาก ส่งผลให้หญ้าทะเลไม่หนาแน่น มีร้อยละการปกคลุมพื้นที่ไม่มาก มีระดับความสมบูรณ์เล็กน้อย แหล่งหญ้าทะเล บริเวณนี้อยู่ใกล้เส้นทางแล่นเรือเข้า -ออก ทั้งเรือประมงและเรือจากรีสอร์ท ซึ่งหญ้ าทะเลอาจถูกรบกวนจากการ กรมทางหลวงชนบท 4-201 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฟุ้งกระจายของตะกอน ทำให้หญ้าทะเลเติบโตช้ าและเสื่อมโทรมลง จึงควรมีมาตรการในการควบคุมต้นกำเนิด ของตะกอน เช่น การกำหนดแนวเดินเรือการรณรงค์เพื่อหลีกเลี่ยงการเดินเรือผ่านแหล่งหญ้าทะเล ตลอดจน การติดตั้งทุ่นแนวเขตหญ้าทะเลเพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้ น เพื่อให้หญ้าทะเลที่ได้รับผลกระทบสามารถฟื้นตัว ได้ตามธรรมชาติ และจากการติดตามอย่างต่อเนื่อง พบว่าร้อ ยละการปกคลุมพื้นที่ของแหล่งหญ้าทะเลบริเวณนี้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยในช่วงเดือนมิถุนายน – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงฤดูมรสุมมักจะมีการพัดพาตะกอนทราย มาทับถมลงบนแหล่งหญ้าทะเลบางส่วน เกิดเป็นสันดอนทรายขึ้น ทำให้พื้นที่การปกคลุมของหญ้าทะเลลดลง ในช่ วงนี้ แหล่ งหญ้ า ทะเลจะมี ส ภาพเสื่ อมโทรม แต่ ช่ ว งเดื อนตุ ล าคมและพฤศจิ กายน สั น ดอนทรายเหล่ านี้ จะหายไป แหล่งหญ้ าฟื้นสภาพจนเข้าสู่ความสมบูรณ์ ปกติ จนกระทั่งเดือนพฤษภาคมซึ่งเป็นช่วงเริ่ มฤดูมรสุม จะมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพพื้นที่ขึ้นอีกครั้ง กรณีไม่มีโครงการจะไม่มีกิจกรรมใดที่ส่งผลกระทบต่อหญ้าทะเล (2) กรณีมีโครงการ ก) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลจากการสำรวจภาคสนามพบว่าตำแหน่งหญ้าทะเลที่อยู่ใกล้สุด มีระยะห่างจากแนวเขต พื้นที่ก่อสร้างสะพานโครงการประมาณ 2 เมตร (รูปที่ 4.5.1.3-3) การดำเนินกิจกรรมการก่อสร้างฐานรากของ โครงการได้ออกแบบเป็นเสาเข็มเจาะ โดยก่อสร้างหลีกเลี่ยงแนวหญ้าทะเล แต่อย่างไรก็ตามกิจกรรมของโครงการ อาจส่งผลกระทบทางอ้อมให้ กับ หญ้ าทะเลบริเวณใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการ ซึ่ งปริมาณตะกอนและการ ฟุ้งกระจายที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมสร้างฐานราก มีการฟุ้งกระจายในมวลน้ำเป็นเวลานานอาจส่งผลต่อการ ดำรงชีวิตของหญ้าทะเลและสิ่งมีชีวิตกลุ่มอื่นๆ ที่เป็นผู้ผลิ ตขั้นต้นของระบบนิเวศทางทะเล เช่น แพลงก์ตอนพืช สาหร่ายทะเล ประเด็นที่สำคัญคือการตกตะกอนที่พื้นหญ้าทะเลและพื้นท้องทะเลเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ เปลี่ยนแปลงของหญ้าทะเลมากที่สุด ปริมาณตะกอนแขวนลอยในน้ำจะไปขัดขวางปริมาณแสงที่ส่องลงใต้ผืนน้ำ นำไปสู่การลดลงของขบวนการสังเคราะห์แสง ทำให้ปฏิกริยาการสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้พลังงานและอาหารมาใช้ ในการเจริญเติบโตไม่เพียงพอ ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อหญ้าทะเล การเปลี่ ย นแปลงของแหล่ ง หญ้ า ทะเลที่ เกิ ด จากผลกระทบจากปั จ จั ย ตามธรรมชาติ แหล่งหญ้าทะเลมักมีการฟื้นสภาพได้เอง ส่วนความเสื่อมโทรมที่มีสาเหตุจากมนุษย์ ไม่ว่าจะโดยการใช้ประโยชน์ ในพื้นที่โดยตรง หรือผลกระทบทางอ้อมจากการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ง มักจะส่งผลให้เกิดการเสริมโทรมอย่างถาวร จึงควรที่จะมีแนวทางหรือมาตรการในการป้องกันและฟื้นฟูแหล่งหญ้าทะเล ไม่ว่าจะเป็นการให้ความรู้ ให้ตระหนัก ถึงความสำคัญ และคุณ ค่าของแหล่งหญ้ าทะเลในด้านต่างๆ การใช้มาตรการทางกฎหมายและข้อบั งคับ ต่างๆ ตลอดจนการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการการอนุรักษ์ก็เป็นเรื่องที่ต้องทำความเข้าใจเพื่อที่ จะรู้จักใช้อย่าง ถูกวิธีการ ไม่เกิดการทำลาย ซึ่งต้องอาศัยทั้งกระบวนการในการวางแนวทางสำหรับการปฏิบัติเกี่ยวกับมาตรการ ต่างๆ ในการจัดการแหล่งหญ้าทะเล บทบาทของชุมชน คนในพื้น ที่ในการที่จะช่วยกันปกป้องแหล่งหญ้าทะเล ซึ่งนอกจากจะคิดถึงเฉพาะความสำคัญและคุณค่าทางนิเวศวิทยาและทางเศรษฐกิจแล้ว อาจจะต้องคิดถึงคุณค่า ของการคงอยู่ของทรัพยากรด้วยต่อชุมชนด้วย (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561) การฟื้ น ฟู แหล่ งหญ้ าทะเล แหล่ งหญ้ าทะเลมี ความสำคัญ ต่อระบบนิ เวศทางทะเลและ ชายฝั่ง ในการเป็ น แหล่งอาศัย ของสั ต ว์น้ ำวัยอ่ อน แหล่งหลบภัย แหล่ งอาหาร เป็ น แนวกำแพงลดความแรง ของกระแสน้ ำและป้ อ งกัน ภั ย จากธรรมชาติ ในด้ านการประโยชน์ ของชาวประมงชายฝั่ ง แหล่ งหญ้ าทะเล มีความสำคัญมากในการเป็นแหล่งจับสัตว์น้ำเศรษฐกิจและทำประมง การทำกิจกรรมต่าง ๆ บริเวณชายฝั่งทะเล ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบนิเวศแหล่งหญ้าทะเล โดยเฉพาะสถานภาพความสมบูรณ์ของหญ้าทะเล มีแนวโน้ม เสื่อมโทรมลงจากสถานภาพเดิ ม ในบางพื้ น ที่ ปั จ จุบั น จึ งมี การฟื้ น ฟู จากภาคส่ วนต่ างๆ เพื่ อย้า ยปลู กในทะเล แต่ อ ย่ า งไรก็ต ามความสำเร็จ ยั งไม่ ชั ด เจนทางด้ านเทคนิ ค และวิ ธี ก าร รวมถึ งผลกระทบจากแหล่ งพั น ธุ์ เดิ ม ในธรรมชาติ (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561) กรมทางหลวงชนบท 4-202 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ั แนวเส้นทางโครงการ รูปที่ 4.5.1.3-3 ตำแหน่งหญ้าทะเลที่อยู่ใกล้กบ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อแหล่งหญ้าทะเล (วราริน วงษ์พานิช, 2564)1/ การเจริญเติบโต ของหญ้ าทะเลมี ลักษณะเดี ยวกัน กับ พื ช ทั่ว ไป ต้องอาศัย ปั จจัย แวดล้อมช่ วยในการดำรงชี วิต สั งเคราะห์ แสง สร้างอาหารและให้พลังงาน ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ • ปริมาณแสง เป็นปัจจัยสำคัญมากต่อแหล่งหญ้าทะเล หญ้าทะเลต้องการปริมาณแสง ที่เหมาะสมในกระบวนการสังเคราะห์แสง ทำให้สามารถเติบโตได้ดี ปริมาณแสงที่มากหรือน้อยเกินไปจะส่งผล ต่อการเจริญเติบโตของหญ้าทะเล โดยปริมาณแสงที่มากเกินไปทำให้หญ้าทะเลต้องสูญเสี ยพลังงานส่วนหนึ่งไปใช้ เพื่อการปรับเปลี่ยนรงควัตถุในเซลล์ให้สามารถตอบสนองต่อปริมาณแสงที่สูงขึน ้ สังเกตได้จากการที่ใบหญ้าทะเล จะเปลี่ยนเป็นสีแดง หรือปริมาณแสงที่น้อยเกินไป ทำให้ปฏิกริยาการสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้พลังงานและอาหาร มาใช้ในการเจริญเติบโตไม่เพียงพอ • ความขุ่นใสของน้ำทะเล ซึ่งมีความสัมพันธ์กับปริมาณแสงที่ส่องผ่านลงสู่น้ำทะเล ซึ่งทำให้มีผลต่อกระบวนการสังเคราะห์แสงของหญ้าทะเล ความขุ่นใสของน้ำทะเลอาจเปลี่ยนแปลงจากปริมาณ ตะกอนที่เพิ่มมากขึ้นจากการพัดพามาจากพื้นที่บนฝั่งมากับน้ำจากแม่น้ำ ลำคลอง หรือการเกิดคลื่นลมแรงที่ทำให้ ตะกอนละเอียดตามพื้นท้อ งทะเลเกิดการฟุ้งกระจายลอยขึ้นสู่มวลน้ำ หรือเกิดจากการเจริญอย่างรวดเร็วของ แพลงก์ตอนพืชที่ปกคลุมในมวลน้ำซึ่งส่วนนี้มีความสัมพันธ์กับปริมาณสารอาหารในน้ำทะเลหรือปริมาณน้ำเสีย จากชายฝั่งที่ทำให้สภาพน้ำทะเลเกิดความขุ่น 1/ วราริน วงษ์พานิช. 2564. แหล่งหญ้าทะเลในประเทศไทย: ความหลากหลายทางชีวภาพ นิเวศบริการ และแนวทางการจัดการ เอกสารเผยแพร่ลำดับที่ 2/2564 สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 84 หน้า. กรมทางหลวงชนบท 4-203 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม • ปริมาณธาตุอาหาร ในน้ำทะเลมีธาตุอาหารและแร่ธาตุเป็นองค์ประกอบในสัดส่วน ที่เหมาะสม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณธาตุอาหารที่มากขึ้นอาจส่งผลดีในระยะแรก แต่เมื่อปริมาณธาตุอาหาร ยังเพิ่มสูงต่อไปอาจทำให้แพลงก์ตอนพืชหรือสาหร่ายที่มีขนาดเล็กซึ่งมีระบบการดูดซึมสารอาหารที่ดีกว่าหญ้าทะเล และสามารถนำสารอาหารไปใช้ เพื่ อการเจริญ เติ บ โตอย่า งรวดเร็ว เกิด ปกคลุม แหล่ งหญ้ าทะเลส่ งผลต่ อการ เจริญเติบโตของหญ้าทะเลได้ ทั้งยังบดบังแสงทำให้สังเคราะห์แสงได้ลดลง รวมถึงการแก่งแย่งธาตุอาหารในน้ำ โดยธาตุอาหารที่เป็นกลุ่มหลัก ได้แก่ ไนโตรเจน ( nitrogen) ฟอสฟอรัส (phosphorus) ธาตุอาหารในตะกอนดิน มีความสัมพันธ์โดยตรงต่อการเจริญเติบโตของหญ้ าทะเล หากปริมาณธาตุอาหารมีน้อยหญ้าทะเลอาจจะเจริญ เติบโตได้ไม่ดีอาจทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ง่ายหรือมีการ เจริญเติบโตช้า ปลายใบเน่า ใบขาดหลุดร่วงได้ง่าย • ความเค็ม หญ้ าทะเลวิวัฒ นาการลงมาเจริญ อยู่ในทะเลประมาณ 100 ล้านปีก่อน โดยมีการพัฒ นาทางชีววิทยาที่ควบคุม ความเข้มข้นในเซลล์เพื่ อไม่ให้สูญเสียน้ำจนทำให้เซลล์เสียหาย ซึ่งเป็ น หลักการออสโมซีสส์ อย่างไรก็ ตามหญ้าทะเลแต่ละชนิดจะทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงความเค็มได้แตกต่างกัน โดยชนิดที่เจริญอยู่ในเขตน้ำขึ้น -ลงจะมีความทนทานสูงกว่าชนิดที่แพร่กระจายอยู่ในน้ำลึกที่การเปลี่ยนแปลง ความเค็มของน้ำไม่แตกต่างกันมากนัก ทั้งนี้ในพื้นที่ที่เป็นอ่าวใกล้ชายฝั่งหรือใกล้ปากแม่น้ำ ผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงความเค็ม จะเห็น ได้ ชัดเจน เนื่ องจากน้ ำทะเลบริเวณดังกล่ าวจะได้รับอิ ทธิพ ลจากปริม าณน้ ำ จื ด ที่ไหลลงมาผืนดิ น และกักเก็บอยู่เป็ นระยะเวลาหนึ่ งโดยเฉพาะในช่ วงน้ ำขึ้น หากน้ ำจืด ที่ไหลลงมามีป ริม าณ มากเกิน ปกติจนส่งผลให้ความเค็มลดต่ำมากจนเกินขีดความสามารถที่จะรองรับได้ของหญ้าทะเล อาจส่งผลให้ หญ้าทะเลเกิดความเสื่อมโทรมลง เช่นเดียวกันกับน้ำที่มีความเค็มสูงเกินกว่าค่าปกติมากเกินไป จะส่งผลให้เกิดการ เสื่อมโทรมต่อหญ้าทะเล แต่หญ้าทะเลบางชนิด เช่น หญ้าตะกานน้ำเค็ม สามารถอยู่อาศัยได้ในสภาพที่มีความเค็ม สูงได้ เช่น ในนากุ้งร้าง หรือบ่อพักน้ำที่มีความเค็มสูงมาก • ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ มีความสัมพันธ์กับการเจริญของพืชที่อยู่ในน้ำ ซึ่งอาจใช้ เป็นข้อบ่งชี้เบื้องต้นว่ามีการเจริ ญอย่างผิดปกติของพืชในน้ำ ดังนี้ ในระยะแรกการเกิดการสะพรั่งของสาหร่าย ที่ ป กคลุ ม แหล่ งหญ้ า ทะเล ทำให้ เกิด การผลิ ต ออกซิเจนออกมาละลายอยู่ในน้ ำ มากขึ้น เมื่ อตรวจวั ด ปริม าณ ออกซิเจนละลายน้ำจะพบสูงมากผิดปกติ และเมื่อสาหร่ายดังกล่าวตายลงจะทำให้เกิดการเน่าสลายเปลี่ยนสภาพ เป็น ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์และปลดปล่อยออกมาในมวลน้ำ ทำให้ปริมาณออกซิเจนในน้ำลดลงในลำดับต่อมา การที่ปริมาณออกซิเจนในน้ำลดลงโดยเฉพาะในเวลากลางคืนที่หญ้าทะเลไม่ได้สังเคราะห์แ สง มีเพียงการหายใจ ที่ ป ลดปล่ อยก๊าซคาร์บ อนไดออกไซด์ ออกมา จะส่ งผลกระทบต่ อสิ่ งมี ชี วิ ต ในน้ ำ ทำ ให้ น้ ำทะเลอยู่ ในสภาวะ ขาดออกซิ เจน (oxygen depletion) หรือเกิด สภาพ hypoxia คือ การที่ ป ริม าณออกซิ เจนในน้ ำลดลงจนถึง ระดับเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ • อุณหภูมิน้ำทะเล มีผลต่อปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำทะเล หากอุณหภูมิน้ำทะเล สูงขี้นจะทำให้ออกซิเจนละลายในน้ ำทะเลได้น้อยลงซึ่งเป็นผลกระทบทางตรง หรือการเปลี่ยนแปลงอุณ หภูมิ ของโลก ทำให้เกิดปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่รุนแรงขึ้น เช่น คลื่นลมแรง หรือปริมาณน้ำทะเลที่สูงขึ้นก่อให้เกิด การพังทลายของชายฝั่งทะเลมากและรวดเร็วขึ้นส่งผลให้เกิดตะกอนทับถมแหล่งหญ้าทะเล เป็นตั วอย่างของ ผลกระทบต่อแหล่งหญ้าทะเลโดยอ้อม อุณหภูมิน้ำทะเลในเขตร้อนที่พบว่าหญ้าทะเลมีการเจริญได้ดี อยู่ระหว่าง 28-32 องศาเซลเซียส ในเขตร้อนผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิยังไม่ชั ดเจนเท่ากับแหล่งหญ้าทะเล ในเขตอบอุ่น กรมทางหลวงชนบท 4-204 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม • ความเป็นด่างในน้ำทะเล คือ ปริมาณของ alkaline ที่ละลายอยู่ในน้ำทะเลจะมีผล ต่อการแพร่กระจายของแร่ธาตุ ๆ ในน้ ำทะเล การดูด ซึม สารอาหารและแร่ธาตุที่ หญ้ าทะเลสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ รวมทั้งมีผลต่อสมดุลของกระบวนเคมีในหญ้าทะเล สภาพแวดล้อมที่ผิดไปจากปกติหรือมีความผกผัน มากจะส่งผลต่อสภาพกายภาพของหญ้า ทะเล เช่น การปกคลุมบนผิวใบปิดกั้นการสังเคราะห์แสง หรือทับถม ส่วนที่เป็นต้นหญ้าทะเล ทำให้หญ้าทะเลต้องสูญเสียพลังงานไปในการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือการตก ทับถมของตะกอนที่มากเกินไปใบหญ้าทะเลจะเกิดลักษณะปลายใบเน่า เป็นสีน้ำตาลและขาดง่าย ผลการศึกษาการไหลเวี ย นของกระแสน้ ำและการแพร่ก ระจายของตะกอน ในกรณี มี โครงการ ด้วยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ AQUASEA ที่ให้ผลลัพธ์ที่มีความน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จาก ในภาคสนามและสภาพพื้นที่จริง พบว่า ในขณะดำเนินกิจกรรมขุดเจาะฐานรากสะพานในทะเลที่ระยะห่างจาก จุดก่อสร้าง 2, 9, 18, 37 และ 58 เมตร จะมีปริมาณความเข้มข้นของตะกอนเท่ากับ 6, 5, 4, 3 และ 2 หนึ่งส่วน ในล้านส่วน (ppm.) แต่ขณะเดียวกันในกรณีที่ หยุดกิจกรรมก่อสร้างตอม่อสะพาน ตะกอนจะตกจมเข้าสู่สภาวะ ปกติภายใน 20 นาที แสดงดัง ดังนั้นผลกระทบจากการฟุ้งกระจายของปริมาณตะกอนในทะเล เนื่องจากการ ดำเนินกิจกรรมของโครงการ จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง ข) ระยะดำเนินการ กิจกรรมส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นเป็นการคมนาคมบนถนนโครงการ ไม่มีกิจกรรมก่อสร้างลงใน ทะเล จึงไม่มีผลกระทบต่อหญ้าทะเลแต่อย่างใด 4.5.2 สัตว์ในระบบนิเวศ ผลกระทบต่อการรบกวนแหล่งอาศัย แหล่งหากิน และแหล่งหลบภัยของสัตว์ในระบบนิเวศ 1) กรณีไม่มีโครงการ การสำรวจภาคสนามรวบรวมข้อมูลความหลากชนิดสัตว์ป่าตามแนวเริ่มต้นและสิ้นสุดเส้นทางโครงการ บริเวณพื้นที่ขอบเขตแนวเส้นทางโครงการ และพื้นที่ระยะ 500 เมตร เพื่อการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านสัตว์ป่า ได้จำนวนชนิดสัตว์ป่าอย่างน้อย 80 ชนิด เป็นสัตว์ป่าที่พบเห็นตัวโดยตรงหรือจากหลักฐานและร่องรอย จำแนกเป็นจำนวนของสัตว์ป่าแต่ละชั้น (class) คือ (1) ชั้นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 7 ชนิด (2) ชั้นสัตว์เลื้อยคลาน 13 ชนิ ด (3) ชั้น นก 55 ชนิ ด และ (4) ชั้น สัต ว์ เลี้ย งลู กด้ วยนม 5 ชนิ ด ซึ่ งความหลากหลายทางชี ว ภาพด้ า น ทรัพยากรสัตว์ป่ามีกระดูกสันหลังบริเวณเขตทางและต่อเนื่องออกไปในขอบเขตพื้นที่ เพื่อการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมในรัศมี 500 เมตร ของเส้นทางโครงการจะสัมพันธ์กับสภาพนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีสภาพเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำ ทั้งน้ำจืด น้ำกร่อย และน้ำเค็มที่ได้รับอิทธิพลธรรมชาติและอิทธิจากการพัฒนา การใช้ประโยชน์ที่ดิน เปลี่ยนแปลง สภาพนิเวศของพื้นที่ การตั้งชุมชนและกิจกรรมลักษณะต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น โดยส่วนมากเป็น wetland vertebrates (สัตว์ป่ามีกระดูกสันหลังในพื้นที่ชุ่มน้ำ) สัตว์ป่า 4 กลุ่ม ที่รวบรวมข้อมูลได้บริเวณพื้นที่โครงการและพื้นที่อ่อนไหว ต่อเนื่องออกไปในพื้นที่สำรวจ มีรายละเอียดความหลากชนิดและการแพร่กระจายตามลักษณะนิเวศโดยสังเขป คือ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ได้ข้อมูลสัตว์ป่ากลุ่มนี้ 7 ชนิด สัตว์ป่ากลุ่มนี้ใช้ผิวหนังลำตัวแลกเปลี่ ยน แก๊สและวัยอ่อน (ลูกอ๊อด) ต้องอาศัยในน้ำทำให้ต้องอาศัยในแหล่งน้ำหรือใกล้เคียงแหล่งน้ำ หรือในที่มีความ ชุ่มชื้นสูงเพื่อให้มีผิวหนังชุ่มชื้นอยู่เสมอ ซึ่งการแพร่กระจายของสัตว์กลุ่มนี้ทุกชนิด เป็นกลุ่มที่ปรับตัวอาศัยใน แหล่งน้ำลักษณะต่างๆ หลากหลายตลอดจนบางชนิดอาศัยอยู่บนบกบริเวณที่มีความชุ่มชื้นทำให้แพร่กระจายได้กว้าง เช่ น คางคกบ้ าน (Duttaphrynus melanostictus) อึ่ งอ่ างบ้ าน (Kaloula pulchra) กบหนอง (Fejervarya limnocharis) ปาดบ้าน (Polypedates leucomystax) เป็นต้น กรมทางหลวงชนบท 4-205 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สัตว์เลื้อยคลาน ได้ข้อมูลสัตว์ป่ากลุ่มนี้ 13 ชนิด ตามบัญชีรายชื่อในตารางที่ 3.3.2-3 สัตว์ป่ากลุ่มนี้ ที่ได้ข้อมูลมีพื้นฐานการดำรงชีวิตแตกต่างเป็น 3 ประเภท คือ (1) ดำรงชีวิตเป็นสัตว์น้ำหรือแบบสะเทินน้ำสะเทินบก โดยมีพื้นที่อาศัยและหากินในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ ลำคลองหรือใกล้ เคียงลำคลอง ป่าชายเลน เช่น งูปากกว้างน้ำเค็ม (Cerberus rychops) เหี้ย (Varanus salvator) เป็นอาทิ (2) ดำรงชีวิตเป็นสัตว์บก ประกอบด้วย ชนิดค่อนข้าง จำกัด แหล่ งอาศัย ในพื้ น ที่ ป่ าหรือ มี พ รรณพื ช หนาแน่ น โดยอาศัย ตามลำต้ น /เรือนยอดต้ น ไม้ เช่น งูสายม่ า น (Dendrelaphis sp.) งูเขียวพระอินทร์ (Chrysopelea ornata) เป็นต้น และ (3) ดำรงชีวิตเป็นสัตว์บก ประกอบด้วย ชนิ ดค่อนข้างจำกัดแหล่งอาศัยในพื้นที่ป่ าหรือมีพ รรณพืชหนาแน่ น หรือบริเวณพื้ นที่ ถูกรบกวนอย่างต่อเนื่ อง เช่น กิ้งก่ารั้ว (Calotes versicolor) จิ้งจกหางหนาม (Hemidactylus frenatus) จิ้งเหลนหลากหลาย (Eutropis macularia) เป็นอาทิ นก ได้ข้อมูลสัตว์ป่ากลุ่มนี้ 55 ชนิด โดยอันดับนกจับคอน (Order Passeriformes) มีจำนวนชนิด มากที่ สุ ด ส่ ว นอั น ดั บ อื่ น ๆ ที่ ส ำรวจพบ เช่ น อั น ดั บ นกยาง (Order Ciconiiformes) อั น ดั บ เหยี่ ย ว (Order Falconiformes) อันดับนกชายเลน (Order Charadriiformes) อันดับนกจาบคา/นกกระเต็น/นกตะขาบ (Order Coraciiformes) อั น ดั บ นกโพระดก/นกหั วขวาน ( Order Piciformes) อัน ดั บ นกแอ่ น (Order Apodiformes) เป็นต้น สัตว์ป่ากลุ่มนี้มีความสามารถในการบินทำให้การแพร่กระจายมีขอบเขตกว้าง ตลอดจนเคลื่อนย้ายหาพื้นที่ อาศัย และหากิน ในที่มี สภาพนิ เวศตามลั กษณะที่ ต้องการได้อย่างรวดเร็ว และเป็ น ระยะทางไกล โดยจำแนก ประเภทตามความต้องการลักษณะนิเวศ เพื่อใช้เป็นแหล่งอาศัยและหากินได้ 2 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มที่มีแหล่งอาศัย และหากินในพื้นที่กลุ่มต้นไม้หรือมีพรรณพืชหนาแน่น หรือบริเวณรอยต่อของพื้นที่กลุ่ มต้นไม้กับที่เปิดโล่ง เช่น นกยางเขียว (Butorides striatus) เป็นต้น การแพร่กระจายของนกชนิดต่างๆ ในกลุ่มนี้จึงอยู่ในกลุ่มต้นไม้ของ ป่าชายเลน และกลุ่มต้นไม้ของแนวเส้นทางโครงการ และ (2) กลุ่มที่อาศัยและหากินในที่มีสภาพนิเวศลักษณะ แตกต่างกันเป็นขอบเขตกว้าง คือ ในที่มีต้นไม้ขึ้นกระจายทั่วไปแต่ไม่มีความต่อเนื่องเป็นผืนป่าหรือที่สภาพเปิดโล่ง ในพื้นที่เกษตรและบริเวณชุมชนและบริเวณลำคลอง ซึ่งมีทั้งชนิดหากินบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำและแหล่งน้ำสภาพต่างๆ เช่น นกเด้าดิน (Actitis hypoleucos) นกกระเต็นอกขาว (Halcyon smymensis) ชนิดหากินอยู่ตามที่รกร้างที่มี ต้นไม้ใหญ่ขึ้นกระจาย เช่น นกจาบคาหั วสีส้ม (Merops leschenaulti) ชนิดหากินอยู่ตามที่รกร้างเปิดโล่ง เช่น นกยางกรอกพันธุ์จีน (Ardeola bacchus) อีกา (Corvus macrorhynchos) และชนิดบินหากินในอากาศเหนือ พื้นที่ลักษณะต่างๆ ทั้งหมด เช่น เหยี่ยวแดง (Haliastur indus) เหยี่ยวนกเขาซิเครา (Accipiter badius) ชนิดที่ อาศัยและหากินในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ ชายหาด หาดกรวดโขดหินที่โล่งรอบเกาะ เช่น กลุ่มนกชายเลน ( shorebirds) และกลุ่มนกน้ำ (waterbirds) หลากชนิด เป็นอาทิ ชนิดบินฉวัดเฉวียนหากินแมลงในอากาศ เช่ น นกแอ่นกินรัง (Aerodramus germani) นกแอ่นแปซิฟิค (Hirudo tahitica) เป็นต้น โดยพบนกแอ่นแปซิฟิคสร้างรัง (colonial nesters) ที่มีจำนวนมากจากดินเลน เศษวัสดุ เศษหญ้าและขนนกยึดติดกันด้วยการสำรอกน้ำลาย นกที่รวบรวม ข้อมูลได้มีสถานภาพเป็นนกประจำถิ่นที่ประชากรทั้งหมดอาศัยอยู่ในประเทศไทยตลอดทั้งปี ซึ่งเป็นจำนวน 3 6 ชนิด และนก จำนวน 19 ชนิด ซึ่งเป็นจำนวนส่วนน้อยของจำนวนชนิดนกทั้งหมดที่รวบรวมข้อมูลได้มีสถานภาพ เป็นนกอพยพย้ายถิ่นที่ประชากรทั้งหมด หรือบางกลุ่มประชากรเข้ ามาอาศัยในประเทศไทยเฉพาะบางช่วงเวลา ของปีโดยใช้เป็นแหล่งอาศัยและหากิน ตัวอย่าง เช่น นกกระจิ๊ดขั้วโลกเหนือ (Phylloscopus borealis) นกจับแมลง สีน้ำตาล (Muscicapa daurica) นกยางกรอกพันธุ์จีน (Ardeola bacchus) นกหัวโตสีเทา (Pluvialis sguatarola) นกเด้าดิน (Actitis hypoleucos) นกอี ก๋อยใหญ่ (Numenius arquata) นกขมิ้นท้ ายทอยดำ (Oriolus chinensis) นกแซงแซวหางปลา (Dicrurus macrocercus) นกอีเสือสีน้ำตาล (Lanius cristatus) และนกเด้าลมเหลือง (Motacilla flava) เป็นต้น กรมทางหลวงชนบท 4-206 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สั ต ว์ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนม สำรวจพบสั ต ว์ เลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนม เช่ น นากใหญ่ ข นเรี ย บ ( Lutrogale perspcillata) และลิงแสม (Macaca fascicularis) ดำรงชีวิตแบบเคลื่อนที่ ปีนป่ายไปตามกิ่งไม้ และเคลื่อนที่ หากินอาหารตามพื้นล่าง เป็นต้น สถานภาพสั ต ว์ ป่ า สั ต ว์ ป่ า จำนวนทั้ งหมด 80 ชนิ ด เมื่ อ ตรวจสอบสถานภาพของแต่ ล ะชนิ ด มีรายละเอียดของสถานภาพแต่ละประเภทที่ได้ตรวจสอบโดยสังเขป คือ - สถานภาพที่ ได้ รับ การคุ้ม ครองโดยกฎหมาย จากการตรวจสอบพระราชบั ญ ญั ติ ส งวนและ คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 และจากบัญชีกฎกระทรวงกำหนดให้สัตว์ป่าบางชนิดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง พ.ศ. 2546 สัตว์ป่าที่รวบรวมข้อมูลได้ จำนวน 80 ชนิด โดยมีสถานภาพเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง จำนวน 59 ชนิด ของจำนวน ชนิดสัตว์ป่าทั้งหมดที่รวบรวมข้อมูลได้ และส่วนใหญ่เป็นนก คือ ทั้ง 55 ชนิด ของจำนวนชนิดสัตว์ป่าทั้งหมดที่ รวบรวมข้อมูลได้ โดยสัตว์ป่าอีก 21 ชนิด ของจำนวนชนิดสัตว์ปา ั ไม่ได้รับการ ่ ทั้งหมดที่รวบรวมข้อมูลได้ในปัจจุบน คุ้มครองโดยกฎหมาย - สถานภาพเพื่อการอนุรักษ์ จากการตรวจสอบกับสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560/Office of Natural Resource and Environmental Policy and Planning (2017) และ IUCN (2020) สัตว์ป่าที่รวบรวมข้อมูลได้ จำนวน 1 ชนิด คือ นากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspcillata) มีสถานภาพอนุรก ั ษ์ เป็นสัตว์ป่ามีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ ทั้งนี้ กรณีไม่มีโครงการจะไม่มีกิจกรรมรื้อย้ายต้นไม้หรือการเปิดพื้นที่เพื่อการก่อสร้างที่ส่งผลกระทบ ต่อการรบกวนแหล่งอาศัย แหล่งหากิน และแหล่งหลบภัยของสัตว์ในระบบนิเวศ 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง กิจกรรมการแผ้วถาง การปรับพื้นที่ งานดินถมและบดอัด เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมส่วนใหญ่ดำเนิน อยู่ในพื้นที่เขตทางและพื้นที่บางส่วนเพื่อการก่อสร้างเพิ่มเติมเท่านั้น และสภาพและลักษณะพื้นที่ก่อสร้างโครงการ ส่วนใหญ่ เป็น พื้ นที่ชุมชน พื้ นที่เกษตร และลำน้ำที่มีพื ชปกคลุม ซึ่งส่วนใหญ่ จะถูกตัดยอดให้ มีความสูงไม่เกิน 4.0 เมตร เพื่อป้องกันไม่ให้ยอดไม้ไปเสียดสีกับระบบสายส่งไฟฟ้า ทำให้สัตว์ป่าบางกลุ่มเข้ามาใช้ประโยชน์ใน พื้นที่ชุ่มน้ำและแหล่งน้ำสภาพต่ างๆ เช่น นกเด้าดิน นกกระเต็นอกขาว ชนิดหากินอยู่ตามที่รกร้างที่มีต้นไม้ใหญ่ ขึ้นกระจาย เช่น นกจาบคาหัวสีส้ ม เป็นต้น ชนิดหากินอยู่ตามที่รกร้างเปิดโล่ง เช่น นกยางกรอกพันธุ์จีน อีกา และชนิดบินหากินในอากาศเหนือพื้นที่ลักษณะต่างๆ ทั้งหมด เช่น เหยี่ยวแดง เหยี่ยวนกเขาซิเครา ชนิดที่อาศัย และหากิน ในบ่ อเลี้ ยงสั ต ว์น้ ำ ชายหาด หาดกรวดโขดหิ น ที่ โล่ งรอบเกาะ เช่ น กลุ่ ม นกชายเลน (shorebirds) และกลุ่มนกน้ำ (waterbirds) หลากชนิด เป็นอาทิ ชนิดบินฉวัดเฉวียนหากินแมลงในอากาศ เช่น นกแอ่นกินรัง นกแอ่น แปซิ ฟิ ค เป็ น ต้ น กิจ กรรมงานเตรีย มพื้ น ที่ ส ำหรับ ก่อสร้า ง งานดิ น /หิ น งานเตรีย มวั สดุ ก่ อสร้า งและ งานขนย้าย งานโครงสร้างสะพาน งานระบบระบายน้ำ การจัดระบบสาธารณูปโภคและความปลอดภัย ส่วนใหญ่ ดำเนินกิจกรรมอยู่ในพื้นที่เขตทางหลวงหมายเลข 4206 และ กบ.5035 ซึ่งชนิดสัตว์ป่าที่สำรวจพบในบริเวณ พื้นที่ดังกล่าว สามารถปรับ ตัวให้เข้ากับกิจกรรมของมนุษ ย์ได้ และเป็น ชนิดที่คุ้ นเคยกับ การถูกรบกวนอยู่แล้ว มีอาณาเขตครอบครองไม่มาก สามารถพบได้โดยทั่วไป สามารถเคลื่อนย้ายไปอาศัยในพื้นที่อื่น หรือบริเวณพื้นที่ ใกล้เคียงที่มีลักษณะเช่นเดียวกัน จึงไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงหรือส่งผลกระทบต่อการรบกวนแหล่งอาศัย แหล่งหากินและแหล่งหลบภัยของสัตว์ป่าแต่อย่างใด สำหรับ สั ตว์เลี้ ยงลู กด้ วยนม เช่ น นากใหญ่ ขนเรีย บ (Lutrogale perspcillata) และลิ งแสม (Macaca fascicularis) ดำรงชีวิตแบบเคลื่อนที่ปีนป่ายไปตามกิ่งไม้ และเคลื่อนที่หากินอาหารตามพื้นล่าง คาดว่า จะได้รับผลกระทบจากการดำเนินงานโครงการ ดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-207 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - นากใหญ่ ขนเรียบ (Lutrogale perspcillata) มีสถานภาพอนุรักษ์เป็นสัตว์ป่ามีแนวโน้ม ใกล้สูญพันธุ์ ตาม IUCN (2020) เนื่องจากแนวเส้นทางเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่มีมิติเป็นแนวยาว (linear infrastructure) มีทิ ศทางทอดตั วใกล้ เคียงผ่านไปในสภาพดั่งเดิม ของ supratidal zone ชายฝั่ งทะเล และเขตห้ ามล่าสั ต ว์ป่ า ทุ่งทะเล มีสภาพนิเวศแนวป่าชายเลน และชายหาดในพื้นที่ช่วงต้นของคลองช่องลาด กรณีนากใหญ่ขนเรียบนั้น ผูกพันกับสภาพนิเวศและภูมิทัศน์ของแนวเส้นทาง โดยสำรวจพบรอยเท้าและร่องรอยการใช้ลำตัวเกลือกกลิ้ง บนเนินดินในที่ลุ่มรกร้าง โดยผลกระทบหลักประการแรก คือ กิจกรรมการตัดฟันต้นไม้และการแผ้วถางพรรณพืช การขุดเปิด ไถและดัน และการขุดและตักดินหรือการถมดิน/ทรายเพื่อปรับระดับพื้นที่ งานเสาตอม่ อ ฐานราก การก่อสร้างทางเชิงลาด สะพานบก สะพานคานขึง สะพานคานยื่นสมดุล จากงานก่อสร้าง พื้นที่หากินอาหาร/ foraging sites พื้นที่เกลือกกลิ้ง พื้นที่อาบแดด (basking site) สภาพนิเวศเปลี่ยนแปลงหรือถูกทำลายหรือลดไป ส่วนหนึ่ง เมื่อพิจารณากิจกรรมในระยะเตรียมการก่อสร้ างคือสาเหตุแรกเริ่มที่ทำให้ถู กรบกวนและถูกผลักดัน หลบเลี่ยงออกไปจากถิ่นอาศัย (habitat) และใช้ประโยชน์ รวมทั้งถิ่นอาศัยและใช้ประโยชน์บางประเภทถูกทำลาย หรือมี สภาพนิ เวศเปลี่ ยนแปลง นากใหญ่ ขนเรีย บได้ รับ ผลกระทบจากการก่อสร้างเส้น ทางจึงเป็ น ผลกระทบ ระดั บ ปานกลาง สำหรับ ผลกระทบหลั กประการที่ ส อง คือ ผลกระทบทางลบจากเสี ย งและแรงสั่ น สะเทื อ น (โดยเฉพาะจากงานเสาเข็มตอม่อ-ฐานราก คือ สาเหตุทำให้ถูกรบกวน (รบกวนการสื่ อสารระหว่างสมาชิกของ ประชากร เพื่อการตรวจหาเหยื่อ และหลบเลี่ยงสัตว์ผู้ล่า) และถูกผลักดันให้หลบเลี่ยงห่างออกไปเป็นระยะทาง มากขึ้นจากพื้นที่อาศัย (home range) ปัจจุบัน จากถิ่นที่อาศัยและใช้ประโยชน์สภาพปัจจุบันในระยะเตรียมการ ก่อสร้างและระยะก่อสร้างและอาจลดพื้นที่ดังกล่าว (ทั้งบริเ วณและขนาด) ทำให้ถูกรบกวนและถูกผลักดันให้ หลบเลี่ยงออกไปจากพื้นที่อาศัยและใช้ประโยชน์ และ/หรือละทิ้ง (displacement) พื้นที่อาศัยและใช้ประโยชน์ นากใหญ่ขนเรียบถูกรบกวนการดำรงชีวิ ต (disturbance) จากกิจกรรมต่างๆ ที่มีแหล่งกำเนิดจากพื้นที่เขตทาง โดยภาพรวมเป็นผลกระทบทางประสาทสัมผัสลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ การมองเห็นทางสายตา การได้กลิ่นและการ รับสัมผัสด้านเสียงและแรงสั่นสะเทือน กรณีผลกระทบด้านการรบกวนในระยะก่อสร้างพื้นที่สำรวจตามแนวเขต ทางจะได้รับผลกระทบทางอ้อมจากการถูกรบกวน คือ ต่อการอาศัยและใช้ประโยชน์ ต่อคุณภาพวิถีชีวิต นากใหญ่ ขนเรียบด้านตัวรับสัมผัสเชิงระบบประสาทต่อนากใหญ่ขนเรียบ และยังมีผลกระทบต่อการสื่อสารทางเสียงและ คลื่นเชิงกลของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและปลาในพื้นที่ที่เป็นเหยื่อของนากใหญ่ขนเรียบ ดังนั้น เมื่อนำการใช้ระโยชน์พื้นที่ลักษณะดังกล่าวมาพิจารณาร่วมกับเสียงและแรงสั่นสะเทือน จากกิจกรรมก่อสร้างลักษณะต่าง ๆ จากแหล่งต้นเสียง คือ เครื่องจักรกลประเภทต่าง ๆ รวมทั้งเสียงเครื่องยนต์ จากความพลุกพล่านของรถบรรทุก และเสีย งจากความพลุกพล่านของคนงานก่อสร้างโดยเฉพาะจากกรณีเสียง และความสั่น สะเทื อนจากงานเสาเข็มจัด เป็ น impact equipment กอปรกับ เสี ยงและความสั่น สะเทื อนจาก ชุดเครื่องจักรกลงานเสาเข็ม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากความสั่นสะเทือนและแรงกระแทกสามารถผ่านในตัวกลาง บนพื้นดิน อากาศและมวลน้ำที่แนวเขตทางพาดผ่าน (แรงสะเทือนจากงานเสาเข็มส่งผลต่อวัตถุที่ได้รับจะสั่น ไปด้วย) กรณีผลกระทบด้านลบต่อวิชีวิตนากใหญ่ขนเรียบที่แพร่กระจายอยู่ในพื้นที่สำรวจของโครงการ ทั้งผลกระทบ ทางตรงต่อตัวสมาชิกนากใหญ่ ขนเรียบในประชากรและผลกระทบทางอ้อมต่อสิ่งมีชีวิตที่ เป็น ฐานอาหารของ สมาชิกนั้นๆ การคาดการณ์ผลกระทบทางลบระดั บนิเวศวิทยาเชิงพฤติกรรมต่อวิถีชีวิตนากใหญ่ขนเรียบที่ผูกพัน กับพื้นที่ นากใหญ่ขนเรียบจะหลบเลี่ยงพื้นที่มีเสียงรบกวนในพื้นที่ครอบครองที่พื้นที่หากินทั้งแหล่งพัก การคาดการณ์ ผลกระทบทางลบต่อสัตว์ป่าระดับโครงสร้างร่างกายและสรีรวิทยา เช่น คลื่นแรงสั่นสะเทือนงานเสาเข็มรบกวน ทางตรงต่อหนวดสัมผัสที่ใบหน้านากใหญ่ขนเรียบขณะดำน้ำหากิน และ/หรือตรวจสอบสิ่งแวดล้อมในน้ำ ผลกระทบ ทางอ้อม คือ คลื่นสั่นสะเทือนจากงานเสาเข็มรบกวนการรับคลื่นโดยธรรมชาติต่อกระเพาะลมของปลาเหยื่อที่เป็น อาหารหลักของนากใหญ่ขนเรียบ เพราะโครงสร้างร่างกายส่วนนี้ทำหน้าที่รับสัมผัสคลื่นในมวลน้ำและการปรับตัว กรมทางหลวงชนบท 4-208 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตอบสนองสิ่งแวดล้อมและช่วยปรับระดับการลอยตัวปลา ดังนั้นคาดว่าสัตว์ป่าจะได้รับผลกระทบทางลบ ทั้งนี้ เพราะความสามารถในการปรับตัวของนากใหญ่ ขนเรียบด้านนิเวศสัณฐานวิทยาเชิงหน้าที่ตามการเปลี่ยนแปลง สภาพนิเวศ อย่างไรก็ตามต้องมีมาตรการป้องกันแก้ไขและลดผลกระทบด้านลบ การคาดการณ์ ผ ลกระทบทางลบด้ า นเสี ย งต่ อ นากใหญ่ ขนเรีย บในพื้ น ที่ โครงการนั้ น เมื่ อวิ เคราะห์ ผ ลกระทบด้ า นเสี ย งนั้ น เป็ น ลั ก ษณะผลกระทบด้ านรบกวนต่ อ นากใหญ่ ขนเรีย บที่ ท ำให้ มี ก าร เปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรม เมื่ อ พิ จ ารณาในเชิ งชี ว วิ ท ยาเพื่ อ การอนุ รักษ์ ( conservation biology) จะไม่ ท ำให้ ประชากรลดน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้น ระดับผลกระทบทางลบด้านเสียงต่อนากใหญ่ขนเรียบจากกิจกรรม ลักษณะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น กอปรกับสภาพ แวดล้อมปัจจุบันมีเสี ยงจากเครื่องยนต์และเสียงที่เกิดจากการเสียดสี ของผิวยางล้อยานพาหนะประเภทต่าง ๆ ขณะขับเคลื่อนบนเส้นทาง ถนนต่ าง ๆ ประชิดติดพื้นที่แนวเส้นทาง โครงการ ผนวกกับความสามารถในการปรับตัวของนากใหญ่ขนเรียบตามการเปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศ เหล่านี้คือ สาเหตุท ำให้ น ากใหญ่ ขนเรีย บถูก รบกวน และ/หรือถูกผลั กดัน ให้ หลบเลี่ย งออกไป สามารถเคลื่อ นย้ายเลี่ ย ง ห่างไกลออกไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ลักษณะเดียวกันที่เป็นขอบเขตกว้างได้ - ลิงแสม (Macaca fascicularis) มีสถานะการอนุรักษ์ตาม IUCN (2020) และสำนักงาน นโยบายและแผนทรัพ ยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อม (สผ.) พ.ศ. 2560 จั ด อยู่ ในสั ต ว์เลี้ ย งลู กด้ ว ยนมที่ อยู่ ในสถานภาพกลุ่มที่ เป็น กังวลน้ อยที่ สุ ด (Least Concern-LC) โดยลิ งแสมเป็น ลิงอีกชนิด หนึ่ งที่ พ บได้แทบทุ ก ภูมิประเทศ ทั้งในป่าชายเลนใกล้ทะเล โดยลิงฝูงที่อาศัยในที่นี่จะว่ ายน้ำและดำน้ำเก่ง เคยมีรายงานว่าสามารถ ดำน้ำได้ลึกถึง 50 เมตร หากินสัตว์ทะเลขนาดเล็กเป็นอาหาร เช่น กุ้ง ปู หรือหอย แต่บางครั้งก็พบอาศัยอยู่ใน ป่าดิบชื้นและพื้นที่สูงประมาณ 2,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล หรือพื้นที่เกษตรกรรมด้วยซึ่งมันมักจะทำลาย ผลิตผลทางการเกษตรลิงแสมพยายามจะปรับตัวให้สามารถอยู่ในพื้นที่บริเวณขอบนอกของป่ามากกว่าอยู่ในป่าลึก และสามารถปรับตัวในเข้ากับมนุษย์ได้ในบางโอกาส ลิงแสมมักจะอยู่เป็นฝูงใหญ่ อาจมีสมาชิกในฝูงได้ถึง 200 ตัว (https://th.wikipedia.org/wiki/ลิงแสม) พื้นที่ท่าเรือบ้านหัวหินตำบลฝั่งเกาะกลางและฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย สำรวจพบฝูงลิงแสม (Macaca fascicularis) เข้ า มารื้ อ ค้ น ที่ บ ริ เวณพื้ น ที่ ทิ้ ง ร้ า ง อาคารขนาดเล็ ก และสิ่ ง ก่ อ สร้ า งทิ้ ง ร้ า ง และ กองเศษวัสดุในบริเวณฝั่งใกล้เคียงท่าเรือแพขนานยนต์ ทั้งนี้ ลิงแสม (Macaca fascicularis) จัดเป็นลิงชนิดที่พบ เห็นได้บ่อยที่สุด มีสถานภาพตามกฎหมายเป็นสัตว์ ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า พ.ศ. 2562 ส่วนสถานภาพตาม IUCN (2020) จัดอยู่ในกลุ่มมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable : VU) สำหรับ สถานภาพตามสำนั กงานนโยบายและแผนทรัพ ยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อม (2560) จัด อยู่ ในกลุ่ม ที่ เป็ น กังวลน้อยที่สุด (Least Concern : LC) ลิงแสมเป็นลิงอีกชนิดหนึ่งที่พ บได้แทบทุกภูมิประเทศ ทั้งในป่าชายเลน ใกล้ทะเล โดยลิงฝูงที่อาศัยในที่นี่จะว่ายน้ำและดำน้ำเก่ง เคยมีรายงานว่าสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 50 เมตร หากิน สัตว์ทะเลขนาดเล็กเป็นอาหาร เช่น กุ้ง ปู หรือ หอย แต่บางครั้งก็พบอาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นและพื้นที่สูงประมาณ 2,000 เมตร จากระดับน้ ำทะเล หรือพื้นที่เกษตรกรรมด้วยซึ่งมันมักจะทำลายผลิตผลทางการเกษตร ลิงแสม พยายามจะปรับตัวให้สามารถอยู่ในพื้นที่บริเวณขอบนอกของป่า มากกว่าอยู่ในป่าลึก และสามารถปรับตัวเข้ากับ มนุษย์ได้ในบางโอกาส ซึ่งมักจะอยู่เป็นฝูงใหญ่ อาจมีสมาชิกในฝูงได้ถึง 200 ตัว โตเต็มที่เมื่อมีอายุได้ราว 3-4 ปี ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ลูกที่มีอายุน้อยจะเกาะติดแม่เสมอ จากการสอบถาม ัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล เมื่อเดือนกรกฎาคม 2564 กล่าวว่าในพื้นที่โครงการฝั่งตำบลเกาะกลางฝูงลิงแสมมีประมาณ 250-300 ตัว และฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย มี ป ระมาณ 200 -230 ตั ว ปั จ จุ บั น ทางเขตห้ า มล่ าสั ต ว์ป่ าทุ่ งทะเลได้ ป ระสานงานไปยั งจั งหวั ด กระบี่ เพื่ อขอ สนับสนุนงบประมาณควบคุมประชากรลิงแสมมาผ่าตัดทำหมัน ตามโครงการปฏิบั ติการลดความเดือดร้อนจาก ลิงแสมในท้องที่จังหวัด กระบี่ เพื่อลดประชากรลิง ภายหลังฝู งลิงมีประชากรเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง และได้ก่อความ กรมทางหลวงชนบท 4-209 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เดือดร้อนแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยว แย่งอาหาร ขโมยทรัพย์สิน รวมไปถึงทำร้ายนักท่องเที่ยวได้รับบาดเจ็บ หลายราย นอกจากนี้ ยังได้กล่าวอีกว่าในกรณีที่ มีการพัฒนาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ต.เกาะกลาง-ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โอกาสที่ลิงแสมฝั่งเกาะกลางจะข้ามไปฝั่งเกาะลันตาน้อย หรือลิ งแสมฝั่งเกาะลีน ตาน้ อยจะข้ามมายั งเกาะกลางนั้ นเป็ นไปได้ ยากหรือมีโอกาสน้ อยมาก เนื่องจากฝู งลิ ง แต่ละฝูงมีอาณาเขตในการปกครองพื้นที่ การดำเนินกิจกรรมก่อสร้างของโครงการ จำเป็นต้องมีการตัดฟันต้นไม้และการแผ้วถางพรรณพืช เพื่อก่อสร้างถนนระดับดินของโครงการ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่กลายเป็นที่โล่งและโครงสร้างทาง คมนาคม ก่อให้เกิดการรุกล้ำพื้นที่อาศัยของลิง เกิดพื้นที่ทับซ้อน และปัญหาจากพฤติกรรมของมนุษย์ที่มักนํา อาหารให้สัตว์ จึงพัฒนาเป็นปัญหาต่อเนื่องมา ลิงได้รับอาหารมนุษย์ที่มีความแตกต่างจากอาหารในธรรมชาติ อาจ ติดใจรสชาติ และไม่สนใจหาอาหารในธรรมชาติ อาหารมนุษย์ส่วนใหญ่มีพลังงานสูงจากแป้งและน้ำตาล เมื่อลิง ได้รับอาหารเหล่านี้มากๆ ก็แปลงเป็นพลังงาน เพื่อการสืบพันธุ์มากขึ้นด้วย ประชากรลิงจึงเพิ่มมากขึ้น เกินกว่า สมดุลของระบบนิเวศ อีกทั้งบางพื้นที่ก็ไม่มีสัตว์ผู้ล่า ลิงจึงมีอัตราอยู่รอดตามธรรมชาติมากขึ้น จึงเกิดเป็นภาวะ ประชากรล้ น (over population) ของลิ ง ในพื้ น ที่ ไ ด้ เมื่ อ ประชากรเพิ่ ม ขึ้ น ความต้ อ งการอาหารก็ เพิ่ ม ขึ้ น พฤติกรรมการหาอาหารของลิงจึงต้องบุกรุกเข้าไปในชุมชนมนุษย์มากขึ้น แนวทางการแก้ไขผลกระทบต่อลิงแสม การสร้างระบบระวังและป้องกัน การรับมือปัญหาที่มีผลกระทบต่อมนุษย์ที่ เกี่ยวข้องโดยตรง แบ่งผลกระทบได้เป็น 2 ด้าน คือ ด้านกายภาพ ได้แก่ บ้านเรือน สิ่งของ ทรัพย์สิน อาหาร วัสดุต่างๆ ด้านชีวภาพ ได้แก่ โรคและเชื้อโรคต่างๆ ที่นําโดยลิง หรือการทําร้ายร่างกายมนุษย์โดยลิง ซึ่งการกําหนดมาตรการป้ องกัน ผลกระทบนี้ ได้แก่ • การจั ด การขยะ เนื่ องจากขยะและถังขยะเป็ น แหล่ งที่ ลิ งสร้างปั ญ หามากที่ สุ ด จุ ด หนึ่ ง อาจแก้ปัญหาด้วยการออกแบบถังขยะที่มีคุณสมบัติ 3 ประการ คือ ป้องกันลิงคุ้ยเขี่ยได้ คนทิ้งขยะได้สะดวก • คนเก็บขยะทํางานได้สะดวก และมีมาตรการห้ามการทิ้งขยะที่เป็นอาหารนอกถังขยะ • มาตรการสําหรับนักท่องเที่ยว ในพื้นที่ที่มีลิง เช่น การห้ามให้อาหารลิง หรือแม้แต่แสดงให้ ลิงเห็นว่าตนเองมีอาหาร การห้ามจับหรือสัมผัสลิง การห้ามแหย่หรือยั่วยุลิง การให้ความรู้ว่าลิงอาจมีโรคหรือเชื้อ โรคสู่คนได้ ฯลฯ มาตรการนี้จะมีผลให้ลิงมีวินัยไม่มีนิสัยที่จะสนใจหรือเข้าหาคนเพื่อขอ หรือแย่งอาหาร และสร้าง วินัยในการท่องเที่ยวของคนด้วย • การสํารวจโรคหรือเชื้อโรคต่างๆ ในลิงแต่ละพื้นที่ ให้เป็นข้อมูลทางระบาดวิทยา เนื่องจาก ลิงเป็นสัตว์กลุ่ม Primate จึงมีโรคหลายๆ โรคที่สามารถติดต่อถึงมนุษย์ได้มาก โรคจากเชื้อไวรัส อาทิ Herpes B, Monkeypox, Rabies ฯลฯ จากเชื้ อแบคทีเรีย อาทิ วัณโรค, Salmonellosis, โรคเรื้อน (Leprosy, Mycobacterium leprae) ฯลฯ โรคจากโปรโตซัว ที่สําคัญ คือ มาเลเรีย ซึ่งเคยพบชาวต่างชาติติดเชื้อ Plasmodium knowlesi (เป็นเชื้อมาเลเรียที่พบและทําให้เกิดโรคในลิงแสม) จากการมาเที่ยวในประเทศไทย นอกจากนั้นยังมีโรคจากกลุ่ม พยาธิ และเชื้อราต่างๆ การควบคุมประชากรลิง ภาวะประชากรล้นจากสาเหตุที่กล่าวแล้ว ยุทธศาสตร์นี้จึงเกี่ยวข้องกับ การจัดการประชากรลิงไม่ให้แพร่พันธุ์มากกว่าที่เป็นอยู่ มิใช่กําจัดประชากรลิงให้ลดลงหรือหมดไป หลายๆ พื้นที่ ปัญหามีความคิดว่า ถ้าจับลิงทําหมันได้จะแก้ไขปัญหาได้หมดซึ่งหาเป็ นเช่นนั้นไม่ จึงต้องมีการกำหนดมาตรการ อื่นๆ ควบคู่กันไปด้วย ซึ่งในการควบคุมประชากรลิงนี้ จึงเน้นการทําหมันแบบไม่มีผลต่ อพฤติกรรมการผสมพันธุ์ และปล่อยกลับคืนฝูง ซึ่งควรมีความรู้ความเข้าใจลิงแสม ที่เป็นลิงที่มีลําดับชั้นทางสังคม (Hierarchy) ตัวจ่าฝูง หรือในระดับสูงทั้งตัวผู้และตัวเมีย จะได้สิทธิ์ในการกิน และผสมพันธุ์ ฯลฯ ก่อนตัวระดับต่ำในฝูงเสมอ การทํา หมันด้วยวิธีตัดอัณฑะ (Castration) หรือตัดมดลูกและรังไข่ (OVH) ไม่เหมาะสมเพราะจะทําให้ลิงขาดฮอร์โมน กรมทางหลวงชนบท 4-210 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพศที่สําคัญในการดํารงพฤติกรรมทางสังคมและพฤติกรรมการผสมพันธุ์ ลิงที่ถูกทําหมันด้วยวิธีนี้ มักไม่สามารถ อยู่ในฝูงได้และถูกขับออกจากฝูง ทําให้ไปเพิ่มปัญหาลิงที่อยู่ตามชุมชนมากขึ้นอีก หลักการทําหมันทั้งตัวผู้ และตัว เมียในยุทธศาสตร์นี้ เน้ นให้อัณ ฑะ และรังไข่ ยังคงทํางานได้ต ามปกติ (การฝังฮอร์โมนคุมกําเนิด จึงไม่เข้ากับ หลักการนี้) เพื่อรักษาพฤติกรรมการผสมพันธุ์ และสถานะทางสังคมลิงต่อไป โดยหากสามารถทําหมันในลิงลําดับสูง ในฝูงได้ก่อน จะเป็นการช่วยควบคุมการผสมพันธุ์ได้ดีขึ้นด้วย วิธีการทําหมันที่ใช้ คือ การผูกตัดท่อน้ำเชื้อในตัวผู้ (Vasectomy) และการผูกตัดท่อนําไข่ในตัวเมีย (Tubal ligation) ซึ่งจะต้องรีบปล่อยตัวที่ทําหมันแล้วกลับคืนฝูง ให้เร็วที่สุด จึงต้องใช้เทคนิคที่ทําให้เกิดแผลเล็กที่สุด ผลข้างเคียงน้อยที่สุด โดยไม่จําเป็นต้องมีการดูแลแผลหลัง ผ่าตัด การฟื้ น ฟู ระบบนิ เวศและถิ่ น อาศัย ของลิ ง การจัด การหรือผลักดัน ให้ ลิ งสามารถอยู่ ในพื้ น ที่ ธรรมชาติได้อย่างสมดุล มีแหล่งน้ำและอาหารธรรมชาติเพียงพอ ซึ่งต้องอาศัยการสํารวจข้อมูลในระบบนิเวศว่ามี พืชอาหาร และแหล่งน้ำเพียงพอ และเหมาะสําหรับประชากรลิงที่มีอยู่อย่างไร จําเป็นจะต้องมีการสร้างเสริม อย่างไร และต้องเฝ้าติดตามให้ลิงสามารถอาศัยในระบบนิเวศอย่างยั่งยืนอย่างไร โดยจัดหาพื้นที่ธรรมชาติปลูกพืช อาหารเสริม แล้วล้อมรั้วที่ออกแบบพิเศษให้ลิงไม่สามารถออกจากรั้วได้ แล้วนําลิงบางส่วนมาเลี้ยงไว้ในนิคมนี้ ดั งนั้ น เพื่ อความห่ ว งใยต่ อสิ่ งแวดล้ อมและสั ต ว์ป่ า ในพื้ น ที่ โครงการ กรมทางหลวงชนบท สนับสนุนงบประมาณให้กับเขตห้ ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเลตามความเหมาะสม เพื่อควบคุมประชากรลิ งแสมและ การฟื้นฟูระบบนิเวศและถิ่นอาศัยของลิง ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยว (2) ระยะดำเนินการ ภายหลั ง เปิ ด ใช้ เส้ น ทางของโครงการและในช่ วงการบำรุงรักษาเส้ น ทาง จะประกอบด้ ว ย กิจกรรมการคมนาคมขนส่ง การบำรุงรักษาปกติ งานบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา และงานบำรุงรักษาพิเศษ/ งานฉุ กเฉิ น กิจ กรรมส่ ว นใหญ่ ที่ เกิด ขึ้น เป็ น การคมนาคมบนถนนโครงการ ไม่ มี กิจ กรรมก่อสร้า งหรื อเข้า ไป ใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้ จึงไม่มีผลกระทบต่อการรบกวนแหล่งอาศัย แหล่งหากิน และแหล่งหลบภัยของสัตว์ ในระบบนิเวศ 4.5.3 พืชในระบบนิเวศ ผลกระทบต่อพืชในระบบนิเวศ 1) กรณีไม่มีโครงการ พื้ น ที่ ด ำเนิ น โครงการก่อสร้างสะพานข้า มเกาะลั น ตา ครอบคลุ ม พื้ น ที่ บ กฝั่ ง เกาะกลางและฝั่ ง เกาะลั น ตาน้ อย โดยพื้ น ที่ มี ส ภาพการใช้ ที่ ดิ น ที่ แตกต่ า งกัน ทั้ งหมู่ บ้ านในที่ ราบ พื้ น ที่ ริม ถนน สวนยางพารา ป่าชายเลน และป่าบก โดยพื้นที่ดำเนินการฝั่งบก (ตำบลเกาะกลาง) อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ได้มีการ ขยายทางหลวงหมายเลข 4206 ก่อนถึงชายฝั่งยาวประมาณ 500 เมตร (กม.0+000 – กม.0+500) ที่มีไม้ละเมาะ บริเวณริมถนน เช่น มะม่วง (Mangifera indica L.) เนียง (Archidendron jiringa (Jack) I.C.Nielsen) คูน (Cassia fistula L.) เป็นต้น ส่วนไม้พุ่มและไม้ล้มลุกที่พบ เช่น กระถินบ้าน (Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit) สาบเสือ (Chromolaena odoratum (L.) R.M.King & H.Rob) ปอหู (Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem.) พั งแหรใหญ่ (Trema orientalis (L.) Blume) เล็ บเหยี่ ยว (Ziziphus oenoplia (L.) Mill. var. oenoplia) เป็ นต้ น ในการนี้แนวเส้นทางได้ตัดออกทะเลบริเวณท่าเที ยบเรือ ในปัจจุบัน ซึ่งมีต้น มะขาม (Tamarindus indica L.) อยู่บริเวณท่าเรือด้วย ส่วนพื้นที่ดำเนินการฝั่งเกาะ (ตำบลเกาะลันตาน้อย) ตั้งอยู่ในเขตตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (กม. 1+958 – 2+527) โดยเส้นทางของสะพานได้ตัดผ่านพื้นที่ ทะเลมาสู่บริเวณ ชายฝั่ง ซึ่งจะเชื่อมกับถนนบริเวณหัวเกาะลันตาน้อยฝั่งทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะ ในการนี้พบชนิ ดไม้ กรมทางหลวงชนบท 4-211 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม บริเวณชายฝั่ งและริม ถนน เช่ น ส้ า นใหญ่ (Dillenia obovata (Blume) Hoogland) เสลา (Lagerstroemia venusta Wall.) พลับพลา (Microcos tomentosa Sm.) แคหางค่าง (Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis) เป็ น ต้น ส่ วนไม้ล้ ม ลุกและไม้ พื้ น ล่ างที่ พ บ เช่น สาบเสื อ (Chromolaena odoratum (L.) R.M.King & H.Rob) เล็ บ เหยี่ ย ว ( Ziziphus oenoplia (L.) Mill. var. oenoplia) กระถิ น บ้ า น ( Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit) ไมยราบ (Biophytum sensitivum (L.) DC.) เป็นต้น ลักษณะทางนิเวศของ พื้นที่ฝั่งเกาะลันตาน้อย ผลการสำรวจด้ านทรัพ ยากรป่ าไม้ในพื้ น ที่ ดำเนิ นการก่ อสร้างโครงการสะพานเชื่ อมเกาะลัน ตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พบต้นไม้ใหญ่จำนวนรวม 40 ต้น ได้แก่ ไม้บก 2 ชนิด จำนวน 3 ต้น และไม้ชายเลน 6 ชนิด จำนวน 37 ต้น ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ ฝั่งเกาะลันตาน้อย ซึ่งอยู่ในเฉพาะเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าหลังสอด/ ป่าควนบากัน เกาะเท่านั้ น และผลจากการตรวจสอบชนิด ไม้ ในพื้ นที่ ดำเนิน การครั้งนี้ ไม่พ บไม้ที่ มี ส ถานภาพ เพื่อการอนุรักษ์ของกรมอุทยาน สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP 2017) และของ IUCN (2020) แต่อย่างใด ซึ่งพบ ชนิดไม้หวงห้ามประเภท ก. (ไม้หวงห้ามธรรมดา) จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata Blume.) ตะบูนขาว (Xylocarpus granatum Koen) ตะบูนดำ (Xylocarpus moluccensis (Lam.)) โปรงแดง (Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob.) และส้ า นใหญ่ (Dillenia obovata (Blume) Hoogland) โดยชนิ ด ไม้ ห รือ ต้นไม้ดังกล่าวไม่เป็น ไม้ที่มีค่าหรือไม้หายาก ในกรณีไม่มีโครงการการจะมีมีกิจกรรมใดที่ส่ง ผลกระทบต่อพืช ในระบบนิเวศ 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง กิจกรรมการแผ้วถาง การปรับพื้นที่ งานดิน ถมและบดอัด เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมส่วนใหญ่ดำเนิน อยู่ในพื้นที่เขตทางและพื้นที่บางส่วนเพื่อการก่อสร้างเพิ่มเติมเท่านั้น ผลการสำรวจด้านทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ ดำเนินการก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พบต้นไม้ใหญ่จำนวนรวม 40 ต้น ได้แก่ ไม้บก 2 ชนิด จำนวน 3 ต้น และไม้ชายเลน 6 ชนิด จำนวน 37 ต้น ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของโครงการ ฝั่งเกาะลันตาน้อย ซึ่งอยู่ใน เฉพาะเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าหลังสอด/ป่าควนบากันเกาะเท่านั้น และผลจากการตรวจสอบชนิดไม้ในพื้นที่ ดำเนิ น การครั้งนี้ ไม่ พ บไม้ที่ มี ส ถานภาพเพื่ อการอนุ รักษ์ ของกรมอุ ท ยาน สั ตว์ ป่ า และพั น ธุ์พื ช (DNP 2017) และของ IUCN (2020) แต่อย่างใด ซึ่ งพบชนิ ด ไม้ หวงห้ ามประเภท ก. (ไม้หวงห้ ามธรรมดา) จำนวน 5 ชนิ ด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata Blume.) ตะบูนขาว (Xylocarpus granatum Koen) ตะบูนดำ (Xylocarpus moluccensis (Lam.)) โปรงแดง (Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob.) และส้ า นใหญ่ ( Dillenia obovata (Blume) Hoogland) โดยชนิดไม้หรือต้นไม้ดังกล่าวไม่เป็นไม้ที่มีค่าหรือไม้หายาก ในกรณีไม่มีโครงการ การจะมีมีกิจกรรมใดที่ส่งผลกระทบต่อพืชในระบบนิเวศ ซึง ่ การสำรวจป่าไม้ในพื้นที่ดำเนินการโครงการ ได้จำแนก ข้อมูลป่าไม้ในพื้ นที่ฝั่งตำบลเกาะกลางและฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย พร้อมทั้งแสดงข้อมูลปริมาตรไม้ในแต่ละ พื้นที่ป่า โดยพื้นที่ดำเนินการฝั่งตำบลเกาะกลาง พบว่า การสูญเสียต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่ดำเนินการทั้งสองฝั่งโครงการ ตั้งอยู่ในเขตทาง ทล.4206 ซึ่งเป็น สภาพพื้น ที่ เขตชุมชนทั้ งหมด มีป ริม าตรไม้รวมทั้ งสิ้ น 0.26 ลูกบาศก์เมตร ส่วนพื้นที่ดำเนินการฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย พบว่า การสูญเสียต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่ดำเนินการทั้งสองฝั่ งโครงการ 40 ต้น ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ จำนวน 4 ไร่ ฝั่งด้านขวาตั้งอยู่บริเวณไม้ละเมาะริมถนน มี่ปริมาตรไม้รวม ทั้งสิ้น 3.29 ลูกบาศก์เมตร จึงมีผลกระทบต่อพืชในระบบนิเวศอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-212 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 8) พ.ศ.2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2562 “มาตรา 7 ไม้ชนิดใดที่ขึ้นในป่าจะให้เป็นไม้หวงห้ามประเภทใด ให้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา สำหรับไม้ ทุกชนิดที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน ไม่เป็นไม้หวงห้ามหรือไม้ที่ปลูกขึ้น ในที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทำประโยชน์ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิที่รัฐมนตรีประกาศ กำหนดโดยความเห็นชอบ ของคณะรัฐมนตรี ให้ถือว่าไม่เป็นไม้หวงห้าม” กฎกระทรวง การขออนุญาตและการอนุญาตทำไม้หวงห้าม พ.ศ. 2560 ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560 จะต้องปฏิบัติตามระเบียบของกรมป่าไม้ ดังนี้ ข้อ 4 ผู้ใดประสงค์จะทําไม้หวงห้ามตามมาตรา 11 ในป่าหรือในที่ดินที่มิใช่ป่า แล้วแต่กรณี ให้ยื่นคําขอรับใบอนุญ าตทําไม้ต่ออธิบดีก รมป่าไม้ พร้อมด้วยเอกสารหรือหลักฐานตามที่ ระบุไว้ในแบบคําขอ การยื่นคําขอรับใบอนุญาตทําไม้ตามวรรคหนึ่ง ให้ยื่น ณ สถานที่และวิธีการ ดังต่อไปนี้ - กรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ กรมป่าไม้ - จังหวัดอื่น ให้ยื่น ณ สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้แห่งท้องที่ที่ป่าหรือที่ดินนั้นตั้งอยู่ - สถานที่และวิธีการอื่นตามที่อธิบดีกรมป่าไม้กําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข้อ 5 เมื่อได้รับคําขอรับใบอนุญาตทํ าไม้แล้ว ให้อธิบดีกรมป่าไม้ออกใบรับคําขอให้แก่ผู้ขอรับ ใบอนุญาตทําไม้ไว้เป็นหลักฐาน และดําเนินการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของคําขอรับใบอนุญาตทําไม้ และเอกสารหรือหลักฐานต่างๆ กรณี ที่ คําขอรับใบอนุ ญ าตทํ าไม้ เอกสารหรือหลั กฐานไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน ให้ แจ้ง ให้ ผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้แก้ไขเพิ่มเติมคําขอรับใบอนุญาตทํ าไม้ หรือจัดส่งเอกสารหรือหลักฐานให้ถูก ต้องและ ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กําหนด กรณีที่ผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้ไม่แก้ไขเพิ่มเติมคําขอรับใบอนุญาตทําไม้หรือไม่จัดส่งเอกสาร หรือหลั กฐานให้ ถูก ต้ องและครบถ้ว นภายในระยะเวลาตามวรรคสอง ให้ ถือว่ า คํา ขอรับ ใบอนุ ญ าตทํ าไม้ นั้ น เป็นอันยกเลิกนับแต่วันที่พ้นกําหนดระยะเวลาดังกล่าว และให้อธิบดีกรมป่าไม้แจ้งเป็นหนังสือให้ กรณีที่คําขอรับใบอนุญาตทําไม้และเอกสารหรือหลักฐานถูกต้องและครบถ้วน ให้อธิบดีกรมป่าไม้ มีคําสั่งรับคําขอรับใบอนุญาตทําไม้ไว้พิจารณาผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้ทราบ ข้อ 6 เมื่อมีคําสั่งรับคําขอรับใบอนุญาตทําไม้ตามข้อ 5 แล้ว อธิบดีกรมป่าไม้จะมีคําสั่งออก ใบอนุญาตทําไม้ให้แก่ผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้ได้ต่อเมื่อปรากฏว่าอธิบดีกรมป่าไม้ได้ดําเนินการดังต่อไปนี้แล้วเสร็จ ❖ กรณีทําไม้หวงห้ามในป่า - ตรวจสอบว่าผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้มีสิทธิเข้าใช้พื้นที่ป่าโดยชอบด้วยกฎหมาย - ตรวจสอบและหมายแนวเขตของป่าที่ขอรับใบอนุญาตทําไม้ในป่านั้น - ตรวจสอบและประทับตราอนุญาตที่ไม้หวงห้าม จัดทําบัญชีไม้หวงห้าม รวมทั้งจัดทํา แผนที่สังเขปแสดงตําแหน่งไม้หวงห้ามในป่านั้น ❖ กรณีทําไม้หวงห้ามที่ขึ้นอยู่ในที่ดินที่มิใช่ป่า - ตรวจสอบว่าผู้ขอรับใบอนุญาตทําไม้เป็นผู้มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดิน - หรือมีสิทธิเข้าใช้ที่ดินโดยชอบด้วยกฎหมาย - ตรวจสอบสถานที่ตั้งของที่ดินที่ขอรับใบอนุญาตทําไม้ในที่ดินนั้น - ตรวจสอบและประทับตราอนุญาตที่ไม้หวงห้าม จัดทําบัญชีไม้หวงห้าม รวมทั้งจัดทํา แผนที่สังเขปแสดงตําแหน่งไม้หวงห้ามในที่ดินนั้น กรมทางหลวงชนบท 4-213 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ข้อ 7 ให้อธิบดีกรมป่ า ไม้มีหนังสือแจ้ งผลการพิจารณาไปยังผู้ขอรับใบอนุ ญ าตทํ าไม้ภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้ดําเนินการตามข้อ 6 เสร็จแล้ว กรณีมีคําสั่งไม่อนุญาต ให้แสดงเหตุผลและสิทธิอุทธรณ์ ไว้ในหนังสือแจ้งผลการพิจารณาด้วย ใบอนุญาตทําไม้ให้มีอายุไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่ออกใบอนุญาต โดยพิจารณาตามความเหมาะสม ตามจํานวนไม้และสถานที่ทําไม้ ข้อ 8 ในการทําไม้หวงห้าม ให้ผู้รับใบอนุญาตทําไม้ดําเนินการ ดังต่อไปนี้ - กรณีที่เป็นการทําไม้โดยวิธีตัด ต้องตัดโค่นต้นไม้มิให้เหลือตอสูงเกินครึ่งของขนาดวัด รอบลําต้นตรงที่ตัด แต่ต้องสูงไม่เกินหนึ่งเมตรจากพื้นดิน เว้นแต่ไม้ที่กลวง โพรง หรือกําหนดไว้ในใบอนุญาตทําไม้ เป็นอย่างอื่น - ต้องทําไม้โดยมิให้เป็นอันตรายแก่ไม้หวงห้ามต้นอื่น เว้นแต่มีความจําเป็นอันไม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ และมิให้เป็นการกีดขวางทางจราจรทั้งในทางบกและทางน้ำ - ต้องจัดการป้องกันมิให้เกิดการเสียหายหรือขัดขวางแก่ทางบก ทางน้ำ สิ่งก่อสร้างการ ชลประทาน หรือการอื่นๆ อันเกี่ยวกับการคมนาคม - กรณี ที่ เป็ น การทํ าไม้ ต ามใบอนุ ญ าตทํ าไม้ ซึ่งกําหนดให้ ทํ าเฉพาะต้ น หรือท่ อนที่ มี รอยตราอนุญาตพนักงานเจ้าหน้าที่ประทับไว้ จะชักลากไม้ไม่ได้จนกว่าพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ประทับตราอนุญาต ชักลาก เว้น แต่เป็นกรณีท่ีไม่สามารถประทับตราอนุญาตชักลากได้ และได้รับอนุญาตเป็นหนั งสือจากพนักงาน เจ้าหน้าที่ให้ชักลากไม้ได้ - ต้องชักลากไม้ไปตามแนวทางและยังที่ซึ่งระบุไว้ในใบอนุญาตทําไม้ - กรณีที่เป็นการทําไม้ในป่าหรือในที่ดินที่มิใช่ ป่าซึ่งมิใช่ที่ดินที่มีโฉนดที่ดินหรือหนังสือ รับรองการทําประโยชน์ตามประมวลกฎหมายที่ดิน ต้องไม่นําไม้ไปใช้สอยหรือทําประโยชน์อย่างใดๆ ก่อนพนักงาน เจ้าหน้าที่ตรวจวัดเพื่อคํานวณค่าภาคหลวง เว้นแต่เพื่อการชักลาก - กรณี ที่เป็นการทําไม้ในที่ดินที่มีโฉนดที่ดินหรือหนังสื อรับรองการทําประโยชน์ตาม ประมวลกฎหมายที่ ดิน ต้องไม่นํ าไม้ไปใช้สอยหรือทํ าประโยชน์อย่างใดๆ ก่อนพนักงานเจ้าหน้ าที่ ตรวจสอบ ประทับตรา เว้นแต่เพื่อการชักลาก - ปฏิบัติตามข้อกําหนดอื่นใดที่อธิบดีกรมป่าไม้กําหนดไว้ในใบอนุญาตทําไม้ (2) ระยะดำเนินการ ภายหลั ง เปิ ด ใช้ เส้ น ทางของโครงการและในช่ ว งการบำรุงรักษาเส้ น ทาง จะประกอบด้ ว ย กิจกรรมการคมนาคมขนส่ง การบำรุงรักษาปกติ งานบำรุงรั กษาตามกำหนดเวลา และงานบำรุงรักษาพิเศษ/ งานฉุกเฉิน กิจกรรมส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นเป็นการคมนาคมบนถนนโครงการ ไม่มีการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างหรือ เข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้ จึงไม่มีผลกระทบต่อพืชในระบบนิเวศ กรมทางหลวงชนบท 4-214 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.5.4 สิ่งมีชีวิตที่หายาก ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตที่หายาก 1) กรณีไม่มีโครงการ ดำเนิ น การสำรวจสั ตว์ หายากในทะเล โดยใช้เรือหางยาวขนาดความยาว 18 เมตร เครื่องยนต์ 110 แรงม้า ระหว่างเวลา 07.00-16.00 น. ในสภาพอากาศและสภาพท้องทะเลมีความเหมาะสม (Beaufort sea state 0-2 และระยะการมองเห็นไม่ต่ำกว่า 1 กิโลเมตร) ความเร็วในการวิ่งเรือสำรวจเฉลี่ย 15 กิโลเมตร/ชั่วโมง โดยวิ่งเรือสำรวจขนานไปกับชายฝั่งตามวิธีของ Wang et al.(2007) และวิ่งสำรวจรอบเกาะใกล้เคียง หยุดเรือหรือ เปลี่ยนทิศทางเพื่อติดตามบันทึกและสังเกตพฤติกรรมของสัตว์ทะเลหายากจากผิวน้ำ โดยผลการสำรวจ ครั้งที่ 1 วัน ที่ 21-25 กุม ภาพั น ธ์ 2564 (ตั ว แทนฤดู แล้ ง ) พบสั ต ว์ ท ะเลหายากเพี ย ง 1 ชนิ ด คือ โลมาหลั งโหนกหรือ โลมาเผื อก จำนวน 13 ตั ว ในวัน ที่ 24 และ 25 กุม ภาพั น ธ์ 2564 บริเวณหน้ าท่ าเรือศาลกรมหลวงชุ ม พรฯ และบริเวณทางทิศเหนือของเกาะนุ้ยในห่างฝั่งประมาณ 1 กิโลเมตร ซึ่งพบว่ามีโลมาฯ คูแ ่ ม่ลูก 2 คู่ และพฤติกรรม ที่ พ บมี การรวมฝู งเพื่ อล่าอาหาร ความลึก 4 และ 2.8 เมตร เวลา 11.44 น. และ 07.28 น. โลมาหลังโหนก เป็นโลมาที่ชอบรวมกลุ่มตั้งแต่ 10-40 ตัว และมักว่ายน้ำช้าๆ เมื่ออยู่ใกล้ชายฝั่ง กินปลา และปลาหมึกหลายชนิด ตามชายฝั่งและแนวปะการัง ซึ่งโลมาหลังโหนกจะไม่เคลื่อนย้ายจากแหล่งอาศัยมากนักมีอุปนิสัยอาศัย ประจำที่ หรือมีการย้ายที่อพยพน้อยมากและอาศัยไม่ห่างจากชายฝั่งเกินระยะ 1 กิโลเมตร ส่วนผลการสำรวจครั้งที่ 2 วันที่ 14-18 มิถุนายน 2564 (ตัวแทนฤดูฝน) การสำรวจภาคสนามไม่พบสัตว์ทะเลหายากในช่วงวันเวลาดังกล่าว แต่ผลการสัมภาษณ์ชาวประมงบริเวณเกาะลันตา 27 คน พบโลมาหลังโหนก จำนวน 4 ตัว บริเวณท่าเทียบเรือ คลองหมาก (ห่างจากแพขนานยนต์ประมาณ 1.5 กิโลเมตร) วันที่ 16 มิถุนายน 2564 ส่วนโลมาหลังโหนก จำนวน 5 ตัว บริเวณหน้าเกาะลาปูเล (ห่างจากแพขนานยนต์ประมาณ 1.3 กิโลเมตร) สภาพลักษณะภูมิอากาศของเกาะลันตาขึ้นอยู่กับอิทธิพลของลมมรสุมที่พัดผ่าน ได้แก่ ลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จากอิทธิพลของลมมรสุมจึงทำให้เกาะลันตา มี 2 ฤดูกาล คือ ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือน มิถุนายน -ธันวาคม และฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มกราคม-พฤษภาคม ซึ่งได้ดำเนินการ สำรวจสัต ว์ป่า ในพื้น ที่ศึ กษาโครงการครอบคลุ ม ทั้ง 2 ฤดูก าลของภาคใต้ แสดงดัง ตารางที่ 4.5.4 -1 และ ผลตรวจสอบข้อมูลการเกยตื้นของโลมาทั้ง 2 ชนิด และสัตว์หายากชนิดอื่นๆ จากศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่งทะเลอันดามันตอนล่าง พบว่า ไม่มีการล่าโลมาหรือสัตว์ทะเลหายากในพื้นที่บริเวณอำเภอเกาะลันตา แต่มีข้อมูลการติดเครื่องมือประมงโดยบังเอิญ ซึ่งเป็นสาเหตุการเกยตื้นที่สำคัญ และจากการตรวจสอบบริเวณแนว เส้นทางก่อสร้างสะพานโครงการ (คลองช่องลาด) ไม่พบข้อมูลการเกยตื้นของสัตว์ทะเลหายาก รวมทั้งจากการ สัมภาษณ์ชาวประมงและชาวบ้านที่อาศัยอยู่บริเวณเกาะลันตา ไม่พบว่าในพื้นที่เกาะลันตามีเต่ าทะเลขึ้นมาวางไข่ ในกรณีไม่มีโครงการจะมีกิจกรรมใดที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตที่หายาก ตารางที่ 4.5.4-1 ผลการสำรวจโลมาในพื้นที่เกาะลันตา ช่วงเวลาสำรวจ ฤดูกาล ผลการสำรวจ วันที่ 21-25 ฤดูร้อน • สำรวจพบโลมาหลังโหนก 13 ตั ว บริเวณหน้าท่าเรือศาลกรมหลวงชุม พร และบริเวณ กุมภาพันธ์ 2564 ทางทิศเหนือของเกาะนุ้ยใน ห่างฝั่งประมาณ 1 กิโลเมตร วันที่ 14-18 ฤดูฝน • การสำรวจภาคสนามไม่พบโลมาปากขวด โลมาหัวโหนก และพะยูน มิถุนายน 2564 • การสอบถามชาวประมงในพื้ น ที่ พบโลมาหลั ง โหนก 4 ตั ว บริ เ วณ ท่ า เที ย บเรื อ คลองหมาก (ห่ างจากแพขนานยนต์ ป ระมาณ 1.5 กิ โลเมตร) และพบโลมาหลั งโหนก 5 ตัว บริเวณหน้าเกาะลาปูเล (ห่างจากแพขนานยนต์ประมาณ 1.3 กิโลเมตร) ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 กรมทางหลวงชนบท 4-215 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง สัตว์ทะเลหายาก โลมา เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมจำพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ทั้งในทะเล, น้ำจืด และน้ำกร่อย มีรูปร่าง คล้ายปลา คือ มีครีบ มีหาง แต่โลมามิใช่ปลา เพราะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่มีรก จัดอยู่ในอันดับ Artiodactyla ในอันดับฐานวาฬและโลมา (Cetacea) ซึ่งประกอบไปด้วย วาฬและโลมา ซึ่งโลมาจะมีขนาดเล็กกว่าวาฬมาก และ จัดอยู่ในกลุ่มวาฬมีฟัน (Odontoceti) เท่านั้น โดยโลมาเป็นสัตว์ที่รับรู้กันเป็นอย่างดีว่าเฉลียวฉลาด มีความเป็น มิตรกับมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะช่วยชีวิตมนุษย์เมื่อยามเรื อแตก จนกลายเป็นตำนานหรือเรื่องเล่าขานทั่วไป มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูง บางฝูงอาจมีจำนวนมากถึงหลักพันถึงหลายพันตัว ว่ายน้ำได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว รวมถึงสามารถกระโดดหมุนตัวขึ้นเหนือน้ำได้ ชอบว่ายน้ำขนาบข้างหรือว่ายแข่งไปกับเรือ การดำเนินกิจกรรมก่อสร้างฐานรากสะพานลงในทะเลบริเวณคลองช่องลาด ซึง ่ พื้นที่ดำเนินการ ดังกล่าวพบโลมาหลังโหนกบริเวณท่าเทียบเรือคลองหมาก (ห่างจากแพขนานยนต์ประมาณ 1.5 กิโลเมตร) ว่ายน้ำ เข้ามาเพื่อหาอาหารในช่วงเดือนมิถุนายน ในการก่อสร้างฐานรากสะพานของโครงการ จำเป็นต้องใช้เครื่องจักรกล ขนาดใหญ่ ร่วมกับแรงงานคน ในขณะดำเนินกิจกรรมอาจก่อให้เกิดการกีดขวางหรือเป็นอุปสรรคต่อการเข้ ามา หากินของโลมา นอกจากนี้เสียงดังและแรงสั่นสะเทือนจากการขุดเจาะฐานรากสะพาน รวมทั้งการขนส่งวัสดุและ อุปกรร์ก่อสร้างทางน้ ำ อาจส่งผลกระทบต่อ การดำรงชีวิต ของโลมาและถูกเรือที่แล่นผ่ านชนได้รับบาดเจ็บได้ ดังนั้น ในขณะดำเนินกิจกรรมก่อสร้างในทะเล ทางโครงการต้อ งมีมาตรการหรือแผนการติดตามผลกระทบต่อ โลมาปากขวดและโลมาหัวโหนกในพื้นที่ เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจกิดขึ้น จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง โลมา อาศัยอยู่กระจัดกระจายทั่วไปในมหาสมุทรโดยทั่ วไป ลักษณะของโลมาที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ มีรูปร่างเพรียวยาวคล้ายตอร์ปิโดหรือกระสวย ส่วนใหญ่มีปลายปากยื่นแหลม แต่ก็มีบางชนิดที่มีส่วนหัวกลม มนคล้ายแตงโมหรือบาตรพระ มีหางแบนในแนวนอน ไม่ใช่แนวตั้งเหมือนปลา เพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำในแนวขึ้น-ลง ไม่มีขนปกคลุมลำตัว ไม่มีเกล็ด รวมทั้งไม่มีเมือก นอกจากนี้แล้วยังมีอวัยวะต่างๆ ทุกส่วนเหมือนกับสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนมทั่วไป หากแต่ละส่วนของอวัยวะจะปรับเปลี่ยนต่างไปจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป ดังนี้ จมูกของโลมามี ไว้เพื่อหายใจ แต่จมูกนั้นต่างไปจากจมูกของสัตว์อื่นๆ เพราะตั้งอยู่กลางกระหม่อมเป็นรูกลม เพื่อให้สะดวกต่อการ เชิดหัวขึ้นหายใจเหนือน้ำ จากจมูกมีท่อหายใจต่อลงมาถึงปอดในตัว จึงไม่จำเป็นต้องให้น้ำผ่านเหงือกเข้าไปในปอด เพื่ อ ช่ วยหายใจเหมื อนปลาหรือสั ตว์น้ ำ อย่างอื่ น และจมู กของโลมาตรงส่ วนนี้ ไม่ สามารถใช้ ในการรับ กลิ่ น ได้ เหมือนกับสัตว์อื่นทั่วไป ซึ่งในบรรดาวาฬมีฟันทุกชนิดต่างก็เป็นเช่นนี้เหมือนกันหมด หูของโลมานั้นเป็นเพียงแค่ รูขนาดเล็กติดอยู่ ด้านข้างของหั วเท่ านั้ น มีประสิท ธิภาพสูงมาก สามารถรับคลื่ นเสียงใต้น้ ำได้ อย่ างยอดเยี่ย ม เพราะโลมาเหมือนวาฬตรงที่เป็นสัตว์ที่ติดต่อสื่อสารกันด้วยคลื่นเสียงที่ปล่อยออกมา โดยเฉพาะกับภาษาที่โลมา สื่อสารกันด้วยเสียงที่มีคลื่นความถี่สูง โลมามีดวงตาไม่เล็กเหมือนอย่า งวาฬ แววตาแจ่มใส เหมือนตาสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนมประเภทอื่น มีเปลือกตาปิดได้ และในเวลากลางคืนตาก็จะเป็นประกาย คล้ายตาแมว ตาของโลมาไม่มี เมือกหุ้มเหมือนตาปลา และมองเห็นได้ไกลถึง 50 ฟุต เมื่ออยู่ในอากาศ สีผิวของโลมาแต่ละชนิดจะแตกต่างกัน ส่วนมากจะออกไปในโทนสีเทา ตั้ งแต่เข้มเกือบดำ จนกระทั่งถึงเกือบขาว แต่โดยทั่วไปโลมาจะมีสีผิวแบบ 2 สี ตัดกัน ด้านบน เป็นสีเทาเข้ม ด้านล่างเป็นสีเกือบขาว เพื่อพรางตัวในทะเล ไม่ให้ศัตรูเห็น เพราะเมื่อมองจาก ด้านบน สีเข้มจะกลืนกับสีน้ำทะเล และถ้ามองจากด้านล่างขึ้นไป สีขาวก็จะกลืนเข้ากับแสงแดดเหนือผิวน้ำ โลมา ถือเป็นสัตว์ที่ว่ายน้ำได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว มีอัตราความเร็วในการว่ายน้ำประมาณ 55 -58 กิโลเมตร/ชั่วโมง (ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/โลมา) กรมทางหลวงชนบท 4-216 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โลมานั้นเป็นสัตว์ที่มีความเฉลียวฉลาดมาก เชื่อว่า ความฉลาดของโลมานั้นเทียบเท่ าเด็กตัว เล็กๆ เลยทีเดียว หรือ เป็นไปได้ว่าอาจจะฉลาดกว่าชิมแปนซี ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับมนุษ ย์มากที่สุ ด ด้วยซ้ ำ ที่ เป็ น เช่ นนี้ เพราะโลมามีขนาดของสมองเมื่อเที ยบกับลำตัวแล้ วนั บว่าใหญ่ มาก แถมภายในสมองยั ง ซับซ้อนอีกด้วย โดยเฉพาะโลมาปากขวดนั้นถึงกับมีขนาดของสมอง เมื่อเทียบกับลำตัวใหญ่แล้ว ถือเป็นสัตว์ที่มี ขนาดสมองใหญ่เป็นที่สองรองจากมนุษย์และสมองส่วนซีรีบรัม อันเป็นส่วนของความจำและการเรียนรู้ ก็มีขนาด ใหญ่มาก เป็นศูนย์รวมของประสาทการรับกลิ่น , การมองเห็น และการได้ยิน จนอาจเชื่อได้ว่าแท้จริงแล้ว โลมา อาจมีความฉลาดเทียบเท่ากับมนุษย์ก็เป็นได้ ซึ่งจากความฉลาดแสนรู้ของโลมา จึงทำให้เป็นที่นิยมนำมาฝึกแสดง โชว์ต่างๆ ตามสวนสัตว์และสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำต่า งๆ นอกจากนี้ แล้ว โลมายังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมชอบ ช่วยเหลือมนุษย์ยามเมื่อเรื อแตกหรือใกล้จะจมน้ำ ทั้งนี้เพราะโลมาเป็ นสัตว์ที่รักสนุกและขี้เล่น ที่ โลมาช่วยชีวิต มนุษย์อาจเป็นเพราะต้องการเข้ามาเล่นสนุกเท่านั้น หรือไม่เช่นนั้นก็อาจเป็นสัญชาตญาณความเป็นแม่ที่มักจะดุน ลูกขึ้นไปหายใจบนผิวน้ำอยู่เสมอ โดยเฉพาะถ้าลูกโลมาเสียชีวิตระหว่างคลอด จะพบว่าแม่โลมาจะพยายามดุนศพ ลูกเอาไว้ให้ ใกล้ผิวน้ำมากที่สุด โดยปกติแล้ว เนื้อโลมาไม่ใช่อาหารหลักเหมือนสัตว์เศรษฐกิจทั่วไป แต่ก็มีบาง ประเทศ อาทิ ญี่ปุ่นนิย มบริโภคเนื้อโลมาและวาฬ เดิมญี่ ปุ่นนั้นล่าวาฬเป็นหลัก แต่ต่อมาได้มีการอนุรักษ์และ กฎหมายที่เข้มงวดขึ้น จึงหันมาล่าโลมาแทน โดยเพิ่มปริมาณการล่าโลมาขึ้นเป็นสี่เท่า ทำให้โลมาในทะเลญี่ปุ่นลด น้อยลงเป็นอันมาก (ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/โลมา) สัตว์บกหายาก ผลการสำรวจภาคสนามพบสั ต ว์ บ กหายาก 1 ชนิ ด คื อ นากใหญ่ ข นเรี ย บ ( Lutrogale perspicillata) พบบริเวณพื้นที่ลุ่มต่ำและแนวป่าชายเลน มีพื้นที่ครอบครองยาวประมาณ 7 – 12 กิโลเมตร ตามความยาวของแนวป่าชายเลน ออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน มักอยู่รวมกันเป็นฝูง ซึ่งพบร่องรอยและ กองมูลบริเวณป่าชายเลนฝั่งเกาะกลางช่วง กม.0+400-กม.0+500 และฝั่งเกาะลันตาน้อย ช่วง กม.2+000- กม.2+200 ระยะห่างจากแนวเส้นทางโครงการประมาณ 400-500 เมตร ทั้งนี้นากใหญ่ขนเรียบมีสถานภาพตาม กฎหมายเป็นสัตว์ป่าคุม ้ ครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ส่วนสถานภาพตาม IUCN (2022) จัดอยู่ในกลุ่มมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (VU) สำหรับสถานภาพตามสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร - ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2560) จัดอยู่ในกลุ่มมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (VU) เช่นเดียวกับสถานภาพตาม IUCN ทั้งนี้ผลกระทบด้านเสียงและแรงสั่นสะเทือนจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงสั่นสะเทือนและ แรงกระแทกสามารถผ่านในตัวกลางบนพื้นดิน อากาศและมวลน้ำที่แนวเขตทางพาดผ่าน จะมีผลกระทบด้านลบ ต่อวิชีวิตนากใหญ่ขนเรียบที่แพร่กระจายอยู่ในพื้นที่ ทำให้นากใหญ่ขนเรียบถูกรบกวน และ/หรือถูกผลักดันให้ หลบเลี่ยงออกไป แต่นากใหญ่ขนเรียบมีพื้นที่หากินในขอบเขตกว้าง สามารถเคลื่อนย้ายเลี่ยงห่างไกลออกไปใช้ ประโยชน์ในพื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ จึงมีผลกระทบระดับปานกลาง (2) ระยะดำเนินการ ภายหลั ง เปิ ด ใช้ เส้ น ทางของโครงการและในช่ วงการบำรุงรักษาเส้ น ทาง จะประกอบด้ ว ย กิจกรรมการคมนาคมขนส่ง การบำรุงรักษาปกติ งานบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา และงานบำรุงรักษาพิเศษ/ งานฉุกเฉิน กิจกรรมส่วนใหญ่ ที่เกิดขึ้ น เป็ นการคมนาคมบนถนนโครงการ ไม่มี กิจกรรมก่อสร้างหรือเข้าไปใช้ ประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้และในทะเล จึงไม่มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตที่หายาก กรมทางหลวงชนบท 4-217 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.6 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 4.6.1 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 1) กรณีไม่มีโครงการ ผลการตรวจสอบข้อมูลการใช้ที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน บริเวณพื้นที่โครงการในระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ พบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าชายเลนสมบูรณ์ มีขนาดพื้นที่ 321 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 16.99 รองลงมา เป็นพื้นที่ปลูกยางพารา มีขนาดพื้นที่ 316 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 16.73 เป็นพื้นที่ป าล์มน้ำมัน มีขนาด พื้นที่ 96 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.08 ตามลำดับ ส่วนพื้นที่ที่เหลือมีการใช้ประโยชน์เป็นพื้นที่ชุมชนและสิ่ งปลูกสร้าง สถานที่เพาะเลี้ยงกุ้ง ปาล์มน้ำมัน ไม้ยืนต้น เกษตรผสมผสาน นาร้าง และพื้นที่เบ็ดเตล็ดอื่นๆ ผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย (2559) ผลการตรวจสอบแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จำแนกประเภทท้ายประกาศกฎกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ (2559) พบว่า แนวเส้นทางโครงการ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ดินประเภทโล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (เขตสีฟ้า) และอยู่ในพื้นที่ดินประเภทอนุรักษ์ ป่าไม้ (เขตสีเขียวอ่อนมีเส้นทแยงสีขาว) ซึ่งการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผัง เมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผัง กำหนดการใช้ป ระโยชน์ ที่ ดิน ตามที่ ได้จำแนกประเภท แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง และรายการ ประกอบแผนผังท้ายกฎกระทรวงนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้ ข้อ 13 ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครองดูแลรักษาหรือ บำรุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน้ ำ ลำธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายเกี่ยวกับการ ป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว หรือสาธารณประโยชน์เป็นส่วนใหญ่ สำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไ ม่เกินร้อยละสามสิบของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต และห้าม ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจกรรมตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้ - โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน - คลังน้ำมัน สถานที่เก็บรักษาน้ำมัน ลักษณะที่สาม สถานีบริการน้ำมันประเภท ก สถานีบริการ น้ำมันประเภท ข สถานีบริ การน้ำมันประเภท ค ลักษณะที่สอง สถานีบริ การน้ำมันประเภท จ ลักษณะที่สอง และสถานีบริการน้ำมันประเภท ฉ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อการจำหน่าย - คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บและสถานีบริการ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง - โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม - จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม - จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม - จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย - จัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่ - การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว - การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม กรมทางหลวงชนบท 4-218 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - คลังสินค้า - กำจัดมูลฝอย - ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้ (1) ให้ มี ที่ ว่า งไม่ น้ อยกว่ าร้อยละห้ า สิ บ ของแปลงที่ ดิ น ที่ ยื่ น ขออนุ ญ าต และให้ ด ำเนิ น การหรือ ประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 6 เมตร แต่ไม่หมายความรวมถึงโครงสร้างสำหรับใช้ในกิจการ สาธารณู ปโภคที่อยู่ห่างจากแนวชายฝั่งทะเลไม่น้อยกว่า 200 เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับ พื้นดินที่ก่อสร้างถึงส่วนที่สูงที่สุดของอาคาร (2) ในระยะ 50 เมตร จากแนวชายฝั่งทะเล ให้มีที่ว่างตามแนวขนานแนวชายฝั่งตามสภาพธรรมชาติ ของทะเลไม่น้อยกว่า 30 เมตร และให้ดำเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 6 เมตร และ มีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของแปลงที่ ดินที่ยื่นขออนุญ าต การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับ พื้นดินที่ก่อสร้างถึงส่วนที่สูงที่สุดของอาคาร (3) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลำคลองหรือแหล่งน้ ำสาธารณะไม่น้อย กว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมทางน้ำหรือการสาธารณูปโภค (4) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางถนนสาธารณะไม่น้อยกว่า 3 เมตร ข้อ 12 ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเฉพาะที่ดิน ซึ่งเป็น ของรัฐ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การก่อสร้าง เพื่อการคมนาคมทางน้ำที่เป็นของรัฐ การสาธารณูปโภค หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ ที่ดิน เพื่ อนั น ทนาการหรือเกี่ย วข้องกับ นั น ทนาการ การรัก ษาคุณ ภาพสิ่ งแวดล้ อม เกษตรกรรมหรือเกี่ย วข้องกั บ เกษตรกรรม การสาธารณูปโภคหรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้ (1) ให้ดําเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูง ไม่เกิน 6 เมตร แต่ไม่หมายความ รวมถึงโครงสร้างสําหรับใช้ในกิจการสาธารณูปโภค การวัดความสูงของอาคารให้ วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึง ส่วนที่สูงที่สุดของอาคาร (2) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลําคลองหรือแหล่ง น้ำสาธารณะไม่น้อย กว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมทางน้ำหรือการสาธารณูปโภค (3) ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางถนนสาธารณะไม่น้อยกว่า 3 เมตร พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอ คลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (2559) การตรวจสอบพื้ น ที่ คุ้ม ครองสิ่งแวดล้ อมในพื้ น ที่ ศึกษาโครงการกับ สำนั กงานนโยบายและแผน ทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ตามหนั งสือเลขที่ ทส.1011.3/1642 ลงวัน ที่ 5 กุมภาพัน ธ์ 2564 พบว่า แนวเส้นทางโครงการอยู่ในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากร- ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอ เมื องกระบี่ อำเภอเหนื อคลอง อำเภอคลองท่ อม และอำเภอเกาะลัน ตา จั งหวัด กระบี่ ประกาศ ณ วัน ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2559 ดังนั้น จึงเข้าข่ายต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามประกาศกระทรวง ทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจ การ ซึ่ง ต้องจัด ทำ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงาน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งประกาศ ณ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555 และวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2562 กรมทางหลวงชนบท 4-219 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลการตรวจสอบพื้นที่โครงการกับสำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) พบว่าพื้นที่โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ อยู่ในเขตพื้นที่ที่ให้ใช้มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ตามประกาศกระทรวงฯ จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 รวม 3 บริเวณ ได้แก่ บริเวณที่ 1 เขตอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าชายเลน บริเวณที่ 3 เขตน่านน้ำเพื่อคุ้มครอง ทรัพ ยากรทางทะเล ประมงและชายฝั่ง และบริเวณที่ 4 เขตการจัด การชายฝั่ งทะเลและเกาะ ซึ่ งหากมี การ ดำเนินการโครงการดังกล่าวจะต้องปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงฯ ได้แก่ ข้อ 5 (1) (ก) (3) (ค) (4) (ก) ข้อ 7 (5) และ ข้อ 11 (2) (ก) - ข้อ 5 ในพื้นที่ตามข้อ 3 ห้ามกระทำการหรือกิจกรรมใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ภายในบริเวณ ดังต่อไปนี้ • บริเวณที่ 1 ▪ (ก) การใช้ประโยชน์ไม่ว่าด้วยประการใดๆ • บริเวณที่ 3 ▪ (ค) เก็บ ทำลาย หรือกระทำด้วยประการใดๆ ที่อาจเป็นอันตรายหรือมีผลกระทบ ต่อปะการัง ซากปะการัง หินปะการัง กัลปังหา หรือหญ้าทะเล เว้นแต่เป็นการศึกษาและวิจัยทางวิชาการ ซึ่งได้รับ อนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช อธิบดีกรมประมง หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี • บริเวณที่ 4 ▪ (ก) การกระทำใดๆ ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางธรณีสัณฐาน หรือ สภาพทางธรรมชาติของชายหาดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หรือทำให้ทัศนียภาพบริเวณชายหาดเสียไป - ข้อ 7 ในพื้นที่ตามข้อ 3 ห้ามกระทำหรือประกอบกิจกรรม ดังต่อไปนี้ • (5) การปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งอื่นใดล่วงล้ำลำแม่น้ำ เว้น แต่กรณี ที่ได้รับอนุญ าต ตามข้อ 4 แห่ งกฎกระทรวง ฉบับที่ 63 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญั ติการเดิ นเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 และกระชังเลี้ยงสัตว์น้ำที่ได้รับอนุญาตตามกฎกระทรวงที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือ ในน่านน้ำไทยและกฎหมายว่าด้วยการประมง - ข้อ 11 ในพื้นที่ตามข้อ 3 นอกจากต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในประกาศนี้แล้ว ก่อนการก่อสร้างอาคาร หรือดำเนินโครงการหรือประกอบกิจการ ให้จัดทำและเสนอรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม เบื้องต้น หรือรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม แล้วแต่กรณี ต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระเบียบปฏิบัติที่กำหนดไว้ ตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ดังต่อไปนี้ • (2) การจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ▪ โครงการหรือกิจการตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อม ซึ่งกำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลั กเกณฑ์ วิ ธีการ ระเบี ย บปฏิบั ติ และแนวทางการจัด ทำรายงานการวิ เคราะห์ ผ ลกระทบสิ่งแวดล้ อม ที่ ออกโดยอาศั ย อำนาจตามมาตรา 46 แห่ งพระราชบั ญ ญั ติ ส่ งเสริม และรักษาคุณ ภาพสิ่ งแวดล้ อมแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 กรมทางหลวงชนบท 4-220 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลั นตา จังหวัด กระบี่ ให้เป็น ไปตามมาตรฐานชั้นทางที่ 1 ขนาด 2 ช่องจราจร เพื่ อให้ผู้ขับ ขี่หรือผู้ใช้ท าง มีความสะดวกและปลอดภัยในการเดินทางมากขึ้น ซึ่งจากการสำรวจภาคสนาม พบว่าการใช้ป ระโยชน์ที่ดิ น บริเวณโดยรอบแนวเส้นทางโครงการ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ปลูกยางพารา รองลงมาเป็นพื้นที่ป่าชายเลนสมบูรณ์ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง การพัฒนาโครงการพื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทะเล ส่วนพื้นที่เชิงลาดสะพานทั้งสองฝั่ง จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินจากเดิมเป็นเส้นทางคมนาคม การเปลี่ยนแปลงมีผลกระทบต่อเนื่อง ยาวนาน แต่มีผลกระทบที่เฉพาะจุดเท่านั้น จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง ผลการตรวจสอบแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จำแนกประเภทท้ายประกาศกฎกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลั นตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ (2559) พบว่า แนวเส้นทางโครงการ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ดินประเภทโล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม (เขตสีฟ้า) และอยู่ในพื้นที่ดินประเภทอนุรักษ์ ป่าไม้ (เขตสีเขียวอ่อนมีเส้นทแยงสีขาว) ซึ่งการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ ใช้ประโยชน์ที่ ดินเพื่ อการสงวนและคุ้มครองดู แลรักษาหรือบำรุงป่าไม้ สัตว์ป่ า ต้นน้ำ ลำธาร และทรัพยากร- ธรรมชาติอื่นๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายเกี่ยวกับ การป่ าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า และการ ส่งเสริมและรักษาคุณ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเท่ านั้น ส่วนที่ดิน ประเภทที่ โล่ งเพื่ อนันทนาการและการรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมเฉพาะที่ดิน ซึ่งเป็นของรัฐ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การก่อสร้างเพื่อการคมนาคมทางน้ำที่เป็นของรัฐ การสาธารณูปโภค หรือสาธารณ- ประโยชน์เท่านั้น ดังนั้น การพัฒนาโครงการพื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทะเล ส่วนพื้นที่เชิงลาดสะพานทั้งสองฝั่งจะมี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินจากเดิมเป็นเส้นทางคมนาคม การเปลี่ยนแปลงมีผลกระทบต่อเนื่อง ยาวนาน แต่มีผลกระทบที่เฉพาะจุดเท่านั้น จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง การเปรียบเทียบความสอดคล้องกับมาตรการตามประกาศกระทรวงฯ พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 การก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ได้ทำการออกแบบโครงการฯ ให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ซึ่งไม่ขัดต่อ ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 สรุปได้ ดังตารางที่ 4.6.1-1 กรมทางหลวงชนบท 4-221 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.6.1-1 การเปรียบเทียบความสอดคล้องกับมาตรการตามประกาศกระทรวงฯ พื้นที่คุ้มครอง สิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานโครงการ พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ พ.ศ.2559 ข้อ 5 ในพื้นที่ตามข้อ 3 ห้ามกระทำการหรือกิจกรรมใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในบริเวณดังต่อไปนี้ (1) บริเวณที่ 1 (เขตอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าชายเลน) ▪ พื้นที่ฝั่งเกาะกลางและเกาะลันตาน้อย (ก) การใช้ประโยชน์ไม่ว่าด้วยประการใดๆ ▪ ดำเนินการก่อสร้างในพื้นที่เขตทางเดิมที่มีอยู่แล้ว ซึ่งปัจจุบัน เป็ น เส้ น ทางคมนาคม ชายฝั่ ง เป็ น หาดหิ น และโคลน ไม่ มี สภาพเป็นพื้นที่ป่าชายเลนแต่อย่างใด (3) บริเวณที่ 3 (เขตน่านน้ำเพื่ อคุ้มครองทรัพยากรทางทะเล ▪ ได้รับหนังสืออนุญาตให้เข้าพื้นที่ศึกษาและวิจัยทางวิชาการ ประมงและชายฝั่ง) จากอธิ บ ดี ก รมอุ ท ยานแห่ งชาติ สั ต ว์ป่ า และพั น ธุ์พื ช แล้ ว (ค) เก็ บ ทำลาย หรื อ กระทำด้ ว ยประการใดๆ ที่ อ าจ ตามหนังสือเลขที่ ทส 0909.204/27279 ลงวันที่ 23 ธันวาคม เป็นอันตรายหรือมีผลกระทบต่อปะการัง ซากปะการัง 2563 หิ น ปะการั ง กั ล ปั ง หา หรื อ หญ้ า ทะเล เว้ น แต่ เป็ น ▪ ออกแบบแนวเส้นทางโครงการและตอม่อสะพาน ไม่ให้ตั้งอยู่ การศึก ษาและวิจัย ทางวิชาการ ซึ่งได้รับอนุญ าตเป็ น ในบริเวณพื้นที่ปะการังและหญ้าทะเล โดยทำการวางตอม่อ หนังสือจากอธิบ ดีก รมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และ สะพานหลบพื้นที่ดังกล่าวทั้งหมด เพื่อป้องกันผลกระทบต่อ พันธุ์พืช อธิบดีกรมประมง หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปะการังและหญ้าทะเล แล้วแต่กรณี (4) บริเวณที่ 4 (เขตการจัดการชายฝั่งทะเลและเกาะ) ▪ ดำเนินการก่อสร้างในพื้นที่เขตทางเดิมที่มีอยู่แล้ว ซึ่งปัจจุบัน (ก) การกระทำใดๆ ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะ เป็นเส้นทางคมนาคม ทางธรณีสัณฐาน หรือสภาพทางธรรมชาติของชายหาด ▪ ออกแบบตอม่อสะพานวางคร่อมชายฝั่ง ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หรือทำให้ทัศนียภาพบริเวณ การเปลี่ยนแปลงชายหาดไปจากเดิม ชายหาดเสียไป ข้อ 7 ในพื้นที่ตามข้อ 3 ห้ามกระทำหรือประกอบกิจกรรม ดังต่อไปนี้ (5) การปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งอื่นใดล่วงล้ำลำแม่น้ำ เว้นแต่ ▪ กรมทางหลวงชนบท มี ค วามเป็ น ต้ อ งดำเนิ น การก่ อ สร้า ง กรณี ที่ได้รับ อนุญ าตตามข้อ 4 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ โครงการฯ เพื่อเชื่อมต่อโครงข่ายการคมนาคมสายหลักให้มี 63 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติก าร ประสิทธิภาพ ช่วยอำนวยความสะดวกและมีความปลอดภัย เดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุ ทธศักราช 2456และกระชัง ต่อผู้ใช้ทาง เลี้ย งสัตว์น้ำที่ได้รับ อนุญ าตตามกฎกระทรวงที่ออกตาม ▪ กรมทางหลวงชนบท จะนำรายงาน EIA ที่เห็นชอบโดย คชก. กฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยและกฎหมายว่า ประกอบการขออนุญ าตก่อสร้างสิ่งล่วงล้ำลำน้ำ ตามข้อ 4 ด้วยการประมง แห่ งกฎกระทรวง ฉบับที่ 63 (พ.ศ. 2537) ตามความใน พ.ร.บ. การเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ. 2456ฯ ต่อไป กรมทางหลวงชนบท 4-222 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.6.1-1 การเปรียบเทียบความสอดคล้องกับมาตรการตามประกาศกระทรวงฯ พื้นที่คุ้มครอง สิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 (ต่อ) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานโครงการ พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ พ.ศ.2559 ข้อ 11 ในพื้นที่ตามข้อ 3 นอกจากต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในประกาศนี้แล้ว ก่อนการก่อสร้างอาคาร หรือดำเนิน โครงการหรือประกอบกิจการ ให้จัดทำและเสนอรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นหรือรายงานการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อม แล้วแต่กรณี ต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรั พยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระเบียบปฏิบัติที่กำหนดไว้ ตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญ ญั ติส่งเสริมและรักษาคุณ ภาพสิ่งแวดล้อ ม แห่งชาติ พ.ศ. 2535 ดังต่อไปนี้ (2) การจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ▪ การดำเนินโครงการ เข้าข่ายต้องจัดทำรายงาน EIA ตามประกาศ (ก) โครงการหรือกิจการตามประกาศกระทรวงทรัพยากร- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฯ ซึ่งประกาศ ธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้ อ ม ซึ่ ง กำหนดประเภทและ ณ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555 และวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. ขนาดของโครงการหรือกิ จ การซึ่งต้องจัดทำรายงาน 2562 เสนอต่อ สผ. เพื่ อเสนอคณะกรรมการผู้ชำนาญการ การประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้ อ ม และหลั ก เกณฑ์ (คชก.) พิจารณาเห็นชอบก่อนดำเนินการก่อสร้างโครงการ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงาน การประเมิ น ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมที่ ออกโดยอาศั ย อำนาจตามมาตรา 46 แห่ งพระราชบั ญ ญั ติ ส่งเสริ ม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 (2) ระยะดำเนินการ การรวบรวมข้อมู ลการใช้ ประโยชน์ ที่ ดิน ในพื้ นที่ เกาะลั น ตาจากกรมพั ฒ นาที่ ดิน ในปี พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2561 เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์ที่ดินและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ ที่ดินในช่วงที่ผ่าน พบว่าในเขตพื้นที่เกาะลันตาช่วงปี พ.ศ. 2552-2561 มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินประเภท พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเพิ่มขึ้นจำนวนมาก (ร้อยละ 224.76) ส่วนพื้นที่พื้นที่เบ็ดเตล็ดมีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 23.59 พื้นที่พื้นที่เกษตรกรรมมีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 8.11 พื้นที่ป่าไม้มีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 3.17 และพื้นที่แหล่งน้ำมีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 0.34 (ตารางที่ 4.6.1-2) จากข้อมูลดังกล่าว ในข้างต้นเห็นได้ว่า ในพื้นที่เกาะลันตามีการเปลี่ยนแปลงหรือมีแนวโน้มการขยายตัวของชุมชนและสิ่ งปลูกสร้าง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โครงข่ายการคมนาคมที่มีประสิทธิภาพจะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวและ ผู้ใช้ทางสามารถเดินทางได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ส่งเสริมการพัฒ นาทางด้านเศรษฐกิจของพื้นที่ให้ดียิ่งขึ้น จากสาเหตุดังกล่าวจึงเป็นเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยตรง โดยเฉพาะพื้นที่เกษตรกรรม เปลี่ยนไปเป็นที่พักอาศัยหรือสิ่งปลูกสร้างเพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่เกาะลันตาเป็นพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม และมีผังเมืองรวมชุมชนเกาะลัน ตาใหญ่ -เกาะลัน ตาน้ อย จังหวัดกระบี่ ควบคุมการใช้ป ระโยชน์ ที่ดิ น ในพื้ นที่ ดังกล่าว การก่อสร้างที่อยู่อาศัยหรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ จะต้องดำเนินการภายในพื้นที่ที่กำหนดไว้เท่านั้น ดังนั้น คาดว่าในอนาคตการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจะมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมไม่มากนัก กรมทางหลวงชนบท 4-223 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.6.1-2 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพื้นที่เกาะลันตา พ.ศ. 2552-2561 ปี 2552 ปี 2555 ปี 2561 การเปลีย่ นแปลง ลำดับ พื้นที่ พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ (ร้อยละ) 1 พื้นที่เกษตรกรรม 31,027 32.97 31,256 33.21 28,740 30.54 - 8.11 2 พื้นที่ป่าไม้ 55,085 58.54 54,926 58.37 53,182 56.51 - 3.17 3 พื้นที่เบ็ดเตล็ด 3,141 3.34 3,132 3.33 2,391 2.54 - 23.59 4 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 2,229 2.37 2,168 2.30 7,178 7.63 224.76 5 แหล่งน้ำ 2,624 2.79 2,624 2.79 2,615 2.78 - 0.34 รวม 94,106 หมายเหตุ : + หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขนาดพื้นที่ในลักษณะเพิ่มจำนวนขึ้น - หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขนาดพื้นที่ในลักษณะลดจำนวนลง ที่ ป รึ กษาได้ เข้ าหารื อกั บ โยธาธิ การและผั งเมื อ งจั งหวั ด กระบี่ เมื่ อ วั น ที่ 8 ธั น วาคม 2564 เพื่ อขอทราบแนวทางการใช้ บั ง คั บ ผั ง เมื อ งรวมชุ ม ชนเกาะลั น ตาใหญ่ -เกาะลั น ตาน้ อ ย จั ง หวั ด กระบี่ ซึ่ ง มี โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ เป็นประธานการประชุม ( รูปที่ 4.6.1-1) สรุปได้ว่า ผังเมืองรวมชุม ชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 ได้ประกาศใช้บังคับเป็นกฎกระทรวง ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 112 ก เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2559 ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ประกอบด้วย 8 หมู่บ้าน และพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน มีพื้นที่ประมาณ 181.139 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 113,211 ไร่ มี บ ทบาทเป็ น ชุ มชนศูน ย์ กลางที่ ให้ บ ริการด้ านเศรษฐกิจ สั งคม สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ เป็นประธานการประชุม รูปที่ 4.6.1-1 บรรยากาศการประชุมเข้าหารือกับโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ • การใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ การใช้บังคับ ผังเมืองรวมฯ จะมีการประเมินผลผังเมืองรวมทุกๆ 4 ปี ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาด้าน การผังเมือง ครั้งที่ 6/2564 เมื่อวันพุธที่ 24 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุม 41501 อาคาร 4 ชั้น 15 กรมโยธาธิการ และผังเมือง ถนนพระราม 9 กรุงเทพฯ โดยมี อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เป็นประธาน การประชุม ซึ่งผลจากการประชุมในครั้งนี้ พบว่าผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. กรมทางหลวงชนบท 4-224 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2559 ได้กำหนดเป้าหมายการวางผัง ปี พ.ศ. 2571 โดยใช้อัตราการเพิ่ ม ร้อยละ 3.33 ต่อปี ให้สามารถรองรับ ประชากรได้ 47,300 คน และจากการศึกษาสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมการใช้บังคับผังเมืองรวมฯ มีการเปลี่ยนแปลง สภาพการณ์ และสิ่ งแวดล้อมไปไม่ มาก โดยผลจากการประเมิน ปัจจั ยในด้านต่างๆ ได้แก่ ความหนาแน่ นของ ประชากร การใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพเศรษฐกิจและสังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การคมนาคม และการขนส่ง และนโยบายหรือโครงการรัฐ พบว่า พื้นที่ยังสามารถรองรับการขยายตัวของชุมชนได้ในอนาคต และยังมีความเพีย งพอต่อการให้บริการ โดยมติที่ป ระชุม จึงเห็นชอบการประเมิน ผลกฎกระทรวงให้ใช้บังคับ ผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 โดยไม่ปรับปรุงฯ • ขั้ นตอนการขอใบอนุญ าตประกอบธุ รกิ จ โรงแรมในพื้ นที่ เกาะลั นตา จั ง หวั ด กระบี่ การ จดทะเบียนประกอบธุรกิจโรงแรมต้องดำเนิน การตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อ ง ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยสิ่งแวดล้อม กฎหมายว่าด้วยควบคุมอาคาร กฎหมายว่าดัวยผังเมือง และกฎหมายอื่น ๆ โดยมีขั้นตอนการขออนุญาตก่อสร้างฯ ดังนี้ ก) ผู้ขออนุญาตนำโฉนดที่ดิน มาขอตรวจสอบข้อกำหนดต่าง ๆ ตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง กับสำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ ได้แก่ - กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในพื้นที่บางส่วนในท้องที่อำเภอเกาะลันตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง และอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 - กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดั ดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในพื้นที่บางส่วนในท้องที่อำเภอเกาะลันตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ พ.ศ. 2557 - กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่ - เกาะลันตาน้อย จังหวัด กระบี่ พ.ศ. 2559 - กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 - ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และ มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อ มในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่ อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 - ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 136 ตอนพิเศษ 3 ง วันที่ 4 มกราคม 2562) ดังเอกสารท้ายประกาศ 6 ขั้นตอนในการเสนอรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดังแสดงในตารางที่ 4.6.1-3 ข) ในกรณี ที่ สำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ พิ จารณาตรวจสอบโฉนดที่ดิน แล้ว ว่าไม่ ขัด ต่อกฎหมายใดๆ ให้ผู้ขออนุญ าตฯ จัด ส่งเอกสารหลักฐานต่างๆ ได้แก่ โฉนดที่ดิ น แบบแปลนแผนผัง พร้อมรายการประกอบแบบแปลนแผนผังอาคารโรงแรมที่วิศวกรและสถาปนิก ผู้ได้รับอนุญาตตามกฎหมายลงชื่อ รับรอง แผนที่แสดงบริเวณและสถานที่ตั้งของโรงแรมและสถานที่ใกล้เคียง รวมทั้งหลักฐานแสดงความเป็นเจ้าของ อาคารหรือสถานที่ที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรมหรือหน้งสื อยินยอมให้ใช้อาคารหรือสถานที่ที่ข ออนุญาตประกอบ กิจการพาณิชย์ในกรณีที่อาคารหรือสถานที่นั้นเป็นของผู้อื่น ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ที่ขออนุญาต พิจารณาตรวจสอบ กรมทางหลวงชนบท 4-225 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ค) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดส่งหนังสือและเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการ ขออนุญาตให้สำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่พิจารณา เพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม ตารางที่ 4.6.1-3 ประเภทโครงการหรือกิจการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลำดับ ประเภทโครงการ กิจการ หรือการดําเนินการ ขนาด ขั้นตอนในการเสนอรายงาน 27 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษตามกฎหมายว่า ที่มีความสูงตั้งแต่ 23 ในขั้ น ขออนุ ญ าตก่ อ สร้างหรือ หาก ด้วยการควบคุมอาคารซึ่งมีลักษณะที่ตั้งหรือการใช้ เมตร ขึ้นไปหรือมีพื้นที่ ใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่ น ประโยชน์ในอาคารอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ รวมกันทุกชั้นหรือชั้น ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม 2.7.1 อาคารที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำตามเอกสารท้ายประกาศ หนึ่งชั้นใดในหลังเดียว อาคาร โดยไม่ ยื่ น ขอรับ ใบอนุ ญ าต 2 ฝั่ งทะเล หรือ ทะเลสาบ หรื อ ชายหาด หรื อ กันตั้งแต่ 10,000 ตาราง ให้เสนอในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ที่ ตั้ ง อยู่ ใ กล้ หรื อ อยู่ ใ นอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ห รื อ เมตรขึ้นไป ท้องถิ่น แล้วแต่กรณี อุท ยานประวัติ ศาสตร์ ซึ่ งเป็ น บริเ วณที่ อ าจจะ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2.7.2 อาคารที่ใช้ในการประกอบธุรกิจค้าปลีกหรือค้าส่ง 27.3 อาคารที่ใช้เป็นสํานักงานหรือที่ทําการของเอกชน 28 การจัดสรรที่ดินเพื่ อเป็นที่อยู่ อาศัยหรือเพื่อประกอบ ที่มีจํานวนที่ดินแปลง ในขั้ น ขออนุ ญ าตจั ด สรรที่ ดิ น ตาม การพาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ย่อย ตั้งแต่ 500 แปลง กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ขึ้นไปหรือมีเนื้อที่เกิน กว่า 100 ไร่ 29 โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย ที่มีเตียงสําหรับผู้ป่วย ในขั้ น ขออนุ ญ าตก่ อ สร้างหรือ หาก สถานพยาบาล ใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ไว้ค้างคืนตั้งแต่ 30 เตียง ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร 29.1 กรณีตั้งอยู่ใกล้ แม่น้ำ ตามเอกสารท้ายประกาศ ขึ้นไป ที่มีเตียงสําหรับ โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญ าต ให้เสนอ 2 ฝั่งทะเล ทะเลสาบหรือชายหาด ในระยะ 50 ผู้ป่วยไว้ค้างคืน ตั้งแต่ เมตร 60 เตียงขึ้นไป ในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น 29.2 กรณีโครงการที่ไม่อยู่ในข้อ 29.1 แล้วแต่กรณี 30 โรงแรมหรือสถานที่พั กตากอากาศตามกฎหมายว่า ที่มีจํานวนห้องพักตั้งแต่ในขั้ น ขออนุ ญ าตก่ อ สร้างหรื อ หาก ด้วยโรงแรม ใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น 80 ห้องขึ้นไป หรือมี ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร พื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญ าต ให้เสนอ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไป ในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณี 31 อาคารอยู่อาศัยรวมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม ที่มีจํานวนห้องชุดหรือ ในขั้ น ขออนุ ญ าตก่ อ สร้างหรือ หาก อาคาร ห้องพักตั้งแต่ 80 ห้อง ใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร สอยตั้งแต่ 4,000 ตาราง โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุ ญ าต ให้เสนอ เมตรขึ้นไป ในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ที่มา : ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำรายงาน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธี การ และเงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 136 ตอนพิเศษ 3 ง วันที่ 4 มกราคม 2562) กรมทางหลวงชนบท 4-226 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินขีดความสามารถในการรองรับทางการท่องเที่ยว ผลจากการรวบรวมข้อ มู ล กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ระบบสถิ ติ ท างการทะเบี ย น (http://stat.dopa.go.th) สื บ ค้ น ณ วั น ที่ 10 มกราคม 2565 พบว่ า ประชากรในพื้ น ที่ อ ำเภอเกาะลั น ตา มีประชากรรวม 35,506 คน จำนวนครัวเรือน 14,527 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ ปี 2562) มีอัตราการเปลี่ยนแปลง ประชากรต่ อปี คิ ด เป็ น ร้อยละ 0.68 และผลการรวบรวมข้อมู ลของสำนั กงานสถิติ แห่ งชาติ (www.nso.go.th) สืบค้น ณ วันที่ 7 มกราคม 2565 พบว่า ในพื้ น ที่จัง หวัด กระบี่มีป ระชากรแฝงทั้ง ในเขตเทศบาลและนอกเขต เทศบาลรวม 29,068 คน (ข้อ มูล ณ ปี 2563) เป็ นประชากรแฝงกลางคืน จำนวน 27,000 คน ประชากรแฝง กลางวันที่เข้ามาทำงาน จำนวน 1,882 คน และประชากรแฝงกลางวันที่เข้ามาเรียน จำนวน 186 คน ผลการรวบรวมข้อมูลของสำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สืบค้น ณ วันที่ 10 มกราคม 2565 พบว่า จำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังจังหวัดกระบี่ ปี พ.ศ. 2560- 2562 มีนักท่องเที่ยวที่เป็นชาวไทย อยู่ระหว่าง 2,425,479-2,447,230 คน/ปี นักท่องเที่ยวที่เป็นชาวต่างชาติ อยู่ ร ะหว่ า ง 4 ,163 ,343 -4 ,312 ,606 คน/ปี โดยจำนวนวั น พั ก เฉลี่ ย ของนั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทย 4.10 วั น ส่วนชาวต่างชาติมีจำนวนวันพักเฉลี่ย 4.48 วัน ซึ่งมีค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อวันของนักท่องเที่ยวชาวไทยอยู่ที่ 4,784.20 บาท/วัน และชาวต่างชาติมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 6,314.78 บาท/วัน ส่วนค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อวันของนักทัศนาจรชาวไทย (ไม่ค้างคืน) มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยอยู่ที่ 2,409.85 บาท/วัน พื้นที่ศึกษาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ครอบคลุมตลอดแนวเส้นทางโครงการในระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ โดยมีจุดเริ่มต้น ที่บ ริเวณ กม.0+000 ในพื้ น ที่ตำบลเกาะกลาง และจุดสิ้น สุดที่ กม.2+527 ในพื้ นที่ เกาะลันตาน้ อยระยะทาง ครอบคลุ ม พื้น ที่ ตำบลเกาะกลางและตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลัน ตา จั งหวัดกระบี่ ในการประเมิ น ผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สังคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ อันจะนำไปสู่ การกำหนดจำนวนนักท่ องเที่ยวและระดับการใช้ประโยชน์ ที่เหมาะสมกับขีดความสามารถในการรองรับการ ท่องเที่ยวในพื้นที่หมู่เกาะลันตา ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการควบคุม การพัฒนาและการใช้ประโยชน์ทางการ ท่องเที่ยวให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ปัจจัยที่เป็นตัวเร่งและก่อให้เกิ ดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านจำนวนนั กท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ธุรกิจ ท่องเที่ยวขยายตัวมากขึ้น คือ ปัจจุบันมีสะพานที่ข้ามจากเกาะลันตาน้อยไปยังเกาะลันตาใหญ่ การเดินทางที่สะดวก รวดเร็วกว่าเมื่อก่อนมาก เกาะลันตาจึงมีแนวโน้มที่จะโตแบบก้ าวกระโดด ผู้ประกอบการจากภายนอกพื้นที่ จะเข้ามามากขึ้นและเริ่มมีการแข่งขัน เกิดปัญหาการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม ธุรกิจที่เข้ามาไม่ได้ให้ ความสำคัญกับ สิ่งแวดล้อมและสังคม หากปัญหาต่างๆ ไม่ได้มีการวางแผนและบริหารจัดการ เพื่อรองรับนักท่อ งเที่ยวได้อย่าง มีประสิทธิภาพ แหล่งท่องเที่ยวหลักที่เป็นเป้ าหมายของตลาดกลุ่มบนแห่งนี้ จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเหมือนกั บ แหล่งท่องเที่ยวหลายแห่งที่รองรับนักท่องเที่ยวแบบมวล (Mass tourism) (ดรรชนีและคณะ, 25621) แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในพื้นที่หมู่เกาะลันตา ประกอบด้วย เกาะลันตาใหญ่ในบริเวณชุมชนศาลาด่าน หาดคลองดาว หาดพระแอะ หาดคลองนิน หาดคลองโขง หาดบากันเตียง และแหลมโตนด (ที่ทำการอุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะลัน ตา) เกาะรอก เกาะไหง และกลุ่ม จุดดำน้ำเกาะรอก เกาะไหง และเกาะห้า ในการศึกษาขีดความ สามารถรองรับการท่ องเที่ยวของพื้ นที่ ห มู่ เกาะลัน ตานำแนวคิด ช่วงชั้น โอกาสด้านนัน ทนาการ ( Recreation Opportunity Spectrum, ROS) มาประยุ ก ต์ ในการกำหนด ประสบการณ์ ที่ พึ ง ประสงค์ ในแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว เพื่อกำหนดขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ ยวด้านกายภาพ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านจิตวิทยา 1 ดรรชนี เอมพันธุ์, พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์ และวันชัย อรุณประภารัตน์, 2562, การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยว เพื่อสร้างมาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่หมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่. คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรมทางหลวงชนบท 4-227 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ใช้แนวคิดระดั บการเปลี่ยนแปลงหรือผลกระทบที่ยอมรับให้เกิดขึ้นได้สูงสุด ( Limits of Acceptable Change, LAC) ในการกำหนดขีดความสามารถสู งสุดในการรองรับการท่องเที่ ยว ด้านนิเวศวิทยา ด้านจิตวิทยา ด้านสังคม วัฒนธรรม และด้านเศรษฐกิจ และนำกรอบแนวคิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism, ST) ในการพิจารณาเสนอแนะการพัฒนาพื้นที่เพื่ อรองรับการท่องเที่ยวตามขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยว ดังนี้ ก) หมู่เกาะลันตา การกำหนดขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยวที่ เหมาะสมในภาพรวม ของทุกประเภทของขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยวของเกาะลันตาใหญ่ ใช้หลักของขีดความสามารถที่มี ค่าต่ำที่สุดเป็นตัวบ่งชี้ขีดความสามารถที่เหมาะสมในการรองรับการท่องเที่ยว ทั้งนี้ ปัจจัยจำกัดของเกาะลันตาใหญ่ คือ การผลิตน้ำใช้และความสามารถในการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะเรื่องขยะและน้ำเสีย สำหรับ เกาะลันตาใหญ่ปัจจุบันระบบประปาสามารถรองรั บได้เพียง 4,750 คน/วัน ซึ่งในความเป็นจริงเกาะลันตาใหญ่ มีที่พักรองรับนักท่องเที่ยวได้ถึง 12,240 คน/คืน นั่นหมายความว่าผู้ประกอบการต้องพึ่งพิงทรัพยากรน้ำจาก แหล่งน้ำอื่น เช่น การซื้อน้ำ หรือเจาะบ่อน้ำบาดาลเอง หรือดึงน้ำผิวดิ นจากแหล่งน้ำธรรมชาติมาโดยตรง เป็นต้น (ดรรชนี และคณะ, 25622) หากจะพิจารณาเพิ่มหรือขยายขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยวจำเป็นต้องพิจารณา ภายใต้เงื่อนไข คือ โครงการขยายเขตประปาภูมิภาคจะดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมาย สามารผลิตน้ำประปา ได้ 2,400 ลบ.ม./วัน การจัดการขยะสะสมเก่าและจัดการกับขยะใหม่โดยไม่เหลือตกค้าง และการควบคุม น้ำเสีย จากโรงแรมและสถานประกอบการโดยจัดการให้มีระบบบำบัดน้ำเสียที่ได้มาตรฐาน อย่างไรก็ดี ปัญหาข้อจำกัด เรื่องน้ำ จะบรรเทาลง เมื่ อ โครงการขยายประปาส่ว นภูมิภ าคจากบนฝั่ง เกาะกลางมายัง เกาะลัน ตาน้อ ย - เกาะลันตาใหญ่ ซึ่งการพัฒนาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โครงการดังกล่าวจะนำระบบประปาพ่ว งมากับ โครงสร้างสะพาน จะช่ว ยขยายขีด ความสามารถรองรับ ด้านน้ำใช้จากเดิม หากคาดการณ์ว่าในอนาคตกลุ่ มประชากรท้องถิ่นจะใช้น้ำประปากั น ทุกครัวเรือนและจำนวนประชากรท้องถิ่น รวมทั้งประชากรแฝงเพิ่มขึ้นเป็น 25,000 คน ปริม าณน้ำที่เหลือจาก ภาคประชาชนท้องถิ่น คาดว่าจะสามารถรองรับกลุ่มนักท่องเที่ยวได้ 22,890 คน/วัน หลังจากโครงการแล้วเสร็จ ขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยวด้านกายภาพ พบว่าไม่มีปัญหาแต่อย่างใด สามารถ รองรับได้ถึง 55,700 คน/วัน (ด้านกายภาพ) แต่อาจมีการกระจุกตัวของนักท่องเที่ยวในบางแห่ง ซึ่งหากมีการ บริหารจัดการให้นักท่องเที่ยวกระจายตัว ก็จะช่วยบรรเทาผลกระทบลงไปได้ สำหรับด้านสิ่งอำนวยความสะดวก พบว่าเรื่องที่พักบนเกาะลันตาใหญ่สามารถรองรับได้สูงสุด 12,240 คน/คืน สำหรับนักท่องเที่ยวพักค้าง อย่างไร ก็ดี จากการสังเกตพบว่าจำนวนห้องพักในพื้นที่เกาะลันตามีจำนวน 254 แห่ง (ที่มา : http://krabi.mots.go.th) อาจยังไม่ตรงกับความเป็นจริง เนื่องจากมีที่พั กหลายแห่งไม่ได้ขึ้นทะเบียนอย่างถู กต้อง จึงไม่ได้นำที่พักที่ไม่ได้ ขึ้นทะเบียนฯ มาพิจารณาในครั้งนี้ ธุรกิ จ โรงแรมที่ พั กในเกาะลั น ตาจั ง หวั ด กระบี่ มี ป ริม าณขยะเฉลี่ ย เดื อนละ 1,154.84 กิโลกรัม ธุรกิจร้านอาหาร 451.67 กิโลกรัม และธุรกิจนำเที่ยว 40.63 กิโลกรัม โดยธุรกิจโรงแรมที่พักมีการใช้จ่าย ในการดำเนินการกำจัดขยะมากที่สุดเฉลี่ ยปีละ 16,471.03 บาท รองลงมาคือ ธุรกิจร้านอาหาร 2,050.77 บาท และธุรกิจนำเที่ยว 532.50 บาท ตามลำดับ ธุรกิจโรงแรมที่พักมีการใช้จ่ายในการจัดการเกี่ยวกับน้ำเสียเฉลี่ย 7,480.77 บาทต่อปี รองลงมา คือ ธุรกิจร้า นอาหาร 6,300 บาทต่อปี และธุ รกิจ นำเที่ย วน้อยที่สุด 733.33 บาทต่อ ปี โดยน้ำ เสียที่ถูกปล่อยสู่ธรรมชาติพบว่าร้านอาหารมากที่สุด เฉลี่ยร้อยละ 51.60 รองลงมาคือ ธุรกิจ นำเที่ยวและธุรกิจโรงแรมและที่พัก ตามลำดับ (ดรรชนีและคณะ, 25621) กรมทางหลวงชนบท 4-228 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ธุรกิจโรงแรมและที่พั กในเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ส่วนใหญ่มีการบำบัดน้ำเสีย คิดเป็น ร้อยละ 75.00 และมีจุดแยกขยะในธุรกิจ คิดเป็นร้อยละ 86.11 ทั้งนี้ ธุรกิจโรงแรมและที่พักในเกาะลันตา จังหวัด กระบี่มีการใช้น้ำบาดาล คิดเป็นร้อยละ 50.00 ส่วนธุรกิจนำเที่ยว มีการบำบัดน้ำเสียร้อยละ 41.47 จุดคัดแยก ขยะ ร้อยละ 50.00 และมีการใช้น้ำบาดาล ร้อยละ 50 นอกจากนั้นยังระบุความเต็มใจจะจ่ายเพื่อสิ่งแวดล้อม ถึงร้อยละ 91.67 โดยธุรกิจนำเที่ยวในเกาะลันตายินดีที่จะจ่ายเงินเพื่อสิ่งแวดล้อมเฉลี่ยเดือนละ 883.33 บาท ส่วนธุรกิจร้านอาหาร มีจุดแยกขยะในธุรกิจ คิดเป็นร้อยละ 83.33 รองลงมาคือ มีการใช้น้ำบาดาล คิดเป็นร้อยละ 77.78 ร้อยละ 61.11 มีการบำบัดน้ำเสีย และยินดีที่จะจ่ายเงินเพื่อสิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 66.67 ทั้งนี้ ธุรกิจ ร้านอาหารในเกาะลันตายินดีที่จะจ่ายเงินเพื่อสิ่งแวดล้อมเฉลี่ยเดือนละ 153.78 บาท (ดรรชนีและคณะ, 25621) ปั ญหาอุ ปสรรคในการดำเนิ นงานด้ านสิ่ งแวดล้อม พบว่า ธุรกิจโรงแรมและที่ พั กมีปั ญหาด้ าน ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และปัญหาที่ธุรกิจมีการแยกขยะแล้วแต่ผู้รับผิดชอบกำจัดขยะมีการนำไป รวมกันมากที่สุดในสัดส่วนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 70.37 รองลงมา คือ ขาดความรู้ที่จะต่อยอดในการดำเนินการ คิด เป็นร้อยละ 37.04 ไม่ได้รับผลประโยชน์จากภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คิดเป็นร้อยละ 33.33 และนักท่องเที่ยว ต้ องการความสะดวกสบาย คิ ดเป็ นร้อยละ 25.93 ตามลำดั บ ส่ วนธุ รกิ จนำเที่ ยว พบว่ าขาดการสนั บสนุ นจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นปัญหาที่ผู้ประกอบการธุรกิจนำเที่ยวพบมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 66.67 รองลงมาคือ ธุรกิจ มีการแยกขยะแล้วแต่ผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บขยะนำขยะไปรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ขาดความรู้ที่จะต่อยอด ในการดำเนินการ คิดเป็นร้อยละ 41.67 ไม่ได้รับผลประโยชน์จากภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และนักท่องเที่ยว หรือผู้ใช้บริการต้องการความสะดวกสบาย ในสัดส่วนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลำดับ ส่วนธุรกิจร้านอาหาร ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พบมากที่สุด คือ ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง คิดเป็นร้อยละ 61.11 รองลงมา คือ ธุรกิจมีการแยกขยะแล้ว แต่ผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บขยะนำขยะ ไปรวมกัน คิดเป็ นร้อยละ 44.44 นั กท่ องเที่ยวหรือ ผู้ใช้ บริการต้ องการความสะดวกสบาย คิดเป็นร้อยละ 38.89 ขาดความรู้ที่จะต่อยอดในการดำเนินการ คิดเป็นร้อยละ 33.33 และ ไม่ได้รับผลประโยชน์จากภาครัฐหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง คิดเป็นร้อยละ 22.22 ตามลำดับ (ดรรชนีและคณะ, 25621) ปัญหาด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งเรื่องขยะและน้ำเสีย ยังเป็นประเด็นที่ต้องนำมาพิจารณา บริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น เพื่อลดผลกระทบให้อยู่ภายใต้เกณฑ์ที่ กำหนด หากไม่สามารถปรับปรุง การบริหารจัดการเรื่องน้ำเสียและขยะได้ เกาะลันตาใหญ่จะเกิดปัญ หามลภาวะและความเสื่อมโทรมจนทำให้ นักท่องเที่ยวไม่ต้องการมาเยือนเกาะลันตาได้ การกำจัดขยะมูลฝอยตกค้าง ควรกำหนดให้เป็นโครงการสำคัญเร่งด่วนที่สุด พบว่ามีขยะตกค้าง อยู่ เป็ น จำนวนมากนั บ แสนตั น มี น้ ำฝนที่ ต กลงสู่ ขยะมู ล ฝอยแล้ ว เกิด เป็ น น้ ำ ชะล้ า งกองขยะเกิ ด เป็ น น้ ำ เสี ย สร้างกลิ่นเหม็น และแหล่งพาหะโรค เกิดไฟไหม้และควันพิษ เป็นต้น ปัจจุบันมีนโยบายคือกำจัดในพื้นที่บางส่วน และขนย้ายขยะตกค้างบางส่วนไปยังศูนย์ กำจัดขยะที่เทศบาลเมืองกระบี่ แต่พบว่ามีระยะทางขนส่งไปถึงสถานี กำจัด ค่อนข้างไกลประมาณ 63 กิโลเมตร จัดว่าเป็นปัญหาอุปสรรคที่ สำคัญ แต่พื้นที่กำจัดขยะบนเกาะมีจำกัด โดยทางจังหวัดกระบี่ได้จัดทำแผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2558-2562 ตาม road map ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกำหนดให้เทศบาลเมืองกระบี่เป็นศูนย์กำจัดขยะมูลฝอย และมีสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอย 4 แห่ง ซึ่งรวมกลุ่มองศ์การบริหารส่วนตำบลศาลาด่าน (บนเกาะลันตาใหญ่) และ ปัจ จุบั น ได้มี การก่อสร้างโรงไฟฟ้ าพลังงานขยะ ตำบลไสไทย อำเภอเมื อง จังหวั ด กระบี่ พื้ น ที่ ป ระมาณ 5 ไร่ สามารถรองรับปริมาณขยะได้สูงสุดถึง 500 ตัน/วัน ทั้งนี้ในกรณีมีการก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลั นตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลั นตา จังหวัดกระบี่ แล้วเสร็จ คาดว่าโครงการดังกล่าว จะเป็นการเชื่อมต่อโครงข่ายเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพ ซึ่ งจะช่วยบรรเทาปัญหาขยะตกค้าง ในพื้นที่ได้ เนื่องจากมีเส้นทางลำเลียงขยะไปกำจัดในพื้นที่ฝั่งได้อย่างสะดวก กรมทางหลวงชนบท 4-229 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับ ในด้านการจัดการน้ำเสียที่เกิดจากแหล่งชุมชนหรือสถาที่พักต่างๆ ซึ่งอยู่ในการดูแล ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่ (อบต.เกาะลันตาใหญ่ ) โดยมีแนวทางในการป้องกันแก้ ไขผลกระทบ ้ ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ได้แก่ ที่เกิดขึน - ในขั้น ตอนการขออนุญาตก่อ สร้างสถานที่พัก จะต้องแสดงแบบรายละเอียดระบบ บำบัดน้ำเสียที่ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาล ประกอบการขออนุญาตก่อสร้าง - การขอใบอนุ ญ าตเพื่ อ ขอประกอบกิ จ การร้านอาหาร ต้ องมี ระบบบำบั ด เสี ย และ บ่อดักไขมันที่ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาล - เจ้าหน้าที่ อบต.เกาะลันตาใหญ่ ดำเนินการตรวจสอบประสิทธิภาพระบบบำบัดน้ำเสีย บ่อพักและน้ำเสียหลังการบำบัดให้อยู่ในมาตรฐานน้ำทิ้งก่อนระบายน้ำเสียดังกล่าวออกสู่ภายนอก - เจ้าหน้าที่ อบต.เกาะลันตาใหญ่ ทำการตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสี ยเป็นประจำใน ทุกๆ ปี ข) เกาะรอกและเกาะไหงและจุด ดำน้ำ ขีดความสามารถรองรับ การท่ องเที่ยวที่ เกาะรอก ปัจจุบันเท่ากับ 400 คน/วัน เป็นการท่องเที่ยวแบบไป-กลับวันเดียว และในอนาคตสามารถขยายเป็น 500 คน/วัน หากมีการจัดการเรื่องน้ำใช้ให้มีประสิทธิภาพดี ขึ้นหรือสามารถจัดหาแหล่งน้ำใหม่เพิ่ มเติม โดยยังสอดคล้องกับ ประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวคาดหวังในเรื่องความรู้สึกแออัดต่อการพบเห็นนักท่องเที่ยวอื่นๆ ที่ระบุว่าควรน้อยกว่า 494 คน/ช่วงเวลา ส่วนกลุ่มจุดดำน้ำของเกาะรอก จำนวนสูงสุด ที่รองรับได้กำหนดมาจากจำนวนนักท่องเที่ยว ที่เกาะรอก เนื่องจากเป็นนักท่องเที่ยวชุดเดียวกัน คือ 400 คน/วัน และสามารถขยายเป็น 500 คน/วัน ในอนาคต ส่วนขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยวที่เหมาะสมของเกาะไหง คือ 864 คน/คืน จากจำนวนที่พักที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน และจากข้อมูลสอบถามนักท่องเที่ยวถึงประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวต้องการได้รับ ซึ่ งส่วนใหญ่เห็นว่า ไม่ควรมีการพัฒนาที่พักมากไปกว่านี้แล้ว แต่ควรปรับปรุงให้กลมกลืนกับสภาพธรรมชาติซึ่งมีความโดดเด่นอยู่แล้ว ต้องการประสบการณ์สงบและความเป็นส่วนตัว ซึ่ งด้วยขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยวดังกล่าว ยังส่งผลให้ ขีดความสามารถทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับยอมรับได้ ส่วนจุดดำน้ำเกาะไหงสามารถรับนักท่องเที่ยวได้สูง สุดเท่ากับ 255 คน ในช่วงเวลาเดี ยวกัน และจำเป็นต้องปิดฟื้นฟูจุด ดำน้ำตื้น 1 แห่ง เนื่องจากทรัพยากรในแนวปะการัง ค่อนข้างเสื่อมโทรม สำหรับจุดดำน้ำเกาะห้า ซึ่งเป็นจุดดำน้ ำที่อยู่ในโซนด้านเกาะไหง สามารถรองรับได้ 120 คน ในช่วงเวลาเดียวกัน (ดรรชนี และคณะ, 2562 2) ค) ระดั บ การใช้ ป ระโยชน์ /ระดั บ ผลกระทบกั บ ขี ด ความสามารถรองรับ การท่ อ งเที่ ย ว เมื่อเปรีย บเทีย บระดับ การใช้ป ระโยชน์ และ/หรือผลกระทบจากการท่องเที่ย วแล้ว พบว่า เกาะลัน ตาใหญ่ มีค่าเกินขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ย ว โดยค่าที่เป็นปัจจัยจำกัด คือ ขยะ น้ำเสีย และสิ่ งอำนวยความ สะดวกในเรื่องที่พัก และพื้นที่จอดรถเกือบทุกจุดท่องเที่ยว เกาะลันตาใหญ่ยังมีปัจจัยจำกัดที่สำคัญ คือปัญหา ปริมาณการผลิต น้ำใช้ให้เพียงพอต่อความต้องการทั้งภาคส่ วน การท่ องเที่ ย ว และประชาชนท้ องถิ่ น สำหรับ เกาะรอก พบว่าปัจจุบันเกินขีดความสามารถรองรับในด้ านน้ำใช้และด้านจิตวิทยา ส่วนเกาะไหง พบว่ายังไม่เกิน ขีด ความสามารถรองรับ การท่ องเที่ ย ว ในส่ว นจุ ดดำน้ ำบริเวณเกาะรอก พบพฤติ กรรมของนั กท่ องเที่ ยวและ เรือทัวร์ไม่เหมาะสมจัดว่ามีผลกระทบรุนแรงเกินขีดความสามารถรองรับด้านนิเวศวิทยา ส่วนจุดดำน้ำอื่นๆ บริเวณ เกาะไหงและเกาะห้า พบทรัพยากรในแนวปะการังมีความเสื่อมโทรม โดยเกาะรอกและเกาะไหง สัดส่วนร้อยละ ของปะการังมีชีวิตต่อปะการังไม่มีชีวิต เกินขีดความสามารถรองรับด้านนิเวศวิทยา และเกาะห้ าด้านความหลาก ชนิดของปลา แต่ป ริมาณการใช้ประโยชน์นักดำน้ำในบริเวณจุดดำน้ำทุกจุดยังไม่เกินขีดความสามารถรองรั บ (ดรรชนี และคณะ, 2562 2) กรมทางหลวงชนบท 4-230 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการเสนอแนะเชิงนโยบาย ▪ การนำขีด ความสามารถรองรับ ด้ านการท่ องเที่ ย วไปใช้ ป ระโยชน์ ได้ นั้ น ต้ อ งได้ รับ การ ยอมรับจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น จึงควรมีการจัดการประชุมเพื่อหารือถึงเป้าหมายของการท่องเที่ยวหมู่เกาะ ลันตา (จำนวนนักท่องเที่ยวที่เหมาะสมของหมู่เกาะลันตาและระดับของผลกระทบที่ยอมให้เกิดขึ้นได้) ไปพิจารณา เพื่ อจั ดทำยุ ท ธศาสตร์การบริหารจั ดการการท่ องเที่ ยวของหมู่ เกาะลัน ตาภายใต้ขีดความสามารถรองรับ การ ท่องเที่ยวและให้เกิดการบริหารจัดการแหล่งท่อ งเที่ยวที่เหมาะสมต่อไป สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวหมู่เกาะลันตา และหน่วยงานภาครัฐในระดับพื้นที่และระดับจังหวัดควรเป็นผู้ขับเคลื่อนข้อเสนอแนะนี้ ▪ จังหวัดกระบี่ โดยผู้ว่าราชการจังหวัด กระบี่ ควรมีการผลั กดัน เชิ งนโยบายให้ หน่วยงาน และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเก็บ รวบรวมข้อมูลที่จำเป็น ในการดำเนิน การติดตามผลกระทบและระดับการใช้ ประโยชน์ตามขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยวของหมู่เกาะลันตา และนำข้อมูลลงในฐานข้อมูลเพื่อให้ข้อมูล ทันสมัยอยู่เสมอและสามารถนำไปใช้ประกอบการตัดสิ นใจในการบริหารจัดการการท่องเที่ย วของหมู่เกาะลันตา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ▪ ประเด็นปัญหาเร่งด่วนของหมู่เกาะลันตา คือ เรื่องขยะและน้ำเสีย จังหวัดกระบี่ต้องกำหนด นโยบายและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการจัดการปัญ หาดังกล่าวโดยมีการติด ตามผลอย่างใกล้ชิด พร้อมการ สนับสนุนทั้งด้านวิชาการ บุคลากร และงบประมาณในการดำเนินการให้แก้ไขปัญหาได้อย่างจริงจัง ▪ หน่วยงานในพื้นที่และภาคเอกชนต้องกำหนดกรอบทิศทางของการพัฒนาหมู่เกาะลันตา ให้สอดคล้องกับความคาดหวังของกลุ่มนักท่องเที่ยวปัจจุบันที่มีการสร้างผลกระทบน้อย หากเน้นการพัฒนา ที่มุ่งให้หมู่เกาะลันตาเป็นแหล่งบันเทิงเริงรมย์ ก็ต้องตระหนักถึงผลกระทบที่จะตามมาทั้งด้านสังคม เศรษฐกิ จ และสิ่งแวดล้อม ▪ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตาควรเร่งประกาศและบังคับใช้ตัวเลขจำนวนนักท่องเที่ยว ที่เหมาะสมสำหรับเกาะรอก และจุดดำน้ำต่าง ๆ จากผลการศึกษาฯ มาตรการเสนอแนะในระดับพื้นที่ มาตรการเสนอแนะที่มีรายละเอียดและครอบคลุมประเด็นปัญหาของการท่องเที่ยวหมู่เกาะลันตา เพื่อให้เกิดมาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวในหมู่เกาะลันตา โดยเน้นให้เกิดมาตรฐานการบริหารจัดการ ที่ ค รอบคลุ ม การจั ด การผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม ภูมิ ทั ศน์ การจั ด การเกี่ย วกับ นั กท่ องเที่ ย วและประสบการณ์ นันทนาการ ด้านจิตวิทยา ผลกระทบด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจ ซึ่งมีมาตรการเสนอแนะสำคัญที่ควรดำเนินการ เร่งด่วน (ดรรชนี และคณะ, 2562 2) ดังต่อไปนี้ ▪ เร่งรัดให้ โครงการผลิ ตน้ ำประปาของเกาะลั นตาใหญ่ แล้ วเสร็จโดยเร็ ว ซึ่ งจะช่ ว ยเพิ่ มขี ด ความสามารถรองรับการท่องเที่ยว ▪ ปัญ หาขยะจัดว่าเป็นปัญหาระดับชาติ ซึ่งเกาะลันตาใหญ่เป็ นพื้นที่หนึ่งที่ประสบปัญ หา เรื่องขยะ ทำให้ต้องสูญเสียงบประมาณจำนวนมากในการกำจัดขยะตกค้าง มีผลต่อสุขภาพพลานามัยของคน บนเกาะลันตาและนักท่องเที่ยว ภูมิทัศน์ที่ไม่น่าดู และมีผลต่อระบบนิเวศของทะเลไทยอย่ างรุนแรง โดยเฉพาะ ขยะย่อยสลายไม่ได้จำพวกพลาสติก การแก้ไขจำเป็ นต้องเกี่ยวข้องกับหลายภาคส่วนในสังคม เริ่ มต้นจากการ รณรงค์สร้างจิตสำนึกที่ดีด้านขยะของเสียและสิง ่ แวดล้อม รณรงค์ลดการผลิตและลดใช้โฟม/พลาสติก ใช้มาตรการ ทางเศรษฐศาสตร์ในลดการใช้ถุงพลาสติกบนเกาะ เช่น จ่ายค่าถุงพลาสติกในร้านสะดวกซื้อ เป็นต้น นอกจาก รณรงค์ให้ความรู้ความเข้าใจแล้ว การบั งคับใช้มาตรการด้านกฎหมายต่อการทิ้ งขยะลงทะเล/พื้นที่สาธารณะ คูคลองต่างๆ จำเป็นต้องดำเนินการอย่างเคร่งครัด ควรบรรจุในหลักสูตรท้องถิ่นของโรงเรี ยนเกี่ยวกับเรื่องขยะ เหลื อศู น ย์ หรื อการจั ด การขยะแบบผสมผสาน มี การเก็บ ขยะชายหาดและขยะใต้ ท้ องทะเลอย่ างสม่ ำเสมอ ควบคู่กับการรณรงค์เกี่ยวกับ ขยะย่อยสลายยาก มีการสื่อความหมายให้ตระหนั กถึงความรุนแรงของปัญหาขยะ กรมทางหลวงชนบท 4-231 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของเกาะลันตาและของประเทศ เกาะลันตาควรต้องตั้งเป้าหมายและแนวทางอย่างเป็นรูปธรรมในการลดปริมาณ ขยะที่ ชัดเจน และมี การติดตามผลการดำเนิ นงานอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ เกิดการบรรลุเป้าหมายในระยะเวลา ที่กำหนด ทุกภาคส่วนต้องให้ความร่วมมือในการลดขยะบนเกาะลันตา ▪ ปัญหาน้ำเสีย ควรรณรงค์ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ชุมชนท้องถิ่น เพื่อลดการปล่อยน้ำเสีย ลงแหล่งธรรมชาติโดยตรง อบต. ควรจัดสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวมตามจุดที่มีบ้านเรือนอาศัยอยู่หนาแน่น และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อบต. ทสจ. จังหวัด และกรมควบคุมมลพิษ ต้องเคร่งครัดตรวจสอบและลงโทษโรงแรม และผู้ประกอบการต่าง ๆ ในเรื่องการปล่อยน้ำเสียลงแหล่งธรรมชาติมีการติดตามคุณภาพน้ำ ทะเลและคุณภาพ น้ำผิวดินอย่างสม่ำเสมอ มีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อให้เกิดแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม ▪ ชุมชนท้ องถิ่น บนเกาะลัน ตา ควรมี แผนบริหารจัดการน้ ำของชุม ชน เพื่ อให้ มีการใช้น้ ำ อย่างมีประสิทธิภาพ ▪ การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวให้เป็นไปตามขีดความสามารถรองรับ ดังนี้ - สำหรับเกาะลันตาต้องใช้กลไกด้านราคา การกำหนดโครงสร้างการตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยว เป้าหมาย การประชุมหารือผู้ประกอบการ เน้นย้ำวิสัยทัศน์ของเกาะลันตา เพิ่มการประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร เกี่ยวกับความจำเป็นในการกำหนดขี ดความสามารถรองรับการท่องเที่ยวและการบริหารจัดการให้ เป็นไปตาม ขีดความสามารถฯ การสร้างความตระหนั ก ความรู้ความเข้าใจแก่กลุ่มที่เกี่ยวข้องทั้ งภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาครั ฐ เพื่ อ ให้ เกิ ด ความร่ ว มมื อ ของทุ ก ภาคส่ ว นในการขั บ เคลื่ อ นให้ เกิ ด การบริห ารแบบเป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อมและจัดการผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ขยะและน้ำเสี ยได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกาะลันตาต้องให้ ความสำคัญสูงสุดในเรื่องปัญหาขยะและน้ำเสีย และหาแนวทางแก้ไขอย่างมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน มีการติ ดตาม ข้อมูลผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านคุณภาพน้ำ และขยะ และนำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ ตัดสินใจบริหารจัดการ นอกจากนั้นต้องให้ความสำคัญ ต่อการจัดการภูมิทัศน์ ในการคงบรรยากาศชนบทและ กลมกลืนกับธรรมชาติตลอดจนความปลอดภัยในการสัญจรทั้งบนบกและทางน้ำ - สำหรับเกาะไหง การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ ย วให้เป็นไปตามขีดความสามารถ รองรับคือการควบคุมการเติบโตของที่พักของภาคเอกชน โดยขอความร่วมมือไม่เพิ่มจำนวนโรงแรมและจำนวน ห้องพัก แต่ใช้กลไกการกำหนดราคาให้เหมาะสม (ซึ่งผู้ประกอบการที่เกาะไหงส่วนใหญ่ใช้วิธีการนี้อยู่แล้ว เห็นได้ จากค่าที่พักที่ค่อนข้างสูงกว่าค่าเฉลี่ยของเกาะลันตา) ตลอดจนบริหารจัด การให้เกิดประสบการณ์ท่องเที่ยวที่มี คุณภาพสูงทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย - เกาะรอกในอนาคต หากมีการปรับปรุงเรื่องการหาแหล่งน้ำบาดาลให้มี ปริมาณน้ำใช้ มากขึ้น จำนวนนักท่องเที่ยวที่เหมาะสมของเกาะรอกอาจเพิ่มขึ้นเป็น 500 คน/วัน โดยยังสอดคล้องกับประสบการณ์ ที่นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่คาดหวัง แต่ต้องปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียบนเกาะรอกให้ได้มาตรฐาน โดยเปลี่ยนระบบเดิม ที่ใช้บ่อเกรอะ/บ่อซึมเป็นถังบำบัดแบบระบบปิด ปรับเปลี่ยนการจัดการขยะ ใช้แนวคิ ดขยะเหลือศูนย์ เน้นการ สร้างขยะให้ น้ อยที่ สุด จากต้ นทาง ตามหลั ก 3 Rs สร้างท่ าเที ยบเรือลอยน้ ำและจัด จุดจอดเรือโดยการผูก ทุ่ น ห่างจากแนวหาดทราย ปรับปรุงห้องสุขาทดแทนของเดิมที่ชำรุดเสี ยหาย จัดรูปแบบการท่องเที่ยวแบบไป -กลับ ไม่มีการพักค้าง และประกาศกำหนดจำนวนนักท่องเที่ยวบนเกาะรอกและจุดดำน้ำของอุทยานแห่งชาติหมู่ เกาะ ลั น ตา บั ง คับ ใช้ ตั วเลขขีด ความสามารถรองรับ ฯ ตามประกาศด้ ว ยการควบคุม ผ่ านระบบตั๋ ว อิ เลกทรอนิ กส์ ซึ่งเป็นระบบที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชกำลังดำเนินการ เพื่อให้เกิดการจองล่วงหน้าและสามารถ กำหนดจำนวนตั๋วที่จะขายให้เท่ากับจำนวนนักท่องเที่ยวตามที่ กำหนดเป็นขีดความสามารถรองรับการท่ องเที่ยว ของพื้น ที่ การกำหนดจำนวนนักท่องเที่ยวสูงสุดสำหรับเกาะรอก ควรรีบดำเนินการประกาศและบังคับใช้ เพราะมี แนวโน้มทัวร์จากภูเก็ตมากขึ้น นอกจากนั้น การกำหนดจำนวนที่เหมาะสมไว้ก่อนจะง่ายต่อการบริหารจัดการกว่า กรมทางหลวงชนบท 4-232 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เมื่อมากำหนดภายหลังเมื่อมีจำนวนนักท่องเที่ยวในปริมาณมากเกินไปแล้ว อย่างไรก็ดี อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะ ลันตา ควรแจ้งล่วงหน้าก่อนการประกาศใช้จำนวนนักท่องเที่ยวตามขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยวอย่า ง น้อย 1 ฤดูกาลท่องเที่ยวเพื่อให้ภาคเอกชนรับทราบและปรับตัวได้ทัน - จุ ด ดำน้ ำ เกาะรอกพบว่ ามี ผ ลกระทบจากพฤติ ก รรมของนั กดำน้ ำตื้ น และเรือ ทั ว ร์ เกิน ขีด ความสามารถรองรับ ด้ า นนิ เวศวิ ท ยา ดั ง นั้ น สำหรับ กิ จ กรรมดำน้ ำผู้ ป ระกอบการเรือ ทั ว ร์ต้ อ งมี การ ปฐมนิ เทศนั กท่ อ งเที่ ย วเรื่อ งข้ อ ควรปฏิ บั ติ และอุ ท ยานแห่ งชาติ ห มู่ เกาะลั น ตาต้ องเข้ ม งวดกั บ พฤติ กรรมที่ ไม่เหมาะสมของนักท่องเที่ยวและเรือทัวร์ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตาควรพัฒนาระบบสื่อความหมายที่กระตุ้น ให้เกิดการรับรู้และความตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากร กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ควรสนับสนุน เรือตรวจการแก่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตาในการปฏิบัติภารกิจ จุดดำน้ำ 1 แห่งที่เกาะไหง เนื่องจากสภาพ ทรัพยากรในแนวปะการังค่อนข้างเสื่อ มโทรมมาก จึงเสนอให้ทางกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปิดจุดดำน้ำดังกล่าวเพื่อพักฟื้นและให้ปะการังได้มี โอกาสฟื้นตัวได้เต็มที่ก่อน ส่วนจุดดำน้ำเกาะห้าและเกาะม้า รวมถึงจุดดำน้ำเกาะรอกและเกาะไหงควรมีการเฝ้าระวังติดตามการเปลี่ยนแปลงของสถานภาพทรัพยากรในแนว ปะการังอย่างต่อเนื่องทุกปีเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจเปิด/ปิดจุดดำน้ำ - จัดตั้งภาคีเครือข่ายการพัฒนาและการบริหารจัดการการท่องเที่ยวหมู่เกาะลั นตา โดยมีหน้าที่ในการประสานให้เกิดการพัฒนาและการบริหารจัดการการท่องเที่ยวที่มุ่ งสู่ความยั่งยืนและวิสัยทัศน์ ของหมู่เกาะลันตา ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง - บังคับ ใช้ ผังเมื องและออกแบบเขตการจัดการในพื้ น ที่ ตามศักยภาพของทรัพ ยากร และการใช้ประโยชน์ เพื่อเพิ่มความเป็นระเบียบเรียบร้อย ออกแบบภูมิทัศน์เมือง การพัฒนาพื้นที่สีเขียวและง่าย ต่อการบริหารจัดการ อีกทั้งเป็นการป้องกันผลกระทบ ควรมีการออกระเบียบ แนวปฏิบัติในการพัฒนาเมือง เช่น การสร้างโรงแรมติดแนวชายหาด ความสูง และขนาดที่ไม่บดบังทิวทัศน์ หรือปิดทางลงชายหาด ระยะห่างระหว่าง สิ่งปลูกสร้างกับ พื้ น ที่ สาธารณะ ชายหาด ทะเล การมี แนวกั นชน (Buffer zone) ระหว่างชุม ชนกับ โซนที่ พั ก โซนกิจกรรมท่องเที่ยว เป็นต้น - ให้ความสำคัญกับประสบการณ์ทางการท่องเที่ยว เข้าใจตลาดเป้าหมายที่ต้องการให้ เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว ให้ สามารถรักษาฐานตลาดนักท่องเที่ยวยุโรป เพิ่มการเดินทางท่องเที่ยวซ้ำ แทนการ เป็ นสถานที่ มาเยือนสำหรับ ตลาดใหม่ ซึ่ งส่งผลต่อผลกระทบขณะประกอบกิจกรรมท่องเที่ ยว เนื่ องด้วยกลุ่ ม นักท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มดำน้ำ ยิ่งมีป ระสบการณ์ก็จะยิ่งเข้าใจ มีความรู้ในการปฏิ บัติตัวที่ถูกต้อง สิ่ง สำคัญ คือ การตลาดของแหล่งท่องเที่ยวควรสร้างการรั บรู้ถึงประสบการณ์คุณภาพที่พื้นที่ ส่งมอบ เช่น การ ท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต วัฒนธรรม อาหารท้องถิ่น นอกเหนือจากการท่องเที่ยวทางทะเล เพื่อกระจายการใช้ประโยชน์ จากแหล่งดำน้ำมายังชุมชน อีกทั้งควรกำหนดกลุ่มลูกค้าหรือนักท่องเที่ยวด้ วยช่วงชั้นโอกาสประสบการณ์ของ ผู้มาเยือนจากเงื่อนไขของทรัพยากรในแต่ละพื้นที่เป็นหลัก การวางแผนเกี่ยวกับประสบการณ์ที่หลากหลายจะช่วย ให้สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่มักจะเกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวที่มีความต้องการแตกต่างกันได้ เมื่อมีการขับเคลื่อนการกำหนดขีดความสามารถในการรองรับร่วมกันของทุกภาคส่วนแล้ว ควรมีการร่วมกันพัฒ นาแผนการติดตามผล โดยการฝึกอบรมผู้ที่เกี่ยวข้องในการใช้โปรแกรมการประเมิ นและ ติดตามผลอย่างง่าย มี การรวบรวมสถิติ ข้อมู ลและอั พ เดทข้อมูล เพื่อประกอบการตั ดสิน ใจเชิงนโยบายอย่ าง สม่ำเสมอ กรมทางหลวงชนบท 4-233 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ระดับการเปลี่ยนแปลงที่ยอมให้เกิดขึ้น (Limits of Acceptable Change, LAC) Stankey et al (1985) ได้ เสนอแนะแนวคิด นี้เพื่ อใช้ ป รับ ปรุงวิธีการกำหนดขีด ความสามารถรองรับ ด้านนันทนาการ เนื่องจากแต่เดิมนั้น วิธี การกำหนดขีดความสามารถรองรับด้านนันทนาการมักจะมาจากความ พยายามในการค้น หาคำตอบ “จำนวนเท่ าใดจึ งจะมากเกิน ไป ” ซึ่งในทางปฏิบัติ แล้ วจะทำค่อนข้า งยากมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้ านนิ เวศวิทยา เนื่ องจากไม่ สามารถหาความสัมพั นธ์อย่างมีนัยสำคัญ ระหว่างจำนวนผู้ ใช้ ประโยชน์กับผลกระทบที่เกิดขึ้นได้โดยง่าย ดังนั้น เพื่อให้สามารถกำหนดขีดความสามารถรองรับด้านนันทนาการได้ โดยไม่ต้องไปพะวงถึงการกำหนดเป็นตัวเลขจำนวนนักท่อ งเที่ยวเพียงประการเดียว Stankey et al ( 1985) จึงนำเสนอเทคนิคใหม่ที่มุ่งกำหนดถึงสภาพที่ต้องการให้เป็น ( desired condition) ของแหล่งนันทนาการ ทั้งใน ด้านทรัพยากรและประสบการณ์นันทนาการที่พึงได้รั บ โดยผู้เกี่ยวข้องต้องสามารถกำหนดระดับของผลกระทบ จากกิจกรรมนันทนาการที่ยอมให้เกิดขึ้ นที่จะไม่ทำให้สูญเสียสภาพของแหล่งนันทนาการที่ต้องการไป นั่นคือ ผลกระทบที่ยอมให้เกิดขึ้นได้นั้น จักต้องไม่รุนแรงจนส่งผลให้สภาพของความเป็นแหล่งนันทนาการนั้นเปลี่ยนแปลง ไปจากที่กำหนดไว้ วิธีการนี้จึงให้ความสำคัญกับการกำหนดเป้าหมายของสภาพแหล่งนันทนาการและประสบการณ์ นันทนาการที่ต้องการ รวมไปถึงต้องมีการระบุปัจจัยชี้วัดผลกระทบและการติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่าง สม่ำเสมอเป็นระบบ ว่าเกินจากระดับที่กำหนดไว้หรือไม่ อีกทั้งมีการวางแผนบริห ารจัดการเพื่อกำกับดูแลไม่ให้ ผลกระทบเกิดขึ้นมากกว่าที่ กำหนดซึ่งจะส่งผลให้สภาพความเป็นแหล่งนันทนาการไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่ ต้องการได้ แนวคิด LAC อีกนัยหนึ่งจึงเป็นวิธีการกำหนดขีดความสามารถรองรับด้านนันทนาการพร้อมไปกับการ วางแผนจัดการแหล่งนันทนาการ ภายหลังได้มีการปรับปรุงกระบวนการ LAC โดยเพิ่มขั้นตอนของการระบุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของแหล่งนันทนาการเพิ่มเติมจากการระบุประเด็นปัญหา ซึ่งทำให้มีความชัดเจนมากขึ้น กรอบกระบวนการวางแผนโดยใช้แนวคิด LAC ในการกำหนดขีดความสามารถรองรับด้านนันทนาการ (Stankey et al. 1985) มีดังนี้ - ระบุแหล่งนันทนาการ - กำหนดช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการของพื้นที่ที่มีความเป็นไปได้ - เลือกปัจจัยชี้วัดสำหรับฐานทรัพยากรและสภาพที่สังคม - สำรวจสถานภาพของทรัพยากรและทางสังคมของแหล่งนันทนาการ - กำหนดเกณฑ์ตัดสินระดับผลกระทบที่ยอมรับได้ด้านทรัพยากรและด้านสังคม - ศึกษาทางเลือกที่เหมาะสม - ศึกษามาตรการจัดการสำหรับแต่ละทางเลือก - คัดเลือกช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการที่เหมาะสมที่สุด - นำมาตรการและแนวทางไปปฏิบัติและติดตามผล แนวคิด LAC ได้นำไปใช้กับการกำหนดขีดความสามารถรองรับด้านนิเวศวิทยา ด้ านจิตวิทยา และด้าน วัฒ นธรรม ส่วนขีดความสามารถรองรับทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวก สามารถกำหนดเป็นจำนวน นักท่องเที่ยวได้เช่นเดิม 1) ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (Recreation Opportunity Spectrum, ROS) คนส่วนใหญ่มักเลือกที่จะประกอบกิจกรรมนันทนาการในพื้นที่ที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ ที่ตนปรารถนา ดัง นั้น จึงเป็นหน้าที่ของนักจัดการที่ต้องดำเนิน การจัดการพื้นที่นั นทนาการให้เหมาะสมเพื่อ ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นภายใต้เงื่อนไขของสภาพพื้นที่ ลักษณะของทรัพยากร และรูปแบบกิจกรรม นันทนาการ ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (ROS) จึงเป็นเครื่องมือสำคัญประการหนึ่งในการจัดการแหล่งท่องเที่ยว เพื่อให้ได้รับประสบการณ์ตามที่กำหนดไว้ กรมทางหลวงชนบท 4-234 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม Clark and Stankey (1979) ได้สรุปความหมายของช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการไว้ในระยะเริ่มแรก ว่าเป็นความหลากหลายของโอกาสหรือทางเลือกสำหรับนักท่องเที่ยวในการประกอบกิ จกรรมนันทนาการ โดย พิจารณาจากศักยภาพของทรัพยากรนันทนาการในพื้นที่นั้นๆ เป็นประการสำคัญ หลักการหรือสมมุติฐานเบื้องต้น ของแนวคิดนี้ ก็คือ การห่างไกลจากความเจริญ ความสันโดษ ระดับความเป็นธรรมชาติ และการพัฒนาจัดการ ที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ประสบการณ์นันทนาการที่ได้รับในพื้นที่แต่ละแห่งมีความแตกต่างกันด้วย แม้จะเป็นกิจกรรม นันทนาการประเภทเดียวกัน Forest Service (1982) และ Payne และคณะ (1997) ได้กล่าวถึงโอกาสด้านนันทนาการ (Recreation opportunity) ว่าเป็นการผสมผสานระหว่างองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน ที่เกี่ยวข้องในการประกอบกิจกรรมนันทนาการ ของคนทั่วไป คือ - กิจกรรม (activities) - สภาพแวดล้อมของพื้นที่ที่ประกอบกิจกรรม (settings) - ประสบการณ์ที่ได้รับจากการประกอบกิจกรรม (experiences) โอกาสด้านนันทนาการจึงหมายถึง ประสบการณ์นันทนาการที่นักท่องเที่ยวมีโอกาสได้รับจากการ เข้าร่วมกิจกรรมนั นทนาการ ซึ่ งประสบการณ์ ดังกล่าวมีลักษณะเฉพาะตั วอันเป็นผลมาจากการจั ดการสภาพ แวดล้อมของพื้นที่ จึงมีความหลากหลายตั้งแต่ประสบการณ์นันทนาการประเภทสันโดษและกึ่งสันโดษ ซึ่งเกิดขึ้น ในสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติสู ง ไปจนกระทั่งประสบการณ์นันทนาการที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมประเภท ธรรมชาติที่มีการดัดแปลงหรือเลียนแบบธรรมชาติ ชนบท และประสบการณ์นันทนาการเมือง ทั้งนี้ ช่วงชั้นโอกาส ด้านนันทนาการ เป็นเครื่องมือให้นักจัดการพื้นที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่สำหรับประกอบกิ จกรรม ประเภทของกิ จกรรมนั น ทนาการ และประสบการณ์ ที่ นั ก ท่ องเที่ ย วจะได้ รับ เพื่ อสร้า งกิจ กรรมนั น ทนาการ ที่สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวต้องการ (1) ประเภทของช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ ดรรชนี แ ละคณะ (2562) ได้ จั ด แบ่ ง ช่ ว งชั้ น โอกาสด้ า นนั น ทนาการออกเป็ น 6 ประเภท ตามการศึกษาของศูน ย์วิจัยป่าไม้ (2541) ซึ่งในแต่ละช่วงชั้นจะมีปัจจัย สภาพแวดล้อมและการจัดการที่ทำให้ เกิดประสบการณ์นันทนาการที่แตกต่างกันไปตั้งแต่ความสงบสันโดษกับสภาพแวดล้อมธรรมชาติที่ไม่มีการพัฒนา ใด ๆ ไปจนถึงได้รับความสะดวกสบายในสภาพแวดล้อมของความเป็นเมืองที่แวดล้อมด้วยผู้คน แสดงดังตารางที่ 4.6.1-4 (2) ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการกับการกำหนดขีดความสามารถรองรับนันทนาการ ROS ใช้ในการกำหนดขีดความสามารถรองรับด้านกายภาพของแหล่งนันทนาการ โดยช่วงชั้น โอกาสด้านนันทนาการที่ต่า งกันจะนำไปสู่การกำหนดขนาดของพื้นที่ใช้สอยที่นักท่องเที่ยวแต่ละคนใช้ในการ ประกอบกิจ กรรมนั น ทนาการที่ แตกต่ า งกัน ดัง ตารางที่ 4.6.1 -5 ซึ่ งรวบรวมจากกรณี ศึกษาในต่ างประเทศ อย่างไรก็ดี ค่ามาตรฐานของพื้นที่ที่นักท่องเที่ยว 1 คน จำเป็นต้องใช้ในการประกอบกิจกรรมขึ้นกับปั จจัยหลาย ประการ เช่ น ประเภทของกิ จ กรรมนั น ทนาการ ลั ก ษณะของการประกอบกิ จ กรรม สภาพของพื้ น ที่ และ ประสบการณ์ที่ต้องการได้รับโดยเฉพาะโอกาสการพบปะคนอื่น ๆ ในการประกอบกิจกรรม เป็นต้น จึงใช้ประกอบ เป็นแนวทางในการพิจารณากำหนดค่ามาตรฐานเชิงพื้นที่ (ตารางที่ 4.6.1-6) สำหรับการประเมินขีดความสามารถ รองรับด้านนันทนาการทางกายภาพที่หมู่เกาะลันตาต่อไป กรมทางหลวงชนบท 4-235 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.6.1-4 ประเภทของช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ ประเภทพื้นที่ สภาพพื้นที่ ธรรมชาติสันโดษ (P) - สภาพพื้นที่เป็นผืนใหญ่ติดต่อกันที่ยังเป็นธรรมชาติสมบูรณ์ ยังไม่ถูกดัดแปลงหรือมีร่องรอยของการ พัฒนาใดๆ โอกาสพบปะบุคคลอื่นๆ น้อยมาก มีร่องรอยของมนุษย์และกิจกรรมอันเกิดจากมนุษย์ น้อยมาก การควบคุมเป็นไปอย่างอิสระด้วยจิตสำนึกอันดีของนักท่องเที่ยวเอง มีข้อจำกัดการเข้าถึง สูงมาก ธรรมชาติกึ่งสันโดษ - พื้นที่ส่วนใหญ่ยังคงเป็นธรรมชาติสมบูรณ์ โอกาสพบปะบุ คคลอื่นค่อนข้างต่ำ มีสิ่งอำนวยความ ไม่ใช้ยานยนต์ (SPNM) สะดวกได้บ้างแต่เป็นลักษณะชั่วคราวไม่ถาวร มีข้อจำกัดการการเข้าถึงสูง ธรรมชาติกึ่งสันโดษ - พื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ ยั ง คงมี ลั ก ษณะแวดล้ อ มเป็ น ธรรมชาติ ที่ มี ข นาดค่ อ นข้ า งใหญ่ มี ป ริ ม าณ ใช้ยานยนต์ (SPM) ผู้เข้าไปใช้พื้น ที่ ป านกลาง สามารถพบเห็ น ร่องรอยที่ เกิด จากการใช้พื้ น ที่ ของบุคคลอื่น ๆ มีการ พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกเท่าที่จำเป็น การเข้าถึงใช้ยานพาหนะหรืออุปกรณ์ที่ใช้เครื่องยนต์ได้ ธรรมชาติดัดแปลงหรือพื้นที่ - พื้นที่ยังคงมีสภาพเป็นธรรมชาติแต่มีการดัดแปลงหรื อเปลี่ยนแปลงแบบเลียนแบบธรรมชาติอย่าง ค่อนข้างพัฒนา (RN) เห็ น ได้ชัด เจน แต่ก็ก ลมกลืน กับ สภาพแวดล้ อมธรรมชาติ มี การพัฒ นาสิ่งอำนวยความสะดวก ปานกลาง การพบเห็นและได้ยินเสียงจากบุคคลอื่นอยู่ในระดับค่อนข้างสูง สามารถเข้าถึงโดยใช้ พาหนะหรืออุปกรณ์เครื่องยนต์ได้เกือบทุกประเภท ชนบทหรือพื้นที่พัฒนา - สภาพพื้น ที่ มีการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติอย่างเห็น ได้ชัดเจนเพื่อขยายโอกาสด้านนัน ทนาการให้ ในเขตธรรมชาติ (R) มากขึ้น รวมถึงเพื่อป้องกันผลกระทบจากการท่องเที่ยวที่ มีต่อ พืช ดิน และน้ำ การพบเห็นและได้ ยินเสียงจากบุคคลอื่นเป็นเรื่องปกติ และโอกาสพบปะบุคคลอื่นๆ มีปานกลางถึงสูง มีสิ่ งอำนวย ความสะดวกสำหรับคนหมู่มาก สามารถใช้พาหนะหรืออุปกรณ์เครื่องยนต์ได้ทุกประเภท เมือง (U) - สภาพแวดล้อมเมือง มักมีการตกแต่งและประดับประดาพื้นที่ด้วยไม้ต่างถิ่นส่วนใหญ่จะได้ยินเสียง จากมนุษ ย์ และเครื่องยนต์ต่ าง ๆ โอกาสพบปะบุ คคลอื่น ๆ มีสู งมาก สิ่ ง อำนวยความสะดวก ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการใช้ประโยชน์สำหรับคนหมู่มาก ให้ความสะดวกและสบาย มีพาหนะ โดยสารประจำทาง และสามารถใช้พาหนะหรืออุปกรณ์เครื่องยนต์ได้ทุกประเภท ที่มา : ดรรชนีและคณะ (2562) ตารางที่ 4.6.1-5 เกณฑ์มาตรฐานขนาดเนื้อที่ประกอบกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรม พื้นที่พัฒนา พื้นที่กึ่งธรรมชาติ พื้นที่ธรรมชาติสูง ดำน้ำตื้น 3x4 ตร.ม./คน และพื้นที่ว่าง (open space at least 50%) หรือ 100 ตร.ม/คน นอนอาบแดดชายหาด 14 ตร.ม./คน 18.6 ตร.ม./คน 30 ตร.ม./คน (เฉลี่ย 5 ตร.ม./คน) 1/ ว่ายน้ำ 10 ตร.ม./คน 15 ตร.ม./คน 20 ตร.ม./คน กางเต็นท์พักแรม 10x10 ตร.ม./เต็นท์ 12x12 ตร.ม./เต็นท์ 15x15 ตร.ม./เต็นท์ (เต็นท์ 3 คน) 2/ กางเต็นท์พักแรม ระยะห่างระหว่าง ระยะห่างระหว่าง ระยะห่างระหว่าง (เต็นท์ 3 คน) 3/ เต็นท์ 10-15 เมตร เต็นท์ 16-30 เมตร เต็นท์ 30 เมตรขึ้นไป หมายเหตุ : 1/ Texas Comprehensive Outdoor Recreation Plan, Vol. 5 Section 14.4 Comprehensive Plan for Wisconsin, Outdoor Recreation, P. G-8 2/ Bureau of Land Management 3/ National Recreation and Park Association, Bulletin No. 16, Pp. 12-18 กรมทางหลวงชนบท 4-236 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.6.1-6 มาตรฐานการใช้พื้นที่ชายหาด ขนาดมาตรฐานพื้นที่ (ตารางเมตร/คน) ประเภทของชายหาด Bovy & Lawson Silva et al (1998) 2 (2007) ชายหาดสาธารณะใกล้เมือง 5 15 ชายหาดสาธารณะนอกเมืองที่มีระดับการใช้ประโยชน์ค่อนข้างเข้มข้น 8 30 ชายหาดรีสอร์ทมาตรฐานน้อย 1-2 ดาว/ใช้ประโยชน์หนาแน่นปานกลาง 10 - ชายหาดรีสอร์ทมาตรฐานปานกลาง 3-4 ดาว/ใช้ประโยชน์ไม่หนาแน่น 20 - ชายหาดรีสอร์ทมาตรฐานสูง >5 ดาว มีความเป็นส่วนตัวสูง 30 ชายหาดพื้นที่อนุรักษ์เพื่อพักผ่อนอย่างสงบและการเรียนรู้ 50 (3) การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable tourism) การท่องเที่ยวแบบยั่งยืนหรือ Sustainable Tourism จัดว่าเป็นแนวคิดการพัฒนาและบริหาร จัดการการท่องเที่ยวของโลกยุคปัจจุบั นและเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ อันเนื่องมาจากรายงานของ World Commission on Environment and Development หรือเรียกโดยย่อว่า Bruntland Report on Our Common Future เมื่อปี ค.ศ. 1987 ซึ่ งระบุ ว่า สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติของโลกมี อย่างจำกัด ดังนั้น มนุษ ย์ จำเป็นต้องใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างชาญฉลาดป้ องกัน ไม่ให้เกิดการสูญ เสียหรื อ ก่อให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด เพื่อให้การใช้ประโยชน์เป็นไปอย่างยั่งยืน ยาวนาน ไม่เฉพาะสำหรับ ประชาชนใน ยุคนี้ แต่รวมถึงให้ลูกหลานในอนาคตได้มีโอกาสได้ใช้ประโยชน์ด้วยเช่นกัน ดังนั้น การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนจึงกลายเป็นแนวคิดสากลที่ได้รับการยอมรับจาก ทุกประเทศ องค์การสหประชาชาติ องค์การสากลที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ และองค์การด้านการท่องเที่ยวระดับโลก และระดับภูมิภาคต่าง ๆ องค์การการท่องเที่ยวโลก หรือ World Tourism Organization ได้ให้ความหมายของ การท่ องเที่ ยวแบบยั่ งยืน ว่าเป็ นการท่ องเที่ ยวที่สนองตอบความต้ องการของนักท่องเที่ย วและผู้เจ้าของแหล่ ง ท่องเที่ ยว โดยเน้ นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อให้ สามารถรักษาความมั่น คงของระบบนิเวศ ตลอดจน วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน เพื่อประโยชน์ทั้งในปัจจุบันและอนาคต (WTO, 1997)3 ลักษณะสำคัญของการ ท่องเที่ ยวอย่างยั่งยืน คือ เป็ นการท่ องเที่ ยวที่ ส มดุ ลกับ สิ่งแวดล้อม เป็ น การท่ องเที่ ย วที่ ยังคงเอกลั กษณ์ ด้ าน วัฒนธรรม เป็นการท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนัก ท่องเที่ยวหน้าใหม่และหน้าเก่า เป็นแหล่งท่องเที่ ยวที่สามารถ แข่งขันกับแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ๆ ได้ ซึ่งองค์การการท่องเที่ยวโลก ยังได้กำหนดกรอบหลักการในการพัฒนาและ บริหารจัดการการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนไว้ 7 ประการ ดังนี้ (WTO, 1997) - การพั ฒ นาและบริห ารจัด การต้ องอยู่ ภ ายใต้ ขีด ความสามารถการรองรับ ได้ ( carrying capacity) ทั้งทางกายภาพ ชีวภาพ และสังคม/วัฒนธรรม ซึ่งเป็นทรัพยากรฐาน และถ้าจำเป็นก็จะต้องมีการฟื้นฟู หรือทดแทน รวมทั้งควบคุมระบบของธรรมชาติให้สามารถผลิตและให้บริการต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน - ต้องตระหนั กถึงความต้ องการของชุ มชนท้องถิ่น เปิ ด โอกาสให้ มีส่ วนร่วมและกระจาย ประโยชน์สู่ท้องถิ่นอย่างเป็นธรรม กิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวหรือนัน ทนาการที่จัดขึ้น ต้องเน้น ประสบการณ์ที่มีคุณค่าต่อผู้มาเยือน 2 Bovy-Baud, Manuel B. and F. R. Lawson. 1998. Tourism and recreation handbook of planning and design. Architectural Press, U.S.A. 3 World Tourism Organization. 1997. International Tourism: a global perspective. 2nd edition. WTO, Spain. กรมทางหลวงชนบท 4-237 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ให้ผู้มาเยือน หรือนักท่องเที่ยวได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับ พื้นที่ ทรัพยากร และวิถีชีวิต ของคนท้องถิ่น เน้นการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกที่สะท้อน หรือกลมกลืนกับธรรมชาติหรือสถาปัตยกรรม ท้องถิ่น และพยายามใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น - พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามตรวจสอบและตัดสินใจ การจัดการการท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดความยั่งยืนนั้นมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ประการ คือ คุณภาพ ความต่อเนื่ อง และความสมดุล โดยมุ่งไปสู่เป้ าหมายพื้นฐาน 3 ประการ คือ ด้านสิ่ งแวดล้อม ด้านประสบการณ์ ท่องเที่ย วที่มีคุณ ค่า และคุณ ภาพชี วิต ที่ดีของประชาชนทั้ง ด้า นสัง คมและเศรษฐกิจ โดยกระตุ้น ให้เกิด การ มีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่นและการกระจายประโยชน์อย่างเป็นธรรมในสังคม (รูปที่ 4.6.1-2) คุณภาพที่ดีของสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากร การท่องเที่ยวแบบ ยั่งยืน (ST) ประสบการณ์ท่องเที่ยว คุณภาพชีวิตที่ดีของ ที่มีคุณภาพ ประชาชนท้องถิ่นและ การมีส่วนร่วม รูปที่ 4.6.1-2 ความสัมพันธ์ของเป้าหมายหลัก 3 ประการของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน สำหรับแหล่งท่องเที่ยวได้มีการกำหนดประเด็นและตัวอย่างปัจจัยชี้วัดการจัดการที่ได้มาตรฐาน ความยั่งยืนไว้ ดังนี้ - ความสามารถขององค์กรที่รับผิดชอบจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวในการดูแลรักษาและ ปกป้องทรัพยากรท่องเที่ยวให้มีความยั่งยืน ปัจจัยที่ใช้ในการประเมินในระดับท้องถิ่น ได้แก่ งบประมาณของ องค์กรท้องถิ่น บุคลากรทั้งจำนวนและคุณภาพของบุคลากรในการจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ เวลาที่จัดสรรให้ได้ในภาระกิจดูแลรักษาทรัพยากรท่องเที่ยว และความสนใจขององค์กรท้องถิ่น ซึ่งแสดงให้เห็นได้ จากพันธกิจขององค์กรที่มีระบุชัดเจนและรับรองด้วยกฎหมายหรือความเห็นชอบของคนในชุมชนท้องถิ่นนั้น ๆ - ผลการดำเนินการในการจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวขององค์กรท้องถิ่นเพื่อรักษาคุณภาพ ของทรัพ ยากรท่องเที่ย ว ปัจ จัย ที่ใช้ในการประเมิน ผล เช่น การดูแลรักษาความสะอาดของแหล่งท่องเที่ย ว การดูแลบำรุงรักษาสิ่งอำนวยความสะดวกให้อยู่ในสภาพการใช้งานได้และไม่ทรุดโทรม ความหลากหลายของชนิด พันธุ์พืชและสัตว์ในแหล่งท่องเที่ยว เป็นต้น - การวางแผนการพั ฒนาการท่ องเที่ยวอย่ างยั่งยื น ปั จจั ยชี้วั ด ได้ แก่ องค์กรท้ องถิ่นมี แผน การพัฒนาที่มีเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องตอบสนองต่อหลักการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนหรือไม่ และในแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวดัง กล่าวมีกิจกรรมการดำเนินงานที่มีความเป็นไปได้ มีความชัดเจนในการ ตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในท้องถิ่นนั้น กรมทางหลวงชนบท 4-238 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - การออกแบบสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ มีความสอดคล้องกลมกลืน กับธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยเน้นการใช้วัสดุจากธรรมชาติในท้องถิ่นที่ไม่ก่อให้เกิดการทำลายสิ่งแวดล้อม ตามมา และวัสดุที่ไม่ได้มาจากพืชและสัตว์สงวนที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรืออยู่ภายใต้ภัยคุกคาม เช่น ไม่ นำไม้ที่ลักลอบ ตัดออกมาจากพื้นที่อนุรักษ์มาใช้ในการก่อสร้าง หรือไม่ตกแต่งสถานที่ด้วยหนังเสือที่ลักลอบล่าจากป่า เป็นต้น - การแลกเปลี่ยนข้อมูล ทักษะ และความรู้ต่าง ๆ ในการจัดการการท่องเที่ยว ระหว่างท้องถิ่น ด้วยกันเอง และระหว่างท้องถิ่นกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อปรับปรุงการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว ให้มปี ระสิทธิภาพดียั่งขึ้น - การฝึ กอบรมและเพิ่ม พู นความรู้ จิ ตสำนึ กของคนในท้องถิ่นในการอนุ รักษ์ สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรการท่องเที่ยว ตัวชี้วัดที่สำคัญ คือ (1) การเข้าร่วมรับการฝึกอบรม ดูงานเพื่อเพิ่มพูนความรู้ และ (2) ระดับทักษะความรู้ความสามารถต่าง ๆ ของประชาชนท้องถิ่นในการจัดการการท่องเที่ยวที่เพิ่มพูนขึ้น - การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยเฉพาะประชาชนในท้องถิ่น ปัจจัยชี้วัด เช่นสัดส่วน ของประชาชนท้องถิ่นที่เข้าร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวของท้ องถิ่น ลักษณะการมีส่วนร่วมของประชาชน ท้องถิ่น ความถี่ของการมีส่วนร่วม ความคิดเห็นและความเต็มใจของประชาชนท้องถิ่นต่อการท่องเที่ยว เป็นต้น - ผลความคืบหน้าในการจัดการการท่องเที่ยว ปัจจัยชี้วัด คือ มีการประเมินผลการจัดการ ทรัพยากรการท่องเที่ยวหรือไม่ หัวข้อหรือประเด็นการประเมินสอดคล้องและครอบคลุมกับเป้าหมายหรือประเด็น ในการคุ้มครองรักษาทรัพยากรท่องเที่ยวให้คงอยู่ อย่างยั่งยืนไม่เสื่อมโทรม ความถี่ และความสม่ำเสมอของการ ประเมินผล - พันธมิตรในการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปัจจัยชี้วัด คือ มีเครือข่ายสนับสนุนหรือความร่วมมือใน การจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน หรือไม่ เช่น กลุ่มผู้ประกอบการที่สนับสนุนและมีพันธสัญญา ในการใช้ทรัพยากรท่องเที่ยวอย่างระมัดระวังและช่วยองค์กรท้องถิ่นประเมินติดตามสถานภาพของทรัพยากร ท่องเที่ยว เป็นต้น (4) การประเมินขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยว ดรรชนีและคณะ (2562) ได้อธิบายขีดความสามารถในการรองรับทางการท่องเที่ยวด้านกายภาพ (PCC) หมายถึง จำนวนนักท่องเที่ยวสูงสุดต่อช่วงเวลาที่ขนาดพื้นที่สามารถรองรับการใช้ประโยชน์ โดยยังสามารถ เอื้อให้เกิดกิจกรรมท่องเที่ยวตามต้องการได้ ซึ่งแปรผันไปตามลักษณะของกิจกรรมประเภทของแหล่งท่องเที่ยว และช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ ก) ขีดความสามารถรองรับด้านกายภาพ พิจารณาจากขนาดเนื้อที่ซึ่งสามารถรองรับ การประกอบกิจ กรรมของนักท่องเที่ย วได้ โดยกำหนดเป็นค่าสูงสุดที่พื้นที่สามารถรองรับการใช้ประโยชน์กิจกรรมชายหาด ได้แก่ นั่งเล่นอาบแดด เดินเล่น เล่นน้ำ เป็นต้น และกิจกรรมดำน้ำตื้น ภายใต้ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการที่เหมาะสมกับประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยว ต้องการ โดยผลการประเมินขีดความสามารถสูงสุด ด้านกายภาพในภาพรวมของเกาะลันตาใหญ่เท่ากับ 16,077 คนต่ อช่ ว งเวลา และ 55,700 คนต่ อวั น โดยหาดที่ ส ามารถรองรับ นั กท่ องเที่ ย วมากที่ สุ ด คือ หาดคลองโขง รองลงมา คือ หาดคลองดาวและหาดพระแอะ ตามลำดับ ส่วนเกาะรอกในด้านกายภาพสามารถรองรับนักท่องเที่ยว กิจกรรมชายหาด 946 คนต่อช่วงเวลา และจำนวนเท่ากันกับนักท่องเที่ยวต่อวัน เกาะไหง 2,141 คน ต่อช่วงเวลา และ 6,958 คน/วัน ส่ วนจุ ด ดำน้ ำ ต่ า งๆ บริเวณเกาะรอก รับ ได้ 622 คน ต่ อช่ ว งเวลา และ 7,464 คน/วั น เกาะไหง 255 คน ต่ อช่ วงเวลา และ 2 ,060 คน/วัน และเกาะห้า 120 คน ต่ อช่ วงเวลา และ 1 ,440 คน/วั น (ดรรชนีและคณะ, 2562) กรมทางหลวงชนบท 4-239 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินถึงจำนวนนักท่องเที่ยวว่าสอดคล้องกับค่าขีดความสามารถรองรั บด้านกายภาพ เพื่ อใช้ เป็ น ข้อมู ลในการตัด สิน ใจบริหารจั ดการแหล่งท่ องเที่ ยวนั้น ต้ องดำเนิ น การเก็บ รวบรวมข้อมู ลจำนวน นักท่องเที่ ยวที่เข้าไปประกอบกิจกรรมในแต่ละจุดท่องเที่ ยว ซึ่งกรณี ของหมู่เกาะลันตานั้น การรวบรวมข้อมูล นักท่องเที่ยวควรดำเนินการเป็นรายชั่วโมง เพื่อจะได้สามารถวิเคราะห์ความหนาแน่นของการประกอบกิจกรรมใน แต่ละช่วงเวลา และสามารถกำหนดถึงมาตรการในการกระจายนักท่องเที่ยวให้เหมาะสมในช่วงเวลาที่มีความ หนาแน่นมากกว่าปกติ การดำเนินการใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างและทำการนับจำนวนนักท่องเที่ยวในช่วงต้นชั่วโมง นำมาหาค่าเฉลี่ยจำนวนนักท่องเที่ยวเป็นรายชั่วโมง โดยผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ลักษณะการใช้พื้นที่ชายหาด พบว่ า ส่ วนใหญ่ นั กท่ อ งเที่ ย วจะเพิ่ ม ขึ้ น เรื่อยๆ ในช่ วงเช้ าและจะลดลงหลั งเที่ ย ง อาจเนื่ อ งจากแดดร้อนจั ด นักท่องเที่ยวจะมาใช้ชายหาดเพิ่มขึ้นอีกครั้งในช่วงประมาณบ่ายสามโมงเป็นต้น ไป เมื่อเปรียบเทียบจำนวนคน ที่ไปใช้ชายหาดกับขีดความสามารถสูงสุดและขีดความสามารถที่เหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด พบว่า ไม่มีจุ ด ท่ องเที่ ย วใดเกิ นขี ดความสามารถรองรับทางกายภาพ ยกเว้นจุ ดดำน้ ำเกาะห้ า ในช่ วง 12.00 -13.00 น. ซึ่งเกิ น ขีดความสามารถรองรับที่เหมาะสมไปเล็กน้อย จึงควรมีการกระจายนักท่องเที่ยวไปยังจุดดำน้ำอื่น ๆ ในช่วงเวลานี้ เพื่อลดผลกระทบความแออัดบริเวณจุดดำน้ำเกาะห้า (ดรรชนีและคณะ, 2562) ข) ขีดความสามารถด้านสิ่งอำนวยความสะดวกหรือด้านการจัดการ ดรรชนี และคณะ (2562) ได้ อธิบ ายขีด ความสามารถด้า นสิ่ งอำนวยความสะดวกหรือ ด้านการจัดการ (FCC) หมายถึง จำนวนนักท่องเที่ ยวสูงสุดที่องค์กรรับผิดชอบสามารถสร้างระบบการจัดการ และดำเนินการให้บริการด้านท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยระบบการจัดการต้องมีประสิทธิภาพเพียงพอ ที่ทำให้นักท่องเที่ยวเกิดความพึงพอใจในการมาเยือนและใช้บริการ การประเมิ น ขีด ความสามารถรองรับ ด้ านสิ่งอำนวยความสะดวก ( FCC) พิ จารณาจาก ความเพียงพอของสิ่งอำนวยความสะดวกว่าสามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้กี่คนในช่วงเวลาเดียวกัน โดยวิเคราะห์ สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนักท่องเที่ยว ได้แก่ ที่พัก ร้านอาหาร ห้องสุขา และที่จอดรถ รวมถึง ทุ่นจอดเรือในกรณีที่มีการสัญจรทางน้ำ หากจำนวนผู้ใช้ประโยชน์เกินจำนวนสิ่งอำนวยความสะดวกที่ จัดไว้ให้ นักจัดการแหล่งนันทนาการจำเป็นต้องพิจารณาว่าควรเพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวกหรือไม่ อย่างไร หรือควรบริหาร จัดการสิ่งอำนวยความสะดวกเดิมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น หรือกระจายนักท่องเที่ยวไปใช้สิ่งอำนวยความสะดวก ณ จุดอื่น ๆ เป็นต้น โดยผลการประเมินที่พักบนเกาะลั นตาใหญ่ รองรับได้ 12,240 คน/คืน ที่จอดรถสาธารณะ มีจำนวนค่อนข้างจำกัดรองรับได้ 275 คันต่อช่วงเวลา โดยส่วนใหญ่ที่จอดรถสาธารณะคือสองข้างถนนเส้นหลัก ส่วนในโรงแรมจะมีที่จอดรถสำหรับแขกของโรงแรมเท่ านั้น ห้องสุขาสาธารณะสามารถรองรับได้ประมาณ 442 คน/ชั่วโมง ที่พักบนเกาะรอกสามารถรองรับได้ 48 คน/คืน แต่ปัจจุบั นงดการให้บริการชั่วคราวตามนโยบายของ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส่วนร้านอาหารบนเกาะรอกเป็นร้ านสวัสดิการรองรับนักท่องเที่ยว 66 คน/ช่วงเวลา แต่ส่วนใหญ่ผู้ประกอบการทัวร์จะเตรียมอาหารกลางวันมาเองให้กับนักท่องเที่ยวที่ไปกับบริษัท ของตน โดยใช้ ส ถานที่ นั่ งรับ ประทานอาหารที่ ท างอุ ท ยานฯ เตรียมไว้ ให้ เกาะรอกมี ห้องสุ ขาค่อนข้างจำกัด สำหรับชาย 5 ห้อง และหญิง 5 ห้ อง เกาะไหงที่พักรองรับได้ 864 คน/คืน ร้านอาหารส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในโรงแรม รองรับได้ประมาณ 1,065 คน/ช่วงเวลา ไม่พบห้องน้ำสาธารณะบนเกาะไหง ทุ่นจอดเรือพบว่าบริ เวณเกาะรอก มีมากที่สุด 37 ทุ่น เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีเรือเข้า -ออก นำนักท่องเที่ยวมาประกอบกิจกรรมชายหาดที่เกาะรอก เป็ น จำนวนมาก รวมถึงมี จุด ดำน้ ำถึง 3 แห่ ง กระจายบริเวณเกาะรอก ส่ วนใหญ่ เป็ น ทุ่ น ขนาดเล็ ก (23 ทุ่ น ) รองลงมาคือ ทุ่นขนาดกลาง (10 ทุ่น) ส่วนเกาะไหงในบริเวณจุด ดำน้ำมีทุ่นจอดเรือรวม 11 ทุ่น ส่วนเกาะห้ า มี 4 ทุ่น สำหรับผูกเรือที่พานักท่องเที่ยวไปประกอบกิจกรรมดำน้ำ (ดรรชนีและคณะ, 2562) กรมทางหลวงชนบท 4-240 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม จากการศึกษาเปรียบเทียบจำนวนผู้ใช้สง ิ่ อำนวยความสะดวกกับค่าขีดความสามารถรองรับ ของสิ่งอำนวยความสะดวกทั้ง 4 ประเภท พบว่า สิ่งอำนวยความสะดวกประเภทที่พักบนเกาะลันตาใหญ่มีผู้เข้าพัก ค้ างคื น ประมาณ 11,387 คน/คืน จากตั วเลขดั งกล่ าว แสดงถึงแนวโน้ ม ที่ พั กบนเกาะลั น ตาอาจไม่ เพี ย งพอ ในอนาคต อย่างไรก็ดี มีข้อสังเกตว่ายังมีที่พักซึ่งไม่ได้รับการสำรวจอีกมาก เนื่องจากไม่ได้มีรายชื่ออยู่ในทะเบียน ธุรกิจที่พักและโรงแรม ห้องสุขาสาธารณะพบว่ามีปัญ หาไม่เพียงพอ โดยเฉพาะที่หาดพระแอะในช่วงเวลาเย็น เนื่องจากมีนักท่องเที่ย วกลับ จากไปท่องเที่ย วเกาะมาขึ้น ฝั่งที่นี่และต้องการใช้ห้องน้ ำห้องสุขา โดยมีจำนวน รองรับ ได้ 12 คน/ชั่วโมง ทำให้ต้องใช้เวลารอคิวห้องน้ำอยู่ บ้าง สำหรับที่จอดรถเป็นปัญหาบนเกาะลันตาใหญ่ เนื่องจากพื้นที่มีจำกัด โดยเฉพาะชุมชนศาลาด่าน พระแอะ คลองนินและหาดบากันเตียง ส่วนเกาะรอก พบว่า มีปัญหาสิ่งอำนวยความสะดวกประเภทห้องน้ำมากที่สุด โดยในช่วง 11.00-14.00 น. มีห้องน้ำไม่เพียงพอ การรอ ต่อคิวประมาณ 5 นาที เนื่องจากฤดูกาลที่ผ่านมาห้องน้ำชำรุดเพราะต้นไม้ล้มทับห้องน้ำเสียหายใช้การไม่ได้ 1 ชุด 6 ห้อง ส่วนร้านอาหารพบว่าไม่มีปัญหาเรื่องเกินขีดความสามารถรองรับฯ แต่อย่างใด (ดรรชนีและคณะ, 2562) ค) ขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยวด้านสังคมวัฒนธรรม ดรรชนีและคณะ (2562) ได้อธิบายขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยวด้านสังคม วัฒนธรรม หมายถึง จำนวนนักท่องเที่ยวสูงสุดต่อช่วงเวลาที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อสังคมและวัฒนธรรม ของชุมชนท้องถิ่นในแหล่งท่องเที่ยวจนชุมชนเกิดความรู้สึกอึด อัดและส่งผลกระทบต่อวิถีชี วิตความเป็นอยู่ของ คนในชุมชน หรือระดับของผลกระทบจากการท่องเที่ยวสูงสุดที่ชุมชนยอมรับให้เกิดขึ้นได้กับชุมชน วิธีการประเมินกำหนดให้ชุมชนเป้าหมายในการติดตามผลกระทบด้านสังคมวัฒนธรรม ได้แก่ ชุมชนที่ตั้งอยู่บริเวณติ ดชายทะเลหาดคลองพะแอะ ศาลาด่าน หาดคลองดาว หาดคลองนิน และชุมชนที่ เน้นการท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต ได้แก่ บ้านทุ่งหยีเพ็ง และศรีรายา โดยเก็บข้อมูลในระดับครัวเรือน สุ่มตัวอย่างแบบ โควตาอย่างน้อย 400 ตัวอย่าง โดยผลการวิเคราะห์ข้อมู ลความคิดเห็นของตัวแทนครัวเรือนเป็ นสิ่งที่ช่วยบ่งชี้ ถึงผลกระทบทางการท่องเที่ยวทางด้านสังคม วัฒนธรรม ซึ่งชุมชนท้องถิ่นส่วนใหญ่มีความคิดเห็นทั้งเชิงบวกและ เชิ งลบกับ การท่ องเที่ ยว ซึ่งความคิดเห็ นในเชิงบวกที่มี ค่าสูงสุด คือ ประเด็ นด้ านความภาคภูมิใจ พบว่ากลุ่ ม ตัวอย่างรับรู้เชิงบวกในทุกด้านโดยเฉพาะความภาคภูมิใจในทรัพยากร รองลงมาคือ ความภาคภูมิใจในวิถีชีวิตและ ความภาคภูมิใจในตนเอง ตามลำดับ รองลงมา คือ นักท่องเที่ย วที่เข้ามาทำให้มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรีย นรู้ วัฒนธรรมซึ่งกันและกัน ช่วยสนับสนุนการสร้างสัมพันธ์ที่ดีในครัวเรือน การท่องเที่ยวมีผลโดยตรงต่อรายได้ และ การมีนักท่องเที่ยวเข้ามาในชุมชน ทำให้เยาวชนในชุมชนได้พัฒนาทักษะทางด้านภาษา (ดรรชนีและคณะ, 2562) ผลกระทบด้านลบทางการท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะลันตา เมื่อพิจารณารายละเอียดของผลการ ศึกษา พบว่าเรื่องสิ่งแวดล้อมประเด็น สำคัญคือ ปริมาณขยะและการจัดการขยะ เป็นเรื่องที่ชุมชนท้องถิ่นสะท้อน ข้อ มู ล ผลกระทบด้ า นลบมากที่ สุ ด ด้ านสั ง คม คื อ อุ บั ติ เหตุ การซื้ อ ขายยาเสพติ ด การลั กขโมย การจี้ ป ล้ น ผลกระทบจากแรงงานต่า งด้ าว พฤติ กรรมและค่านิ ย มของเยาวชน ตามลำดั บ ส่ วนด้ านเศรษฐกิจส่ วนใหญ่ มีผลกระทบด้านลบน้อยมาก โดยมีความกังวลเรื่อ งราคาสินค้าและบริการ แต่ส่วนใหญ่เป็นผลกระทบทางบวก ซึ่งผลกระทบเหล่านี้ ควรดำเนินการแก้ไขอย่างเป็นระบบด้วยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน (ดรรชนีและคณะ, 2562) การก่อสร้างสถานที่พักเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอน การขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรมในพื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การจดทะเบียนประกอบธุรกิจโรงแรม ต้องดำเนิ นการตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กฎหมายว่าด้ วยสิ่งแวดล้ อม กฎหมายว่าด้วยควบคุมอาคาร กฎหมายว่าดัวยผังเมือง และกฎหมายอื่น ๆ โดยมีขั้นตอนการขออนุญาตก่อสร้างฯ ดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-241 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ก) ผู้ขออนุญาตนำโฉนดที่ดิน มาขอตรวจสอบข้อกำหนดต่าง ๆ ตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง กับสำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ ได้แก่ - กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้ ามก่อสร้าง ดั ด แปลง หรือเปลี่ ย นการใช้อาคาร บางชนิ ด หรือบางประเภท ในพื้ น ที่ บ างส่ ว นในท้ องที่ อำเภอเกาะลัน ตา อำเภอคลองท่ อม อำเภอเมื องกระบี่ อำเภอเหนือคลอง และอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 - กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้ ามก่อสร้าง ดั ด แปลง หรือเปลี่ ย นการใช้อาคาร บางชนิด หรือบางประเภท ในพื้นที่บางส่ วนในท้องที่อำเภอเกาะลันตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ พ.ศ. 2557 - กฎกระทรวงให้ ใช้บั งคับ ผั ง เมื องรวมชุ ม ชนเกาะลัน ตาใหญ่ - เกาะลั น ตาน้ อ ย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 - กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 - ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่ และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 - ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจ การ หรือการดำเนิ น การ ซึ่ง ต้ องจั ดทำรายงานการประเมิ น ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมและหลั กเกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ประกาศในราชกิ จจานุเบกษา เล่มที่ 136 ตอนพิ เศษ 3 ง วัน ที่ 4 มกราคม 2562) ดังเอกสารท้ ายประกาศ 6 ขั้น ตอนในการเสนอรายงานการประเมิ น ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ข) ในกรณี ที่สำนั กโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ พิจ ารณาตรวจสอบโฉนดที่ ดิน แล้วว่าไม่ขัดต่อกฎหมายใด ๆ ให้ผู้ขออนุญาตฯ จัดส่งเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ได้แก่ โฉนดที่ดิน แบบแปลนแผนผัง พร้อมรายการประกอบแบบแปลนแผนผังอาคารโรงแรมที่วิศวกรและสถาปนิก ผู้ได้รับอนุญาตตามกฎหมายลงชื่อ รับรอง แผนที่แสดงบริเวณและสถานที่ตั้งของโรงแรมและสถานที่ใกล้เคียง รวมทั้งหลักฐานแสดงความเป็นเจ้าของ อาคารหรือสถานที่ที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรมหรือหน้งสือยินยอมให้ใช้อาคารหรือสถานที่ที่ขออนุญาตประกอบ กิจการพาณิชย์ในกรณีที่อาคารหรือสถานที่นั้นเป็นของผู้อื่น ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ที่ขออนุญาต พิจารณาตรวจสอบ (ค) องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น จั ดส่ งหนั งสื อและเอกสารหลั กฐานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง ในการขออนุญาตให้สำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่พิจารณา เพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม จะเห็นได้ว่าการพัฒนาพื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เพื่อรองรับการท่องเที่ยวนั้น มีกฎหมายต่าง ๆ ควบคุมการใช้ ที่ดินในพื้นที่เกาะลันตา เพื่อป้องกันผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากรและเป็นการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมในด้าน ต่าง ๆ หากมีการก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะ ลันตา จังหวัดกระบี่ จะเป็นการเชื่อมต่อโครงข่ายคมนาคมในพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพจะเป็นสิ่งอำนวยความสะดวก ต่อการเดินทางและมีความปลอดภัยยิ่งขึ้น ประชาชนและนักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงสถานที่ที่ ต้องการได้ง่ายขึ้น แต่ทั้งนี้การพัฒนาโครงการดังกล่าว ไม่ไ ด้เป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้ นที่ เนื่องจากในพื้นที่เกาะลันตามีกฏหมายควบคุมการใช้ที่ดินอยู่แล้ว ประกอบกับการก่อสร้างสถานที่พักหรือสิ่งอำนวย ความสะดวกต่าง ๆ จะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนและกฎระเบียบเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม กรมทางหลวงชนบท 4-242 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สรุป ในอนาคตการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่เกาะลันตา คาดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง แบบค่อยเป็นค่อยไปตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม โดยมีปัจจัยหลักขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เช่น การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวของเมือง การเจริญเติ บโตทาง ภาคอุตสาหกรรม และความ ต้องการอาหาร/สินค้าการเกษตรที่มากขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดังนั้น หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องมีการบูรณาการวางแผนการจัดการทรัพยากรและการจัด สรรการใช้ ประโยชน์ที่ดินร่วมกัน ตามนโยบายการใช้ที่ดินที่เหมาะสมต่อไป 4.6.2 การคมนาคมขนส่ง 1) กรณีไม่มีโครงการ โครงข่ายและสภาพการคมนาคมขนส่ง เส้นทางเชื่อมเกาะลันตามีแนวเส้นทางเชื่อมในแนวเหนือ -ใต้ โดยมีจุดเริ่มต้นโครงการบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน (เกาะลันตา) และจุดสิ้นสุดโครงการบริเวณท่าเรือบ้านคลองหมาก เกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นการเปิดเส้นทางแนวใหม่ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาการเดินทาง จากแผ่ น ดิ น ไปยั ง เกาะลั น ตา ทั้ ง ยั ง จะเป็ น การช่ ว ยเพิ่ ม ศั ก ยภาพในการพั ฒ นาพื้ น ที่ ขึ้ น เพื่ อ รองรับ ปริม าณ นักท่องเที่ยวและการเดินทางที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยในปัจจุบันหากพิจารณาโครงข่ายคมนาคมขนส่งในพื้นที่ อิทธิพลจะประกอบด้วยแนวเส้นทางหลัก ได้แก่ • ทางหลวงหมายเลข 4206 มีเส้นทางเริ่มตั้งแต่สามแยกห้วยน้ำขาว (0+000) ไปทางตะวันตก โดยมีจุดเชื่อมต่อกับโครงข่ายถนนสายต่างๆ อาทิ ถนนเพชรเกษม ทางหลวงชนบท กบ.4023 และถนนสายย่อย อื่นๆ โดยทางหลวงหมายเลข 4206 เป็นถนนทางหลักเพื่อใช้ในการเดินทางสู่เกาะลันตาและมีจุดสิ้นสุดอยู่ที่ท่าเรือ บ้านหัวหิน (เกาะลันตา) (27+094) มีขนาด 4 ช่องจราจรไป-กลับ รวมระยะทาง 27.094 กิโลเมตร • ทางหลวงชนบท กบ.4245 มีเส้นทางเริ่มต้นที่บ้านศาลาด่านไปทางทิ ศใต้ โดยมีจุดเชื่อมโยงกับ สถานที่ท่องเที่ย วบนเกาะลัน ตามากมาย อาทิ หาดคลองดาว หาดพระแอะ หาดคลองหิน หาดบากัน เตีย ง หาดคลองจาก โดยทางหลวงชนบท กบ.4245 เป็นถนนหลักเพื่อใช้ในการเดินทางภายในเกาะลันตาใหญ่ และ มีจุดสิ้นสุดอยู่ที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา ปัจจุบันมีขนาด 4 ช่องจราจรไป-กลับระยะทาง 26 กิโลเมตร • ทางหลวงชนบท กบ.5036 มีเส้นทางเริ่ มต้นที่แยกทางหลวงชนบท กบ.6022 (กม. 4+500) ไปทางทิศ ใต้ เป็นเส้นทางที่ใช้เดินทางบนเกาะลันตาน้อย และมีจุดสิ้น สุดอยู่ที่ท่า เทียบแพหลังสอด ปัจ จุบัน มีขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ประมาณระยะทาง 3 กิโลเมตร • ทางหลวงชนบท กบ.6019 มีเส้น ทางเริ่ม ต้น ที่จุด ตั ด ทางแยกทางหลวงชนทบ กบ.6022 โดยทางหลวงชนบท กบ.4245 เป็นถนนที่ใช้ในการเดินทางภายในเกาะลันตาน้อย ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงการเดินทาง ไปถึงท่าเรือบ้านโล๊ะใหญ่ที่เป็นจุดสิ้นสุดเส้นทาง ปัจจุบันมีขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ระยะทาง 9 กิโลเมตร • ทางหลวงชนบท กบ.6022 มีเส้นทางเริ่มต้นที่ท่าเรือบ้านคลองหมากไปทางทิศตะวันตก โดยมี จุดเชื่อมโยงกับทางหลวงชนบท กบ.5036 โดยทางหลวงชนบท กบ.6022 เป็นถนนหลักเพื่อใช้ในการเดินทาง ภายในเกาะลันตาน้อย และมีจุดสิ้นสุดอยู่ที่บ้านหลังสอด ปัจจุบันมีขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ระยะทาง 8 กิโลเมตร ปัจจุบันการเดินทางไปเกาะลันตาจะต้องเดินทางผ่านทางหลวงหมายเลข 4206 สู่บ้านหัวหิน ซึ่งเป็น จุดลงแพขนานยนต์ไปยังเกาะลันตาใหญ่ โดยจะต้องลงแพขนานยนต์ คือ บ้านหัวหิน-เกาะลันตาน้อย และใช้สะพาน สิริลันตาซึ่งเปิดให้ประชาชนใช้ตั้งแต่วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ข้ามไปยังเกาะลันตาใหญ่ จึงจะถึงตัวเมือง ย่านชุมชนและการค้า และชายหาดต่างๆ จนไปสุดถนนที่ท้ายเกาะบริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา ซึ่งการใช้แพขนานยนต์ในการข้ามจากบ้านหัวหินไปเกาะลันตาน้อยในปัจจุบันนั้น มีระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร กรมทางหลวงชนบท 4-243 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม แต่เนื่องจากแพขนานยนต์สามารถบรรทุกรถได้ประมาณ 60 คันต่อเที่ยว ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการ ใช้เวลา ในการเดินทาง 1-2 ชั่วโมง ทำให้เกิดรถติดสะสมยาวหลายกิโลเมตร โดยเฉพาะช่ วงฤดูการท่องเที่ยวตั้งแต่ เดือน ธันวาคมถึงเดือนพฤษภาคม นอกจากนี้ แพขนานยนต์ดังกล่าวให้บริการเฉพาะช่วงเวลา 06.00-22.00 น. เท่านั้น ความถี่ในการให้บริการส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับปริมาณผู้ใช้บริการเมื่อมีผู้ใช้บริการแพขนานยนต์เต็มแพผู้ให้บริการ แพขนานยนต์จะออกจากท่าทั นที หรือถ้านอกเวลาเร่ง ด่ วน ความถี่ในการให้บริการอยู่ที่ 2 ชั่วโมงต่อหนึ่งลำ กรณี ผู้ ใช้บ ริก ารเกิดกรณี ฉุกเฉิน กลางคืน มีคนป่ วย หรือเกิด เหตุเร่งด่วนที่ต้ องการเดิน ทางไปยังแผ่น ดิน ใหญ่ จะต้องเหมาแพขนานยนต์เที่ ยวละ 2,500 บาท อัต ราค่าโดยสารแพขนานยนต์ จะแบ่ งออกตามประเภทของ พาหนะที่ใช้บ ริการ ซึ่งมีค่าบริการที่แตกต่างกันออกไป หากไมมีการพัฒนาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลัน ตาน้ อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การคมนาคมขนส่งในพื้ นที่คาดว่า จะไม่แตกต่างไปจากสภาพเดิม 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ก) ผลกระทบดานการเพิ่มขึ้นของปริมาณจราจรจากยานพาหนะในการขนสงของโครงการ การดำเนินกิจกรรมก่อสร้ างของโครงการ จะมีการขนสงเครื่องจักร อุปกรณกอสราง วัสดุก อสราง และคนงาน ของโครงการเขาสูพื้นที่กอสรางโครงการ โดยใชรถบรรทุกหรือรถบรรทุกพวง ทําใหปริมาณจราจรบนถนนสายตางๆ ในพื้น ที่โครงการเพิ่ม ขึ้น ในการประเมิน ผลกระทบด้ า นการคมนาคมขนส่ง จากการดำเนิน โครงการในระยะ ก่อสร้างจะทำการพิจารณาเปรียบเทียบในรูปของค่าปริมาณจราจรต่อความจุ ( V/C Ratio) เพื่อประเมินผลกระทบ ของโครงการต่อสภาพการคมนาคมบริเ วณใกล้เคียง จากขอมูลปริมาณการจราจรปจจุบันและการเพิ่มขึ้ นของ ปริมาณยานพาหนะที่ใชในการกอสรางโครงการ จะนํามาหาคาสัด สวนปริมาณการจราจรต่อความสามารถ ในการรองรับของเสนทาง โดยพิจารณาในรูปของคา V/C ratio เพื่อประเมินผลกระทบของโครงการตอสภาพ การคมนาคมขนสงในพื้นที่ ดังนี้ V/C Ratio = ปริมาณการจราจรที่เพิ่มขึ้นจากโครงการ (PCU/ชั่วโมง)+ ปริมาณการจราจรเดิม (PCU/ชั่วโมง) ความสามารถในการรองรับปริมาณจราจรของถนน การพิ จารณาคาปริม าณการจราจร (คา V) ของยานพาหนะแตละประเภท คํานวณได โดยนําปริมาณการจราจรในปจจุบันของทางหลวงสายหลักที่ ใชในการขนสง มาจําแนกประเภทยานพาหนะเปน 12 ประเภท โดยแตละประเภทกําหนดใหมีคาถวงนํ้าหนักจากคา Passenger Car Unit (PCU) เปน Passenger Car Equivalents (PCE) ในหนวย PCU (Passenger Car Unit) จะใชคาถวงนํ้าหนัก (Passenger Car Equivalent Factor : PCE) ของกรมทางหลวง แสดงดังตารางที่ 4.6.2-1 สวนคาความสามารถในการรองรับของทางหลวง แตละประเภท แสดงดัง ตารางที่ 4.6.2 -2 จากนั้นนํ าคา V/C ratio ที่ไดนํามาใชเปรียบเทียบกับคามาตรฐาน สําหรับจําแนกสภาพการจราจรในอนาคต ดังแสดงในตารางที่ 4.6.2-3 กรมทางหลวงชนบท 4-244 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.6.2-1 ค่า PCE ถ่วงน้ำหนักของยานพาหนะแต่ละประเภท ประเภทยานพาหนะ ค่า Passenger Car Equivalent Factor 1) รถยนตนั่งไมเกิน 7 คน (PC) 1.0 2) รถยนตนั่งเกิน 7 คน (PC-L) 1.0 3) รถโดยสารขนาดเล็ก (LB) 1.5 4) รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) (LT) 1.0 5) รถโดยสารขนาดกลาง (MB) 1.5 6) รถโดยสารขนาดใหญ (HB) 2.1 7) รถบรรทุกขนาด 2 เพลา (6 ลอ) (MT) 2.1 8) รถบรรทุกขนาด 3 เพลา (10 ลอ) (HT) 2.5 9) รถบรรทุกพวง (มากกวา 3 เพลา) (FT) 2.5 10) รถบรรทุกกึ่งพวง (มากกวา 3 เพลา) (ST) 2.5 11) รถจักรยาน 2 ลอ และ 3 ลอ 0.33 12) รถมอเตอรไซดและสามลอเครื่อง 0.33 ที่มา : สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง พ.ศ. 2559 ตารางที่ 4.6.2-2 ค่าความสามารถในการรองรับปริมาณจราจรของทางหลวงแต่ละประเภท ประเภทของทางหลวง ความสามารถในการรองรับปริมาณจราจร (PCU/ชม.) ถนนหลายชองจราจร 2,000 (ตอ 1 ชองจราจร) ถนน 2 ชองจราจร 2 ทิศทาง 2,000 (ทั้ง 2 ทิศทาง) ถนน 3 ชองจราจร 2 ทิศทาง 4,000 (ทั้ง 2 ทิศทาง) ่ า : เผาพงศ, 2540 ทีม ตารางที่ 4.6.2-3 ระดับความหนาแน่นและความคล่องตัวของปริมาณจราจรตามอัตราส่วนของปริมาณ จราจรต่อความจุ ระดับการให้บริการ อัตราส่วนของปริมาณจราจรต่อความจุ สภาพการจราจรที่ประเมิน (Level of Service: LOS) (V/C Ratio) F มากกว่า 1.00 ติดขัด E 0.90 - 1.00 หนาแน่นมาก D 0.69 - 0.89 หนาแน่น C 0.48 - 0.68 หนาแน่นปานกลาง B 0.31 - 0.47 คล่องตัวดี A ไม่เกิน 0.30 คล่องตัวดีมาก ่ า : Highway Capacity Manual 2010 ทีม ค่า V/C Ratio ที่ได้นำมาใช้เปรียบเทียบกั บค่ามาตรฐานสำหรับจำแนกสภาพการจราจร ในอนาคต ดังตารางที่ 4.6.2-4 ในช่วงก่อสร้างโครงการพิจารณาผลกระทบที่ได้จากการคำนวณหาค่า V/C Ratio ของปริมาณการจราจรในพื้นที่ในสภาพปัจจุบันกั บปริมาณรถบรรทุกที่เพิ่มขึ้น โดยคิดในกรณีเลวร้ายที่สุ ด คือ แต่ละช่วงทำการก่อสร้างพร้อมกัน กรมทางหลวงชนบท 4-245 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.6.2-4 ค่า PCU ต่อชั่วโมงที่เพิ่มขึ้นในระยะก่อสร้าง ประเภทยานพาหนะ คัน/วัน คัน/ชั่วโมง PCE Factor PCU/ชั่วโมง รถบรรทุกคนงาน 3 0.285 1.0 0.285 (รถบรรทุกขนาดเล็ก 4 ลอ) รถบรรทุกดินและขนสงวัสดุ 22 2.09 2.5 0.836 กอสราง (รถบรรทุกขนาดใหญ) รวม PCU 1.121 หมายเหตุ : * คิดระยะเวลาทํางานวันละ 8 ชั่วโมง การขนส่งวัสดุก่อสร้างจากแหล่งวัสดุเข้าสู่พื้นที่ก่อสร้างโครงการ จะใช้เส้นทางลำเลียง บนทางหลวงหมายเลข 4206 เพื่อเข้าสู่พื้นที่โครงการเป็นหลัก โดยผลการสำรวจข้อมูลปริมาณจราจร -จุ ด สำรวจ MB-01 บนถนนทางหลวงหมายเลข 4206 มีจุดเริ่มต้นที่จุดตัดสามแยกถนนเพชรเกษม ตัดไปทางทิศตะวันตก สิ้นสุดที่ท่าเทียบแพขนานยนต์ มีขนาด 2 ช่องจราจร ซึ่งจากผลการสำรวจปริมาณจราจรในช่วงวันทำงาน (วันศุกร์) พบว่า มีปริมาณจราจรจากกระบี่ -เกาะลันตาเฉลี่ย 2,076 PCU/วัน และสำหรับปริมาณจราจรในช่วงวันหยุด (วันเสาร์) มีปริมาณจราจรเฉลี่ย 2,336 PCU/วัน (มีสัดส่วนรถใหญ่ร้อยละ 2.00) แสดงดังตารางที่ 4.6.2-5 เมื่อนำค่า V/C Ratio ของถนนสาย 4206 มาจัดระดับการให้ บริการของพื้ นผิวจราจรแล้ ว พบว่า ทางหลวงหมายเลข 4206 มีระดับการให้บริการอยู่ในระดับ C กระแสจราจรอยู่ในสภาพอยู่ตัว ผู้ขับขี่เลือกใช้ ความเร็วได้จำกัด การเปลี่ยนช่องทางจราจรและการแซงถูกจำกัดในระดับพอสมควร ในระยะก่อสร้างผู้รับเหมา จะขนส่งคนงาน ดิน และเครื่องจักร/วัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างเข้าสู่โครงการผ่านเส้นทางหลัก ซึ่งการขนส่งโดยรถบรรทุก ขนาดใหญ่ป ระมาณ 22 เที ่ย ว/วัน และรถบรรทุกคนงานก่อสร้า ง 3 เที ่ย ว/วัน จะส่ง ผลให้มีป ริม าณจราจร บนโครงข่ายเพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ยังคงมีระดับการให้บริการอยู่ในระดับเดิม แสดงดังตารางที่ 4.6.2-6 จึงสรุป ไดวาการเพิ่มขึ้นของปริมาณการจราจรจากการขนส่ งวัสดุอุปกรณกอสรางของโครงการจะมีผลกระทบต่อสภาพ การจราจรในพื้นที่โครงการอยู่ในระดับต่ำ ข) ผลกระทบต่อการกีดขวางการคมนาคม การก่อสร้า งสะพานของโครงการ ในระหว่า งดำเนิน การก่อสร้า งจะมีการเปิด หน้า ดิ น การถมคันทาง/บดอัดดิน รวมทั้งการกองวัสดุก่อสร้าง อาจรุกล้ำผิวจราจรเข้ามาบนผิวทางของทางหลวงหมายเลข 4206 ทำให้เกิดอุปสรรคต่อการใช้ทาง ประกอบกับทางหลวงหมายเลข 4206 เป็นทางคมนาคมสายหลักในพื้นที่ อาจทำให้บริเ วณพื้นที่ก่อสร้างกลายเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ แต่ทั้งนี้ผลกระทบดังกล่าวจะเกิดขึ้ น เพียงแค่ระยะก่อสร้างเท่านั้น จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง ค) ผลกระทบต่อการคมนาคมนาคมทางน้ำ ปัจจุบันการเดินทางไปเกาะลันตาจะต้องเดินทางผ่านทางหลวงหมายเลข 4206 สู่บ้า น หัวหิน ซึ่งเป็นจุดลงแพขนานยนต์ไปยังเกาะลันตาใหญ่ โดยจะต้องลงแพขนานยนต์ คือ บ้านหัวหิน-เกาะลันตาน้อย และใช้สะพานสิริลันตาข้ามไปยังเกาะลันตาใหญ่ จึงจะถึงตัวเมืองย่านชุมชนและการค้าและชายหาดต่างๆ จนไปสุด ถนนที่ท้ายเกาะบริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาติหมู่ เกาะลันตา อีกทั้ง ณ บริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน มีกลุ่มชุมชน ประมงท้องถิ่นบ้านหัวหิน ใช้จอดเรือและขนส่งของทะเลขึ้นฝั่ง แสดงดังรูปที่ 4.6.2-1 กรมทางหลวงชนบท 4-246 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.6.2-5 ปริมาณจราจรรายวันเฉลี่ยบนทางหลวงหมายเลข 4206 รถ รถ รถบรรทุก รถ รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง รถ รถบรรทุก รถบรรทุก รถ รถ สัดส่วน วันที่ โดยสาร โดยสาร ขนาด รวม รวม ทางหลวง ทิศทาง จักรยานยนต์ ไม่เกิน เกิน โดยสาร ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ บรรทุก บรรทุก รถขนาด ทำการสำรวจ ขนาด ขนาด กลาง คัน/วัน PCU/วัน รถสามล้อ 7 คน 7 คน ขนาดเล็ก 4 ล้อ 10 ล้อ พ่วง กึ่งพ่วง ใหญ่ กลาง ใหญ่ 6 ล้อ กระบี่-เกาะลันตา 912 772 185 23 2 0 574 13 12 2 2 2,497 1% 2,076 วันศุกร์ที่ เกาะลันตา-กระบี่ 1,214 918 191 32 1 1 586 11 11 4 1 2,970 1% 2,397 MB-01 31 ก.ค. 2563 รวม 2,126 1,690 376 55 3 1 1160 24 23 6 3 5467 1% 4,473 ทางหลวง หมายเลข 4206 วันเสาร์ที่ กระบี่-เกาะลันตา 949 819 225 59 0 1 616 48 7 8 2 2,734 2% 2,336 เกาะลันตา-กระบี่ 1,328 772 180 68 1 1 591 44 7 10 2 3,004 2% 2,417 1 ส.ค. 2563 รวม 2,277 1,591 405 127 1 2 1,207 92 14 18 4 5,738 2% 4,753 ที่มา : สำรวจโดยที่ปรึกษา, 2563 PDC 4-247 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.6.2-6 ปริมาณการจราจรและระดับการให้บริการในระยะก่อสร้างโครงการ ปริมาณการจราจร ระดับการใหบริการ V/C Ratio (PCU/ชั่วโมง) (LOS) ถนนสายหลัก ระยะ ปัจจุบัน ระยะก่อสร้าง ปัจจุบัน ระยะก่อสร้าง ปัจจุบัน ก่อสร้าง ทางหลวงหมายเลข 4206 2,336 3,337.121 0.584 0.584 C C ที่มา : ที่ปรึกษา, 2563 รูปที่ 4.6.2-1 ท่าจอดเรือกลุ่มชุมชนประมงท้องถิ่นบ้านหัวหิน - เรือหัวโทง จำนวน 20 ลำ เป็นเรือประมงพื้นบ้านที่ชาวบ้านต่อเรือกันเอง ขนาดทั่วไป ของเรือหัวโทงเป็นเรือที่มีขนาดไม่ เกิน 10 ตันกรอส ขนาดลำเรือโดยทั่วไปมีความยาวประมาณ 12-14 เมตร ความกว้างเรื่อประมาณ 1.8 -2.0 เมตร ความลึกประมาณ 1.1 เมตร กิน น้ ำลึกประมาณ 0.4 เมตร ความสู ง ประมาณ 2.80 เมตร - เรือเฟอร์รี่ (Ferry or Ferryboat) จำนวน 3 ลำ เป็นเรือการพาณิ ชย์ในปัจจุบันที่ นำส่งผู้โดยสาร บรรทุกรถยนต์และสินค้าข้ามคลองช่องลาด ซึ่งเป็นทะเลที่คั้นกลางระหว่างเกาะกลางกับกะลันตา น้อย ใช้ความเร็วต่ำ สามารถเดินทางในคลองช่องลาดระหว่างท่าเรือบ้านหัวหิน (ฝั่งเกาะกลาง) กับท่าเรือบ้าน คลองหมาก (ฝั่งเกาะลันตาน้อย) ที่มีระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร เรือเฟอรรี่ดังกล่าวมีขนาดประมาณ 2,000 ตันกรอส กินน้ำลึก 2.50 เมตร ยาว 45 เมตร กว้าง 12 เมตร ความสูง 13 เมตร - เรื อ Speed Boat จำนวน 2 ลำ ของพิ ม าลั ย รี ส อร์ท เป็ น เรือ การพาณิ ช ย์ รั บ ส่ ง นักท่องเที่ยวของโรงแรมพิมาลัย เรือมีขนาด 85 ตันกรอส ความยาว 24 เมตร ความกว้าง 5.5 เมตร กินน้ำลึก 3 เมตร ความสูง 9 เมตร เจ้าหน้าที่ประจำเรือ 2 คน ผู้โดยสารเรือ 18 คน กรมทางหลวงชนบท 4-248 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การคมนาคมทางน้ำในพื้นที่โครงการ (คลองช่องลาด) ประเภทเรือที่ใช้คลองช่องลาดใน ปัจจุบัน ได้แก่ แพขนานยนต์ เรือหัวโทง และเรือ Speed Boat ของพิมาลัย รีสอร์ท แสดงดังตารางที่ 4.6.2-7 ซึ่งมีเส้นทางเดินเรือโดยรอบของเกาะลันตาน้อยและเกาะลันตาใหญ่ แสดงดังรูปที่ 4.6.2-2 ตารางที่ 4.6.2-7 รายละเอียดข้อมูลเรือที่ผ่านบริเวณแนวเส้นทางโครงการ ประเภทเรือในพื้นที่โครงการ ่ ไป ลักษณะทัว จำนวน (คลองช่องลาด) 1. เรือหัวโทง 20 ลำ - เป็นเรือประมงพื้นบ้านที่ชาวบ้านต่อเรือกันเอง - ขนาดเรือไม่เกิน 10 ตันกรอส - ความยาว 12-14 เมตร ความกว้าง 1.8-2.0 เมตร ความลึก 1.1 เมตร ความสูง 2.80 เมตร - กินน้ำลึกประมาณ 0.4 เมตร 2. เรือเฟอร์รี่ 3 ลำ - เป็นเรือการพาณิชย์ในปัจจุบันที่นำส่งผู้โดยสาร บรรทุกรถยนต์ และสินค้าระหว่างท่าเรือบ้านหัวหิน (ฝั่งเกาะกลาง) กับท่าเรือบ้าน คลองหมาก (ฝั่งเกาะลันตาน้อย) - ขนาดเรือประมาณ 2,000 ตันกรอส - ความยาว 45.0 เมตร ความกว้าง 12.0 เมตร ความสูง 13.0 เมตร - กินน้ำลึก 2.50 เมตร 3. เรือ Speed Boat 2 ลำ - เป็นเรือการพาณิชย์รับส่งนักท่องเที่ยวของโรงแรมพิมาลัย รีสอร์ท แอน สปา - ขนาดเรือ 85 ตันกรอส - ความยาว 24 เมตร ความกว้าง 5.5 เมตร ความสูง 9.0 เมตร - กินน้ำลึก 3.0 เมตร กรมทางหลวงชนบท 4-249 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.6.2-2 เส้นทางเดินเรือหัวโทงและเรือ Speed Boat ในพื้นที่โครงการ รูปที่ 4.6.2-3 การประชุมหารือกับกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน วันจันทร์ที่ 1 มีนาคม 2564 เวลา 14.00 น.-16.00 น. ณ มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ กรมทางหลวงชนบท 4-250 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในกรณีที่มีการก่อสร้างโครงการคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อการกีดขวางการสัญจรทางน้ำ หรืออาจกลายเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติได้ โดยเฉพาะบริเวณที่มีการก่อสร้างฐานรากสะพานบริเวณร่องน้ำที่ใช้ ในการสัญจรทางน้ำ ทั้งนี้จากการประสานงานหารือกลุ่มที่ประกอบอาชีพแพขนานยนต์ และการหารือกับกลุ่มชุมชน ประมงท้องถิ่นบ้านหัวหิน แสดงดังรูปที่ 4.6.2-3 ในพื้นที่โครงการ พบว่า มีความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ ครั้งนี้ ซึ่งทางโครงการได้ดำเนินการเสนอมาตรการในการจัดการจราจรทางน้ำ ดังนี้ (ก) ให้ผู้รับจ้างแจ้งให้ชุมชนใกล้เคียงทราบเกี่ยวกับกิจกรรมของโครงการ (ข) ขณะทำการก่อสร้างผู้รับจ้างต้องประสานงานกับกรมเจ้าท่ากระบี่ ในการประชาสัมพันธ์ และกำหนดช่องทางการเดินเรือสัญจรผ่านบริเวณก่อสร้าง เพื่อให้ระมัดระวังและชะลอความเร็วของการเดินเรือ (ค) ให้หลีกเลี่ยงการก่อสร้างในช่วงเวลาเร่งด่วน 07.00-08.00 น. และ 17.00-18.00 น. (ง) ให้ผู้รับ จ้างปฏิบัติ ตามข้อกำหนดเกี่ย วกับการเดิ นเรือ และการใช้ท่าเที ยบเรืออย่าง เคร่งครัด (จ) ในการก่อสร้างผู้รับจ้างควรพิจารณาขั้นตอน และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม เพื่อให้ พื้นที่ในการเดินเรือ ลดลงน้อยที่สุด โดยเฉพาะการก่อสร้างสะพานข้ามคลองช่องลาด ซึ่งปัจจุบั นประชาชนใช้ ประโยชน์ในการคมนาคมโดยใช้บริการแพขนานยนต์ข้ ามไป-มาระหว่าง ท่าเรือบ้านหัวหิน ฝั่งตำบลเกาะกลาง และท่ าเรือบ้ านคลองหมาก ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้ อยนั้ น จึ งมีความจำเป็ นอย่างยิ่งในการเตรียมมาตรการลด ผลกระทบตั้งแต่ในขั้นตอนของการก่อสร้าง ดังต่อไปนี้ • ทำการก่อสร้าง Jetty ชั่วคราวริมฝั่ง หรือการใช้ Pontoon โดยเลือกวิธีการก่อสร้าง ให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งต้องมีความแข็งแรงเพียงพอในการรับน้ำหนัก และมีความโปร่งเพียงพอให้น้ำไหลผ่าน ได้สะดวก โดยไม่กีดขวางทางน้ำ และบน Jetty หรือ Pontoon จะติดตั้งราวธงพร้อมทั้งดวงไฟส่องสว่างให้ เป็นจุดสังเกตุทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน เพื่อความปลอดภัยของการจราจรทางน้ำ • เครื่องจักรที่ทำการก่อสร้างจะอยู่บน Jetty หรือ Pontoon ตลอดเวลาทำงาน ตลอดจนการดูดเอาโคลนออกจากหลุม การเทคอนกรีต และการใช้สารเคมีประกอบการก่อสร้างจะดำเนินการ ผ่านทางท่อที่เชื่อมต่อมาจากบนฝั่งแม่น้ำทั้งหมด โดยไม่ต้องใช้วิธีการขนส่งทางเรือหรือทิ้งลงในแหล่งน้ำ • ในการหล่อคานและพื้นสะพาน ยื่นออกจากตอม่อทั้งสองข้างในลักษณะแขนยื่น สมดุล โดยไม่ต้องมีนั่งร้านรองรับสะพานมากีดขวางทางน้ำบริเวณกลางคลองช่องลาด • ในการก่อสร้างตอม่อ และคานสะพาน จะทำการก่อสร้างด้วยวิธีการ และขั้นตอน การก่อสร้างที่เหมาะสม เพื่อลดผลกระทบต่อการไหลของน้ำ (ฉ) กำหนดให้มี มาตรการควบคุมดูแลการจัดการจราจรทางน้ำ ให้เป็นไปตามพระราช - บัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ. 2456 ของกรมเจ้าท่า • ห้ามมิให้ผู้ใดเททิ้ง หรือทำด้วยประการใดๆ ให้หิน กรวด ทราย ดิน โคลน สิ่งของ หรือสิ่งปฏิกูลใดๆ และเคมีภัณฑ์ลงในแม่น้ำลำคลอง อันเป็นทางสัญจรของประชาชนหรือที่ประชาชนใช้ประโยชน์ ร่วมกันภายในน่านน้ำไทย อันจะเป็นเหตุให้เกิดการตื้นเขินตกตะกอน หรือสกปรก เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจาก เจ้าท่า • ห้ามมิให้ผู้ใดเททิ้ง หรือทำด้วยประการใดๆ ให้น้ำมัน และเคมีภัณฑ์ หรือสิ่งใดๆ ลงในแม่น้ำลำคลอง อันเป็นทางสัญ จรของประชาชน หรือที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันภายในน่านน้ำไทย อันอาจจะเป็นเหตุให้เกิดเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต หรือต่อสิ่งแวดล้อม หรือเป็นอันตรายต่อการเดินเรือในแม่น้ำลำคลอง เมื่อมีเรือ หรือสิ่งอื่นใดของผู้รับจ้างก่อสร้าง จมลง หรืออยู่ในสภาพที่อาจเป็นอันตรายแก่การเดินเรือในน่านน้ำไทย ให้ผู้รับจ้าง หรือตัวแทนเจ้าของเรือ หรือสิ่งอื่นใดนั้น จัดทำเครื่องหมายแสดงอันตรายโดยพลัน ด้วยเครื่องหมาย กรมทางหลวงชนบท 4-251 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามที่เจ้าท่าหรือเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่เห็นสมควร สำหรับเป็นที่สังเกตในการเดินเรือทั้งเวลากลางวันและเวลา กลางคืน จนกว่าผู้รับจ้าง หรือตัวแทนเจ้าของเรือหรือสิ่งอื่นใดนั้นจะได้กู้ รื้อ ขน ทำลาย หรือกระทำการอย่างหนึ่ง อย่างใดแก่เรือ หรือสิ่งอื่นใด ซึ่งได้จมลงหรืออยู่ในสภาพที่อาจเป็นอันตรายแก่การเดินเรือออกจากที่นั้นเรียบร้อย แล้ว ซึ่งต้องกระทำให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่เจ้าท่ากำหนด • ถ้ามีอุบัติเหตุอันตรายเกิดขึ้นในเรือลำใดแก่ลำเรือ หรือหม้อน้ำ หรือเครื่องจักร หรือแก่คนโดยสาร หรือบุคคลใดๆ ก็ดี หรือมีอุบัติเหตุอันตราย ซึ่งเรือลำนั้นเป็นต้นเหตุก็ดี ต้องแจ้งความไปยัง เจ้าท่าโดยพลัน • ในการส่งสิ่งของที่อาจทำให้เกิ ดอันตรายขึ้นได้โดยทางเรือ ผู้รับจ้างต้องจัดให้มี ฉลากแสดงสภาพอันตรายของสิ่งของนั้นให้ชัดเจนที่หีบห่อ และต้องแจ้งเป็นหนังสือเกี่ยวกับสภาพอั นตรายของ สิ่งของนั้น ตลอดจนชื่อและที่อยู่ของผู้รับจ้างให้นายเรือทราบในขณะหรือก่อนการนำสิ่งของนั้นขึ้นเรือ • สายโทรศัพ ท์ สายไฟฟ้า หรือสายอื่น ใด หรือท่อ หรือสิ่งก่อสร้า งที่ท อดใต้น้ำ ในแม่น้ำลำคลอง อันเป็นทางสัญจรของประชาชน หรือที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันภายในน่านน้ำไทย จัดให้มี เครื่องหมายแสดงไว้ ณ ที่ซึ่งสายท่อ หรือสิ่งก่อสร้างนั้นทอดลงน้ำ เครื่องหมายนั้นให้ทำเป็นเสาสูงมีป้ายใหญ่สีขาว รูปกลมติดที่ปลายเสา ในกลางป้ายมีข้อความ “อันตรายมีสายท่อหรือสิ่งก่อสร้างใต้น้ำ” และในกรณีที่เห็นสมควร จะจัดให้มีการวางทุ่น หรือเครื่องหมายอื่นใดแสดงไว้ด้วยก็ได้ • พนักงานห้ามลากแห อวน เครื่องจับสัตว์น้ำ หรือเครื่องมือใดๆ ต้องระวางโทษ ปรับตามกฎหมายตั้ง แต่สามร้อยบาทถึงสามพันบาท และถ้าการกระทำดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย แก่สาย ท่อ หรือสิ่งก่อสร้างใดๆ ที่ทอดใต้น้ำด้วย ตามกฎหมายต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับตั้งแต่ หนึ่งพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และต้องชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายในการซ่อมสายท่อ หรือ สิ่งก่อสร้างใต้น้ำที่เสียหายเนื่องจากการที่ได้ลากของข้ามสายท่อ หรือสิ่งก่อสร้างนั้นด้วย (ช) ให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตามข้อกำหนดในเงื่อนไขแนบท้าย “ใบอนุญาตให้ปลูกสร้างสิ่งล่วงล้ำ ลำแม่น้ำ” ที่ออกให้โดยกรมเจ้าท่าอย่างเคร่งครัด (ซ) จัดให้มีที่จอดเรือประมง/เรือหัวโทง เข้ามาผูกเรือและจอดชั่วคราว บริเวณด้านข้าง ของท่าเรือบ้านหัวหินจำนวน 20 ลำ โดยมีหลักสำหรับผูกเรือ 20 หลัก ความยาวประมาณ 60 เมตร ดังรูปที่ 4.6.2-4 กรมทางหลวงชนบท 4-252 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.6.2-4 การจัดหลักผูกเรือชั่วคราวบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน PDC 4-253 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ การคมนาคมทางบก ผลการคาดการณ์ ปริม าณจราจรในอนาคต (พ.ศ.2570-พ.ศ.2590) เป็ นการวิเคราะห์สภาพ การจราจรบนโครงข่ายถนนในอนาคต ซึ่งประกอบด้วย โครงข่ายถนนในปัจจุบันและโครงการจากหน่วยงานต่างๆ ที่ไ ด้รับ การอนุมัติ แ ล้ว โดยใช้ แบบจำลองด้า นการจราจรและขนส่ง คาดการณ์ส ภาพการจราจรในอนาคต ที่ปรึกษาได้กำหนดปีเป้าหมายในการคาดการณ์ปริมาณจราจรของโครงการฯ ที่มีความสอดคล้องกับแผนดำเนิน โครงการ พบว่าในปีเปิดใช้ถนนโครงการ พ.ศ. 2570 จะมีปริมาณจราจรเข้ามาใช้ถนนโครงการไปพื้นที่ตำบล เกาะลันตาน้อย 4,649 คัน/วัน และจากตำบลเกาะลันตาน้อยมายังตำบลเกาะกลาง 4,163 คัน/วัน มีความเร็ว เฉลี่ย ของยานพาหนะ 56.60 -57.90 กิโลเมตร/ชั่ วโมง สำหรับ สุด ท้ า ยของการคาดการณ์ ปี พ.ศ. 2590 จะมี ปริมาณจราจรเข้ามาใช้ถนนโครงการไปพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย 7,187 คัน/วัน และจากตำบลเกาะลันตาน้อย มายังตำบลเกาะกลาง 6,441 คัน/วัน มีความเร็วเฉลี่ยของยานพาหนะ 52.60-55.00 กิโลเมตร/ชั่วโมง จะเห็นได้ ว่าการพัฒนาโครงการเป็นการเชื่อมต่อทางคมนาคมในพื้นที่ให้มี ประสิทธิภาพ ผู้ใช้ทางสามารถเดินทางได้สะดวก และมี ความปลอดภัย เป็ น การเพิ่ ม ศักยภาพในการพั ฒ นาพื้ น ที่และกระจายความเจริญ สู่ท้ องถิ่น และภูมิ ภาค สนับสนุน และอำนวยความสะดวกด้านพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว และเพื่อยกระดับมาตรฐาน ความปลอดภัยในการเดินทางของประชาชน รวมทั้งพัฒนาและยกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบทเพื่ อเชื่อมโยง ต่ อ เติ ม โครงข่ า ยการคมนาคม และการขนส่ ง แก้ ไ ขปั ญ หาจราจรด้ ว ยการสร้ า งทางเชื่ อ ม (Missing Link) ให้สมบูรณ์ ยิ่งขึ้น และเพื่อบรรเทาปริมาณจราจรของถนนทางหลวง และแก้ไขปัญ หาการจราจรที่ล่าช้าบริเวณ ทางเชื่อมเกาะ ระหว่างตำบลเกาะกลาง และตำบลเกาะลัน ตาน้อย จังหวัดกระบี่ จึงเป็ น ผลกระทบทางบวก อยู่ในระดับปานกลาง การคมนาคมทางน้ำ โครงสร้างสะพานมีตอม่อตั้งอยู่ในทะเล เป็นโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ก่อสร้างล่วงล้ำลำน้ำคลอง ช่องลาด ซึ่งเป็นร่องน้ำเดินเรือในพื้นที่ จึงต้องคำนึงถึงมาตรการด้านความปลอดภัยของชาวเรือ เช่น ติดตั้งไฟฟ้า ส่องสว่างใต้ท้ องสะพานในบริเวณร่องน้ ำเดินเรือ และติดตั้งทุ่ นสัญ ญาณไฟตามมาตรฐานความปลอดภัยของ กรมเจ้าท่า รวมทั้งติดตั้งบรรทัดน้ำที่เสาตอม่อสะพานที่ขนาบข้างร่องน้ำเดินเรือ เพื่อให้ชาวเรือสามารถสังเกตเห็น ได้ชัดเจนทั้งในเวลากลางวันและในเวลากลางคืน แต่ทั้งนี้เมื่อมีโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จะส่งผลกระทบต่อบริษัท ส่งเสริมทรานเซอร์วิส จำกัด ซึ่ ง ผลจาการสอบถาม หั ว หน้ า ฝ่ า ยนิ ติ ก ารและการพาณิ ช ย์ ผู้ แทนที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ เมื่อวันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 เกี่ยวกับการให้สัมปทาน (ให้บริการแพขนานยนต์ระหว่างท่าเรือบ้านหัวหิน (เกาะลันตา) ไปยั งท่าเรือ คลองหมาก) สรุปได้ดังนี้ - อบจ.กระบี่ ให้ สั มปทาน บริษั ท ส่ งเสริมทรานเซอร์วิ ส จำกัด สั ญญาครั้งละ 3 ปี ปั จจุ บั น (ปี พ.ศ. 2565) ได้หมดสัญญาแล้ว และที่ผ่านมาได้มีการจัดประมูล ครั้งที่ 4 แต่เนื่องจากไม่มีบริษัทอื่นประมูลแข่ง จึงให้บริษัท ส่งเสริมทรานเซอร์วิส จำกัด ให้บริการต่อไป - เมื่อก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลัน ตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลัน ตาน้ อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ แล้วเสร็จ แพขนานยนต์ของ บริษัท ส่งเสริมทรานเซอร์วิส จำกัด สามารถทำการหยุด ให้บริการได้ทันทีโดยไม่ต้องมีมาตรการชดเชยใดๆ เนื่องจากมีการระบุในสัญญาไว้แล้ว แต่ต้องบอกเลิกสัญญา ล่วงหน้า 30 วัน กรมทางหลวงชนบท 4-254 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ค่าให้บริการแพขนานยนต์ ควบคุมราคาตามมติคณะกรรมการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สิน (ตามระเบี ย บกระทรวงมหาดไทย ว่ า ด้ ว ยการจั ด หาประโยชน์ ในทรัพ ย์ สิ น ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น พ.ศ. 2543 โดยมีคณะกรรมการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สิน ประกอบด้วย นายก อบจ.กระบี่, สรรพากรจังหวัด กระบี่, ธนารักษ์จังหวัดกระบี่, ผู้อำนวยการสำนักงานที่ดิน จัง หวัดกระบี่ และผู้อำนวยการกองคลัง) ซึ่งบริษั ท ส่งเสริมทรานเซอร์วิส จำกัด ไม่สามารถขึ้นราคาเองได้เนื่องจากราคาได้ระบุในสัญ ญา ถ้า หากขึ้นราคาเท่ากับ ผิดสัญญา 4.6.3 การระบายน้ำ 1) กรณีไม่มีโครงการ สภาพการระบายน้ำและทิศทางการไหลของน้ำ บริเวณพื้น ที่โครงการ พื้นที่ ศึกษาฝั่งเกาะกลาง มีขนาดพื้ นที่ รับ น้ ำประมาณ 7.8 ตารางกิโลเมตร มี ลักษณะเป็น พื้ น ที่ ลาดเอี ยงจากเนิ น เขาทางทิ ศเหนื อลงสู่ คลองช่องลาดทางทิศใต้ มีแนวสันปันน้ำอยู่ที่ระยะประมาณ 2.9 กิโลเมตร จากแนวคลอง โดยในพื้นที่ศึกษา แบ่งพื้นที่รับน้ำย่อยออกเป็น 5 พื้นที่ สภาพการระบายน้ำแต่ละพื้นที่จะมีทางน้ำธรรมชาติเป็น ร่องน้ำขนาดเล็ก รับน้ำจากแนวเทือกเขาไหลลงสู่คลองระบายน้ำหลัก ได้แก่ คลองช่องลาด แล้วระบายลงทะเลอันดามันต่อไป พื้นที่ศึกษาฝั่งเกาะลันตาน้อยมีขนาดพื้ นที่รับน้ำประมาณ 12.9 ตารางกิโลเมตร มีลักษณะเป็นพื้นที่ลาดเอียง จากเนินเขาทางทิศใต้ลงสู่คลองช่องลาดทางทิศเหนือ แนวสันปันน้ำอยู่ที่ระยะประมาณ 2.4 กิโลเมตร แบ่งพื้นที่ รับน้ำย่อยออกเป็น 3 พื้นที่ สภาพการระบายน้ำส่วนใหญ่จะเป็นการไหลบ่า (Flood plain) ลงคลองช่องลาด กรณีไม่มีโครงการจะไม่มีกิจกรรมใดที่ส่งผลกระทบต่อการระบายน้ำในพื้นที่ให้เปลี่ยนแปลงไปจากสภาพเดิม 2) กรณีมโ ี ครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การดำเนินกิจกรรมก่อสร้างถนนระดับดินของโครงการ จะมีกิจกรรมการเปิ ดหน้าดิน ทำให้มี การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ ดินไปเป็นที่เปิดโล่งไร้สิ่ง ปกคลุมดิน และเนื่องจากการชะล้างพั งทลายของดิน ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากหลายปั จจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านน้ำฝน พลังงานของน้ำฝนที่ตกกระทบพื้นดินท ำให้ดิน แตกออกจากกัน ดินที่แตกออกจากกันสามารถถูกพัดพาไปกับน้ำไหลบ่าหน้าดิน (Run-off Water) โดยปริมาณน้ำ ไหลบ่าและความเร็ว ของน้ำไหลบ่า อาจทำให้เกิดขบวนการกั ดเซาะและการพัดพาของตะกอน ( Detachment and Transportation) มากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศ ซึ่งได้แก่ ความยาวของพื้นที่และความลาดชัน ของพื้นที่ที่น้ำท่าไหลผ่านหน้าดิน ในการประเมินผลผลิตตะกอนตามสมการการสูญเสียดินสากล (USLE) ดังนี้ - การประเมิ น ค่า สั ม ประสิท ธิ์ การเคลื่อนย้ายตะกอน (Sediment Delivery Ratio, SDR) จากสมการของ Renfro (1975) ดังนี้ SDR = 62.05 Area-0.15 …………………………….…..……… (1) เมื่อ SDR คือ Sediment delivery ratio (%) Area ้ ที่ลุ่มน้ำ (ตารางกิโลเมตร) คือ ขนาดพืน กรมทางหลวงชนบท 4-255 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - การประเมินผลผลิตตะกอน (Sediment Yield, SY) จากสมการ SY = (SDR/100)*A …………………………….…………… (2) เมื่อ SY คือ ผลผลิตตะกอน (ตันต่อปี) SDR คือ Sediment delivery ratio (%) A คือ ปริมาณการชะล้างพังทลายของดิน (ตันต่อปี) การประเมินผลผลิตตะกอนของโครงการ แบ่งออกได้เป็น 2 พื้นที่หลัก ได้แก่ พื้นที่ก่อสร้างฝั่ง ฝั่ ง ตำบลเกาะกลาง (ช่ ว ง กม.0+000 -กม.0+500) และพื้ น ที่ ก่ อสร้า งฝั่ งตำบลกาะลั น ตาน้ อย (กม.2+000 - กม.2+527) ในการประเมินผลกระทบด้านการชะล้างพังทลายของดิ น (Erosion) ค่าสัมประสิทธิ์การเคลื่อนย้าย ตะกอน (SDR) และผลผลิ ต ตะกอน ( SY) ตามสมการการสู ญ เสี ย ดิ น สากล (USLE) ในพื้ น ที่ ก่อสร้างโครงการ แสดงดังตารางที่ 4.6.3-1 สรุปได้ดังนี้ - พื้นที่ก่อสร้างฝั่ งฝั่งตำบลเกาะกลาง (ช่วง กม.0+000-กม.0+500) ระยะทาง 500 เมตร มีพื้นที่ผิวหน้าดินปกคลุมอยู่ 9.38 ไร่ จะมีการสูญเสียดิน 0.256 ตัน/ไร่/ปี และมีผลผลิตตะกอน (SY) 2.80 ตัน/ปี - พื้ น ที่ ก่อ สร้างฝั่ งตำบลกาะลั น ตาน้ อย (กม.2+000 -กม.2+527) ระยะทาง 527 เมตร มีพื้นที่ผิวหน้าดินปกคลุมอยู่ 4.50 ไร่ จะมีการสูญเสียดิน 0.256 ตัน/ไร่/ปี และมีผลผลิตตะกอน (SY) 1.50 ตัน/ปี กิจกรรมการเปิ ดหน้าดินในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง จะเป็นปั จจัยเอื้อให้เกิดการชะล้างพังทลาย ของดิน โดยเฉพาะช่วงที่มีฝนตกหนัก บริเวณหน้าดินที่ไม่มีสิ่งปกคลุมอาจถูกกัด เซาะและชะล้างพังทลายได้ง่าย ซึ่งคาดว่าการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างจะก่อให้เกิดปริมาณตะกอนดินชะล้างลงสู่ทะเลเพียงเล็กน้อย จึงพิจาณาให้มี ผลกระทบต่อการระบายน้ำอยู่ในระดับต่ำ ตารางที่ 4.6.3-1 การชะล้างพังทลายของดิน (Erosion) ค่าสัมประสิทธิ์การเคลื่อนย้ายตะกอน (SDR) และผลผลิตตะกอน (SY) พื้นที่ พื้นที่ อัตราการชะล้างพังทลาย ระยะทาง ้ ที่ พืน SDR SY กิจกรรมก่อสร้าง (ตาราง (ตาราง (A) ตัน/ (เมตร) (ไร่) ตัน/ไร่/ปี ตัน/ปี (%) (ตัน/ปี) เมตร) กิโลเมตร) เฮคแตร์/ปี การก่อสร้างเชิงลาดสะพาน 500 15,000 0.015 9.38 0.041 0.256 2.40 116.50 2.80 ฝั่งตำบลเกาะกลาง (ช่วง กม.0+000-กม.0+500) การก่อสร้างเชิงลาดสะพาน 240 7,200 0.0072 4.50 0.041 0.256 1.15 130.06 1.50 ฝั่งตำบลกาะลันตาน้อย (กม.2+000-กม.2+527) ที่มา : วิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2563 การก่อสร้างฐานรากสะพานของโครงการลงในทะเลตอม่อตับที่ P4 ถึง P19 จำนวน 15 ตอม่อ ในขณะดำเนินการก่อสร้างคาดว่าจะก่อให้เกิดการฟุ้งกระจายของตะกอนดิน ในน้ำส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ำ ทะเลในด้านความขุ่นเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อนิเวศวิทยาทางน้ำ โดยปริมาณตะกอนดินในน้ำจะถูกพัดพา ไปตามความเร็วของกระแสน้ำ แต่เป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นชั่วคราวในช่วงเวลาสั้นๆ เท่านั้น ทั้งนี้การก่อสร้างตอม่อ ขนาดใหญ่ในทะเลที่เป็นโครงสร้างชนิ ดแข็ง จะมีผลกระทบต่อการกี ดขวางทางน้ำ อาจก่อให้เกิดเปลี่ยนแปลง ทิศทางของกระแสน้ำและการเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝั่งได้ แต่ทางโครงการได้ออกแบบตอม่อให้วางคร่อมร่องน้ำ หรือไม่มีตอม่อตั้งอยู่ในพื้นที่ร่องน้ำ จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ กรมทางหลวงชนบท 4-256 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลการศึกษาการไหลเวียนของกระแสน้ ำและการแพร่กระจายของตะกอน ในกรณีมีโครงการ ด้ ว ยแบบจำลองทางคณิ ต ศาสตร์ AQUASEA ที่ ให้ ผ ลลั พ ธ์ ที่ มี ค วามน่ า เชื่ อ ถื อ สอดคล้ อ งกั บ ข้อ มู ล ที่ ได้ จ าก ในภาคสนามและสภาพพื้นที่จริง พบว่าในขณะดำเนินกิจกรรมขุ ดเจาะฐานรากสะพานในทะเลที่ระยะห่างจาก จุดก่อสร้าง 2, 9, 18, 37 และ 58 เมตร จะมีปริมาณความเข้มข้นของตะกอนเท่ากับ 6, 5, 4, 3 และ 2 หนึ่งส่วน ในล้านส่วน (ppm.) แต่ขณะเดียวกันในกรณีที่ หยุดกิจกรรมก่อสร้างตอม่อสะพาน ตะกอนจะตกจมเข้าสู่สภาวะ ปกติภายใน 20 นาที แสดงดังตารางที่ 4.6.3-2 และรูปที่ 4.6.3-1 ดังนั้ นผลกระทบจากการฟุ้งกระจายของ ปริมาณตะกอนในทะเลอันเนื่องจากการดำเนินกิจกรรมของโครงการ จะไม่มีผลกระทบต่อการระบายน้ำหรือการ กีดขวางทางน้ำในคลองช่องลาด ตารางที่ 4.6.3-2 ผลการวิเคราะห์การไหลเวียนของกระแสน้ำและการแพร่กระจายของตะกอน ระยะทางรัศมีแพร่กระจายจากตำแหน่งเสาเข็ม (เมตร) ความเข้มข้นของตะกอน จุดที่ 1 ตอม่อ F2 type 2 จุดที่ 2 ตอม่อ F1 type 1 จุดที่ 3 ตอม่อ F3 type 3 (ppm.) บริเวณริมฝั่งแผ่นดิน จ.กระบี่ บริเวณช่องเดินเรือ บริเวณริมตลิ่งฝั่งเกาะลันตา ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง ช่วงน้ำขึ้น ช่วงน้ำลง 6 2 1 2 1 3 2 5 6 4 9 6 10 7 4 17 15 18 17 15 17 3 29 30 37 36 34 32 2 52 48 58 57 65 70 ระจายตะกอนในช่ การแพร่กระจายตะกอนในช่วงน้ำขึ้น ระจายตะกอนในช่วงน้ำลง การแพร่กระจายตะกอนในช่ รูปที่ 4.6.3-1 การแพร่กระจายตะกอนแขวนลอยบริเวณกลางสะพาน กรมทางหลวงชนบท 4-257 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ การเปลี่ยนแปลงของความเร็วและทิศทางการไหลของกระแสน้ำจากกิจกรรมก่อสร้างตอม่อ สะพานที่ อยู่ ในทะเล พบว่า ความเร็ว กระแสน้ ำ ที่ มี การเปลี่ ย นแปลงจะอยู่ บ ริเวณใกล้ ต อม่ อ สะพานในรัศ มี ประมาณ 20-100 เมตร โดยความเร็วกระแสน้ำจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ประมาณ 1-2 มิลลิเมตร/วินาที หรือ 0.001- 0.002 เมตร/วินาที เมื่อเปรียบเทียบสภาพระหว่างก่อนและหลังมีโครงการ หรือคิดเป็นร้อยละ 2-10 ของสภาพ ก่อนมีโครงการ ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับที่ต่ำ ส่วนทิศทางการไหลของกระแสน้ำมีการเปลี่ยนแปลงทั้งเพิ่มขึ้นและลดลง ประมาณ 2-4 องศา เมื่อเปรียบเทียบระหว่างสภาพก่อนและหลังมีโครงการ หรือคิดเป็นร้อยละ 2-10 ของสภาพ ก่อนมีโครงการ ทั้งนี้ ระบบระบายน้ำบนสะพาน ออกแบบปริมาณน้ำฝนที่ต้องระบายบนสะพานจะใช้ประมาณ 25 ปี ซึ่งเท่ากับในกรณีที่ใช้สำหรับการคำนวณระบบระบายน้ำในท่อลอด ซึ่งได้ออกแบบให้มีช่องรับน้ำ (Drainage Pipe) เป็นท่อระบายน้ำหล่อสำเร็จขนาดเส้นนผ่าศูนย์กลาง (DAI.) 0.10×0.15 เมตร บนโครงสร้างอย่างเพียงพอ ต่อปริมาณการระบายน้ำตามระยะห่างทุก ๆ 3.0 เมตร โดยเลือกใช้วัสดุของท่อและอุปกรณ์ประกอบที่เป็นไป ตามมาตรฐานข้อกำหนด กลมกลืนกับรูปแบบโครงสร้างและทำการระบายน้ำลงสู่ด้านล่าง ซึ่งรูปแบบดังกล่าวไม่มี ผลกระทบต่อการระบายน้ำ 4.6.4 สาธารณูปโภค 1) กรณีไม่มีโครงการ ผลการสำรวจตำแหน่งระบบสาธารณูปโภคฝั่งตำบลเกาะกลาง ที่ปรึกษาได้สำรวจพื้นที่ในตำบล เกาะกลางบริเวณใกล้ท่าเทียบเรือบ้านหัวหิน พบว่า มีแนวของสายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค ที่เป็นเสาโครงเหล็กสูงพาดผ่านข้ามไปยังเกาะปลิงที่อยู่ในคลองช่องลาดเข้าสู่เกาะลันตาน้อยบริเวณ ถนนสาย กบ.5035 ช่วง กม.3+400 ถึง กม.3+500 ส่วนระบบสาธารณูปโภคฝั่งเกาะลันตาน้อย พบแนวของ สายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่พาดผ่านมาจากเกาะปลิงเพื่อขึ้นสู่เกาะลั นตาน้อย บริเวณถนนสาย กบ.5035 ช่วง กม 3+400 ถึง กม.3+500 ที่อยู่ในแนวศึกษาโครงการฯ และยังพบตำแหน่ง ของแนวท่อร้อยสายไฟใต้น้ำของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้ามมาจากตำบลเกาะกลางมาขึ้นฝั่งที่บริเวณเดียวกัน และยังมีแนวของสายสื่อสาร CAT TOT TUC และ กฟภ. ที่บริเวณหน้ากูโบร์ทุ่งหยุม หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะลันตาน้อย กรณีไม่มีโครงการจะไม่มีผลกระทบต่อระบบสาะรณูปโภคในพื้นที่แต่อย่างใด ผลการสำรวจพบว่า ชุมชนภายในเกาะลันตามีปัญหาเรื่องการการใช้ไฟฟ้าเนื่องจากเดิมในการเข้ าสู่ เกาะลันตาระบบจำหน่า ยไฟฟ้า 33 kV ของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค ซึ่งเมื่อถึงพื้นที่เกาะลันตาแล้วนั้น จะเหลือ เพียงระบบจำหน่ายไฟฟ้า 15 kV ซึ่งได้เข้าหารือกับทางไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแล้ว พบว่าไม่เพียงพอต่อคนบนเกาะ อีกทั้ งบนเกาะลันตายังขาดแคลนน้ ำกินน้ำใช้ เนื่ องจากไม่ มีทั้งประปาและแหล่งน้ำจืดที่ไม่พ อเพี ยง กรณี ไม่มี โครงการจะมีผลกระทบต่อระบบสาธารณูปโภคในเกาะลันตาระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-258 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การพัฒนาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จำเป็นต้องรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคที่กีดขวางอยู่ในพื้นที่ดำเนินการสรุปได้ดังนี้ ฝั่งตำบลเกาะกลาง - เสาไฟฟ้าของ กฟภ. ริม ทล.4206 จำนวน 24 ต้น - เสาไฟฟ้าแสงสว่างของกรมทางหลวง ริม ทล.4206 จำนวน 8 ต้น - ป้ายจราจรของกรมทางหลวง ริม ทล.4206 จำนวน 4 ป้าย - สายสื่อสารที่ติดตั้งบนเสาไฟฟ้า ริม ทล.4206 จำนวน 600 เมตร ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย - เสาไฟฟ้าของ กฟภ. ริมถนน กบ.5035 จำนวน 8 ต้น - สายสื่อสารที่ติดตั้งบนเสาไฟฟ้า ริมถนน กบ.5035 จำนวน 340 เมตร - ท่อระบายน้ำ Cross Drain ผ่านถนน กบ.5035 ขนาดท่อ RCP 0.80 เมตร (DAI.) ของ ทช. จำนวน 15 เมตร ขนาดท่อ RCP 1.00 เมตร (DAI.) ของ ทช. จำนวน 30 เมตร เมื่อพิจารณาระยะเวลาในการรื้อย้าย เสาไฟฟ้า/เสาไฟส่องสว่าง ซึ่งคาดว่าจะใช้ระยะเวลา ในการดำเนินการในช่วงสั้นๆ แต่อย่างไรก็ตาม การดำเนินงานรื้อย้ายอาจส่งผลให้ไฟฟ้าดั บเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง และสูงสุดไม่เกิน 24 ชั่วโมง โดยประชาชนอาจจะได้รับความเดือดร้อนบ้าง แต่มีระยะเวลาเพียงช่วงสั้นๆ ซึ่งถือเป็นผลกระทบชั่วคราว จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนการรื้อย้ายสายสื่อสารและท่ อระบายน้ ำ Cross Drain ผ่านถนน กบ.5035 ได้แก่ ท่อ RCP ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร ของกรมทางหลวงชนบท ยาว 15 เมตร และท่อ RCP ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 1.00 เมตร ของ ของกรมทางหลวงชนบท ยาว 30 เมตร ในงานรื้อย้ายโดยปกติจะมีการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการรื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้าง ซึ่งมีระยะเวลาในการรื้อย้ายจะมีเพียงช่วงสั้นๆ จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ได้ ดำเนิ น การตรวจสอบรายละเอี ย ดตำแหน่ งก่อสร้างเสาเข็ม เจาะและตำแหน่ งสายเคเบิ้ ล ใต้ทะเล โดยข้อมูลตำแหน่งสายเคเบิ้ลใต้ทะเล ได้รับข้อมูลแบบ As-Built Drawing มาจากการไฟฟ้าสาวนภูมิภาค กระบี่ มีรายละเอียด แสดงดังรูปที่ 4.6.4-1 อย่างไรก็ตาม ได้มีมาตรการตรวจสอบตำแหน่งสายเคเบิ้ลใต้ทะเล ในระหว่างการก่อสร้าง ในลักษณะการสำรวจร่วมของผู้รับเหมาก่อสร้าง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เพื่อให้ เกิดความปลอดภัยในการก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 4-259 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.6.4-1 (1/4) แบบ As-Built Drawing มาจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 4-260 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.6.4-1 (2/4) แบบ As-Built Drawing มาจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 4-261 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.6.4-1 (3/4) แบบ As-Built Drawing มาจากการไฟฟ้าสาวนภูมิภาคกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 4-262 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.6.4-1 (4/4) แบบ As-Built Drawing มาจากการไฟฟ้าสาวนภูมิภาคกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 4-263 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ โครงการได้ออกแบบโครงสร้างสะพานให้รับน้ำหนักของสายไฟฟ้า ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และการรับน้ำหนักของท่อประปากับการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) โดยจะมีการติดตั้งสายไฟฟ้าเพื่อไม่ให้ ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างใต้ปีกสะพานให้ชัดเจนนั้น และที่ผ่านมาได้มีการหารือกับ กฟภ. ซึ่ง กฟภ. ได้สรุปน้ำหนัก สายไฟฟ้าและอุปกรณ์มีน้ำหนักเฉลี่ย 15 กิโลกรัม/เมตร รูปแบบการติดตั้งสายไฟฟ้าใต้ปีกสะพานจะทำการติดตั้ง U-Bolt ในตำแหน่งที่มีการแขวนสายไฟฟ้าของ กฟภ. สำหรับคล้องอุ ปกรณ์ติดตั้งสายไฟฟ้าใต้ปีกสะพาน ทั้งนี้ ทาง กฟภ. จะส่งแบบรายละเอียดการติดตั้ง U-Bolt ให้แก่กรมทางหลวงชนบทต่อไป แสดงดังรูปที่ 4.6.4-2 และ รูปที่ 4.6.4-3 การติดตั้งท่อประปา โดยใช้ประโยชน์จากพื้นที่ว่างของ Box Segment ของโครงสร้างสะพาน ซึ่งกรมทางหลวงชนบทและการประปาส่วนภูมิภาค ได้มีการประสานงานเรื่ อง การติดตั้งระบบท่อประปาขนาด 300 มิลลิเมตร จำนวน 2 ท่อ โดยใช้ประโยชน์จ ากพื้นที่ว่างของ Box Segment ของโครงสร้างสะพาน โดยมี ขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้ - กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับ กปภ. ในการติ ด ตั้ ง U-Bolt for Pipe Support ที่จะติด ตั้งอยู่ ในโครงสร้างคอนกรี ตเสริมเหล็ กของโครงสร้างสะพาน โดย กปภ. จะสามารถดำเนิ นการติตตั้ ง ท่อประปาได้ในภายหลังการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาแล้วเสร็จ - กปภ. ดำเนินการขยายเขตให้บริการของสำนักงานประปาภูมิภาคสาขาคลองท่อมจากเขต อำเภอคลองท่อม มายังพื้นที่ ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตาน้อย อัน เป็นการวางท่อประปามาจนถึงพื้ นที่ สะพานเชื่อมเกาะลันตา - กปภ. ดำเนินการติดตั้งท่อประปาโดยเปลี่ยนจากระบบท่อใต้ ผิวจราจรมาเป็นท่อประปา เกาะเสาตอม่อสะพาน ที่ปลายสุดของสะพานคานขึง ( Extradosed Bridge) ดังแสดงในรูปที่ 4.6.4-4 ซึ่ง กปภ. สามารถเข้ามาติดตั้งท่อประปาภายในโครงสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาได้ การก่อสร้างบริเวณใกล้ตลิ่งในส่ว นของสะพาน Box Girder ระบบท่อประปาและระบบไฟฟ้า จะติดตั้งบริเวณไหนอยู่ใต้ดิน โดยระบบไฟฟ้าติดตั้งอยู่ใน Electrical Duct Bank ส่วนระบบท่อประปา เป็นท่อน้ำ แบบ Heavy Duty ฝั งอยู่ ใต้ ผิ ว จราจร ดั งนั้ น ระบบสาธารณู ป โภคดั งกล่ า วข้า งต้ น ไม่ ได้ ก่อสร้างเกาะไปกั บ โครงสร้างสะพาน Box Girder โดยตำแหน่งที่ติดตั้งท่อประปาเข้าสู่โครงสร้างอยู่ที่ปลายสะพานคานขึง ซึ่งสามารถ ใช้รถกระเช้าให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบและดูแลบำรุงรักษาท่อประปาและอุปกรณ์ประปาภายในโครงสร้างสะพาน ในกรณีที่ จำเป็นต้องทำการซ่อมบำรุงใหญ่ พื้นที่รอยต่อสะพานที่ปลายสะพานคานขึง สามารถใช้เป็นช่ องทาง ในการขนส่งท่อประปาและอุปกรณ์ประปาในการซ่อมบำรุงใหญ่ได้ จะเห็นได้ว่าในกรณีที่มีโครงการสะพานเชื่อม เกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลั น ตาน้ อย อำเภอเกาะลัน ตา จังหวัดกระบี่ จะช่วยเชื่อมต่ อระบบ สาธารณู ป โภคที่ ส ำคัญ จากฝั่ งแผ่น ดิ น เข้าสู่พื้ น ที่ เกาะลั น ตาน้ อย ซึ่งจะช่ วยให้ เกิดการพั ฒ นาของพื้ น ที่ ได้ เต็ ม ศักยภาพ มีปริมาณไฟฟ้าและน้ำประปาที่เพียงพอต่อการอุปโภค -บริโภค ส่งผลให้การดำรงชีพและความเป็นอยู่ ของประชาชนในพื้นที่ดีขึ้น จึงพิจารณาให้เป็นผลกระทบทางบวก กรมทางหลวงชนบท 4-264 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ้ ที่ใต้ปีกสะพาน รูปที่ 4.6.4-2 การติดตั้งระบบไฟฟ้าของ กฟภ. ใช้วิธีการติดตัง ่ ่างของ Box Segment รูปที่ 4.6.4-3 การติดตั้งท่อประปา โดยใช้ประโยชน์จากพื้นทีว ของโครงสร้างสะพาน กรมทางหลวงชนบท 4-265 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.6.4-4 การติดตั้งท่อประปา ภายในโครงสร้างสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) กรมทางหลวงชนบท 4-266 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.7 คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 4.7.1 เศรษฐกิจและสังคม 1) กรณีไม่มีโครงการ การรวบรวมข้อมูลของกรมพัฒนาชุมชน (2564) พบว่า ประชาชนในพื้นที่เกาะลันตา ส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพรับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 37.60) รองลงมาคืออาชีพเษตร-ทำสวน (ร้อยละ 11.98) และอาชีพค้าขาย (ร้อยละ 4.97) แสดงดังรูปที่ 4.7.1-1 ซึง ่ ผลจากการสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่โครงการ พบว่า กลุ่มผู้นำ ชุมชนในพื้ น ที่ส่ วนใหญ่ มีความเห็น ในเรื่องผลดีและผลประโยชน์ของโครงการ เพิ่ม ความสะดวกสบายในการ เดินทาง รองลงมาสร้างความเจริญในชุมชน และประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทาง ส่วนในเรื่องผลเสีย และผลกระทบโดยรวม ส่วนใหญ่เห็น ว่าโครงการไม่มีผลเสีย /ผลกระทบ รองลงมาจะมีปริมาณรถยนต์เพิ่มขึ้น และเกิดอุบัติเหตุเพิ่มมากขึ้นในช่วงก่อสร้าง ส่วนครัวเรือนในพื้นที่ศึกษาส่วนใหญ่ มีความเห็นในเรื่องผลดีและ ผลประโยชน์ของโครงการ ว่าการพัฒนาโครงการครั้งนี้จะเพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง รองลงมาประหยัด ค่าใช้จ่ ายและเวลาในการเดิ น ทาง และสร้า งความเจริญ ในชุม ชน ส่ว นในเรื่องผลเสี ย และผลกระทบโดยรวม ส่วนใหญ่เห็นว่าจะก่อให้เสียงดัง ฝุ่นละอองมาก หรืออื่นๆ ที่เกิดจากการก่อสร้าง รองลงมาคือจะมีปริมาณรถยนต์ เพิ่ ม ขึ้น และจะมี การเกิด อุ บั ติ เหตุ เพิ่ ม มากขึ้น ในช่ ว งการก่อ สร้าง สำหรับ กลุ่ ม พื้ น ที่ อ่อ นไหวด้ านสิ่ งแวดล้ อ ม ส่วนใหญ่ มีความเห็นในเรื่องผลดีและผลประโยชน์ของโครงการ ในด้านเพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง รองลงมาประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทางและช่วยให้การติดต่อราชการที่อำเภอสะดวกขึ้น ส่วนในเรื่อง ผลเสียและผลกระทบโดยรวมส่วนใหญ่ เห็นว่าไม่มี ผลเสีย /ผลกระทบ รองลงมา มีปริมาณรถยนต์เพิ่มขึ้น และ ผลกระทบด้านเสียงดัง ฝุ่นละออง และอื่นๆ ที่เกิดจากการก่อสร้าง ส่วนความคิดเห็นของกลุ่มสถานประกอบการ ส่วนใหญ่ เห็นด้วยต่อโครงการ เพราะสร้างความเจริญในชุมชน เพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง ทำให้มี นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น แต่บางรายมีข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการในช่วงก่อสร้าง อาจเป็นอุปสรรคต่อการ เดินทางของประชาชนในพื้นที่ รูปที่ 4.7.1-1 อาชีพหลักของประชากรในพื้นที่เกาะลันตา กรมทางหลวงชนบท 4-267 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง เกาะลันตา ตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดกระบี่ไปทางทิศใต้ประมาณ 80 กิโลเมตร มีศูนย์กลางความ เจริญและธุรกิจท่องเที่ยวอยู่ที่เกาะลันตาใหญ่ ด้วยความเป็นธรรมชาติที่สวยงามและความเงียบสงบของเกาะ ลันตา จึงทำให้มีนักท่องเที่ยวทั้งต่างชาติและภายในประเทศเข้ามายังพื้นที่อยู่อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันการเดินทางไป ยังเกาะลันตาใช้ทางหลวงหมายเลข 4206 เข้าสู่บ้านหัวหิน และลงแพขนานยนต์ (บ้านหัวหิน -เกาะลันตาน้อย) เพือ่ ข้ามฝั่งไปยังเกาะลันตาน้อย จากนั้นเดินทางเข้าสู่ทางหลวงชนบท กบ.5035 ลงไปทางทิศใต้ ข้ามสะพานสิริลันตา ที่เชื่อมระหว่างเกาะลันตาน้อย -เกาะลันตาใหญ่ เพื่อไปยังแหล่งชุมชนและร้านค้า รวมทั้งพื้นที่ชายหาดบริเวณ ท้ายเกาะลันตา ซึ่งจะเห็นได้ว่าการเดินทางระหว่างฝั่งกับเกาะมีเพียงช่องทางเดียว คือ การลงแพขนานยนต์ ถึง แม้ จะเป็นระยะทางเพียงสั้นๆ 1.53 กิโลเมตร แต่เนื่องจากข้อจำกัดน้ำหนักบรรทุกของแพขนานยนต์ได้ไม่เกิน 60 คัน ต่อเที่ยว ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการ ก่อให้เกิดแถวคอยและการจราจรติดขัด ใช้เวลานานเพื่อรอแพขนานยนต์ ข้ามฝั่ง โดยเฉพาะในช่ วงวัน หยุด หรือฤดู กาลท่ องเที่ ย วในช่ วงเดื อนพฤศจิกายนถึงเดื อนเมษายนของทุ กๆ ปี นอกจากนี้ การเดินทางโดยใช้แพขนานยนต์ข้ามฝั่ง ยังมีข้อจำกัดด้านระยะเวลาการให้บริการ (06.00 – 22.00 น.) จึงเป็ น อุ ป สรรคต่ อการเดิ น ทาง โดยเฉพาะการนำส่ งผู้ ป่ ว ยไปยั งสถานพยาบาลในตั ว เมื องของจั งหวั ด กระบี่ ก่อให้เกิดความล่าช้าและอาจถึงขั้นการสูญเสียชีวิตได้ ประกอบกับในการเดินทางในช่วงกลางคืนหรือช่วงฤดูมรสุม ที่มีคลื่นลมแรงจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย และจากสถิติการเกิดอุบั ติเหตุที่ผ่านมา มีรถพยาบาล พลัดตกจากแพขนานยนต์ที่บริเวณท่าเทียบแพหัวหิน แพขนานยนต์ถูกคลื่นทะเลซัดล่ม และรถพลัดตกทะเล ขณะโดยสาร ก่อให้ เกิดการสูญ เสี ยต่ อชีวิต และทรัพ ย์สิ น ดั งนั้ น การก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลั น ตา ตำบล เกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จึงมีความจำเป็นเพื่ออำนวยความสะดวกต่อการ เดินทาง ลดการเกิดอุบัติเหตุทางคมนาคมทางน้ำ และเพิ่มประสิทธิภาพโครงข่ายทางคมนาคมในพื้นที่ให้ดียิ่งขึ้น ก) ผลกระทบต่อโครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมของชุมชน กิจกรรมการเตรียมพื้ นที่ตั้งหน่ วยก่อสร้าง โดยการก่อสร้างสำนั กงานชั่วคราว/บ้านพั ก คนงาน/พนักงาน การเตรียมพื้นที่สำหรับเก็บวัสดุก่อสร้าง การปรับพื้นที่ การรื้อย้ายสิ่งกีดขวาง งานดิน งานขุดเจาะ ฐานสะพานในทะเล การขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง งานระบบระบายน้ำ งานระบบสาธารณูปโภคและความ ปลอดภัย เป็นต้น การดำเนิน กิจกรรมก่อสร้างดังกล่าว อาจมีการปิดกั้น การจราจรบางส่วน ส่งผลกระทบต่อ ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนที่อยู่ใกล้กับแนวเส้นทางโครงการ โดยเฉพาะชุมชนหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการเดินทางไป -มาหาสู่กันระหว่างคนในชุมชน อาจมีผลกระทบต่อโครงสร้างความสัมพันธ์ ทางสังคมของชุมชนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้ แต่ผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้นเป็นเพียงผลกระทบชั่วคราวเฉพาะช่วง ก่อสร้างเท่านั้น ประกอบกับในระหว่างการก่อสร้าง โครงการได้กำหนดให้มีมาตรการจัดการจราจร เพื่อป้องกันและ ลดผลกระทบต่อการคมนาคมในพื้นที่ จึงทำให้ประชาชนสามารถเดินทางไปมาหา-สู่กันได้ตามปกติ เป็นผลกระทบ ด้านลบ โดยมีระดับผลกระทบระดับต่ำ ข) การท่องเที่ยวและการเดินทางของประชาชนในพื้นที่ ฝั่งตำบลเกาะกลางไปยั งฝั่ งตำบลเกาะลั น ตาน้ อย ด้ วยการใช้ บ ริการแพขนานยนต์ นั้ น ผลจากการสอบถาม หัวหน้าฝ่ายนิติการและการพาณิชย์ ผู้แทนที่ได้รับมอบหมาย ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ เมื่อวันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 เกี่ยวกับการให้สัมปทาน ท (ให้บริการแพขนานยนต์ระหว่างท่าเรือบ้านหัวหิน (เกาะลันตา) ไปยังท่าเรือคลองหมาก) สรุปได้ว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) กระบี่ ให้สัมปทาน บริษัท ส่งเสริมทรานเซอร์วิส จำกัด ให้บริการ แพขนานยนต์ในพื้นที่ โดยมีเงื่อนไขต่อสัญญาครั้งละ 3 ปี และเมื่อสอบถามถึงผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ ก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พบว่า กรมทางหลวงชนบท 4-268 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในระยะก่อสร้าง ยังคงในบริการแพขนานยนต์ของ บริษัท ส่งเสริมทรานเซอร์วิส จำกัด จนกว่าจะก่อสร้างโครงการ แล้วเสร็จ ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขในสัญ ญาระบุว่า “หากมีความจำเป็น ต้องใช้พื้น ที่หรือมีการเปิด ใช้สะพานเชื่อม เกาะลันตาฯ สามารถทำการหยุดให้บริการได้ทันทีโดยไม่ต้องมีมาตรการชดเชยใดๆ แต่ต้องแจ้งบอกเลิกสัญญา ล่วงหน้า 30 วัน” ส่วนค่าให้บริการแพขนานยนต์ ควบคุมราคาตามมติคณะกรรมการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สิน (ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543 โดยมีคณะกรรมการจัด หาประโยชน์ในทรัพ ย์สิน ประกอบด้ว ย นายก อบจ.กระบี่, สรรพากรจังหวัด กระบี่ , ธนารักษ์จังหวัดกระบี่ , ผู้อำนวยการสำนักงานที่ดินจังหวัดกระบี่ และผู้อำนวยการกองคลัง) ซึ่งบริษัท ส่งเสริม ทรานเซอร์วิส จำกัด ไม่สามารถขึ้นราคาเองได้เนื่องจากราคาได้ระบุในสัญญา ถ้าหากขึ้นราคาเท่ากับผิดสัญญา จึงไม่ส่งผลกระทบต่อการเดินทางของนักท่องเที่ยวและประชาชนในพื้นที่ ซึ่งยังคงเดินทางไปมาหา-สู่กันได้ตามปกติ เป็นผลกระทบด้านลบ โดยมีระดับผลกระทบระดับต่ำ ค) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจของชุมชน ในการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างต้องใช้แรงงานคนร่วมกับการทำงานของเครื่องจักร กำหนด ให้มีการจ้างแรงงานและคั ดเลือกแรงงานที่ถูกต้องตามกฏหมายเข้าทำงาน โดยพิจารณาเลือกคนงานที่เป็นคน ท้องถิ่นเป็นอันดับแรก จะทำให้มีเจ้าหน้าที่หรืออาจมีการจ้างแรงงานในพื้นที่ประมาณ 170 คน ใช้ระยะเวลา ประมาณ 3 ปี หรือ 900 วันทำงาน (ทำงานเดือนละ 25 วัน) ในกรณีที่มีการใช้จ่ายเฉลี่ ยคนละประมาณ 200 บาท/วัน (ร้อยละ 40 ของรายได้) จะส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนของเงินในท้องถิ่นประมาณ 34,000 บาท/วัน ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้น มีเงินหมุนเวียนในชุมชนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ซึ่งคาดว่าจะมีส่วนช่วยในการส่งเสริมการใช้จ่าย เกิดการหมุนเวียนของเงินในระบบเศรษฐกิจ ของท้องถิ่น ส่งผลดีต่อผู้ที่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป ส่วนผู้ประกอบอาชีพ ค้าขายหรือสถานประกอบการที่อยู่บริเวณใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างโครงการคาดว่าจะได้รับ ผลกระทบทั้งทางบวก และทางลบ โดยผลกระทบทางบวกจะเป็นการจำหน่ายสินค้าและบริการให้กับโครงการ ทำให้เศรษฐกิจรายได้ ของครัวเรือนเพิ่มขึ้น ส่วนผลกระทบทางลบนั้น คาดว่าจะเกิดขั้นในด้านความไม่สะดวกในการเดินทางหรือการ เข้า-ออกพื้นที่ และอาจจะต้องหยุดค้าขายชั่วคราว โดยเฉพาะช่วงที่มีกิจกรรมก่อสร้างบริเวณฝั่งตำบลเกาะกลาง ใกล้กับท่าเรือบ้านหัวหิน (เกาะลันตา) ได้แก่ ร้านขายของชำ ร้านขายอาหาร เป็นต้น แต่ทั้งนี้โครงการได้มีการกำหนด มาตรการให้เร่งรัดดำเนินการก่อสร้างโดยใช้ระยะเวลาให้สั้นที่สุด และในขณะดำเนินการก่อสร้างต้องเว้นพื้นที่ ทางเข้า-ออกพื้นที่ หรือจัดทำทางเข้า -ออกชั่วคราวให้กับทางสถานประกอบการที่คาดว่าได้รับผลกระทบจากการ ดำเนินกิจกรรมดังกล่าว จึงพิจารณาให้เป็นผลกระทบด้านบวก มีผลกระทบทางลบอยู่ในระดับต่ำ ง) ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ความวิตกกังวลของผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง เสียงดัง จากเครื่องจักรขนาดใหญ่ในระหว่างก่อสร้าง ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมก่อสร้างฐานรากของสะพาน ซึ่งอาจ ก่อให้เกิดความรู้สึกรำคาญ หงุดหงิด และอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตของผู้รับสัมผัสหรือผู้ ที่อาศัยอยู่ใกล้กับ พื้นที่ก่อสร้างได้ อย่างไรก็ตาม จะเห็นได้ว่า ในระยะก่อสร้างโครงการมีประเด็นผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ อยู่หลายประเด็น ซึ่ง ทางโครงการได้กำหนดให้มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้น ให้น้อยที่สุดไว้แล้ว และเพื่อให้มั่นใจว่ามาตรการต่างๆ จะถูกนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้กำหนดให้มีการ ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ ทั้ งในระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ เพื่อให้หน่วยงานเจ้าของโครงการได้ดำเนินการป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้นได้อย่าง ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป จึงพิจารณาให้มีผลกระทบด้านลบ ที่อยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-269 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ ก) ผลกระทบต่อโครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมของชุมชน เมื่อโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ แล้วเสร็จ จะช่วยเชื่อมต่อแนวเส้นทางในพื้นที่และเพิ่มประสิทธิภาพโครงข่ายการคมนาคม ทำให้ ประชาชนในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียงสามารถเดินทางไป -มาหาสู่กันได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ไม่มีความใช้จ่าย ในการข้ามเกาะโดยใช้แพขนานยนต์เหมือนก่อนมีสะพานโครงสร้าง ทำให้ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูงเดินทางไป-มาหาสู่ ได้บ่ อยขึ้น ความเหนี ยวแน่น หรือความเป็ น เนื้ อเดีย วกัน ของชุม ชนจะมี ความเหนี ยวแน่ น มากยิ่งขึ้น ส่ งผลให้ ความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนดียิ่งขึ้น หากเปรียบเทียบกับกรณีที่ไม่มีโครงการ จึงเป็นผลกระทบทางบวกอยู่ใน ระดับปานกลาง ข) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจของชุมชน เมื่อโครงการแล้วเสร็จ จะเป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมให้การคมนาคมมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น การท่องเที่ยวในพื้นที่โครงการขยายตัว การค้าขายทั้งนำสินค้าอุปโภคบริโภคเข้าไปบนเกาะลันตา และการส่งออก สินค้าทางการเกษตร เช่น ยางพารา และอาหารทะเล ขยายตัวและมีต้นทุนการขนส่งที่ ลดลง เศรษฐกิจชุมชน ได้รับผลจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจในพื้นที่ ทั้งฝั่งตำบลเกาะกลาง ตำบลเกาะลันตาน้อย และเกาะลันตาใหญ่ ช่วยส่งเสริมการขยายตัวของชุมชน เศรษฐกิจชุมชน แหล่งค้าขายและบริการต่างๆ ในพื้นที่เพิ่มขึ้น จึงเป็นการเพิ่ม ศักยภาพให้แก่ที่ดิน รวมทั้งอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ตามแนวเส้นทางและพื้นที่ใกล้เคียง ดังนั้น การพัฒนาโครงการฯ จึงเป็นผลกระทบด้านบวก โดยมีระดับผลกระทบระดับปานกลาง ค) ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและการท่องเที่ยว ผลการรวบรวมข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่เกาะลันตาจากกรมพัฒนาที่ดิน ในปี พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2561 ร่วมกับการประยุกต์ ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์ ที่ดินและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในช่วงที่ผ่าน พบว่า ในเขตพื้นที่เกาะลันตาช่วงปี พ.ศ. 2552-2561 มี การเปลี่ ย นแปลงการใช้ ที่ ดิ น ประเภทพื้ น ที่ ชุ ม ชนและสิ่ งปลู กสร้า งเพิ่ ม ขึ้น (ร้อยละ 224.76) ส่วนพื้นที่เบ็ดเตล็ดมีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 23.59 และพื้นที่เกษตรกรรมมีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 8.11 พื้นที่ป่าไม้มีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 3.17 และพื้นที่แหล่งน้ำมีการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 0.34 แสดงดังตารางที่ 4.7.1-1 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจะเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ป่าไม้ไปเป็น พื้นที่เพื่ อเกษตรกรรม และต่อมาพื้นที่เกษตรกรรมจะถูกเปลี่ยนแปลงไปเป็นพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเพื่ อ ที่อยู่อาศัย ปรากฎการณ์ดังกล่าว เกิดขึ้นในหลายพื้นที่ทั่วโลก และอาจรวมไปถึงพื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จะเห็ นได้ว่าที่ ผ่านมามี การเปลี่ ยนแปลงการใช้ ที่ ดิ น ในพื้ น ที่เกาะลัน ตาอย่างเห็ น ได้ชั ด โดยเฉพาะพื้ น ที่ ป่ าไม้ และพื้นที่เกษตรกรรมที่มีจำนวนลดลง พื้นที่ดังกล่าวถูกเปลี่ยนไปเป็นแหล่งชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ในกรณีที่มีการ เปิดใช้สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จะเป็น การเชื่อมต่อโครงข่ายเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ให้มี ประสิทธิภาพ ทางคมนาคมที่ได้มาตรฐาน ทำให้การเดินทาง มีค วามสะดวก และมีความปลอดภัย รวมทั้ งประหยัด เวลาในการเดิ น ทาง ซึ่ งไม่ต้ องใช้ บ ริการแพขนานยนต์ ดังเช่นในปัจจุบัน การเดินทางที่สะดวกเพิ่มขึ้นจะเป็นแรงดึงดูดทำให้นักท่องเที่ยวและเศรษฐกิจขยายตัว มีผลทำให้มีการจ้างแรงงานเพิ่มมากขึ้น เพื่อเข้ามาการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการท่องเที่ยวและ ธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้คนในพื้นที่มีงานทำเพิ่มมากขึ้น และมีแรงงานจากภายนอกเกาะลันตาเข้ามาทำงาน บนเกาะลัน ตา โดยแรงงานเหล่า นี้อ าจพัก อาศัย บนเกาะหรือบนฝั่ง ก็ไ ด้ เนื ่อง จากมีส ะพานข้า มเกาะลัน ตา กรมทางหลวงชนบท 4-270 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เชื่อมต่ออยู่ สามารถเดินทางได้สะดวก ดังนั้น ประชาชนในพื้นที่อาจเพิ่มขึ้นบ้างและทำให้ความห นาแน่นของ ประชากรในพื้นที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากพื้นที่ชุมชนหรือสิ่งปลูกสร้าง มีการจำกัดพื้นที่ก่อสร้างโดยผังเมือง และประกาศ พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมอำเภอเกาะลันตา การเดิ น ทางที่ ส ะดวกขึ้ น ทำให้ นั ก เรี ย นในพื้ น ที่ เกาะลั น ตามี ท างเลื อ กในการเลื อ ก สถานศึกษาระดับปฐมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาบนแผ่นดินได้สะดวกขึ้น สามารถใช้ได้ทั้งรถยนต์ส่วนตัว และ รถรับ-ส่งของโรงเรียน ทั้งสถานศึกษาในพื้นที่อำเภอคลองท่อม มีระยะทาง 40 กิโลเมตร และอำเภอเมืองกระบี่ มีระยะ 70 กิโลเมตร ดังนั้นการมีโครงการสะพานข้ามเกาะลันตา จึงเป็นการเปิดโอกาสในการเลือกสถานศึกษา ของนักเรียนในพื้นที่เกาะลันตา ตารางที่ 4.7.1-1 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพื้นที่เกาะลันตา พ.ศ. 2552-2561 ปี 2552 ปี 2555 ปี 2561 การ ลำดับ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ เปลี่ยนแปลง ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ (ไร่) (ไร่) (ไร่) (ร้อยละ) 1 พื้นที่เกษตรกรรม 31,027 32.97 31,256 33.21 28,740 30.54 - 8.11 2 พื้นที่ป่าไม้ 55,085 58.54 54,926 58.37 53,182 56.51 - 3.17 3 พื้นที่เบ็ดเตล็ด 3,141 3.34 3,132 3.33 2,391 2.54 - 23.59 4 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 2,229 2.37 2,168 2.30 7,178 7.63 224.76 5 แหล่งน้ำ 2,624 2.79 2,624 2.79 2,615 2.78 - 0.34 รวม 94,106 หมายเหตุ : + หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขนาดพื้นที่ในลักษณะเพิ่มจำนวนขึ้น - หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขนาดพื้นที่ในลักษณะลดจำนวนลง ทั้งนี้ การพัฒนาเส้นทางคมนาคมเป็นปัจจัยหนึง ่ ยส่งเสริมสภาพเศรษฐกิจของพื้นที่ให้ดี ่ ที่ชว ขึ้น ประกอบกับการพัฒนาจังหวัดกระบี่ให้เป็นเมืองท่องเที่ยวระดับโลก จึงทำให้ดึงดูดนักลงทุน ผู้ประกอบการ หลากหลายสาขา เข้ามาลงทุนภาคการท่องเที่ยวในพื้นที่ จึงเป็นสาเหตุให้เกษตรกรหันไปลงทุนภาคการท่องเที่ยว กั น เป็ น จำนวนมาก เนื่ อ งจากพื้ น ที่ เกษตรกรรมสร้ า งมู ล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ ได้ น้ อ ย ไม่ คุ้ ม กั บ มู ล ค่ า ของที่ ดิ น โดยเฉพาะในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว ประกอบกับพื้นที่เกาะลันตามีทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่สวยงาม จึงทำให้ มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาจำนวนมากอย่างต่อเนื่องทุกปี ทั้งกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างชาติ การศึกษาแผนพัฒนาจังหวัดกระบี่ ฉบับทบทวน รอบปี พ.ศ. 2564 เพื่อทบทวนแนว ทางการพัฒนาในแผนให้เหมาะสมกับสถานการณ์และปัญหาความต้องการในปัจจุบัน ให้เป็นทิศทางการพัฒนา และแก้ไขปัญหาที่ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำไปเป็นแนวทางหลัก ในการกำหนดทิศทางการพัฒ นาของแต่ละภาคส่วน เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัดกระบี่ ให้เป็นไป ในทิศทางเดียวกัน ทั้งด้านการท่องเที่ยว เกษตร อุตสาหกรรม พลังงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ภายใต้วิสัยทัศน์ “เมืองท่องเที่ยวคุณภาพระดับนานาชาติ เกษตร อุตสาหกรรมยั่งยืน สังคมน่าอยู่ มีการปรับตัวเท่าทันต่อบริบท การเปลี่ยนแปลง” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นการท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) เพิ่ ม ศั กยภาพให้ ได้ ม าตรฐานในระดั บ สากล และเชื่อมโยงการท่ องเที่ ย วระดั บ ภูมิ ภาคและนานาชาติ โดยให้ ความสำคัญกับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เพื่อสร้างความหลากหลายทางการท่องเที่ยว เพื่อพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงนิเวศให้สอดคล้องกับจุดยืนทางการท่องเที่ยวของจังหวัดที่เน้นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ รวมถึงเพื่อ กรมทางหลวงชนบท 4-271 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สร้างจิตสำนึกให้นักท่องเที่ยวตระหนักถึงความสำคัญ ของระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ยังสร้างทางเลือกใหม่ให้นักท่องเที่ยวด้วยพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้ศึกษาดูงาน อันเป็นการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้แหล่งท่องเที่ยวทั้งแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และเชิงเกษตร จากข้อมูลที่กล่าวมาในข้างต้น การส่งเสริมการท่องเที่ยวนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพรายได้และความเป็นอยู่ในสังคมสมัยใหม่ที่ดีขึ้น (โชติและคณะ, 2555) แต่อย่างไร ก็ตาม เจ้าหน้าที่ภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรเฝ้าระวังและสอดส่องดูแลไม่ให้เกิดการใช้ที่ดินผิดประเภท (Land Misuse) ไปจากข้อกำหนดหรือกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ (1) กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่ - เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 และใช้อยู่ถึงปัจจุบัน (2) กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัด กระบี่ พ.ศ. 2559 (3) กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือ บางประเภท ในพื้นที่บางส่วนในท้องที่อำเภอเกาะลันตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง และอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 (4) กฎกระทรวง กำหนดบริเวณห้ ามก่อสร้าง ดัด แปลง หรือเปลี่ย นการใช้อาคารบางชนิ ด หรือบางประเภท ในพื้ น ที่ บ างส่ วน ในท้องที่อำเภอเกาะลันตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ พ.ศ. 2557 ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 (5) ประกาศกระทรวงทรัพ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม เรื่อ ง กำหนดเขตพื้ น ที่ แ ละมาตรการคุ้ ม ครอง สิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 และ (6) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจ การ หรือการดำเนิ น การ ซึ่งต้ องจัด ทำรายงานการประเมิ น ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิ ธี การ และเงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (วันที่ 4 มกราคม 2562) ตาม พรบ. ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 นอกจากนี้ ควรมีแนวทางการพัฒนาและการบริหารจัดการ แหล่งท่องเที่ยวให้มีคุณ ภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งมีการจัดวางระบบผัง เมืองและบังคับใช้กฏหมายอย่างเข้มงวด และพัฒนาปัจจัยแวดล้อมเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการแข่งขันที่สร้างสรรค์และเป็นธรรม (สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 25501) ดังนี้ ระยะแรก • เนื่องจากการท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะลันตา เป็นการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ทั้งที่เป็น หาดทราย ชายทะเล และแหล่งดำน้ำดูปะการังตามหมู่เกาะต่างๆ ควรมีการปรับปรุงภูมิทัศน์และการใช้ประโยชน์ ที่ดิน โดยมีข้อสรุปที่ชัดเจนเรื่องผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ โดยอาจประยุกต์และบังคับใช้กฏหมายก่อสร้าง อาคารและที่ดินที่ มีอยู่อย่างเข้มงวด ส่ งเสริมการอนุรักษ์สิ่ งแวดล้อมและการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของพื้นที่ อย่างจริงจัง กำหนดให้มีส วนสาธารณะ สวนพฤษศาสตร์ พื ้น ที่เปิด โล่ง และพื้น ที่ป่า ในอัต ราส่วนที่ม ากกว่า การก่อสร้างอาคารที่พักและอาคารพาณิชย์ และจัดทำป้ายบอกทางที่ชัดเจน และ/หรือแผนที่บริเวณข้างถนน เพื่ออำนวยความสะดวกกับนักท่องเที่ยว • เร่งรัด งบประมาณเพื่ อเพิ่ มจำนวนเตาเผาขยะหรือเพิ่ ม ศักยภาพของเตาเผาที่มี อยู่ ให้ ส ามารถรองรับ การกำจั ด ขยะได้ ทั น ในแต่ ล ะวัน เพื่ อแก้ไขปั ญ หาขยะตกค้างและการกำจั ด ที่ ไม่ ถูกวิธีที่ ส่ ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเร่งรณรงค์ส่งเสริม การคัดแยกขยะของต้นทาง และการแยกขยะ Recycle อย่างจริงจัง 1 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2550. แนวทางการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของ การท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ตอย่างยั่งยืน พ.ศ. 2550-2554. กรมทางหลวงชนบท 4-272 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม • เร่งรัดให้มีการใช้เทคโนโลยีและระบบบำบัดน้ำเสียรวมแทนที่ระบบบ่อเกรอะ (Septic Tank) ในพื้นที่ที่มีนักท่องเที่ยวสูง มีกิจกรรมท่องเที่ยวหนาแน่นและเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยกำหนดเงื่อนไขให้ โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงแรมและที่พักตากอากาศ รีสอร์ท มีการบูรณา การระบบบำบัดน้ำเสียกับชุมชนที่อยู่อาศัย โดยขยายบริการระบบบำบัดน้ำเสียของตนเองให้แก่ชุมชน • ศึกษาขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว (Tourism Carrying Capacity) เพื่อนำไปสู่การกำหนดมาตรการควบคุมจำนวนห้องพัก สิ่งปลูกสร้าง และจำนวนนักท่องเที่ยว ระยะกลางและระยะยาว • มีแผนการจัดการการท่ องเที่ ยวในภาพรวมที่มีแนวทางปฏิบัตที่ ชัดเจน เพื่ อการใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถกำหนดทิศทางการพัฒนาในภาพรวมและส่งเสริ มการสร้างบรรยากาศ ท่องเที่ยว เช่น การอนุญาตให้ก่อสร้างอาคารถาวรควรเป็นไปอย่างมีทิศทาง และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ ก่อให้ เกิดการทำลายทัศนียภาพและภูมิทัศน์ของพื้นที่ • ศึ ก ษาทบทวนแผนปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ การจั ด การคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มระดั บ จั ง หวั ด และแผนปฏิบัติการเพื่อลดผลและขจัดมลพิษ ให้สอดคล้ องกับสถานการณ์ ในปัจจุบันและแนวโน้มความเสี่ยง ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต • มี แนวทางแก้ไขปั ญ หาการบำบั ด น้ ำเสี ย ในภาพรวมของจังหวัด ด้ ว ยเหตุ ที่ องค์กร ปกครองท้องถิ่น แต่ละแห่ง มีความตระหนั กในปัญ หาและความพร้อมในการแก้ไขปัญ หาที่แตกต่างกัน ดังนั้ น จึงควรมีการพัฒนาระบบบำบัดน้ ำเสียรวมในแต่ละพื้ นที่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสมัยใหม่ สามารถรองรับการ เติบโตของความเป็นเมืองท่องเที่ยวศักยภาพสูงของจังหวัดกระบี่ • พัฒนาระบบบำบัดมลพิ ษที่ ได้คุณภาพมาตรฐานและเพียงพอ ทั้งระบบบำบัดน้ ำเสี ย และขยะ • สร้างจิตสำนึกในทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • บังคับใช้กฎหมายจริงจังกับผู้ที่ทำให้เกิดมลภาวะแก่สิ่งแวดล้อม • ป้องกันการก่อให้เกิดมลพิษในทะเล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแหล่งท่องเที่ ยวสำคัญ ที่ น้ำทะเลมีคุณภาพลดลง • ป้องกันและปรามปราบการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ และบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง รวมทั้ง เร่งฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมที่ถูกบุกรุก 4.7.2 การโยกย้ายและเวนคืน 1) กรณีไม่มีโครงการ กรณีไม่มีโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จะไม่มีผลกระทบต่อการการโยกย้ายและการเวนคืนแต่อย่างใด 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง งานเตรียมพื้นที่สำหรับก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบล เกาะลัน ตาน้อย อำเภอเกาะลั นตา จังหวัดกระบี่ จะส่งผลกระทบต่อการโยกย้ายและการเวนคืนที่ ดิน 1 ราย จำนวน 1 แปลง เนื้อที่ดินจำนวน 0 ไร่ 0 งาน 44 ตารางวา โดยรายชื่อผู้ถูกเวนคืนที่ดินและทรัพย์สินอันเนื่องจาก กรมทางหลวงชนบท 4-273 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การพั ฒ นาโครงการ คือ เป็ นเอกสารสิท ธิ์ สค.1 มีผลกระทบต่อทรัพ ย์สิน อาชี พ รายได้ และวิถีชีวิตของประชาชนโดยตรง มีระยะการเกิดผลกระทบตลอดอายุโครงการหรือเกิดขึ้นอย่างถาวรต่อครัวเรือน ที่ต้องสูญเสียที่ดินทำกินหรือที่อยู่อาศัยรวมทั้งสิ่งปลูกสร้าง ทั้งนี้ เจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืนจากโครงการ ได้ทำหนังสือแสดงความประสงค์ เรื่องการอุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการเข้าไปดำเนินการเพื่อให้มีประโยชน์ร่วมกัน ดังนั้น การก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัด กระบี่ จึงไม่ต้องมีการจ่ายค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินหรือค่าเวนคืนที่ดินแต่อย่างใด (2) ระยะดำเนินการ กิจกรรมการคมนาคมบนถนนโครงการและงานบำรุงรักษา เพื่อต่ออายุให้อยู่ในสภาพที่ใช้งาน ได้นานขึ้น รวมทั้งแก้ไขปรับปรุงหรือเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้ใช้เส้นทางสามารถใช้ทางเป็นไปด้วย ความปลอดภัย ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อการโยกย้ายและเวนคืนที่ดินแต่อย่างใด 4.7.3 การสาธารณสุข 4.7.3.1 กรณีไม่มีโครงการ พื้นที่โครงการอยู่ในเขตจังหวัดพัทลุงและจังหวัดสงขลา มีสถานบริการสาธารณสุขให้บริการได้ค่อนข้าง ทั่วถึง ทั้งนี้ในกรณีไม่มีโครงการคาดว่าสภาพปัญหาด้านสาธารณสุขบริเวณพื้นที่โครงการจะเพิ่มขึ้นในปริมาณ ไม่มากนัก โดยโรคระบบทางเดินหายใจ กลุ่มอาการ อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบได้จากการตรวจทางคลินิค และทางห้องปฏิบัติการที่ไม่สามารถจำแนกโรคในกลุ่ มอื่นได้ และโรคระบบย่อยอาการรวมโรคในช่องปากยังคง เป็นสาเหตุหลักของการเจ็บป่วยของประชาชนนพื้นที่เช่นเดิม 4.7.3.2 กรณีมีโครงการ 1) ระยะเตรียมการก่อสร้างและระยะก่อสร้าง (1) การกลั่นกรองโครงการ (Screening) โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลั นตาน้ อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีพื้นที่ศึกษาโครงการระยะ 500 เมตร (นับจากกึ่งกลางแนวเส้นทางออกไปทั้งสองฝั่งทาง) ซึ่งตาม รูปแบบการพัฒนาโครงการครั้งนี้ คาดว่าจะผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่สำคัญอยู่หลายประเด็น ซึ่งการระบุสิ่งคุกคาม สุขภาพ พื้นที่ และประชากรที่อ่อนไหว จะพิจารณาภาพรวมของผลกระทบที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นจากการดำเนิน กิจกรรมการพั ฒ นาโครงการ ตามข้อมูล พื้ น ฐานที่ เกี่ย วกับโครงการ ได้แก่ หลัก การ วัต ถุป ระสงค์ เป้า หมาย รายละเอีย ดเกี่ยวกับโครงการ ประชากรหรือกลุ่มประชาชนที่อาศัยอยู่ ในพื้นที่โครงการ ผลกระทบที่ระบุได้ใน ขั้นตอนนี้ อาจจะมีหรือไม่มีนัยสำคัญ ต่อสถานะทางสุภาพของประชาชนและชุม ชนในพื้น ที่โ ครงการ รวมถึง ผลกระทบทางสุขภาพต่อคนงานก่อสร้างของโครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการคัดกรองในการศึกษา ประกอบด้วย การสำรวจพื้นที่ในภาพกว้าง การพบปะประชาชนและชุมชน เจ้าหน้ าที่สาธารณสุของค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐในพื้นที่โครงการ สิ่งคุกคามทางกายภาพที่ ส่งผลกระทบทางสุขภาพ ได้แก่ ฝุ่ นละอองที่ อาจเกิ ดขึ้นจากกิจกรรม การก่อสร้าง ควันไอเสียจากเครื่องจักร ยานยนต์ที่ขนส่งเครื่องจักรกลและวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง เสียงรบกวน และ ความสั่นสะเทือน ซึ่งผู้อยู่อาศัยใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างสามารถรับสัมผัสได้ทางลมหายใจ ทางการมองเห็น การได้ ยิน กรมทางหลวงชนบท 4-274 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และความรู้สึก หากได้รับผลกระทบในระยะเวลายาวนานจะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้ เช่น โรคระบบ ทางเดินหายใจ โรคเกี่ยวกับระบบการได้ยินเสียงรวมถึง ทัศนวิสัยในการมองเห็นระยะไกล โดยปัจจัยที่ก่อให้ เกิด สิ่งคุกคามทางกายภาพ คือ ฝุ่นละออง อนุภาคขนาดเล็ก คุณภาพอากาศ ระดับเสียง คุณภาพน้ำผิวดินที่เปลี่ยนแปลง ไปของแหล่งน้ำที่อยู่ใกล้บ้านพักคนงานก่อสร้างและอาคารสำนักงานควบคุมการก่อสร้าง อันเนื่อ งมาจากน้ำทิ้ง จากบ้านพักคนงานและอาคารสำนักงานดังกล่าว ความสั่นสะเทือน อุบัติเหตุและความปลอดภัย การจัดการระบบ สุขาภิบาลบริเวณบ้านพั กคนงานก่อสร้างและอาคารสำนักงานควบคุมการก่ อสร้าง รวมไปถึงเพิ่มภาระงานของ ระบบการให้บริการทางสาธารณสุขและบริการ อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของแรงงานต่ างถิ่นและอาจเกิดการ เจ็บป่วยของประชาชนในพื้นที่และคนงานก่อสร้างอันเนื่องมาจากกิจกรรมของโครงการ สำหรับสิ่งคุกคามทาง จิตใจที่อาจส่งผลกระทบในระยะก่อสร้าง ได้แก่ ความวิตกกังวล ความรำคาญ ความเครียด และความกลัว รวมถึง อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางบก เนื่องจากการก่อสร้ างโครงการอาจจะทำให้สภาพแวดล้อมต่างๆ โดยรอบพื้นที่ ก่อสร้างเปลี่ยนแปลงไปและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างเปลี่ยนแปลง ไปได้เช่นกัน ดังนั้ น จึงอาจทำให้เกิด ความรู้สึกที่กระทบต่อสภาพจิตใจของผู้ที่ได้รั บผลกระทบ โดยความรู้สึ ก จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึ้น และระยะเวลาในการได้รับผลกระทบนั้นๆ ซึ่งปัจจัย ที่อาจก่อให้เกิดสิ่งคุกคามทางจิตใจ คือ ฝุ่นละออง คุณภาพน้ำผิวดิน คุณภาพอากาศ ระดับเสียง ความสั่นสะเทือน การคมนาคมขนส่ง การระบายน้ำและการควบคุมน้ำท่วม เศรษฐกิจและสังคม การโยกย้ายและการเวนคืน กลุ่มที่ อาจเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบดังกล่าวข้างต้น อันดับแรก ได้แก่ ประชาชนผู้ที่เป็นเจ้าของพื้นที่ที่ต้องถูกเวนคืน ที่ดิน และคนงานก่อสร้างเนื่องจากเป็นผู้ที่ได้รับสัมผัสสิ่งคุกคามทางสุขภาพโดยตรง รองลงมา ได้แก่ ประชาชน/ ชุมชน ที่อยู่บริเวณพื้นที่ก่อสร้างหรือโดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง ประชาชนผู้ใช้เส้นทางสัญจรไป -มา ในขณะที่มีการ ดำเนินกิจกรรมในระยะก่อสร้าง (2) การกำหนดขอบเขตการศึกษา (Scoping) การกำหนดขอบเขตการศึ ก ษาผลกระทบทางสุ ข ภาพจากกิ จ กรรมต่ า งๆ ของโครงการ ได้พิจารณาจากข้อมูลรายละเอียดโครงการ ข้อมูลสภาพแวดล้อมในปัจจุบันของพื้นที่โครงการฯ ข้อมูลสุขภาพ ในปั จ จุ บั น รวมทั้ งกลุ่ ม เสี่ ย งที่ อาจจะได้ รับ ผลกระทบทางสุ ข ภาพ สุ ขภาพจิ ต ประกอบกับ โอกาสที่ จ ะเกิ ด ผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งทางกายและจิตใจ โดยพิจารณาจากกิจกรรมหรือกระบวนการทำงาน และปัจจัยกำหนด สุขภาพหรือสิ่งคุกคาม ได้แก่ โรคภัยไข้เจ็บ ทรัพยากรและความพร้อมด้านสาธารณสุข แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลและบุคลากรทางการสาธารณสุข เสียง ความสั่นสะเทือน ฝุ่น คุณ ภาพน้ำดื่ม น้ำใช้ น้ำเสีย น้ำผิวดิน ขยะของเสีย /กากของเสีย การจราจร/อุ บั ติ เหตุ จากการจราจร การชดเชยทรัพย์ สิ น อาชีวอนามั ยและความ ปลอดภัยจากการทำงาน การจ้างงาน/การค้า การท่องเที่ยวและเศรษฐกิจ เป็นต้น เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปได้ ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพ ทั้ งทางบวกและทางลบต่อประชาชน ชุมชน และคนงานก่อสร้างในพื้นที่ โครงการ (3) การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Risk Assessment) การประเมินผลกระทบทางสุ ขภาพ (Health Risk Assessment) มี วัต ถุป ระสงค์หลั กในการ คาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินการของโครงการหรือกิจการ โดยพิจารณาจากปัจจั ย ที่เกี่ยวข้องตามหลักการของการประเมิน ความเสี่ยง ได้แก่ การระบุสิ่งคุกคามสุขภาพ ( Hazard identification) ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งปริ ม าณกั บ การตอบสนอง ( Dose-response relationship) การประเมิ น การสั ม ผั ส (Exposure assessment) และการจำแนกลั กษณะความเสี่ ย ง (Risk characterization) ตามที่ ได้ กำหนดไว้ ใน ขั้นตอนการกำหนดขอบเขตการศึกษา (Scoping) โดยต้องมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ (1) การนำเสนอข้อมูลของ สิ่งคุกคามสุขภาพ การเจ็บป่วย โรค การบาดเจ็บ ความพิการ และปัจจัยต่างๆ ที่ มีผลต่อสุขภาพ (2) ขนาดของ กรมทางหลวงชนบท 4-275 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ความเสี่ยงและผลกระทบทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น ทั้งทางบวกและลบ (3) ความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยที่มีผล ต่อสุขภาพกับผลกระทบทางสุขภาพ และ (4) มาตรการในการลดผลกระทบทางสุขภาพและมาตรการติดตาม ตรวจสอบ ก) โอกาสของการเกิดผลกระทบ การจัดกลุ่มระดับโอกาสของการเกิดผลกระทบ พิจารณาจาก ความเป็นไปได้ของการเกิดเหตุการณ์นั้นๆ ในประชากรกลุ่มเสี่ยง โดยอาศัยข้อมูลการเกิดเหตุการณ์และมาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบ ซึ่งนิยามสำหรับโอกาสการเกิดผลกระทบ (Likelihood) แสดงดังตารางที่ 4.7.3-1 ข) ความรุนแรงของผลที่เกิดตามมา การจัดแบ่งระดับความรุนแรงของผลที่เกิดขึ้นตามมา ในประชากรกลุ่มเสี่ยง ดังตารางที่ 4.7.3-2 ค) ระดับ ผลกระทบ จากการพิ จารณาจากโอกาสของการเกิดผลกระทบและความรุนแรง ของผลที่เกิดขึ้น ตามมาดังกล่าวข้างต้น สามารถแสดงเป็นตารางความเสี่ยงทางสุขภาพ (Health Risk Matrix) แสดงตารางที่ 4.7.3-3 โดยนำมากำหนดระดับผลกระทบต่อสุ ขภาพที่เกิดขึ้นจากโครงการ แสดงดังตารางที่ 4.7.3-4 ง) ผลการประเมินผลกระทบและมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบทางสุขภาพ การ ประเมินผลกระทบด้านการสาธารณสุขของโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เป็น การคาดการณ์ ผลกระทบต่อสุขภาพที่ จะเกิดขึ้นกับประชาชนที่อยู่อาศั ย บริเวณพื้นที่อ่อนไหวตามแนวเส้นทางโครงการและผู้ที่สัญจรไป -มาบนถนน ซึ่งครอบคลุมทั้งผลกระทบเชิงบวก และเชิงลบจากการดำเนินงานของโครงการ โดยการประเมินผลกระทบด้านสาธารณสุขของโครงการ ได้ประยุกต์ ตามแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของสำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ฉบั บเดื อนเมษายน พ.ศ. 2556 โดยเริ่ม จากการ กลั่นกรองเบื้องต้น (Screening) การกำหนดขอบเขตการศึกษา (Scoping) โดยการศึกษาและอ้างอิงข้อมูลทุติยภูมิ ทางสาธารณสุข และข้อมูลพื้นฐานด้านอื่นๆ ที่มีอยู่เดิมก่อนการพัฒนาโครงการ จากนั้นจะใช้หลักการประเมิน ความเสี่ยงทางสุขภาพ (Health Risk Assessment) เพื่อการวิเคราะห์คาดการณ์ระดับของผลกระทบและความ เป็นไปได้ของการเกิดผลกระทบดังกล่าว โดยพิจารณาทั้ งโอกาสการเกิดผลกระทบและระดับความรุนแรงของ ผลกระทบ ผลของการประเมิ น ผลกระทบทางสุ ขภาพจะนำไปสู่ การกำหนดมาตรการการป้ องกัน และแก้ไข ผลกระทบทางสุขภาพ รวมทั้งแผนปฏิบัติการติดตามตรวจสอบผลกระทบทางสุขภาพที่เหมาะสม ตารางที่ 4.7.3-1 นิยามโอกาสของการเกิดผลกระทบ โอกาสเสี่ยงที่จะเกิดผลกระทบ นิยาม ต่อสุขภาพ (Likelihood) 1 - มีความเป็นไปได้น้อยมาก ไม่เคยมีสถิติการเกิด มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ (น้อยมาก) 2 - มีความเป็ น ไปได้น้ อย มี ข้อมู ลแสดงว่ามี แนวโน้ม ที่ จ ะเกิ ด แต่ยังขาดสถิติที่ ชัด เจนจาก (น้อย) ข้อมูลที่มีอยู่สนับสนุน มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ 3 - มีค วามเป็ น ไปได้ป านกลาง หรือ มี สถิ ติจ ากข้ อมู ล ที่มี อ ยู่ส นั บ สนุ น การคาดการณ์ ค วาม (ปานกลาง) เป็น ไปได้ไม่มีมาตรการป้องกั นและแก้ ไขผลกระทบ หรือมาตรการที่มีอยู่ไม่ครอบคลุม การเกิดเหตุการณ์หรือเป็นข้อกังวลและห่วงใยของผู้มีส่วนได้เสีย 4 - เคยเกิ ดเหตุก ารณ์ ไม่มี มาตรการป้ องกั น และแก้ ไขผลกระทบ หรือมาตรการที่ มี อยู่ ไม่ (สูง) เพียงพอ ที่มา : ดัดแปลงจาก http://doh.gov.ph/ehia.htm กรมทางหลวงชนบท 4-276 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-2 นิยามความรุนแรงของผลที่เกิดขึ้นตามมา ระดับผลกระทบ นิยาม (Health Consequences Rating) - เกิ ด การบาดเจ็ บ หรื อ การเจ็ บ ป่ ว ยเล็ ก น้ อ ย : ไม่ เกิ ด ผลกระทบต่ อ การทำงานหรื อ 1 การดำเนินกิจวัตรประจำวัน ไม่เกิดการเจ็บป่วยในชุมชน (ต่ำ) - สิ่งที่ก่อให้เกิดโรคไม่มีอันตรายต่อสุขภาพ - เกิ ด การบาดเจ็ บ หรื อ การเจ็ บ ป่ ว ยปานกลาง : ส่ ง ผลกระทบต่ อ การทำงานหรื อ การดำเนินกิจวัตรประจำวันต่อกลุ่มเสี่ยงในชุมชนเป็นเวลานาน 2 - สิ่งที่ก่ อให้เกิ ดโรคสามารถทำให้เกิ ดผลกระทบต่ อสุ ขภาพในระดับ ที่ ไม่ รุนแรง เช่ น (ปานกลาง) เสียงดังรบกวน อันตรายจากท่าทางของการทำงาน - อัตราการป่วยเพิ่มขึ้น มีการบาดเจ็บ และมีการสะสมกลุ่มเสี่ยง - ทำให้เกิดการเจ็บป่วยอย่างถาวร - สิ่งที่ ก่อ ให้เกิดโรคสามารถส่งผลกระทบที่รุนแรง ทำให้เกิ ดการสูญ เสีย หรือการตาย 3 ในกลุ่มคนงานและกลุ่มเสี่ยงที่อยู่ในชุมชน เช่น กรด -ด่าง ในห้องปฏิบัติการ สารเคมี (สูง) ที่สามารถก่อ ให้เกิดมะเร็งในสิ่งแวดล้อม - มีการเสียชีวิต เสียค่าใช้จ่ายฟื้นฟู สะสมกลุ่มเสี่ยง ผลกระทบต่อชุมชนในพื้นที่/ใกล้เคียง ที่มา : ดัดแปลงจาก http:// doh.gov.ph/ehia.htm ตารางที่ 4.7.3-3 Health Risk Matrix ที่ใช้ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ความรุนแรงของผลที่ตามมา คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน 2 (มีการเสียชีวิต เสียค่าใช้จ่าย (เกิดเจ็บป่วยเล็กน้อย (เพิ่มอัตราป่วย มีบาดเจ็บ ฟื้นฟู สะสมกลุ่มเสี่ยง ผลกระทบ ไม่มีผลกระทบ) มีการสะสมกลุ่มเสี่ยง) โอกาสการเกิด ต่อชุมชนทั้งในพื้นที่/ใกล้เคียง) คะแนน 1 มีความเป็นไปได้น้อยมาก 1x1=1 1x2=2 1x3=3 คะแนน 2 มีความเป็นไปได้น้อย 2x1=2 2x2=4 2x3=6 คะแนน 3 มีความเป็นไปได้ปานกลาง 3x1=3 3x2=6 3x3=9 คะแนน 4 เคยเกิดเหตุการณ์ 4x1=4 4x2=8 4 x 3 = 12 ไม่มีมาตรการฯ/ไม่เพียงพอ ตารางที่ 4.7.3-4 นิยามของระดับผลกระทบทางสุขภาพ คะแนน ความเสี่ยงระดับ คำนิยาม จากตาราง ผลกระทบ 1 น้อยมาก ไม่ก่อให้เกิดผลเสียหายต่อสุขภาพ ไม่เพิ่มอัตราป่วย/ตาย ฯลฯ 2-3 ต่ำ อาจต้องมีการเฝ้าระวัง หรือปรับปรุงมาตรการที่มีอยู่เดิมให้เหมาะสม 4-9 ปานกลาง เพิ่มอัตราป่วย มีบาดเจ็บ ต้องมีการตรวจสอบมาตรการที่มีอยู่ หรือปรับปรุงให้สอดคล้อง 10-12 สูง ผลต่ อสุข ภาพในวงกว้าง มี ก ารเสีย ชี วิต ต้อ งใช้ งบประมาณเพิ่ ม มาตรการ และ/หรือ ปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินงาน ที่มา : ดัดแปลงจาก http://www.doh.gov.ph/ehia.html กรมทางหลวงชนบท 4-277 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินถึงศักยภาพและนัยสำคัญของผลกระทบ จะพิจารณาทั้งผลกระทบในเชิ งบวกและ เชิงลบ อันเนื่องมาจากการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาโครงการ โดยใช้วิธีวิเคราะห์เชิงคุณภาพ Risk Matrix มาเป็น เครื่องมือในการประเมินระดับของผลกระทบ ซึ่งพิ จารณาจากโอกาสของการเกิดผลกระทบ (Likelihood) และ ขนาดความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึ้นตามมา (Severity of Consequences) โดยระดับโอกาสของการเกิด ผลกระทบจะพิจารณาจากค่าความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์นั้นๆ และความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ส่วนระดับ ความรุนแรงของผลกระทบที่ จะเกิดตามมา จะพิจารณาจากประเด็นหลักของประชากรกลุ่มเสี่ยง (Risk Group) (โดยพิจารณาจากความอ่อนแอ/ความอ่อนไหวต่อการได้รับผลกระทบทางสุขภาพอันเนื่องจากปัจจัยของระบบ ภูมิคุ้มกัน การพัฒนาระบบสรีระทางร่างกาย) และความสูญเสียที่เกิดตามมา ( loss and Damage) (โดยพิจารณา จากอัตราการป่วย จำนวนการบาดเจ็บ และความรุนแรงของการบาดเจ็บ ความเสียหายทางกายภาพ เช่น จำนวน และระดับความเสียหาย ที่เกิดขึ้นกับระบบสาธารณู ปโภค ความต้องการดูแลในภาวะฉุกเฉิน ความปลอดภัยใน ชุมชน และผลกระทบต่ออนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน) ทั้งนี้ ระดับของผลกระทบจะพิ จารณาจากผลคูณระหว่าง คะแนนของโอกาสเกิดและความรุ นแรงของผลกระทบที่ตามมาโดยใช้หลักการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพ (Health Risk Matrix) ซึ่งผลการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพในระยะเตรียมการก่อสร้างและระยะก่อสร้าง แสดงดังตารางที่ 4.7.3-5 2) ระยะดำเนินการ สิ่งคุกคามทางกายภาพที่สำคัญ ได้แก่ ฝุ่นละออง เสียงรบกวน เช่นเดียวกับในระยะก่อสร้าง แต่ไม่ได้ เกิดจากกิจกรรมการก่อสร้าง มักจะเกิดจากการสัญจรไป-มาของรถบนถนนโครงการการรับสัมผัสสามารถเกิดขึ้นได้ ทั้งทางลมหายใจ การได้ยินและการรู้สึก ซึ่งการได้รับผลกระทบจากสิ่งคุกคามจะส่งผลให้มีความเสี่ยงต่ อสุขภาพ ซึ่งปัจจัยที่ก่อให้เกิดสิ่งคุกคามทางกายภาพในระยะดำเนินการ คือ คุณภาพอากาศ ระดับเสียง ความปลอดภัย และ อุบัติเหตุ โดยสิ่งคุกคามทางจิตใจที่อาจส่งผลกระทบทางสุขภาพในระยะดำเนินการ ได้แก่ ความวิตกกังวล ความ รำคาญ รวมถึงอาจก่อให้เกิดอุบั ติเหตุ เนื่องจากเมื่อเปิดดำเนินการโครงการจะทำให้สภาพแวดล้อมต่างๆ โดยรอบ พื้นที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน/ชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงพื้นที่โครงการจะเปลี่ยนแปลง ไปเช่นกัน จึงทำให้เกิดความรู้สึกที่กระทบต่อสภาพจิตใจของผู้ที่ได้รับผลกระทบ ซึ่ งปัจจัยที่ก่อให้เกิด สิ่งคุกคาม ทางจิ ตใจ คื อ คุ ณภาพอากาศ ระดั บเสี ยงความสั่ นสะเทื อน การคมนาคมขนส่ ง เศรษฐกิจ-สั งคม อุบั ติ เหตุ และ ความปลอดภัย โดยกลุ่ มที่ เสี่ ยงต่ อการได้รับผลกระทบดั งกล่าวข้างต้ น ได้ แก่ ประชาชนที่ พั กอาศัยอยู่ ในบริเวณ โดยรอบพื้นที่โครงการ และผู้ใช้เส้นทางสัญจรไป-มา นอกจากสิ่งคุกคามทางสังคมแล้ว ผลกระทบทางสังคมด้านบวก เช่น ความรู้สึกสะดวกสบายในการเดินทางสัญจรเพิ่มมากขึ้น เป็นต้น สิ่งคุกคามสุ ขภาพและกิจ กรรมของโครงการที่ ท ำให้ เกิดความเสี่ ยงต่อสุขภาพ เช่น เสีย งดั งจาก ยานพาหนะบนถนนโครงการ เป็นต้น ทั้งนี้ ผลการจัดระดับความสำคัญ ของผลกระทบดังกล่าวจะนำไปพิจารณา จัดทำมาตรการในการลดผลกระทบ มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ และมาตรการในการชดเชยให้กับ ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ แสดงดังตารางที่ 4.7.3-6 กรมทางหลวงชนบท 4-278 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ 1. คุณภาพอากาศ ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การเปิดหน้าดิน คนงานก่อสร้าง ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ทำการฉีดพรมน้ำบนผิวถนนและพื้นที่ก่อสร้ างเป็นประจำ โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ - เมื่อมนุษย์หายใจเอามลพิษทาง งานดิน/หิน การ - กิจกรรมที่ก่อให้เกิดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง ผลการคาดการณ์ด้วยแบบจำลองคณิ ต ศาสตร์ AERMOD (3×2) = 6 อ่อนไหวและแหล่งชุมชนที่ได้รับผลกระทบด้านฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐานกำหนด อากาศเข้าไปในร่างกาย เช่น ขุดเจาะฐานราก ได้แก่ งานรื้อย้าย ปรับพื้นที่ งานดินตัด/ดินถม ตามการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการ พบว่า - จำกัดความเร็วของรถบรรทุกไม่เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง ขณะวิ่งผ่านแหล่งชุมชน ควันก๊าซต่างๆ ฝุ่นละออง จำเป็นต้องใช้เครื่อง- การขนส่งวัสดุแ ละอุ ปกรณ์ก่อ สร้างต่างๆ และ - ฝุ่น ละอองรวม ( TSP) มี ค่ า สู งกว่า มาตรฐานที่ ก ำหนด และพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสารเป็นพิษ จะมีผล จักรกลขนาดใหญ่ การขุ ดเจาะฐานราก เป็ นต้ น กิ จกรรมดั งกล่ าว (0.33 mg/m3) - ใช้ผ้าใบปิดคลุมท้ายรถบรรทุกอย่างมิดชิด เพื่อป้องกันการตกหล่นและการฟุ้งกระจาย ต่อร่างกายและเป็นสาเหตุของ - การขนส่งวัสดุ ก่อให้เกิดมลพิษทางอากศ และการฟุ้งกระจาย - ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ( PM10) มีค่า ของฝุ่นละออง โรคต่างๆ เช่น โรคเกี่ยวกับ ก่อสร้าง โดยใช้ ของฝุ่นละออง ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดิน สูงกว่ามาตรฐานที่กำหนด (0.12 mg/m3) - จัดให้มีเจ้าหน้าที่ทำความสะอาดกวาดดิน หิน และทราย ที่ตกหล่นอยู่บนผิวจราจร ระบบหายใจ โรคมะเร็งที่ปอด รถบรรทุกขนาดใหญ่ หายใจของคนงานก่อสร้าง ที่ทำงานอยู่ใกล้กับ - ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) มีค่าต่ำกว่ามาตรฐานที่ อยู่เป็นประจำ โรคหลอดเลือดแข็ง โรคหัวใจ แหล่งกำเนิดและมีโอกาสรับสัมผัสโดยตรง กำหนด (30.0 ppm.) - ตรวจสอบสภาพและบำรุงรักษาเครื่องจักรต่างๆ ที่ใช้ในการก่อสร้า ง ตามคู่มือการ ปอด มึนงง ไอเป็นเลือด เป็น - เครื่องจั กรกลขนาดใหญ่ แ ละยานพาหนะที่ใช้ - ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) มีค่าต่ำกว่ามาตรฐานที่ บำรุงรักษาเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ เพื่อลดการระบายมลพิษทางอากาศ เพื่อป้องกันการ ต้น ซึ่งผลที่เกิดขึ้นในระยะยาว เครื่อ งยนต์ มลพิษ ที่อ อกจากเครื่อ งยนต์ เช่น กำหนด (0.17 ppm.) ฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง เช่น เขม่าควันดำ ฝุ่นละออง ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) อาจทำให้ถึงขั้นเสียชีวิตได้ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน ออกไซด์ - โดยผู้ที่ป ฏิบัติงานหรือผู้ที่อ าศัยอยู่บริเวณใกล้กับ พื้นที่ และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ ของไนโตรเจน โดยสารพวกไฮโดรคาร์บอนนั้น ก่อสร้างในระยะ 50 เมตร จะได้รับผลกระทบด้านมลพิษ - จัดอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น (Mask) ให้แก่เจ้าหน้าที่และคนงานก่อสร้างในช่วงเปิดดำเนิน - เกิดความรู้สึกรำคาญ หงุดหงิด ระบายออกมาจากท่อไอเสีย ห้องเพลา ข้อเหวี่ยง ทางอากาศโดยตรง กิจกรรมเปิดหน้าดิน รื้อย้ายและแผ้วถาง ขุดถมหรือเจาะเสาเข็ม หรือความวิตกกังวลจากการ การระเหยในคาร์ บู เรเตอร์ แ ละถั งเชื้ อ เพลิ ง ได้รับสัมผัสฝุ่นละออง ส่วนออกไซด์ของไนโตรเจน คือ ไนตริกออกไซด์ (NO) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) และไนตรั ส ออกไซด์ (N2O) เกือ บทั้ งหมดออกมาจากท่ อ ไอเสีย ซึ่งเป็นพิษต่อมนุษย์โดยตรง ประชาชนที่ อ าศั ย ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่น เพื่อประชาสัมพันธ์แผนงานโครงการ อยู่ ใกล้ เคี ย งบริ เวณ - กิจกรรมที่ก่อให้เกิดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง ผลการคาดการณ์ด้วยแบบจำลองคณิ ตศาสตร์ AERMOD (3×2) = 6 ให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 สัปดาห์ พื้นที่ก่อสร้าง ได้แก่ งานรื้อย้าย ปรับพื้นที่ งานดินตัด/ดินถม ตามการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการ พบว่า - ให้เปิดพื้นที่ก่อสร้างเท่าที่จำเป็น จำกัดพื้นที่การเปิดหน้าดินเป็นช่ว งๆ เพื่อลดการ (ระยะ 500 เมตร) การขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่ อ สร้างต่างๆ และ - ฝุ่น ละอองรวม ( TSP) มี ค่ า สู งกว่ า มาตรฐานที่ ก ำหนด ฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองและเร่งรัดงานก่อสร้างให้เสร็จโดยเร็ว การขุดเจาะฐานราก เป็ นต้น กิจ กรรมดังกล่า ว (0.33 mg/m3) - ทำการฉีดพรมน้ำบนผิวถนนและพื้นที่ก่อสร้างเป็นประจำ ก่อให้เกิดมลพิษทางอากศ และการฟุ้งกระจาย - ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) มีค่า - ใช้ผ้าใบปิดคลุมท้ายรถบรรทุกอย่างมิดชิด เพื่อป้องกันการตกหล่นและการฟุ้งกระจาย ของฝุ่นละออง ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดิน สูงกว่ามาตรฐานที่กำหนด (0.12 mg/m3) ของฝุ่นละออง หายใจของประชาชนที่ อ าศั ย อยู่ ใกล้ บ ริเวณ - ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) มีค่าต่ำกว่ามาตรฐานที่ - จำกัดความเร็วของรถบรรทุกไม่เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง ขณะวิ่งผ่านแหล่งชุมชน พื้นที่ก่อสร้างหรืออยู่ใกล้แนวเส้นทางขนส่งวัสดุ กำหนด (30.0 ppm.) และพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม และอุปกรณ์ก่อสร้าง - ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) มีค่าต่ำกว่ามาตรฐานที่ - ห้ามกองเศษมวลดินหรือวัสดุก่อสร้างบนผิวจราจร ต้องจัดให้มีรถบรรทุกมารอรับ - เครื่องจั กรกลขนาดใหญ่ แ ละยานพาหนะที่ใช้ กำหนด (0.17 ppm.) เศษมวลดินขณะทำการขุดเจาะฐานราก และให้ลำเลียงออกจากพื้นที่ก่อสร้างไปยัง เครื่อ งยนต์ มลพิษ ที่อ อกจากเครื่อ งยนต์ เช่น - มีผลกระทบต่อชุมชนหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน จุดกองดินของโครงการ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน ออกไซด์ - จัดให้มีเจ้าหน้าที่ทำความสะอาดกวาดดิน หิน และทราย ที่ตกหล่นอยู่บนผิวจราจร ของไนโตรเจน โดยสารพวกไฮโดรคาร์บอนนั้น อยู่เป็นประจำ เพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง ระบายออกมาจากท่อไอเสีย ห้องเพลา ข้อเหวี่ยง - หากมีการร้องเรียนจากผลกระทบด้านฝุ่นละออง อันเนือ ่ งจากการดำเนินงานโครงการ การระเหยในคาร์บูเรเตอร์และถังเชื้อเพลิง ส่วน ให้ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น ออกไซด์ของไนโตรเจน คือ ไนตริกออกไซด์ (NO) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) และไนตรัสออกไซด์ ( N2 O) เกือ บทั ้ง หมดออกมาจากท่อ ไอเสี ย ซึ่งเป็นพิษต่อมนุษย์โดยตรง กรมทางหลวงชนบท 4-279 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ 2. เสียง ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การก่อสร้างถนนและ คนงานก่อสร้าง ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันเสียงสำหรับเจ้าหน้าที่และคนงานก่อสร้างที่ปฏิบัติงานอยู่ใน - เสียงที่ดังเกินความจําเป็นจน การก่อสร้างฐานราก - กิจกรรมที่ก่อให้เกิดเสียงดัง ได้แก่ การเปิดหน้า ผลการคาดการณ์ด้วยแบบจำลองคณิตศาสตร์ RCNM ตาม (3×2) = 6 พื้นที่ก่อสร้างที่มีเสียงดัง เช่น ปลั๊กอุดหู ( Ear Plug) ที่ครอบหู (Ear Muff) เป็นต้น ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ สะพาน/ทางแยกต่าง ดิน งานดินตัด/ดินถม การขุดเจาะฐานราก การ การดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการ พบว่า พร้อมทั้งกำหนดให้คนงานใช้อุปกรณ์ป้องกันในกรณีที่ทำงานในพื้นที่ที่มีเสียงดัง อนามัย จะทำให้สมรรถภาพ ระดับ โดยใช้ ขนส่งวัสดุก่อสร้างด้วยรถบรรทุกขนาดใหญ่ เป็น - การทำงานของเครื่องจักรกลขนาดใหญ่จากการก่อสร้าง - กำหนดให้ ผู้ รับจ้ างก่ อสร้างใช้ เครื่องจั กรกลในการก่อสร้างตามประกาศกระทรวง การได้ยินลดลง ถ้าได้ยินเสียง เครื่องจักรกลขนาด ต้ น ซึ่ ง คนงานก่ อ สร้ า งที่ อ ยู่ ใ กล้ กั บ แหล่ ง ที่ ถนน และการก่อ สร้า งฐานราก มี ค่า สู งกว่า มาตรฐาน มหาดไทย เรื่อง ความปลอดภั ยในการทำงานเกี่ ยวกั บสภาวะแวดล้ อม ในกรณี ที่ ที่ดังเกินกว่าขีดจำกัดของการ ใหญ่ เช่น แบ็คโฮ รถ ก่อให้เกิดเสียงดัง อันเป็นมลพิษทางเสียง จะมี ระดับเสียงโดยทั่วไป (70 เดซิเบล(เอ)) ซึ่งอันตรายที่เกิด เครื่องมือ/เครื่องจักรกลนั้นทำให้เกิดเสียงดั งเกิน 90 เดซิเบล(เอ) และต้องจำกัด ได้ยิน ส่งผลให้อาจสูญเสียการ ดันดิน เครื่องเจาะ โอกาสรับ สัม ผัสกั บ เสี ย งได้โดยตรง และด้ ว ย จากมลพิ ษ ของเสี ย ง หากคนงานก่ อ สร้า งได้ รับ สั ม ผั ส เวลาการทำงานของคนงานที่ อยู่ใกล้เครื่องจักรหรือสลับสับเปลี่ยนคนงานก่อสร้าง ได้ยินไปชั่วคราว หรืออาจถึง เสาเข็ม เป็นต้น จะ สภาพแวดล้ อ มที่ มี เสี ย งดั งเกิ น ค่ า มาตรฐาน วัน ละหลายๆ ชั่ ว โมง เป็ น เวลานานๆ ก็ จ ะก่ อ ให้ เกิ ด ที่ต้องทำงานอยู่ในพื้นที่ที่มีเสียงดังเกินค่ามาตรฐานกำหนด เพื่อไม่ให้ได้รับอันตราย ขั้นสูญเสียการได้ยินถาวร โดย ก่อให้เกิดเสียงดัง ที่กรมควบคุมมลพิษกำหนด อันก่อให้เกิดความ อันตราย มีผลต่อจิตใจและร่างกายได้ ด้านเสียง ขึ้นอยู่กบั ระดับของเสียง รบกวนอันเป็นมลพิษ รำคาญ สร้างความรบกวน ทำให้เกิดความเครียด - ผู้รับจ้ างก่อสร้างต้องตรวจสอบ/ดูแ ลเครื่องจักร เครื่อ งมือ และอุป กรณ์ก่อสร้าง ความถี่ของเสียง และระยะ ทางเสียง ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทำให้ตกใจ และอาจ ต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีและจัดหา/ติดตั้งอุปกรณ์ลดเสียง เพื่อลด เวลาที่ได้ยินเสียงนั้น ถึ งขั้ นเป็ น อั นตรายต่อ สุข ภาพอนามัย ได้ เช่ น ผลระดับความดังของการทำงานของเครื่องจักร หรือปรับเปลี่ยนมาใช้เครื่องจักรที่มี ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ เสียงที่ดังมาก หรือเสียงที่ดังยาวต่อเนื่อง สภาพใหม่ เพื่อลดผลระดับเสียงจากการใช้งาน - สร้างความรำคาญ ส่งผลต่อการ - หลีกเลี่ยงการใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ที่มีเสียงดังหลายๆ เครื่องพร้อมกัน บนพื้นที่ นอนหลับพักผ่อน ทำให้เกิด เดียวกัน ความเครียด ทั้งทางร่างกายและ ประชาชนที่ อ าศั ย ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ประชาสัมพันธ์วิธีการก่อสร้าง ระยะเวลาการก่อสร้าง และวิธีการประสานงานในกรณี จิตใจ ทำให้ตกใจ และอาจถึงขั้น อยู่ ใกล้ เคี ย งบริ เวณ - กิจกรรมที่ก่อให้เกิดเสียงดัง ได้แก่ การเปิดหน้า ผลการคาดการณ์ด้วยแบบจำลองคณิตศาสตร์ RCNM ตาม (3×2) = 6 ที่ชุมชนได้รับ ความเดือ ดร้อ นจากการก่อ สร้างให้ กับ ชุมชนในพื้นที่โดยรอบพื้นที่ เป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย พื้นที่ก่อสร้าง ดิน งานดินตัด/ดินถม การขุดเจาะฐานราก การ การดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการ พบว่า ก่อสร้าง ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ตลอดจนประสานงานขอความร่วมมือกับ ได้ (ระยะ 500 เมตร) ขนส่ งวั สดุ ก่อ สร้า งด้ ว ยรถบรรทุ ก ขนาดใหญ่ - การก่ อ สร้ า งสะพานโครงการ มี ร ะดั บ เสี ย งเฉลี่ ย 24 องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่โครงการ เป็ น ต้ น ซึ่ ง กิ จ กรรมดั ง กล่ า วอาจก่ อ ให้ เกิ ด ชั่ ว โมง ( Leq24hr) มี ค่ า สู ง กว่ า มาตรฐานระดั บ เสี ย ง - กำหนดระยะเวลาในการดำเนิน กิจ กรรมการก่อ สร้างที่มี เสีย งดังสูงในช่ว งเวลา มลพิษ ทางเสีย ง ส่งผลกระทบต่อประชาชนที่ โดยทั่ ว ไป (70 เดซิ เบล(เอ)) ส่ ง ผลกระทบต่ อ พื้ น ที่ กลางวันเท่านั้น (08.30-17.30 น.) เพื่อไม่ให้รบกวนผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่และชุมชน อาศัย อยู่ใกล้บริเวณพื้นที่ก่อสร้างหรืออยู่ใกล้ อ่อนไหวจำนวน 1 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านแหลมยาง ซึ่ง ใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้าง แต่หากต้องทำงานหลังเวลา 17.30 น. ต้องแจ้งให้ประชาชน แนวเส้นทางโครงการ จะมีโอกาสรับสัมผัสกับ อั น ตรายที่ เกิ ด จากมลพิ ษ ของเสี ย ง หากประชาชน ในพื้นที่ทราบล่วงหน้าและต้องทำการก่อสร้างไม่ให้เกินเวลา 22.00 น. เสี ย งได้ โดยตรง และด้ ว ยสภาพแวดล้ อ มที่ มี ที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง ได้รับ สัมผัสวัน - ในขณะดำเนินกิจกรรมก่อสร้างถนนและฐานรากสะพาน ให้ทำการติดตั้งกำแพงกัน เสียงดังเกินค่ามาตรฐานที่ ก รมควบคุม มลพิษ ละหลายๆ ชั่ ว โมง เป็ น เวลานานๆ ก็ จ ะก่ อ ให้ เกิ ด ที่เสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีท ความสูง 2.0 เมตร หนา 0.64 มิลลิเมตร หรือวัสดุที่มี กำหนด อันก่อให้เ กิดความรำคาญ สร้างความ อันตราย มีผลต่อจิตใจและร่างกายได้ ประสิทธิภาพสูงกว่าบริเวณพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบด้านเสียงสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน รบกวน ทำให้เกิดความเครียดทั้งทางร่างกาย ระดั บ เสี ย งโดยทั่ ว ไป (ไม่ เกิ น 70 เดซิเบล (เอ)) จำนวน 1 แห่ ง ได้ แ ก่ หมู่ ที่ 8 และจิตใจ ทำให้ตกใจ และอาจถึงขั้นเป็นอันตราย บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ต่อสุขภาพอนามัยได้ เช่น เสี ยงที่ดังมาก หรือ - จำกัดน้ำหนักบรรทุกให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด และความเร็วในการขับขี่ของ เสียงที่ดังยาวต่อเนื่อง รถขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างโครงการไม่ให้เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง รวมถึงรถ ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ก่อสร้ าง โดยเฉพาะช่วงที่ผ่านแหล่งชุมชนและพื้นที่อ่อนไหว ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันเสียงดังรบกวน - จัดตั้งหน่วยประชาสัมพันธ์และรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ เพื่อสร้างความสัมพันธ์ อันดีกับประชาชนในพื้นที่โครงการ - หากมีการร้องเรียนจากประชาชนเรื่องเสียงดังรบกวนอันเนื่อ งจากการดำเนินงาน โครงการ ให้ผู้รับจ้างก่อสร้างดำเนินการตรวจสอบหาสาเหตุและแก้ไขผลกระทบ ที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งแจ้งประชาชนให้รับทราบถึงแนวทางแก้ไขและผลการแก้ไข กรมทางหลวงชนบท 4-280 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ 3. สั่นสะเทือน ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การก่อสร้าง การ คนงานก่อสร้าง ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องจักรที่ทำให้เกิดแรงกระแทกน้อยที่สุด - ผู้ที่สัมผัสความสั่นสะเทือน ปรับพื้นที่ เตรียม - กิจกรรมก่อสร้างถนนและสะพานของโครงการ - การก่อสร้างถนนโครงการ จะก่อให้ เกิดความสั่นสะเทือน (3×2) = 6 - สลับสับเปลี่ยนคนงานที่สัมผัสความสั่นสะเทือนเป็นเวลานานๆ เป็นเวลานานๆ อาจส่งผล หน้าดิน เปิดหน้าดิน ต้องใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ เช่น รถบดดิน ที่ มาจากเครื่ องจั กรกลขนาดใหญ่ แต่ จากการวิ เคราะห์ - เลือกใช้เสาเข็มเจาะแทนเสาเข็มตอก กระทบต่อร่างกายได้ เช่น การถมบดอัด และ และเครื่ อ งเจาะเสาเข็ ม จะก่ อ ให้ เกิ ด ความ พบว่ า ค่ าแรงสั่ นสะเทื อนจากกิ จกรรมการก่ อสร้ างของ ทำให้การทรงตัวผิดปกติ มี งานฐานราก เป็นต้น สั่น สะเทื อ นต่ อ คนงานก่ อ สร้า งที่ สั มผั ส ความ โครงการมี ค่ า ไม่ เกิ น ค่ า มาตรฐานที่ ก ฎหมายกำหนด อาการมึนงง คลื่นไส้ อาเจียน อาจก่อให้เกิด สั่นสะเทือนเป็นเวลานานๆ อาจส่งผลกระทบ มาตรฐานระดั บ ความสั่ น สะเทื อ นโดยเพื่ อ ป้ อ งกั น เบื่ออาหาร ความคมชัดของ แรงสั่นสะเทือน ต่อ ร่า งกายได้ เช่ น ทำให้ ก ารทรงตัว ผิด ปกติ ผลกระทบต่ออาคารที่กำหนดไว้ 5 มิลลิเมตร/วินาที ของ การมองเห็นเสื่อม มีความ จากการทำงานของ มี อ าการมึ น งง คลื่ น ไส้ อาเจี ย น เบื่ อ อาหาร ค่ าม าต รฐาน อ าค ารป ระ เภ ท ที่ 2 ต าม ป ระ ก าศ ผิดปกติของการทำงานของ เครื่องจักรกลขนาด ความคมชั ด ของการมองเห็ น เสื่ อ ม มี ค วาม คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 37 พ.ศ.2553 กล้ามเนื้อลายร่วมกับอาการ ใหญ่ ผิ ด ปกติ ข องการทำงานของกล้ า มเนื้ อ ลาย เมื่ อ เปรี ยบเที ย บกั บ มาตรฐานระบบเยอรมนี ห มายเลข ปวดกล้ามเนื้อ ร่วมกับอาการปวดกล้ามเนื้อได้ 4150 และมาตรฐานระบบบริทิชหมายเลข 5228 ซึ่งไม่ ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ เป็ น อั น ตราย แ ม้ แ ต่ สิ่ งป ลู ก สร้ า งที่ เก่ าแ ก่ แ ละ - เกิดความรู้สึกรำคาญ แรงสั่ น สะเทื อ นก่ อ ให้ เกิ ด ความรำคาญต่ อ มนุ ษ ย์ แต่ หงุดหงิด ของผู้รับสัมผัส สามารถทนได้ โดยจะต้ อ งมี ก ารแจ้ ง ล่ ว งหน้ า ในกรณี ความสั่นสะเทือน กิจกรรมก่อสร้าง - ในกรณีที่ คนงานก่ อสร้างได้ รับความสั่ นสะเทื อนต่ อเนื่ อง เป็ นเวลานาน อาจส่งผลทำให้ เกิ ดความระคายเคื องต่ อ เนื้อเยื่อ มีอาการมึนงง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ความ คมชัดของการมองเห็นเสื่อมได้ ประชาชนที่ อ าศั ย ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - กิจกรรมที่เกิดแรงสั่นสะเทือนสูงให้ดำเนินการในช่วงเวลากลางวันเท่านั้น (08:30– อยู่ ใกล้ เคี ย งบริ เวณ กิจ กรรมก่อ สร้า งถนนและสะพานของโครงการ - การก่อสร้างถนนโครงการ จะก่อให้ เกิดความสั่นสะเทือน (3×2) = 6 17.30 น.) พื้นที่ก่อสร้าง ต้องใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ เช่น รถบดดินและ ที่ มาจากเครื่ องจั กรกลขนาดใหญ่ แต่ จากการวิ เคราะห์ - ติดตั้งป้ายจำกัดความเร็วในการขับขี่ของรถขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างโครงการ (ระยะ 500 เมตร) เครื่องเจาะเสาเข็ม จะก่อให้เกิดความสั่นสะเทือน พบว่ า ค่ าแรงสั่ นสะเทื อนจากกิ จกรรมการก่ อสร้ างของ ไม่ให้เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง ก่อนถึงเขตชุมชนและพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ต่ อ ประชาชนที่ อ าศั ย อยู่ ใกล้ เคี ย งบริ เวณพื้ น ที่ โครงการมี ค่ า ไม่ เกิ น ค่ ามาตรฐานที่ ก ฎหมายกำหนด เพื่ อ ให้ ย านพาหนะลดความเร็ว ลง ซึ่งช่ว ยลดแรงสั่น สะเทื อ นที่ เกิ ดขึ้ นต่ อ พื้ น ที่ ก่อสร้าง การสัมผัสความสั่นสะเทือนเป็นเวลานานๆ มาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบ อ่อนไหว อาจส่งผลกระทบต่อร่างกายได้ เช่น ทำให้การทรง ต่ออาคารที่กำหนดไว้ 5 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐาน - ประสานงานกับตำรวจทางหลวง ในการควบคุมความเร็วและน้ำหนักบรรทุกของ ตัว ผิดปกติ มีอาการมึนงง คลื่น ไส้ อาเจี ยน เบื่ อ อาคารประเภทที่2 ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม รถบรรทุก ที่เข้ า มาใช้เส้น ทางของโครงการให้ เป็ น ไปตามกฎหมายกำหนด โดย อาหาร ความคมชัดของการมองเห็นเสื่อม มีความ แห่ งชาติฉบั บที่ 37 พ.ศ. 2553 โดยเมื่อเปรียบเที ยบกั บ ตรวจสอบอย่างต่อเนื่องและเคร่งครัด เพื่อลดผลกระทบด้านความสั่นสะเทือน ผิดปกติของการทำงานของกล้ามเนื้อลายร่วมกับ มาตรฐานระบบเยอรมนี หมายเลข 4150 และมาตรฐาน - ตรวจสอบและบำรุงรัก ษาผิวจราจรในพื้นที่โครงการอย่างสม่ำเสมอ หากพบว่า อาการปวดกล้ามเนื้อได้ ระบบบริทิ ชหมายเลข 5228 ซึ่งไม่เป็ นอั นตรายแม้แต่สิ่ ง ผิวจราจรเกิดการชำรุดเนื่องจากโครงการ ให้ดำเนินการซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดี ปลูกสร้างที่ เก่ าแก่ และแรงสั่ นสะเทื อนก่ อให้ เกิ ดความ - ในกรณี ที่ มี เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นหรื อ เกิ ด ความเสี ย หายต่ อ อาคารและสิ่ ง ปลู ก สร้ า ง รำคาญต่อมนุ ษย์ แต่ สามารถทนได้ โดยจะต้องมี การแจ้ง อันเนื่องจากความสั่นสะเทือนที่เกิดจากกิจกรรมของโครงการ กรมทางหลวงชนบท ล่วงหน้าในกรณีกิจกรรมก่อสร้าง ต้องดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นโดยเร็ว กรมทางหลวงชนบท 4-281 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ 4. คุณภาพน้ำ ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การปรับพื้นที่ งาน คนงานก่อสร้าง ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านทรัพยากร - น้ำทิ้งและสิ่งปฏิกูลต่างๆ ที่ ดินตัด/ดินถม และ - การแผ้วถางเพื่อ ปรับ พื้นที่ งานดินตัด/ดิ นถม - ผลการประเมินการชะล้างพังทลายของดิ นจากสมการ (3×2) = 6 ดินอย่างเคร่งครัด ระบายลงสู่แหล่งน้ำโดยตรง การบดอัดดิน และการบดอัดดิน ในกรณี ฝนตกจะทำให้ เ กิด สูญเสียดินสากล (USLE) พบว่ามีการสูญเสียดินในพื้นที่ - คัดแยกเศษวัสดุก่อ สร้าง โดยแบ่ งเป็ นส่ว นที่สามารถนำกลั บ มาใช้ใหม่ได้เพื่ อนำ จะทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ โดย - การระบายน้ำเสีย การชะล้ า งเศษมวลดิ น และตะกอนดิ น ลงสู่ โครงการ 4.66 ตัน/ปี และมีผลผลิตตะกอน 1.93 ตัน/ปี กลับมาใช้ใหม่ และส่วนที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ให้จัดพื้นที่เก็บกองไว้อย่าง น้ำที่มีเชื้อโรคจะก่อให้เกิดโรค ่ กิดจากหน่วย ทีเ แหล่ งน้ ำ ที่ อ ยู่ใกล้ เคี ย ง ส่ งผลกระทบต่ อ การ ในกรณีที่ฝนตกจะมีการชะล้างตะกอนดินลงสู่แหล่งน้ำ เป็นระเบียบ ทางเดินอาหาร โรคตับ โรค ก่อสร้างและบ้านพัก เปลี่ ย นแปลงคุ ณ ภาพน้ ำ ในด้ า นความขุ่ น ส่งผลให้น้ำมีความขุ่นเพิ่มสูงขึ้น - ควบคุมดูแลให้คนงานก่อสร้างทิ้งขยะมูลฝอยลงในถังรองรับขยะแต่ละประเภทที่ ระบบหมุนเวียน ของเลือด คนงาน (Turbidity) เพิ่มสูงขึ้น - สำนั ก งานควบคุ ม โครงการและบ้ า นพั ก คนงาน ตั้ งอยู่ จัดเตรียมไว้ โรคพยาธิ และโรคผิวหนัง ซึ่ง - การระบายน้ำเสียที่เกิดจากสำนักงานโครงการ ริมทางหลวงหมายเลข 4206 (ฝั่งซ้ายทาง) ห่างจากพื้นที่ - ห้ ามกำจั ดขยะ โดยการเผากลางแจ้ งบริ เวณบ้ า นพัก คนงานหรือ ในบริเวณพื้ นที่ ได้แก่เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และบ้ า นพั ก คนงาน และน้ ำ ชะขยะมู ล ฝอย โครงการ 650 เมตร รองรั บ คนงานทั้ งหมด 170 คน ก่อสร้างโดยเด็ดขาด พยาธิ โปรโตซัว เชื้อรา ซึ่ง จะระบายลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติที่อยู่ใกล้เคีย ง ซึ่งการดำเนินกิจกรรมต่างๆ จะมีปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้น - ห้ามพนักงานหรือคนงานก่อสร้างทิ้งขยะมูลฝอยหรือสารเคมี รวมทั้งระบายน้ำเสีย/ อาจจะเข้าสู่ร่างกายได้โดยตรง ส่ ง ผลกระทบต่ อ การเปลี่ ย นแปลงคุ ณ ภาพ ในแต่ละวัน ประมาณ 23.03 ลูกบาศก์เมตร/วัน ได้แก่ น้ำทิ้งจากกิจกรรมก่อสร้างก่อสร้างลงสู่ลำน้ำโดยเด็ดขาด คือการบริโภค การสัมผัสทาง น้ำผิวดิน เช่น ความขุ่น สารแขวนลอย น้ำเสียจากห้องน้ำ -ห้องส้วม ห้องอาหาร โรงซ่อ มบำรุง - จัดหาน้ำสะอาดเพื่อการอุปโภค-บริโภคของคนงานในที่พักคนงาน ผิวหนังหรือระบบการหายใจ - น้ ำ มั น และไขมั น แบคที เรี ย กลุ่ ม โคลิ ฟ อร์ ม น้ำชะขยะมูลฝอย ซึ่งหากไม่มีการจัดการที่ดีก่อนระบาย - จัดให้มีห้องน้ำ-ห้องส้วมในหน่วยก่อสร้างอย่างเพียงพอ ในอัตราส่วน 15 คน/ห้อง ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ ทั้งหมด และแบคที เรีย กลุ่ มฟี ค อลโคลิฟ อร์ ม ออกสู่พื้ นที่ภ ายนอกจะเกิดการปนเปื้ อนจนกลายเป็ น - ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ -กรองไร้อากาศ เพื่อรองรับน้ำเสียจาก - ความเครียด ความวิตกกังวล ในแหล่งน้ำเพิ่มสูงขึ้น แหล่งกำเนิดมลพิษได้ ในกรณีที่คนงานก่อสร้างนำน้ำมา ห้องน้ำ-ห้ องส้วม ขนาด 10.0 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง น้ำเสียจากโรงอาหาร ขนาด ความไม่ปลอดภัยต่อการใช้น้ำ ใช้เพื่อ การอุป โภค -บริโภค อาจเป็ นอันตรายต่อชีวิตได้ 10.0 ลบ.ม. จำนวน 2 ถัง และน้ำเสียจากโรงซ่อมบำรุง 1.50 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง ่ การอุปโภค-บริโภค เพือ เมื่อบริโภคเข้า ไปโดยตรงหรือ ทางอ้อม เช่น บริโภคผัก เพื่อบำบั ดน้ำเสีย ให้ อ ยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้ งก่อ นระบายลงสู่แ หล่งน้ำที่อ ยู่ ผลไม้และเนื้อสัตว์ จะเข้ามาสะสมในร่ างกาย ทำให้เกิด บริเวณใกล้เคียง อันตราย - ติดตั้งถังดักไขมันบริเวณโรงซ่อมบำรุง ขนาด 0.5 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง น้ำเสียจาก ห้องอาหาร ขนาด 0.5 ลบ.ม. จำนวน 4 ถัง - วางท่อระบายน้ำชั่วคราวชนิด PVC-5 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20 เมตร โดยรอบ พื้นที่ก่อสร้าง เพื่อรวบรวมน้ำเสียที่ผ่านถังบำบัดน้ำเสียแบบรวมชนิดเกรอะ-กรองไร้ อากาศ ไปยังบ่อรวมน้ำขนาด 6.5×6.5×1.0 เมตร (42.25 ลบ.ม.) ก่อนระบายออก สู่พื้นที่หน่วยก่อสร้างลงสู่รางเปิดริมทางหลวงหมายเลข 4026 - จัดให้มีถังขยะพร้อมฝาปิดขนาด 240 ลิตร จำนวน 4 ถัง/ชุด ตั้งวางอยู่ในบริเวณ พื้นที่บ้านพักคนงาน 1 ชุด โรงอาหาร 1 ชุด สำนักงาน 1 ชุด และพื้นที่ก่อสร้าง 1 ชุด เพื่อรองรับปริมาณขยะในแต่ละวัน พร้อมทั้งประสานงานกับ อบต.ฝากท่า เข้า มาดำเนินการจัดเก็บในแต่ละวัน - จัดเตรียมพื้นที่สำหรับเครื่องจักร รวมทั้งโรงบำรุงเครื่องจักร บริเวณที่เก็บถังน้ำมัน เชื้ อ เพลิง ถั งน้ ำ มั น เครื่อ ง และถั งเก็ บ น้ ำมั น ที่ ใช้แ ล้ ว บริเวณที่ ท ำความสะอาด ยานพาหนะและเครื่องจักรกล รวมทั้งพื้นที่กองวัสดุก่อสร้างให้อยู่ห่างจากแหล่งน้ำ และทางระบายน้ำอย่างน้อย 100 เมตร เพื่อป้องกันการปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้ำ - จัดภาชนะรองรับน้ำมัน ที่ใช้แล้วไว้ในโรงซ่อมบำรุงเพื่อรวบรวมและนำไปกำจัด ให้ เหมาะสม - ทำการเทพื้นคอนกรีตในบริเวณที่อาจเกิดการรั่วไหลของน้ำมันและไขมันในบริเวณ ที่ พั ก คนงานและโรงซ่ อ มบำรุ งเครื่อ งจั ก รกลโดยทำเป็ น พื้ น คอนกรีต ที่ ย กขอบ โดยรอบและต่อท่อระหว่างพื้นคอนกรีตและบ่อดักไขมัน เพื่อรวบรวมสิ่งรั่วไหลจาก พื้นคอนกรีตลงสู่บ่อดักไขมันโดยตรง และระบายน้ำ ที่ผ่านการดักไขมันลงสู่ระบบ บำบัดน้ำเสีย กรมทางหลวงชนบท 4-282 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ - ติดตั้งสุข าเคลื่อนที่พ ร้อมทั้งถังบำบั ดน้ำเสียสำเร็ จรูป ชนิดเกรอะ -กรองไร้อากาศ จำนวน 4 ห้อง/ชุด ในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างฝั่งเกาะกลาง 1 ชุด และฝั่งเกาะลันตาน้อย 1 ชุ ด เพื่อ สุข อนามัย การขั บ ถ่ ายของคนงานก่ อ สร้า งที่ เกิดขึ้ น ในแต่ล ะวัน และ ประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เข้ามาดำเนินการจัดเก็บและนำ ของเสียที่เกิดขึ้นไปกำจัดในแต่ละวัน - ภายหลั งดำเนิ น การก่ อ สร้า งแล้ ว เสร็จ ให้ ท ำการรื้อ ถอนสำนั ก งานควบคุ ม งาน บ้านพักคนงาน รวมถึงการกำจัดถังบำบัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลที่อยู่บริเวณใต้ดินให้ เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล - หลีกเลี่ยงกิจกรรมการเปิดหน้าดินในช่วงฤดูฝนและใช้ระยะเวลาก่อสร้างให้สั้นที่สุด เพื่อลดปริมาณตะกอนดินและสารแขวนลอยในน้ำ - ก่อสร้างรางระบายน้ำชั่วคราว และบ่อดักตะกอนขนาด 1.0×1.0×1.50 เมตร เป็น ระยะทุกๆ 10 เมตร ก่อนถึงทะเล โดยทำการก่อสร้างในแนวที่จะทำการก่อสร้างท่อ ระบายน้ำทั้งฝั่งทางของโครงการ - ทำการติ ด ตั้ ง รั้ ว ดั ก ตะกอนแบบ Temporary Silt Fence ความสู ง 1.0 เมตร บริเวณริมตลิ่งฝั่งเกาะกลางและฝั่งเกาะลันตาน้อย เพื่อป้องกันการชะล้างตะกอน ดินจากน้ำฝนลงสู่แหล่งน้ำเมื่อก่อสร้างถนนโครงการแล้วเสร็จ ให้ทำการตรวจสอบ สภาพอาคารระบายน้ำ ต่างๆ ตามแนวเส้นทางโครงการ หากพบว่ามีการอุ ดตัน มีดิน ทรายทั บ ถมหรื อ วัสดุ กีดขวาง ต้อ งรีบ ดำเนิ นการนำออกโดยเร็ว เพื่ อ มิ ให้ กีดขวางทางระบายน้ำ - ประชาชนที่ อ าศั ย ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - การก่อสร้างถนนโครงการบริเวณใกล้กับลำน้ำหลัก ต้องทำการติดตั้งรั้วดั กตะกอน อยู่ ใกล้ เคี ย งบริ เวณ - การแผ้วถางเพื่อ ปรับ พื้นที่ งานดินตัด/ดินถม - ผลการประเมินการชะล้างพังทลายของดินจากสมการ (3×2) = 6 แบบ Temporary Silt Fence ความสูง 1 เมตร บริเวณริมตลิ่งทั้งสองฝั่งลำน้ำ เพื่อ พื้นที่ก่อสร้าง และการบดอัดดิน ในกรณี ฝนตกจะทำให้ เกิด สูญ เสียดินสากล (USLE) พบว่ามีการสูญเสียดินในพื้นที่ ป้องกันการชะล้างตะกอนดินจากน้ำฝนลงสู่แหล่งน้ำ (ระยะ 500 เมตร) การชะล้ า งเศษมวลดิ น และตะกอนดิ น ลงสู่ โครงการ 4.66 ตัน/ปี และมีผลผลิตตะกอน 1.93 ตัน/ปี - พื้นที่ตั้งหน่วยก่อสร้างโครงการ ต้องอยู่ห่างจากแหล่งน้ำไม่น้อยกว่า 100 เมตร แหล่ งน้ ำ ที่ อ ยู่ใกล้ เคี ย ง ส่ งผลกระทบต่ อ การ ในกรณีที่ฝนตกจะมีการชะล้างตะกอนดินลงสู่แหล่งน้ำ - จัดให้มีห้องน้ำและห้องส้วมที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบ าลไว้ให้เพียงพอ (อัตราส่วน เปลี่ ย นแปลงคุ ณ ภาพน้ ำในด้ า นความขุ่ น ส่งผลให้น้ำมีความขุ่นเพิ่มสูงขึ้น 15 คน/ห้ อ ง) ตามเกณฑ์ ข้ อ กำหนดของกระทรวงมหาดไทยที่อ อกกฎกระทรวง (Turbidity) เพิ่มสูงขึ้น - สำนั ก งานควบคุ ม โครงการและบ้ า นพั ก คนงาน ตั้ งอยู่ ฉบับที่ 63 (พ.ศ. 2551) เรื่อง การจัดให้มีห้องน้ำและห้องส้ว มในชนิดหรือประเภท - การระบายน้ำเสียที่เกิดจากสำนัก งานโครงการ ริมทางหลวงหมายเลข 4206 (ฝั่งซ้ายทาง) ห่างจากพื้นที่ ของอาคารต่างๆ สำหรับ อาคารชั่ ว คราวประเภทที่พัก คนงาน หรือลัก ษณะอื่นที่ และบ้านพักคนงาน รวมทั้งน้ำชะขยะมูลฝอย โครงการ 650 เมตร รองรั บ คนงานทั้ งหมด 170 คน คล้ายคลึงกัน พ.ศ. 2551) จะระบายลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติที่อยู่ใกล้ เคียง ซึ่งการดำเนินกิจกรรมต่างๆ จะมีปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้น - ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูป ชนิดเกรอะ -กรองไร้อากาศ เพื่อรองรับน้ำเสียจาก ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำผิว ในแต่ละวัน ประมาณ 23.03 ลูกบาศก์เมตร/วัน ได้แก่ ห้องน้ำ-ห้ องส้วม น้ำเสีย จากโรงอาหาร และน้ำเสียจากโรงซ่อมบำรุง เพื่อ บำบั ด ดิน เช่น ความขุ่น สารแขวนลอย น้ำเสียจากห้องน้ำ -ห้องส้วม ห้องอาหาร โรงซ่อ มบำรุง น้ ำ เสี ย ให้ อ ยู่ ในมาตรฐานคุ ณ ภาพน้ ำ ทิ้ งก่ อ นระบายลงสู่ แ หล่ งน้ ำ ที่ อ ยู่ บ ริ เวณ - น้ ำ มั น และไขมั น แบคที เรี ย กลุ่ ม โคลิ ฟ อร์ ม น้ำชะขยะมูลฝอย ซึ่งหากไม่มีการจัดการที่ดีก่อนระบาย ใกล้เคียง ทั้งหมด และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มใน ออกสู่พื้ น ที่ภ ายนอกจะเกิ ดการปนเปื้ อนจนกลายเป็ น - ติดตั้งถังดักไขมันบริเวณโรงซ่อมบำรุงและห้องอาหาร แหล่งน้ำเพิ่มสูงขึ้น แหล่งกำเนิ ดมลพิ ษ ได้ ในกรณี ที่ ป ระชาชนที่ อ าศั ย อยู่ - จั ด ให้ มี ถั งรองรับ ขยะขนาด 240 ลิ ต ร มี ฝ าปิ ด วางไว้ บ ริเวณบ้ า นพั ก คนงานให้ ใกล้เคียงบริเวณพื้นที่ก่อสร้างนำน้ำมาใช้เพื่อการอุปโภค- เพียงพอสำหรับรองรับขยะได้นานไม่น้อยกว่า 3 วัน โดยแบ่งเป็นถังรองรับขยะมูล บริโภค อาจเป็ นอั นตรายต่ อ ชีวิตได้ เมื่อ บริโภคเข้ า ไป ฝอยแห้ง และถังรองรับขยะมูลฝอยเปียก และผู้รับจ้างก่อสร้างต้องประสานงานกับ โดยตรงหรือทางอ้อม เช่น บริโภคผัก ผลไม้และเนื้อสัตว์ องค์ก ารปกครองส่ว นท้ อ งถิ่ น ในพื้ นที่โครงการ เพื่ อ รวบรวมขยะมูลฝอยและสิ่ ง จะเข้ามาสะสมในร่างกาย ทำให้เกิดอันตราย ปฏิกูลนำไปกำจัดในแต่ละวัน กรมทางหลวงชนบท 4-283 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ 5. อาชีวอนามัย ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - เสียงและความ คนงานก่อสร้าง ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ต้อ งปฏิบัติตามมาตรการป้ อ งกันและแก้ไขผลกระทบด้ านเสียง คุณ ภาพอากาศ (อุบัติเหตุและการ - การดำเนินกิจกรรมก่อสร้าง สั่นสะเทือนจากการ - การก่อสร้างโครงการที่มีระยะเวลานาน เจ้าหน้าที่ - การปฏิบัติงานที่ขาดความระมัด ระวังหรือประมาท ไม่มี (3×2) = 6 การคมนาคมขนส่ง และอุ บั ติเหตุและความปลอดภัย อย่างเคร่งครัด เพื่อความ เจ็บป่วยจากการ ของโครงการ จำเป็นต้องใช้ ทำงานของ และคนงานก่อสร้าง จึ ง มีโอกาสที่จ ะเจ็บ ป่ ว ย ความชำนาญในงานที่รับผิดชอบหรืออุป กรณ์เครื่องจักร ปลอดภัยในช่วงการก่อสร้าง ทำงานและสภาพ แรงงานสูงสุด 200 คน/วัน เครือ ่ งจักรและการ หรือ ประสบอุ บั ติ เหตุ ได้ เนื่อ งจากสภาพการ มี ส ภาพชำรุ ด ไม่ พ ร้ อ มใช้ ง าน จะเป็ น ผลให้ เกิ ด การ - จัดให้มีนโยบายด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในพื้นที่ก่อสร้าง การกำหนด แวดล้อมที่ไม่ และต้องทำงานต่อเนื่องเป็น ปฏิบต ั ิงาน ทำงานและสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมและไม่ บาดเจ็ บ ตั้งแต่ระดับ น้อ ย เช่น แผลถลอก แผลไฟไหม้ แผนการก่อสร้างและมาตรการควบคุมความปลอดภัยในการก่อสร้างในขั้นตอน เหมาะสมและ ระยะเวลานาน ซี่งอาจมีความ - อันตรายจากการ ปลอดภัย กระดูกหัก ไปจนถึงการสูญเสียอวัยวะ หรืออาจรุนแรง ต่างๆ การควบคุมและกำกับดูแลพนักงานและคนงานก่อสร้างให้ปฏิบัติตามระเบียบ ไม่ปลอดภัย) เสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุ ขนส่งวัสดุและ จนถึงการเสียชีวิต หรือกฎหมายด้านความปลอดภัย การตรวจสอบหาสาเหตุการเกิดอันตรายต่างๆ ในระหว่างการก่อสร้างหรือ อุปกรณ์ก่อสร้าง และการให้ข้อ เสนอแนะและฝึกอบรมพนักงานและคนงานก่อสร้างให้ปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานได้ โดยเฉพาะ ทั้งภายในและ ด้วยความระมัดระวัง และเป็นไปตามนโยบายด้านความปลอดภัยที่กำหนด ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับการ ภายนอกพืน ้ ที่ - ให้ ค วามรู้แ ละคำแนะนำแก่ ค นงานก่ อ สร้ า งในการป้ อ งกั น โรค โดยเฉพาะโรค ใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ ก่อสร้างโครงการ อันเนื่องมาจากสุขภาพอนามัยในที่พักคนงานหรือจากการปฏิบัติงาน เป็นต้น ของมีคม อุปกรณ์ไฟฟ้า งาน - สภาพแวดล้อมใน - กำหนดให้มีการตรวจสอบประวัติก่อนรับเข้าปฏิบัติงาน โดยพนักงานจะต้องไม่ เป็น ตัดงานเชื่อม ได้แก่ การใช้ การปฏิบัติงาน เช่น บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรมหรือเกี่ยวข้องกับยาเสพติด เครื่องเจาะ อาจทำให้ได้รับ ความร้อนจากดวง - กำหนดให้ ผู้ รั บ จ้ า งก่ อ สร้ า งควบคุ มดู แ ลคนงานก่ อ สร้ า งให้ ป ฏิ บั ติ ตามระเบี ย บ อันตรายในรูปแบบของการ อาทิตย์ขณะ ข้อบังคับในการทำงานในท้องถิ่น การกำหนดเวลาทำงาน การเข้า-ออกที่พัก รวมถึง บาดเจ็บ การเจ็บป่วย ทุพพล ปฏิบัติงานภายนอก ห้ ามสุรา เสพสิ่งเสพติด ฯลฯ เพื่ อป้ อ งกันปั ญ หาความจขัดแย้งกับ ประชาชนใน ภาพ หรือถึงขั้นเสียชีวิตของ อาคาร แสงสว่างใน ท้องถิ่น คนงานก่อสร้าง พื้นที่ปฏิบัติงานน้อย - จัดอบรมผู้ ปฏิ บัติงานให้ รู้จักวิธีใช้ ดูแล และบำรุงรัก ษาเครื่องจักรอุป กรณ์ ต่างๆ ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ เกินไป อัตรายจาก อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับประเภทของงานก่อนการปฏิบัติงาน และกำหนดให้มี - เกิดความวิตกกังวลหรือ การใช้ไฟฟ้า และ เจ้าหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบและบำรุงรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ ให้ใช้งานได้ ความเครียดจากการทำงาน การปฏิบัติงาน ดี อ ยู่ เสมอ หากพบว่ า เครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ ใ ดชำรุ ด เสี ย หายต้ อ งซ่ อ มแซมทั น ที ผลกระทบทางสังคม ในที่สูง เป็นต้น เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงาน - เพิ่มภาระต่อสถานพยาบาลใน - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานมาตรฐาน พื้นที่โครงการ ซึ่งส่งผล ด้านสวัสดิการแรงงานที่พักอาศัยสำหรับลูกจ้างประเภทกิจการก่อสร้าง พ.ศ. 2559 กระทบต่อการให้บริการด้าน ดังนี้ สุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ บ้านพักคนงานหรือลูกจ้าง • ขนาดห้องพักอาศัยควรมีความกว้างด้านที่แคบที่สุดไม่น้อยกว่า 4.50 เมตร ขนาด พื้นที่รวมไม่น้อยกว่า 9.0 ตารางเมตร ความสู งไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร ทั้งนี้ ให้มี พื้นที่พักอาศัยไม่น้อยกว่า 3.0 ตารางเมตร ต่อ 1 คน และให้เป็นไปตามกฎหมาย ว่าด้วยการควบคุมอาคาร • ฐานรากและโครงสร้างต้องมีความปลอดภัยและแข็งแรงเพียงพอ รวมทั้งวัสดุที่ใช้ ในการก่อสร้างต้องมีความเหมาะสม • ที่พักอาศัยสำหรับลูกจ้างในงานก่อสร้างที่สร้างติดต่อกัน หรือมีความยาวรวมกัน ถึง 45 เมตร ต้อ งมีที่ว่า งระหว่า งแถวด้านข้างที่พัก อาศัย นั้น กว้างไม่น้ อ ยกว่า 2.50 เมตร เป็นช่องตลอดความลึกของที่พักอาศัย • การระบายอากาศโดยใช้วิธีธรรมชาติ บริเวณห้องพักในที่พักอาศัยต้องมีประตู หน้าต่าง หรือช่องระบายอากาศติดกับอากาศภายนอกเป็นพื้นที่รวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของพื้นที่ของห้องนั้น ทั้งนี้ ไม่นับรวมพื้นที่ของประตู หน้ าต่าง และ ช่องระบายอากาศที่ติดต่อกับห้องอื่นหรือช่องทางเดินภายในอาคาร การจัดห้องน้ำและห้องส้วม • ห้องน้ำและห้องส้วมจะแยกจากกันหรือรวมกันอยู่ ในห้องเดียวกันก็ได้ แต่ต้อง แยกชาย-หญิง มีลักษณะที่จะรักษาความสะอาดได้ง่าย และมีช่องระบายอากาศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่ห้องหรือมีพัดลมระบายอากาศได้เพียงพอ ระยะ ดิง่ ระหว่างพื้นห้องถึงเพดานยอดฝาหรือผนังตอนต่ำสุดต้องไม่น้อยกว่า 2 เมตร กรมทางหลวงชนบท 4-284 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ • ในกรณี ที่ห้ อ งน้ำและห้ องส้วมแยกกันต้อ งมีข นาดพื้นที่ของห้ องไม่น้อยกว่า 1 ตารางเมตร และต้องมีความกว้ างภายในไม่น้อยกว่า 1 เมตร แต่ถ้าห้องน้ำและ ห้องส้วมรวมอยู่ในห้องเดียวกัน ต้องมีพื้นที่ภายในไม่น้อยกว่า 1.50 ตารางเมตร • ฐานรากและโครงสร้างต้องมีความปลอดภัย และแข็ งแรงเพียงพอ รวมทั้งวัสดุ ที่ใช้ในการก่อสร้างต้องมีความเหมาะสม • ตั้งจุดรวบรวมขยะมูลฝอย (Station) และแบ่งแยกประเภทของถังรองรับ ขยะ มูลฝอยตามสีต่างๆ ตามประเภทของขยะมูลฝอยที่รองรับ • มีถุงบรรจุภายในถังขยะเพื่อสะดวกและไม่ตกหล่นหรือแพร่กระจาย • ประสานงานองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่โครงการให้เข้ามาดำเนินการ จัดเก็บขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน เพื่อนำไปกำจัดตามหลักสุขาภิบาล - กรณีที่มีลูกจ้างผู้พักอาศัยตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป จัดให้มีตู้ยาสามัญประจำบ้านประจำ ที่พักอาศัย เพื่อดูแลบรรเทาอาการป่วย การปฐมพยาบาลในเบื้องต้น - จัดให้มีข้อมูลเบอร์โทรศัพท์ สำหรับการติดต่อสถานพยาบาลที่ใกล้กับที่พักอาศัย เพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉินเจ็บป่วยหรือในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุของลูกจ้าง ทั้งนี้ให้ติดตั้งไว้ ในที่ลูกจ้างเห็นได้ชัดเจน - ต้องจัดทำรั้วที่พักอาศัยให้มั่นคงแข็งแรง กำหนดทางเข้า-ออก และจัดให้มีทางเดิน เข้า-ออกที่พักอาศัยโดยมิให้ผ่านเขตอันตราย หากจำเป็นต้องผ่านเขตอันตรายต้อง มีมาตรการพิเศษ เพื่ อความปลอดภัย ของลูก จ้าง รวมทั้งต้องมีมาตรการป้ องกัน อันตรายที่อาจเกิดจากสิ่งของตกจากที่สูง - ต้ อ งจั ด เตรีย มอุ ป กรณ์ คุ้ ม ครองความปลอดภั ย ส่ ว นบุ ค คล ได้ แ ก่ หมวกนิ รภั ย รองเท้านิรภัย ถุงมือ หน้ากากป้องกันฝุ่น ที่อุดหู ( Ear Plug) ที่ครอบหู (Ear Muff) แว่ น ตานิ ร ภั ย หรื อ อุ ป กรณ์ อื่ น ๆ ให้ เพี ย งพอแก่ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน และกำชั บ ให้ ผู้ปฏิบัติงานสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลทุกครั้งที่ปฏิบัติงาน รวมทั้งให้สวมใส่เครื่องนุ่งห่มให้เรียบร้อย รัดกุม โดยในกรณีที่ทำงานเกี่ยวกับการใช้ ไฟฟ้าจะต้องให้ผู้ปฏิบัติงานสวมเครื่องนุ่งห่มที่ไม่เปียกน้ำ - จัดให้มีเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ ชนิดที่เหมาะสมกับประเภทของเชื้อเพลิง และมีจำนวนเพียงพอไว้ในบริเวณบ้านพักคนงานและสำนักงานควบคุมการก่อสร้าง - อุปกรณ์ไฟฟ้าต้องอยู่ในสภาพที่ปลอดภัยและไม่ชำรุด มีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย จากกระแสไฟฟ้ารั่ ว สายไฟฟ้าต้อ งเดินมาจากที่สูง กรณีเดินบนพื้นดินหรือฝังดิน ต้องใช้ท่อร้อยสายไฟฟ้าที่แข็งแรงและปลอดภัย การวางท่อผ่านให้ยึดผูกกับอุปกรณ์ ลูกถ้วยฉนวนป้องกันไฟฟ้า - การปฏิบัติงานในที่สูงเกินกว่า 2.0 เมตร ต้องทำนั่งร้านที่มีความแข็งแรงปลอดภัย สามารถรับน้ำหนักบรรทุกได้ไม่น้อยกว่า 4 เท่าของน้ำหนักในการใช้งาน - งานก่อสร้างที่มีความเสี่ยงจะตกจากที่สูงหรืออยู่ในที่สูงเกินกว่า 4.0 เมตร ขึ้นไป ต้องจัดให้มีเข็มนิรภัยและสายช่วยชีวิตให้คนงานสวมใส่ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน - ตรวจสอบอุปกรณ์ทุกชนิดที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน เช่น รถเครน ลวดสลิง เชือก ตะขอ สะเก็น ว่าอยู่ในสภาพดีทุกครั้งก่อนเริ่มทำงาน - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องดูแลที่พักอาศัย เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบริเวณที่พัก อาศัย จั ดทำป้ ายหรือประกาศเตือ นเกี่ยวกับ พิษภัย หรือ อัตราโทษตามกฎหมาย เกี่ยวกับยาเสพติด - ภายหลังดำเนิ น การก่ อ สร้างแล้ว เสร็ จ ให้ ท ำการรื้ อ ถอนสำนัก งานควบคุม งาน บ้านพักคนงาน รวมถึงการกำจัดถังบำบัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลที่อยู่บริเวณใต้ดิน ให้ เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล กรมทางหลวงชนบท 4-285 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ 6. ปัญหาจาก ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - กิจกรรมต่างๆ ที่ ประชาชนที่อาศัยอยู่ ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - กำหนดให้รับแรงงานท้องถิ่นเข้าทำงานเป็นอันดับแรก การเข้ามา - การแพร่ระบาดของโรคติดต่อ เกิดขึ้นในระยะ ใก ล้ เคี ย ง บ ริ เว ณ - การเพิ่มขึ้นของจำนวนแรงงานต่างถิ่นในพื้นที่ - เมื่อพิจารณาสภาวะทางสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (3×2) = 6 - จัดให้ มีก ารคัด กรองสุ ข ภาพพนั ก งานก่อ นรับ เข้ า ทำงาน เพื่ อ ลดผลกระทบด้ า น ของแรงงาน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรค ก่อสร้าง พื้นที่ก่อสร้าง โครงการ อาจส่ งผลกระทบต่ อ ประชาชนใน โครงการจากรายงานผู้ ป่ ว ยนอก (รง.504) พบว่ า โรคติดต่อหรือการแพร่กระจายโรคเนื่ องจากการเพิ่มขึ้นของแรงงานต่างถิ่น และ ต่างถิ่น ไม่ติดต่อ เช่น โรคอุจจาระร่วง (ระยะ 500 เมตร) พื้ น ที่ ท ำให้ มี โ อกาสเกิ ด การเจ็ บ ป่ ว ยด้ ว ย ส่วนใหญ่ ป่ วยเป็ นโรคความดันโลหิ ตสูงไม่ทราบสาเหตุ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับระบบบริการสาธารณสุขในพื้นที่ อาหารเป็นพิษ โรคมาเลเรีย โรคติดต่อหรือโรคไม่ติดต่อได้ นอกจากนี้ยังส่งผล (ปฐมภูมิ) และการติดเชื้อในกระแสเลือดไม่ร ะบุชนิด ถึง - รักษาความสะอาดภายในพื้นที่ก่อสร้างและบริเวณบ้านพักคนงานให้ถูกสุขลักษณะ กามโรค เป็นต้น ต่อการเกิดปัญหาสังคมมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากมีการเข้ามาของแรงงานต่างถิ่น อาจ - จัดระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการภายในหน่วยก่อสร้างโครงการให้เพียงพอ ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ ส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่ อาจมีการแพร่ระบาด - ให้ ค วามรู้แ ละคำแนะนำแก่ ค นงานก่ อ สร้ า งในการป้ อ งกั น โรค โดยเฉพาะโรค - ความวิตกกังวล หรือความ ของโรคใหม่ที่มากับแรงงานต่างถิ่ นสู่ประชาชนในพื้นที่ อันเนื่องมาจากสุขภาพอนามัยในที่พักคนงานหรือจากการปฏิบัติงาน เป็นต้น เครียดตากการมีแรงงาน โครงการได้ ทั้งนี้ หากมีการแพร่ระบาดของโรคจะทำให้ - กำหนดให้มีการตรวจสอบประวัติก่อนรับเข้าปฏิบัติงาน โดยพนั กงานจะต้องไม่เป็น ต่างถิ่นเข้ามาในพื้นที่ มีอัตราการป่วยเพิ่มขึ้น บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรมหรือเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ผลกระทบทางสังคม - จากสถิติ ก ารรับ แจ้ งของสถานี ต ำรวจในพื้ น ที่ โครงการ - ต้องควบคุม/ดูแลพนักงานประจำหรือคนงานก่อสร้างไม่ให้มี เรื่องการเสพ/ขาย/การ - ก่อให้เกิดปัญหาสังคม เช่น พบว่า คดียาเสพติด เป็ นคดีที่ได้รับ แจ้ งความมากที่สุด ครอบครองยาเสพติดและสารเสพติด รวมทั้ งการเล่นการพนันในบริเวณสำนักงาน ปัญหายาเสพติด ปัญหา รองลงมาคือ คดีป ระทุษ ร้า ยต่อ ชีวิต ดังนั้น หากมีการ และที่พักคนงานอย่างเคร่งครัด หากตรวจพบว่า มีการละเมิดจะต้องมีบทลงโทษ อาชญากรรม และปัญหา เพิ่มขึ้ นของแรงงานต่า งถิ่ นในพื้ นที่ โครงการอาจก่อ ให้ และดำเนินคดีตามกฎหมาย การลักขโมย เป็นต้น เกิ ด ปั ญ หายาเสพติ ด ความไม่ ป ลอดภั ย ในชี วิ ต และ - จัดตั้งศู นย์รับเรื่องร้อ งเรียนที่ สำนั กงานหน่วยก่อสร้างโครงการ เพื่ อประสานงาน - การแย่งกันใช้ระบบบริการ ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นจากปัจจุบัน ระหว่างหน่วยงานท้องถิ่น/ชุมชน และรวบรวมข้อมูลปัญหาการร้องเรี ยนที่เกิดขึ้น สาธารณสุขชุมชน ด้านความเดือดร้อนรำคาญ อุบัติเหตุต่างๆ เพื่อนำข้ อมูลที่ได้มาปรับปรุงมาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบ รวมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขั้นอย่างเหมาะสม 7. ปัญหาด้าน ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - กิจกรรมต่างๆ ประชาชนที่ อ าศั ย ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ให้ ค วามรู้ แ ละคำแนะนำแก่ ค นงานก่ อ สร้ า งในการป้ อ งกั น โรค โดยเฉพาะโรค ความเพียงพอ - หากสถานพยาบาลและ ที่เกิดขึ้นในระยะ อยู่ ใกล้ เคี ย งบริ เวณ - ตามแผนการก่อสร้างของโครงการ ซึ่งถือว่าเป็น - ภายในพื้นที่โครงการยังถือว่าค่อนข้างขาดแคลนบุคลากร (3×2) = 6 อันเนื่องมาจากสุขภาพอนามัยในที่พักคนงานหรือจากการปฏิบัติงาน เป็นต้น ของบุคลากร บุคลากรทางการแพทย์ไม่มี ก่อสร้าง พื้นที่ก่อสร้าง การก่อสร้างที่มีระยะเวลานาน ดังนั้น โอกาสที่ ทางการแพทย์และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ซึ่งการเข้ ามา - จัดให้ มีห น่ วยปฐมพยาบาลเบื้ อ งต้น ภายในพื้ นที่ก่อ สร้างและสำนัก งานโครงการ และสถาน เพียงพอต่อการรองรับการ (ระยะ 500 เมตร) คน งานก่ อ สร้ า งจะเข้ ามาใช้ บ ริ ก ารท าง ใช้ บ ริ ก ารของคนงานก่ อ สร้ า งอาจส่ ง ผลกระทบต่ อ เพื่อให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น เช่น การพยาบาลเบื้องต้นให้แก่พนัก งานและ บริการทาง เจ็บป่วย ก็จะส่งผลกระทบ การแพทย์และสาธารณสุขในพื้นที่จึงมีเพิ่มขึ้น ประชาชนในพื้ น ที่ เนื่ อ งจากเป็ น การเพิ่ ม ภาระการ คนงานก่อสร้างที่เจ็บป่วย กรณีที่มีอุบั ติขั้นร้ายแรงเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน การแพทย์และ ในกรณีที่คนงานก่อสร้างเกิด มากขึ้น ให้ บ ริ ก ารของหน่ ว ยงานสาธารณสุ ข ในพื้ น ที่ ต่ อ การ จะต้องรีบดำเนินการส่งให้สถานพยาบาลที่อยู่ใกล้ที่สุด สาธารณสุข การเจ็บป่วยหรือประสบ ให้บริการประชาชนในพื้นที่โครงการที่มีอยู่เดิมได้ อุบัติเหตุขั้นรุนแรงจากการ ปฏิบัติงาน - หากในบริเวณพื้นที่โครงการ ไม่มีสถานบริการทาง สาธารณสุขหรือไม่มีบุคลากร ทางการแพทย์ที่มีประสบการณ์ และความสามารถรวมถึง ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่สำคัญ ก็จะส่งผลทำให้เกิดการสูญเสีย ชีวิตตามมาได้ ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ - เกิดความเครียด ความวิตกกังวล ่ งจากอาจได้รับการรักษาที่ เนือ ล่าช้า กรมทางหลวงชนบท 4-286 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ ผลกระทบทางสังคม - - - ส่งผลกระทบต่อประชาชนใน พื้นที่โครงการเนื่องจากเป็นการ เพิ่มภาระการให้บริการของ หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ต่อ การให้บริการประชาชนในพื้นที่ โครงการที่มีอยู่เดิมได้ 8. อุบัติเหตุ ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย การสัญจรไป-มาของ ประชาชนที่ อ าศั ย ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ประสานงานกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ เพื่อประชาสัมพันธ์แผนงาน จากการ - การบาดเจ็บหรือเสียชีวิตของ ยานพาหนะขนาด อยู่ ใกล้ เคี ย งบริ เวณ - การขนส่งวัส ดุอุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งจั ก รที่ ใช้ใน - เมื่อพิจารณาสถิติของการเกิดอุบัติเหตุบนถนนโครงข่าย (3×2) = 6 โครงการให้ ประชาชนในพื้นที่ รับทราบ ตั้งแต่ในระยะเตรียมการก่อสร้างและให้ คมนาคม ผู้ที่สัญจร เนื่องจากการใช้ ใหญ่ ที่ ใช้ ข นส่ ง วั ส ดุ พื้นที่ก่อสร้าง กิจกรรมต่างๆ ทำให้ จ ำนวนยานพาหนะและ ที่อยู่ใกล้เคียง คือ ทล.4206 พบว่า ส่วนใหญ่เกิดการขับ ดำเนินการต่อเนื่องไปจนการก่อสร้างโครงการแล้วเสร็จ ดังนี้ เส้นทางคมนาคมในพื้นที่ และอุปกรณ์ก่อสร้าง (ระยะ 500 เมตร) ปริมาณรถบรรทุกขนาดใหญ่ วิ่งไป -มาในพื้ นที่ รถด้วยความเร็ว การฝ่ าสัญ ญาณไฟจราจร ซึ่งประเภท • ก่อนเริม ่ การก่อสร้างโครงการ ให้ประชาสัมพันธ์แผนการก่อสร้างให้ประชาชน โครงการ เข้ า -อ อ ก พื้ น ที่ โครงการมากขึ้น อาจส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุได้ ยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุดคือ จักรยานยนต์และ บริเวณแนวเส้นทางโครงการทราบ และติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ขนาดใหญ่ ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ ก่อสร้างโครงการ รถบรรทุก ขนาดเล็ก เป็นหลัก ซึ่งหากการขนส่งคนงาน สามารถเห็นได้ชัดเจน โดยมีเนื้อหาประกอบด้วย ชื่อโครงการ สถานที่ก่อสร้าง - เกิดความวิตกกังวลหรือความ ก่อ สร้างใช้ ถ นนโครงข่ ายบริเวณที่ตัดกับ ถนนโครงการ ระยะเวลา และบริษัทผู้รับจ้างก่อสร้าง งบประมาณ ที่อ ยู่ เบอร์โทรศัพท์ ผู้รับ เครียดในการเดินทางมากขึ้น ขาดความระมัดระวังในการใช้เส้นทางอาจส่งผลให้ เกิด จ้างก่อสร้าง และเจ้าของงาน (กรมทางหลวงชนบท) ติดตั้งก่อนเริ่มงานก่อสร้าง อุบัติเหตุขึ้นได้ นอกจากนี้ การขนส่งวัสดุก่อสร้างเข้าสู่ อย่ า งน้ อ ย 2 เดื อ น จำนวน 2 จุ ด ได้ แ ก่ บริเวณจุ ด เริ่ม ต้ น โครงการ และ พื้นที่ก่อสร้าง รื้อย้ายสิ่งกีดขวาง ซึ่งหากไม่มีการจัดการ จุดสิ้นสุดโครงการ จราจรที่ดีจะส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุมากขึ้น • ติดตั้งป้ายจราจรเพื่อเตือนภัยแก่ผู้ใช้เส้นทาง โดยป้ายต้องมีขนาดใหญ่สามารถ โดยเฉพาะในช่ว งเทศกาลหรือ วันหยุดยาวที่มีผู้ใช้ทาง มองเห็นได้ชัดเจนสำหรับผู้ใช้เส้นทาง โดยเฉพาะบริเวณทางแยก ทางโค้งทาง และท่องเที่ยวเดินทางจำนวนมากขึ้น เชื่อมถนนท้องถิ่น และแหล่งชุมชน - งานเปิ ด หน้ า ดิ น วางท่ อ ระบายน้ ำ และการกองวั ส ดุ ให้ เว้น ช่ ว งทางเข้ า -ออก ระหว่างถนนสายรองหรือถนนท้องถิ่นซึ่งเป็นจุดเสี่ยง จนกว่างานก่อสร้างบริเวณ ข้ า งเคี ย งจะแล้ ว เสร็จ สามารถใช้ เป็ น ทางเบี่ ย งเข้ า สู่ ถ นนเดิ ม ได้ จึ งดำเนิ น การ ก่อสร้าง/ปรับปรุงถนนโครงการส่วนขยายผิวจราจร - จัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยอำนวยความสะดวกด้านการจราจร ในบริเวณที่เ ป็นจุดเสี่ยง ต่อการเกิดอุบัติเหตุในช่วงที่มีกิจกรรมก่อสร้าง เช่น จุดตัดถนนท้องถิ่น/ทางแยก และทางโค้ง เพื่อทำหน้าที่ควบคุมในการหยุดการจราจรขณะมีการเข้า -ออกของ ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งวัสดุก่ อสร้างและเพื่อลดผลกระทบด้านการกีดขวาง หรืออุปสรรคต่อผู้ใช้ทาง - เตรียมแผนการจัดการจราจรก่อนเริ่มต้นการก่อสร้างโครงการ โดยจัดให้มีแผงกั้น กรวย เครื่องหมายจราจรบนผิวทางและติดตั้งป้ายเตือนเขตก่อสร้าง ตลอดจนติดตั้ง สัญญาณไฟให้ชัดเจน ทั้ง ในเวลากลางวัน และกลางคืน ก่ อนถึงเขตก่อสร้างอย่าง น้อย 500 เมตร โดยเฉพาะทางแยก การติดตั้งป้ายบอกตำแหน่งทางเบี่ยงก่ อนถึง พื้นที่จุดทางเบี่ยงเป็นระยะทาง 300 เมตร (คู่มือครื่องหมายควบคุมการ จราจรใน งานก่อสร้าง ของกรมทางหลวง, 2561) โดยดำเจัดให้มีสัญลักษณ์จราจร ป้ายจราจร สัญญาณไฟจราจรชั่วคราว เครื่องหมายแสดงขอบเขตก่อสร้างและแนวทางเบี่ยงให้ เป็ นไปตามมาตรฐานของกรมทางหลวง เพื่อ ให้ ชุม ชนตามแนวเส้นทางและผู้ใช้ เส้นทางสังเกตเห้นได้ชัดเจนและใช้เส้นทางในเวลากลางวันและกลางคืนได้อย่าง ปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท 4-287 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ - การจัดจราจรระหว่างการก่อสร้างในชุมชนที่เขตทางแคบ ให้ดำเนินการปิดช่องจราจร ชั่วคราวจนเหลือเพียงแค่ช่องจราจรเดียว และใช้การสลับการจราจรโดยใช้สัญญาณ ไฟจราจรหรือสัญญาณธง หรือการใช้ทางเบี่ยงในกรณีมีพื้นที่เพียงพอ โดยติดตั้งรั้ว คอนกรีตชั่ว คราวหรือ แผงกั้น พร้อ มทั้ง จัดให้ มีไฟส่อ งสว่า งแนวรั้ว พื้นที่ก่อ สร้า ง ติดตั้งเครื่อ งหมายชนิ ด สะท้อ นแสงและไฟกระพริบ เพื่อ เตือ นให้ ผู้ขั บ ขี่ สามารถ สังเกตเห็นสิ่งกีดขวางได้ชัดเจนในเวลากลางคืน - กรณีที่พื้นที่ก่อสร้างตัดผ่านเส้นทางเข้า-ออกของสถานประกอบการ ต้องเร่งก่อสร้าง ให้ แ ล้ว เสร็จ โดยเร็ว และดำเนิน การให้ เป็ น ไปตามแผนงานก่อ สร้า งที่ ก ำหนดไว้ เพื่อให้รบกวนต่อกิจกรรมของสถานประกอบการให้น้อยที่สุด - กำหนดให้มีป้ายจราจร สัญญาณไฟจราจรชั่วคราว เครื่องหมายที่แสดงขอบเขตก่อสร้าง และแนวทางเบี่ยงเป็นไปตามมาตรฐาน เพื่อให้ชุมชนและผู้ใช้ทางเห็นได้เด่นชัด และ สัญ จรในเวลากลางวันและกลางคืนได้อย่างปลอดภัยตามมาตรฐานวิ ศวกรรมการ ก่อสร้าง - ติดตั้งเครื่องหมายชนิดที่สะท้อนแสง เพื่อเตือนให้ผู้ใช้ทางสามารถเห็นสิ่งกีดขวางได้ ชัดเจนในเวลากลางคืนและติดตั้งไฟกระพริบในบริเวณที่จำเป็น - ติดตั้งตาข่ายขึงด้านล่างโครงสร้างสะพานหรือทางแยกต่างระดับ ตลอดระยะเวลา ของการก่อสร้าง เพื่อป้องกันเศษวัสดุจากการก่อสร้างตกหล่นลงสู่ผิวจราจรด้านล่าง - จัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยอำนวยความสะดวกด้านการจราจรแก่ยานพาหนะที่สัญจรไป- มาบนแนวเส้นทางโครงการขณะมีกิจกรรมก่อสร้าง เพื่อทำหน้าที่ควบคุมในการหยุด การจราจรขณะมีการเข้าออกของยานพาหนะขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างหรือ บริเวณที่มีการเคลื่อนย้ายเครือ ่ งจักร โดยเฉพาะช่วงที่ผ่านพื้นที่ชุมชน - ติดสติ๊กเกอร์บริเวณกระบะท้ายรถบรรทุกและเครื่องจักรของโครงการ ที่ระบุบริษัท ผู้ดำเนินการ และหมายเลขโทรศัพท์ เพื่อการร้องเรียน - ควบคุมและจำกัดความเร็วของยานพาหนะที่ใช้ขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้ าง โดย ให้ใช้ความเร็วไม่เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในช่วงที่ผ่านชุมชนและกวดขันพนั กงาน ขับขี่ยานพาหนะของโครงการให้ปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด - กำกับดูแลผู้รับจ้างก่อสร้างไม่ไห้มีการขนส่งวัสดุก่อสร้างเกินน้ำหนักที่กำหนด เพื่อมิ ให้ถนนในเส้นทางขนส่งเกิดความเสียหายด้านการจราจร - ต้องดำเนินการก่อสร้างด้วยความระมัดระวัง มิให้เกิดความเสียหายต่อผิวจราจรของ เส้นทางปัจจุบันหรือเป็นอุปสรรคต่อการสัญจร หากหลีกเลี่ยงไม่ได้จะต้องจัดการ แก้ไขให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด และปรับปรุงให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยโดยเร่งด่วน - ต้องปิดคลุมท้ายรถบรรทุกที่ใช้ในการลำเลียงเศษมวลดินและวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง ให้มิดชิด โดยมีชายผ้าหรือชายวัสดุอื่นๆ ยื่นยาวลงมามากกว่าส่วนการบรรทุกวัสดุ อย่างน้อย 30 เซนติเมตร เพื่อป้องกันการร่วงหล่นของเศษดินตกลงสู่ผิวจราจร - ทำการตรวจสอบและซ่อมแซมผิวการจราจรของถนนโครงข่ายอยู่เสมอ และหาก พบว่ามีการชำรุด เนื่องจากการขนส่งของโครงการ ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องรีบทำการ ซ่อมแซมผิวทางให้มีสภาพดี เพื่อไม่ให้เป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน - ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สถานีตำรวจภูธรจังหวัดกระบี่ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ในการขนส่ง เช่น การใช้รถนำขบวนหรือปิดการจราจรชั่วคราวในการขนส่งอุปกรณ์ ที่มีขนาดใหญ่หรือจำนวนมากๆ กรมทางหลวงชนบท 4-288 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ - เมื่อก่อสร้างทางในแต่ละส่วนแล้วเสร็จให้เร่งงานทาสีเส้นจราจร สันระนาด ไฟส่อง สว่าง สัญ ญาณไฟ ไฟกระพริบ และป้ายจราจรต่างๆ โดยเร็ว เพื่อป้องกันการเกิด อุ บั ติ เหตุที่ อ าจเกิด ขึ้ น โดยเฉพาะบริเวณจุ ดตั ดทางแยก ทางโค้ ง ทางเชื่อ มเข้ า หมู่บ้าน และพื้นที่แหล่งชุมชน - ปรับ ปรุง จุ ดตั ดถนนโครงการกับ ถนนท้ อ งถิ่ น หรือ ทางเชื่ อ มเข้ า หมู่บ้ า นในพื้ น ที่ โครงการหรือสถานที่ราชการต่างๆ ให้ได้มาตรฐานก่อนที่จะเปิดดำเนินการ - จัดตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียนของโครงการ บริเวณสำนักงานโครงการชั่วคราว พร้อม ติดตั้งกล่องรับเรื่องร้องเรียนและบอร์ดประชาสัมพันธ์โครงการ 9. กากของเสีย/ ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การทิ้งกากของเสีย/ คนงานก่อสร้าง ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานมาตรฐาน ขยะ - เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลง ขยะมูลฝอยต่างๆ - เกิดผลกระทบตลอดระยะเวลาก่อสร้างของ - การเก็ บ รวบรวมและการกำจั ด ขยะมู ล ฝอยไม่ ดี ห รื อ (3×2) = 6 ด้านสวัสดิการแรงงานที่พักอาศัยสำหรับลูกจ้างประเภทกิจการก่อสร้าง พ.ศ. 2559 หรือสัตว์ต่างๆ ที่เป็นพาหะ ที่เกิดขึ้นจากการ โครงการ ซึ่งถือว่าเป็นการก่อสร้างที่มีระยะ ปล่ อ ยปละละเลยทำให้ มี ข ยะมู ล ฝอยเหลื อ ทิ้ งค้ า งไว้ ดังนี้ นำโรคมาสู่คน เช่น แมลงวัน ดำเนินกิจกรรม เวลานาน คนงานก่อสร้างจึงมีโอกาสที่จะ ในพื้นที่ก่อสร้าง จะเป็นบ่อเกิดของเชื้อโรคต่างๆ เช่น ตับ การจัดห้องน้ำและห้องส้วม แมลงสาบ และหนู เป็นต้น ประจำวันของคนงาน เจ็บป่วย อันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมที่ อั ก เสบ เชื้ อ ไทฟอยด์ เชื้ อ โรคเอดส์ ฯลฯ เป็ น แหล่ ง • ห้องน้ำและห้องส้วมจะแยกจากกันหรือรวมกันอยู่ในห้องเดียวกั นก็ได้ แต่ต้อง - เป็นบ่อเกิดของเชื้อโรคต่างๆ ก่อสร้างในพื้นที่ ไม่เหมาะสมและไม่ปลอดภัยได้ กำเนิ ด และอาหารของสั ต ว์ต่ า งๆ ที่ เป็ น พาหะนำโรค แยกชาย-หญิง มีลักษณะที่จะรักษาความสะอาดได้ง่าย และมีช่องระบายอากาศ ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ ก่อสร้างและหน่วย มาสู่คน เช่น แมลงวัน แมลงสาบ และหนู เป็นต้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่ห้องหรือมีพัดลมระบายอากาศได้เพียงพอ ระยะ - เกิดความวิตกกังวลหรือ ก่อสร้างโครงการ ประชาชนที่อาศัยอยู่ ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง ดิ่งระหว่างพื้นห้องถึงเพดานยอดฝาหรือผนังตอนต่ำสุดต้องไม่น้อยกว่า 2 เมตร ก่อให้เกิดความรำคาญในด้าน ใก ล้ เคี ย ง บ ริ เว ณ - เกิดผลกระทบตลอดระยะเวลาในการก่อสร้าง - การเก็ บ รวบรวมและการกำจั ด ขยะมู ล ฝอยไม่ ดี หรื อ (3×2) = 6 • ในกรณี ที่ห้ อ งน้ำและห้ องส้ วมแยกกันต้ อ งมีข นาดพื้นที่ของห้ องไม่น้อยกว่า 1 กลิ่นรบกวน พื้นที่ก่อสร้าง ของโครงการ ประชาชนที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงกับ ปล่ อ ยปละละเลยทำให้ มี ข ยะมู ล ฝอยเหลื อ ทิ้ งค้ า งไว้ ตารางเมตร และต้องมีความกว้างภายในไม่น้อยกว่า 1 เมตร แต่ถ้ าห้องน้ำและ (ระยะ 500 เมตร) พื้นที่โครงการ จึงมีโอกาสเสี่ยงที่จะเจ็บป่วย อัน ในแหล่ งชุ ม ชน จะเป็ น บ่ อ เกิ ด ของเชื้ อ โรคต่ า งๆ เช่ น ห้องส้วมรวมอยู่ในห้องเดียวกัน ต้องมีพื้นที่ภายในไม่น้อยกว่า 1.50 ตารางเมตร เนื่องมาจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมและ ตั บ อั ก เสบ เชื้ อ ไทฟอยด์ เชื้ อ โรคเอดส์ ฯลฯ เป็ น • ฐานรากและโครงสร้างต้ องมีความปลอดภัย และแข็งแรงเพียงพอ รวมทั้งวัสดุ ไม่ปลอดภัยได้ แหล่งกำเนิดและอาหารของสัตว์ต่างๆ ที่เป็ นพาหะนำ ที่ใช้ในการก่อสร้างต้องมีความเหมาะสม โรคมาสู่คน เช่น แมลงวัน แมลงสาบ และหนู เป็นต้น การจัดการน้ำเสียและมูลฝอย • การจัดการน้ำเสียหรือน้ำใช้ ผ่านถังบำบัดน้ ำเสียชนิดเกรอะ-กรองไร้อากาศและ ถังดักไขมัน เพื่อให้คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจาก ระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน ก่อนระบายออกสู่พื้นที่หน่วยก่อสร้าง • การจั ดการมูลฝอยตามกฏหมายว่าด้ วยการสาธารณสุข และการระบายน้ ำ ที่ เหมาะสมและเพียงพอ จะไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้อื่น เกิดน้ำไหล นองไปยั ง ที่ ดิ น อื่ น ที่ มี เขตติ ด ต่ อ กั บ ที่ ดิ น ที่ เป็ น ที่ ตั้ ง ของอาคารนั้ น และถู ก สุขลักษณะ • จัดให้มีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ เพือ ่ นำกลับไปใช้ประโยชน์ • ตั้งจุ ดรวบรวมขยะมูลฝอย (Station) และแบ่ งแยกประเภทของถังรองรับขยะ มูลฝอยตามสีต่างๆ ตามประเภทของขยะมูลฝอยที่รองรับ • มีถุงบรรจุภายในถังขยะเพื่อสะดวกและไม่ตกหล่นหรือแพร่กระจาย • ประสานงาน อบต.เกาะกลาง ให้เข้ามาดำเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยที่ เกิดขึ้น ในสำนักงานโครงการและบ้านพักคนงานก่อสร้างในแต่ละวัน เพื่อนำไปกำจัดตาม หลักสุขาภิบาล - จั ดให้ มีถั งขยะแยกประเภทที่ มี ฝาปิ ด มิด ชิด น้ ำ ไม่สามารถจะรั่ว ซึ มได้ มีจ ำนวน และขนาดที่เพียงพอต่อปริมาณขยะที่เกิดขึ้ นในแต่ละวัน ตั้งวางไว้ตามจุดต่า งๆ ภายในพื้นทีหน่วยก่อสร้าง เช่น บ้านพักคนงาน ห้ อ งอาหาร อาคารและสำนักงาน รวมทั้ง โรงซ่อ มบำรุง โดยจั ดให้ มีเจ้ าหน้าที่หรื อ คนงานเก็บ รวบรวมขยะมูลฝอย ไปไว้ในจุดรวมขยะ ผู้รับ จ้า งก่อ สร้า งต้อ งประสานงานติด ต่อ พนัก งานเก็บ ขยะ มูลฝอยขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่โครงการ เพื่อนำรถบรรทุกขยะเข้า มาจัดเก็บและขนส่งต่อไปยังสถานกำจัดขยะมูลฝอย กรมทางหลวงชนบท 4-289 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ - ติดป้ายหรือสัญลักษณ์บนถังขยะตามประเภทของขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะเปียก และขยะอันตรายให้ชัดเจน - ให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่และคนงานก่อ สร้างให้เข้ าใจถึงประเภทและการแยกขยะ เพื่ อ ลดขยะที่ ต้ อ งนำไปกำจั ด จริ งๆ ให้ เหลื อ น้ อ ยที่ สุ ด เช่ น ขยะแห้ งบางชนิ ด ที่สามารถแปรสถาพนำกลับมาใช้ได้อีก เช่น ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก ขยะเปียก สามารถนำมาทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋อง ฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกำจัดที่ปลอดภัย - ภายหลังดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ ให้ทำการรื้อถอนสำนักงานควบคุมงาน บ้านพัก คนงาน รวมถึงการกำจัดถังบำบัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลที่อยู่ บริเวณใต้ดินให้เป็นไป อย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล 10. น้ำอุปโภค- ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การปรั บพื้ นที่ งานดิ น คนงานก่อสร้าง ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านทรัพยากร บริโภค - หากมีการระบายน้ำเสีย น้ำทิ้ง ตัด/ดิ นถม และการบด - โอกาสของการเกิดผลกระทบทางสุขภาพจาก - ระดับ ความรุนแรงของผลกระทบจากด้านคุณภาพน้ำ (3x2) = 6 ดินอย่างเคร่งครัด และสิ่ ง ปฏิ กู ล ที่ ยั ง ไม่ มี ก าร อัดดิน คุณภาพน้ำที่ใช้สำหรับการอุปโภคและบริโภค ที่ใช้สำหรับการอุปโภคและบริโภค ที่อาจส่งผลกระทบ - คัดแยกเศษวัสดุก่อ สร้าง โดยแบ่ งเป็ นส่ว นที่สามารถนำกลับ มาใช้ใหม่ได้เพื่ อนำ บำบั ดจากบ้ านพั กคนงาน - การระบายน้ำเสีย มีความเป็นไปได้ในระดับ ปานกลาง เนื่องจาก ต่ อ คนงานก่ อ สร้ า ง จึ ง พิ จ ารณาให้ มี ค วามเป็ น ไปได้ กลับมาใช้ใหม่ และส่วนที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ให้จัดพื้นที่เก็บกองไว้อย่าง ก่อสร้างอาคาสำนักงานควบคุม - จากหน่วยก่อสร้างและ หากคนงานก่อสร้าง นำน้ำที่มีการปนเปื้อนมา ในระดับปานกลาง เนื่องจากคนงานก่อสร้างมีการดูแล เป็นระเบียบ การก่อสร้างลงสู่แหล่งน้ำผิวดิน บ้านพักคนงาน ใช้ในการอุปโภคและบริโภค จะส่งผลกระทบ เอาใจใส่ตนเองเกี่ยวกับความสะอาดของน้ำที่ใช้อุปโภค - ควบคุมดูแลให้คนงานก่อสร้างทิ้งขยะมูลฝอยลงในถังรองรับขยะแต่ละประเภทที่ จะส่ งผลให้ เกิ ดการปนเปื้ อ น ต่อสุขภาพคนงานก่อสร้าง และบริโภค จัดเตรียมไว้ ของสิ่งคุกคามลงสู่แหล่งน้ำ ทำ - ห้ ามกำจั ดขยะ โดยการเผากลางแจ้ งบริเวณบ้ า นพัก คนงานหรือ ในบริเวณพื้นที่ ให้คุณภาพน้ำนั้นๆ แย่ลง ก่อสร้างโดยเด็ดขาด - หากนำน้ ำในแหล่งน้ ำนั้ นไปใช้ - ห้ามพนักงานหรือคนงานก่อสร้างทิ้งขยะมูลฝอยหรือสารเคมี รวมทั้งระบายน้ำเสีย/ เพื่อการอุปโภคและบริโภค จะ น้ำทิ้งจากกิจกรรมก่อสร้างก่อสร้างลงสู่ลำน้ำโดยเด็ดขาด ทำให้ ได้ รั บ สิ่ งคุ กคามหรือ สิ่ ง - จัดหาน้ำสะอาดเพื่อการอุปโภค-บริโภคของคนงานในที่พักคนงาน ปนเปื้ อ นนั้ น ๆ เข้ าสู่ ร่ างกาย - จัดให้มีห้องน้ำ-ห้องส้วมในหน่วยก่อสร้างอย่างเพี ยงพอ ในอัตราส่วน 15 คน/ห้ อง และเกิดผลกระทบทางสุขภาพ ติดตั้งสุขาเคลื่อนที่ พร้อมทั้งถังบำบัดน้ำ เสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ -กรองไร้อากาศ ตามมา จำนวน 4 ห้อง/ชุด ในบริเวณพื้น ที่ก่อสร้างทุกๆ ระยะ 100 เมตร เพื่อสุขอนามัย ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ การขับถ่ายของคนงานก่อ สร้างที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน และประสานงานกับองค์การ - เกิดความวิตกกังวลถึงความไม่ ปกครองส่ วนท้ อ งถิ่ นในพื้ นที่ โครงการ เข้ า มาดำเนิน การจั ดเก็บ และนำของเสี ย ปลอดภั ย ต่ อ การใช้ น้ ำ เพื่ อ ที่เกิดขึ้นไปกำจัดทุกวัน อุปโภค- บริโภค ประชาชนที่อาศัยอยู่ ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - การก่อสร้างถนนโครงการบริเวณใกล้กับลำน้ำหลัก ต้องทำการติดตั้งรั้วดักตะกอน ใก ล้ เคี ย ง บ ริ เว ณ - โอกาสของการเกิ ด ผลกระทบทางสุ ข ภาพ - ระดับ ความรุนแรงของผลกระทบจากด้ า นคุณ ภาพน้ ำ (3x2) = 6 แบบ Temporary Silt Fence ความสูง 1 เมตร บริเวณริมตลิ่งทั้งสองฝั่งลำน้ำ เพื่อ พื้นที่ก่อสร้าง ในด้านคุณภาพน้ำที่ใช้สำหรับการอุปโภคและ ที่ใช้สำหรับการอุปโภคและบริโภค ที่อาจเกิดกับประชาชน ป้องกันการชะล้างตะกอนดินจากน้ำฝนลงสู่แหล่งน้ำ (ระยะ 500 เมตร) บริโภค มีค วามเป็ น ไปได้ในระดับ ปานกลาง จึงพิจารณาให้มีความเป็นไปได้ในระดับปานกลาง เนื่องจาก - พื้นที่ตั้งหน่วยก่อสร้างโครงการ ต้องอยู่ห่างจากแหล่งน้ำไม่น้อยกว่า 100 เมตร เนื่องจากหากประชาชนนำน้ำที่มีการปนเปื้อน ประชาชนมีการดูแลเอาใจใส่ตนเองที่เกี่ยวข้องกับความ - จัดให้มีห้องน้ำและห้องส้วมที่ถูกต้องตามหลั กสุขาภิบาลไว้ให้เพียงพอ (อัตราส่วน มาใช้ในการอุป โภคและบริโภค จึงส่งกระทบ สะอาดของน้ำที่ใช้อปุ โภคและบริโภค 15 คน/ห้อ ง) ตามเกณฑ์ข้อ กำหนดของกระทรวงมหาดไทยที่อ อกกฎกระทรวง ต่อ สุ ข ภาพประชาชนที่ อ าศัย อยู่ใกล้ บ ริเวณ ฉบับที่ 63 (พ.ศ. 2551) เรื่อง การจัดให้มีห้องน้ำและห้องส้วมในชนิด หรือประเภท พื้นที่ก่อสร้างโครงการ ของอาคารต่างๆ สำหรับ อาคารชั่ว คราวประเภทที่พั ก คนงาน หรือลัก ษณะอื่ นที่ คล้ายคลึงกัน พ.ศ. 2551) - ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูป ชนิดเกรอะ -กรองไร้อากาศ เพื่อรองรับน้ำเสียจาก ห้องน้ำ-ห้ องส้วม น้ำเสีย จากโรงอาหาร และน้ำเสียจากโรงซ่อมบำรุง เพื่อ บำบั ด น้ำเสียให้อยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งก่อนระบายลงสู่แหล่งน้ำที่อยู่บริเวณใกล้เคียง - ติดตั้งถังดักไขมันบริเวณโรงซ่อมบำรุงและห้องอาหาร กรมทางหลวงชนบท 4-290 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ - จัดให้มีถังรองรับขยะขนาด 240 ลิตร มีฝาปิดวางไว้บริเวณบ้านพักคนงานให้เพียงพอ สำหรับรองรับขยะได้นานไม่น้อยกว่า 3 วัน โดยแบ่งเป็นถังรองรับขยะมูลฝอยแห้ง และถังรองรับขยะมูลฝอยเปียก และผู้รับจ้างก่อสร้างต้องประสานงานกับ องค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่โครงการ เพื่อรวบรวมขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลนำไป กำจัดในแต่ละวัน 11. โรคติดต่อ โรคไข้เลือดออกและยุงพาหะ - กิจกรรมการก่อสร้าง คนงานก่อสร้าง ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - เจ้าหน้าที่ รพสต. ในพื้นที่ที่จะรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ตามบ้านพักคนงาน จากคนงาน นำโรค โครงการ - โอกาสของการเกิ ด ผลกระทบทางสุ ข ภาพ - ระดับ ความรุนแรงของผลกระทบจากโรคไข้ เลือดออก (3×2) = 6 ก่อสร้าง ก่อสร้าง - ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย จากโรคไข้ เ ลื อ ดออกและยุ ง พาหะนำโรค และยุงพาหะนำโรค สามารถเกิดการแพร่ระบาดอย่าง โรคไข้ เลื อ ดออกถื อ ว่ า เป็ น มีความเป็นไปได้ในระดับปานกลาง เนื่องจาก กว้างขวางและรวดเร็ว โดยติดต่อระหว่างคนสู่คนโดยมี โรคประจำถิ่ น ในประเทศ ในพื้ น ที่ อ ำเภอ เกาะลั น ตามี ส ถิ ติ ก ารเกิ ด ยุ งเป็ น พาหะนำโรค จึ งส่งผลให้ เกิดการเพิ่ มอั ต ราการ ไทย โดยมี ก ารแพร่ ร ะบาด โรคไข้เลือดออกสูงสุดในปี 2561 ดังนั้น จึงต้อง เจ็ บ ป่ ว ยของคนงานก่ อ สร้า ง ดั งนั้ น จึ ง มี ร ะดั บ ความ กำหนดมาตรการในการป้องกันโรคไข้เลือดออก รุนแรงอยู่ในระดับปานกลาง อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว และยุงพาหะนำโรค โดยเฉพาะเมื่อมีการก่อสร้าง ประชาชนที่อาศัย ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - เจ้าหน้าที่ รพสต. ในพื้นที่ที่จะรณรงค์กำจัดลูกน้ ำยุงลาย ตามบ้านพักและ โครงการแพร่กระจายของโรค - โอกาสของการเกิ ด ผลกระทบทางสุ ข ภาพ - ระดับ ความรุนแรงของผลกระทบจากโรคไข้ เลือดออก (3×2) = 6 อยู่ใกล้เคียงบริเวณ รอบๆ บ้านพักอาศัยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสามารถติดต่อระหว่างคน จากโรคไข้ เลื อ ดออกและยุ งพาหะนำโรค มี และยุงพาหะนำโรค สามารถเกิดการแพร่ระบาดอย่าง พื้นที่ก่อสร้าง สูค่ นโดยมียุงเป็นพาหะนำโรค ความเป็นไปได้ในระดับปานกลาง เนื่องจากใน กว้างขวางและรวดเร็ว โดยติดต่อระหว่างคนสู่คนโดยมี โครงการ - ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพทาง พื้ น ที่ อ ำเภอเกาะลั น ตามี ส ถิ ติ ก ารเกิ ด โรค ยุงเป็ น พาหะนำโรค จึ งส่งผลให้ เกิดการเพิ่ มอั ต ราการ จิตใจ (ระยะ 500 เมตร) ไข้ เลื อ ดออกสู งสุ ด ในปี 2561 ดั งนั้ น จึ งต้ อ ง เจ็ บ ป่ ว ยของประชาชนที่ อ าศั ย อยู่ ใกล้ บ ริ เวณพื้ น ที่ โรคไข้ เลื อ ดออกถื อ ว่ า เป็ น กำหนดมาตรการในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ก่อ สร้า งโครงการ ดังนั้ น จึงมีระดับ ความรุน แรงอยู่ ใน โรคประจำถิ่ น ในประเทศ และยุงพาหะนำโรค ระดับปานกลาง ไทย โดยมี ก ารแพร่ ร ะบาด อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อมีการก่อสร้าง โครงการแพร่ ก ระจายของ โรค ซึ่งสามารถติดต่อระหว่าง คนสู่ ค นโดยมี ยุ ง เป็ น พาหะ นำโรค ส่งผลให้คนงานก่อสร้าง มีความวิตกกังวลเกี่ย วกับการ ระบาดของโรค กรมทางหลวงชนบท 4-291 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-5 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา กิจกรรมการก่อสร้าง คนงานก่อสร้าง ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - จัดให้มีผู้ประสานงานเฝ้าระวังโรคกับศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่ 2019 (COVID-19) โครงการ - โอกาสของการเกิ ดผลกระทบทางสุขภาพ - ระดั บ ความรุน แรงของผลกระทบจากโรคติ ด เชื้ อ (3×2) = 6 - ตรวจคัดกรองสุขภาพคนงานก่อสร้างทุกวัน โดยปฎิบต ั ิตามมาตรการ ดังนี้ - ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไวรั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) สามารถเกิ ดการ • หากมีอาการป่วย เช่น มีไข้สูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส หรือมีอาการ วิ ถี ชี วิ ต ของคนงานก่ อ สร้ า ง มีความเป็นไปได้ในระดับปานกลาง เนื่องจาก แพร่ระบาดอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว จึงส่งผลให้ ไอ จาม มีน้ำมูก หรือเหนื่อยหอบ ให้หยุดทำงานและไปพบแพทย์ทันที ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ รวมกั น เป็ น กลุ่ ม โอกาสในการแพร่ระบาดของโรคขึ้นอยู่กับ เกิดการเพิ่มอัตราการเจ็บป่วยของคนงานก่อสร้าง • หากพบผู้ มี อ าการไข้ ไอ เจ็ บ คอ มี น้ ำ มู ก มากกว่ า 3 คน ให้ แ จ้ ง ในลั ก ษณ ะของแคมป์ ที่ พั ก พฤติกรรมความเสี่ยงส่วนบุคคลในการป้องกัน โครงการ ดังนั้น จึงมีระดับความรุนแรงอยู่ในระดับ โดยต้ อ งอาศั ย อยู่ ร ะยะเวลา ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่ทันที ตัวเอง ปานกลาง - ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีที่ล้างมือพร้อมสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ หนึ่ ง เพื่ อ ก่ อ สร้ า งโครงการ หากคนงานก่ อ สร้ า งไม่ มี ก าร - ควบคุมดูแลให้คนงานก่อสร้างใส่หน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัย ป้ อ งกั น ตั ว เอง โดยไม่ มี ก าร - ควบคุมให้เว้นระยะห่าง ระหว่างทำงานอย่างน้อย 2 เมตร สวมห น้ าก าก อน ามั ย ห รื อ - ดูแลทำความสะอาด สถานที่ทำงาน ที่พัก ห้องน้ำ อุปกรณ์และของที่ใช้ หน้ า กากผ้ า และไม่ ล้ า งมื อ ร่วมกัน บ่อยๆ ให้สะอาด จะก่อให้เกิด - ผู้รับจ้างต้องจัดที่พก ั ไม่ให้แออัด และดูแลทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ เสี่ยงในการติดโรคติดเชื้อไวรัส - ควบคุมการเช็ดทำความสะอาดรถรับ-ส่งคนงาน โดยเน้นจุดสัมผัสร่วมด้วย โคโรนา 2019 (COVID-19) น้ำยาฆ่าเชื้อ - ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งจั ด ให้ มี ถั ง ขยะที่ มี ฝ าปิ ด ชิ ด เพื่ อ ทิ้ ง หน้ า กากอนามั ย หรื อ กระดาษทิชชู - ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพทาง ประชาชนที่อาศัย ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ควรใส่ ห น้ ากากผ้าหรือหน้ ากากอนามัย ตลอดเวลา เพื่ อ ป้ องกั นการแพร่ จิตใจ อยู่ใกล้เคียงบริเวณ - โอกาสของการเกิดผลกระทบทางสุขภาพ - ระดับความรุนแรงของผลกระทบจากโรคติดเชื้อ (3×2) = 6 กระจายของโรค การแพร่ ระบาดของโรคติ ด เชื้ อ พื้นที่ก่อสร้าง จ าก โรค ติ ด เชื้ อ ไวรั ส โค โรน า 2 0 1 9 ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สามารถเกิดการแพร่ - ควรล้างมือพร้อมสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์ล้างมือบ่อยๆ เพื่อลดความเสี่ย ง ไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19) โครงการ (ระยะ ( COVID-19) มี ค วามเป็ น ไปได้ ใ นระดั บ ระบ าดอ ย่ างก ว้ า งข วางแ ละ รวดเร็ ว จึ งส่ ง ผ ล ในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สามารถแพร่กระจายได้ง่าย โดย 500 เมตร) ปานกลาง เนื่ อ งจากโอกาสในการแพร่ ให้ เ กิ ด การเพิ่ ม อั ต ราการเจ็ บ ป่ ว ยของประชาชน - ควรรับประทานอาหารที่มีการปรุงสุก และสะอาด สามารถติ ด ต่ อ ได้ จ ากคนสู่ ค น ระบาดของโรคขึ้นอยู่กับพฤติกรรมความ ที่อาศัยอยู่ใกล้บริเวณพื้นที่ก่อสร้างโครงการ ดังนั้น จึง - ควรเว้นระยะห่างจากผู้อื่นอย่างน้อย 2 เมตร ดั ง นั้ น จึ ง อาจก่ อ ให้ เกิ ด ความ เสี่ยงส่วนบุคคลในการป้องกันตัวเอง มีระดับความรุนแรงอยู่ในระดับปานกลาง - หากมีอาการป่วย เช่น มีไข้สูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส หรือมีอาการไอ จาม วิ ต ก กั ง ว ล แ ล ะ เกิ ด ค ว า ม หวาดกลั ว ในการแพร่ ร ะบาด มีน้ำมูก หรือเหนื่อยหอบ ให้รีบไปพบแพทย์ทันที ของโรค กรมทางหลวงชนบท 4-292 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-6 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะดำเนินการ ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ 1. คุณภาพอากาศ ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การคมนาคมบน ประชาชนที่อาศัยอยู่ ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - จัดการจราจรให้ มีความเร็วและความคล่องตัว เพื่ อลดมลพิ ษที่ ปล่อยออกมาจาก - มลพิ ษ ทางอากาศ เช่ น ฝุ่ น ถนนโครงการ ใกล้เคียงบริเวณแนว - กิจกรรมการคมนาคมบนถนนโครงการ จะเป็น - การประเมิน อัต ราการปลดปล่อ ยปริม าณฝุ่น ละออง (3×2) = 6 ยานพาหนะ ละออง ก๊ า ซคาร์ บ อนมอน เส้นทางโครงการ การเพิ ่ม มลพิษ ด้า นอากาศ เช่น ฝุ่น ละออง ก๊าซคาร์บ อนมอนออกไซด์ ( CO) และก๊ าซไนโตรเจน - - ดูแลและบำรุงรักษาต้นไม้หลังปลูก บนฝั่งบริเวณจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดโครงการ ออกไซด์ (CO) ก๊าซไนโตรเจนได (รัศมี 500 เมตร) ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ (CO) ก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ (NO2) ด้ ว ยแบบจำลองทางคณิ ต ศาสตร์ ต้อ งมีก ารรดน้ำ ในกรณีฝ นไม่ต ก ดินแห้ง กำจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้ หาก ออกไซด์ ( NO2 ) ที่ เกิ ดจาก ไดออกไซด์ (NO2) จะส่ งผลกระทบต่อ มนุ ษ ย์ AERMOD ตามผลคาดการณ์ปริมาณจราจร พบว่า พบว่าต้นไม้ตายหรือเสียหายให้ทำการปลูกซ่อมหรือปลูกทดแทน ยานพาหนะ จะส่ งผลกระทบ โดยตรง เพราะเมื่อ ร่า งกายมนุษ ย์ห ายใจเอา - ฝุ่ น ละอองรวม ( TSP) เฉลี่ ย 24 ชั่ ว โมง มี ค่ า ต่ ำ กว่ า ต่ อ มนุ ษ ย์ โดยตรง เพราะเมื่ อ มลพิษ เข้าไปในปริมาณมาก ก็จะตกสะสมอยู่ มาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 0.33 mg/m3) ร่างกายมนุษย์หายใจเอามลพิษ ตามส่ว นต่างๆ ในระบบทางเดินหายใจขึ้นอยู่ - ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ( PM10) เฉลี่ย เข้าไปในปริมาณมาก จะส่งผล กับขนาด โดยประชากรกลุ่มเสี่ยงที่อาจจะได้รับ 24 ชั่วโมง มีค่าต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 0.12 ให้ เม็ดเลือดแดงไม่สามารถรับ อั น ตรายจากการรับ สัม ผั ส มลพิ ษ ทางอากาศ mg/m3) ออกซิเจนจนจากปอดไปเลี้ยง ได้แก่ กลุ่มผู้ป่ วยโรคปอด โรคหัวใจ ผู้สูงอายุ - ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง มีค่าอยู่ ร่างกายได้ตามปกติ และเด็ก มีค่าต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 30.0 ppm.) ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ - ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ( NO2) เฉลี่ย 1 มีค่ าต่ ำกว่า - มลพิ ษ ทางอากาศ เช่ น ฝุ่ น มาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 0.17 ppm.) ละออง ก๊ า ซคาร์ บ อนมอน ออกไซด์ (CO) ก๊ าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ (NO2) ที่ เกิ ดจาก ยานพาหนะ ก่ อ ให้ เกิ ด การ รบกวนการดำรงชี วิ ต และ ความรู้ สึ ก วิ ต กกั งวลความ เครี ย ด ความวิ ต กจริ ต หรื อ ความรำคาญ 2. เสียง ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การคมนาคมบน ประชาชนที่อาศัยอยู่ ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ดูแ ลรัก ษาหรื อ ซ่อ มบำรุงให้ ผิ ว ทางอยู่ ในสภาพที่ ดีอ ยู่ เสมอ เพื่ อ ลดผลกระทบ - การได้รับเสียงดังติดต่อกันเป็น ถนนโครงการ ใกล้เคียงบริเวณแนว - กิจกรรมการคมนาคมบนแนวเส้นทางโครงการ - มีค่าไม่เกินค่ามาตรฐาน (3×1) = 6 ด้านเสียงและความสั่นสะเทือนจากการจราจร ระยะเวลานานๆ จะส่งผลทำ เส้นทางโครงการ ภายหลั งเปิ ด ใช้ ถ นนโครงการ จะมี ป ริ ม าณ - ติดตั้งป้ายควบคุมความเร็วของยานพาหนะ โดยเฉพาะบริเวณที่ผ่านชุมชน ให้สมรรถภาพการได้ยินลดลง (รัศมี 500 เมตร) การจราจรเข้ามาใช้ถนนโครงการจำนวนมาก - ในกรณี ที่มีการร้อ งเรียนเรื่อ งผลกระทบด้านเสีย ง ให้ ดำเนินการตรวจวัดเสียงใน ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ ซึ่งคาดว่าจะก่อให้เกิดเสียงดังรบกวนผู้ที่อาศัย ช่วงเวลาที่ได้รับผลกระทบ ณ จุดที่ได้รับผลกระทบ หากพบว่ามีระดับเสียงเกินค่า - เกิดความรู้สึกรำคาญ อยู่ประชิดริมเขตทาง มาตรฐาน ให้ ท างโครงการประสานงานกั บ ผู้ ร้ อ งเรี ย นเพื่ อ ดำเนิ น การแก้ ไ ข หงุดหงิด ของผู้รับสัมผัสเสียง ผลกระทบในทันที รบกวน 3. ความ ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การคมนาคมบน ประชาชนที่อาศัยอยู่ ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ตรวจสอบและปรับปรุงสภาพพื้นผิวจราจรให้ราบเรีย บอยู่เสมอ โดยเฉพาะบริเวณ สั่นสะเทือน - ถนนโครงการ ใกล้เคียงบริเวณแนว - กิจกรรมการคมนาคมบนแนวเส้นทางโครงการ - แรงสั่นสะเทือนจากการคมนาคมบนถนนโครงการ พบว่า (3×2) = 6 สะพานและคอสะพานไม่ให้เกิดหลุม บ่อ ความขรุขระ รอยต่อบนผิวถนนหรือความ ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ เส้นทางโครงการ ภายหลั งเปิ ด ใช้ ถ นนโครงการ จะมี ป ริ ม าณ ระดั บ ความเร็ว อนุ ภ าคสูงสุ ด มีค่ าไม่ เกิน ค่า มาตรฐาน ไม่ ส ม่ ำ เสมอของผิ ว จราจร เพื่ อ ลดแรงกระแทกระหว่ า งล้ อ ยานพาหนะกั บ - ความสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นจาก (รัศมี 500 เมตร) การจราจรเข้ ามาใช้ถนนโครงการจำนวนมาก ตามกำหนดมาตรฐานระดับความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกัน ผิว ถนน ซึ่ งเป็ น สาเหตุ ให้ เกิ ด ความสั่น สะเทื อ น หากพบว่ ามี บ ริเวณใดชำรุดให้ รถบรรทุกขนาดใหญ่ ซึ่งคาดว่าจะก่ อให้เกิดความสั่นสะเทือนต่อผู้ที่ ผลกระทบต่ออาคาร และเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐาน ดำเนินการซ่อมแซมทันที อาจก่อให้เกิดความรำคาญ อาศัยอยู่ประชิดริมเขตทาง ระบบเยอรมนีหมายเลข 4150 และมาตรฐานระบบบริทิช - ประสานงานกับ ตำรวจทางหลวง ในการควบคุมความเร็วและน้ำหนักบรรทุก ของ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตได้ หมายเลข 5228 ซึ่ งไม่ เป็ นอั น ตรายแม้ แต่ สิ่ งปลู กสร้ า ง รถบรรทุ ก ที่ เข้ ามาใช้ เส้ น ทางของโครงการให้ เป็ นไปตามกฎหมายกำหนด โดย ที่เก่าแก่ และไม่ก่อให้เกิดความรำคาญต่อมนุษย์ ตรวจสอบอย่างต่อเนื่องและเคร่งครัด เพื่อ ลดผลกระทบด้านความสั่นสะเทือนที่ เกิดขึ้น กรมทางหลวงชนบท 4-293 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.3-6 สรุปการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการในระยะดำเนินการ (ต่อ) ความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Risk Matrix) กลุ่มเสี่ยงต่อ ปัจจัย ผลกระทบต่อสุขภาพ กิจกรรมโครงการ ระดับ มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ โอกาสเสี่ยง/โอกาสรับสัมผัส ความรุนแรงของผลกระทบ ผลกระทบ 4. อุบัติเหตุและ ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การคมนาคมบน ประชาชนที่อาศัยอยู่ ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - ตรวจสอบและบำรุงรัก ษาผิวทาง ไหล่ ทาง เส้นจราจร หลั ก กิโลเมตร ทางแยก ความปลดภัย - การได้ รับอั นตราย อาจมีก าร ถนนโครงการ ใก ล้ เคี ย ง บ ริ เว ณ - เมื่อเปิดดำเนินโครงการ จะมียานพาหนะเข้ามา - กรณีที่ เกิดอุบั ติเหตุ อาจทำให้ ได้รับ อั นตราย บาดเจ็ บ (3×2) = 6 สะพานข้ามลำน้ำไฟส่องสว่าง ให้มีสภาพดีอยู่เสมอ พร้อมทั้งตรวจสอบการติดตั้ ง บาดเจ็บ การสูญเสียชีวิต และ พื้นที่ดำเนินการ ใช้ถนนโครงการเพิ่มมากขึ้น จึงมีความเสี่ยงต่อ และสุญเสียทรัพย์สินจากการใช้เส้นทาง ป้ ายบอกทาง ป้ ายสัญ ญาณและสัญ ลัก ษณ์ ต่า งๆ ให้ มีความเพี ย งพอ และอยู่ใน ทรัพย์สินกรณีเกิดอุบัติเหตุ (รัศมี 500 เมตร) การเกิดอุ บั ติเหตุ จ ากยานพาหนะตลอดเวลา สภาพดี สามารถมองเห็นได้ชัดเจนในระยะไกล โดยเฉพาะจุดที่สำคัญ เช่น บริเวณ ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ อย่างไรก็ตาม โครงการได้กำหนดมาตรการด้าน จุ ด เชื่ อ มต่ อ ถนนโครงข่ า ย ควรมี ก ารแจ้ งเตื อ นบอกระยะทาง เพื่ อ ให้ ผู้ ใช้ ท าง - เกิดความวิตกกังวล คมนาคมขนส่ง อุบัติเหตุและความปลอดภัยไว้ สามารถวางแผนการใช้ช่องทางจราจรได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย ความเครียด หากมีการสูญเสีย แล้ว ซึ่งจะลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ - กำหนดให้ มีก ารติดตั้งเครื่อ งหมาย การปรับ ทิศทาง และการจำกัดความเร็วของ ต่อชีวิตและทรัพย์สินกรณีเกิด ยานพาหนะก่อนเริ่มต้นการบำรุงรักษาเส้นทาง เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการ อุบัติเหตุ คมนาคม และป้องกันการเกิดอุบัติเหตุต่อผู้ใช้ทาง - หากมีการซ่อมแซมผิวทาง/ไหล่ทางและลาดคันทาง ให้บริษัทผู้รับเหมา/ผู้รับ จ้าง ติดตั้งป้ า ยเตือ นล่ว งหน้าในระยะ 1 กิ โลเมตร ก่อนถึ งพื้นที่ดำเนินกิจ กรรม เพื่ อ ป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้เส้นทาง 5. อาชีวอนามัย ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย - การบำรุงรักษาทาง - คนงานก่อสร้าง ปานกลาง (3) ปานกลาง (2) ปานกลาง - จั ด ให้ มี อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น อั น ตรายส่ ว นบุ ค คลที่ เหมาะสมกั บ ลั ก ษณะงาน และความ - การบำรุ ง รั ก ษาทางจะส่ ง โอกาสของการเกิดผลกระทบทางสุขภาพจาก - ระดับความรุนแรงของผลกระทบจากจากกิจกรรม (3×2) = 6 ให้ พนักงานสวมใส่ และต้องกำชับอย่างเคร่งครัดให้สวมใส่ทุกครั้ง ระหว่าง ปลอดภัย ผลกระทบต่อสุขภาพเกิดขึ้น กิ จ กรรมการบำรุ ง รั ก ษาทาง หากไม่ มี ก าร การบำรุงรักษาทาง สามารถก่อให้เกิดการบาดเจ็บ ปฏิบัติงาน เช่น หมวกแข็ง ถุงมื อ รองเท้าบูท และเสื้อกั๊กสะท้อนแสงหรือ จากสภาพ ได้ ห ลายลั ก ษณ ะ ทั้ งจาก จัดเตรียมอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย อาทิเช่น ต่อคนงานก่อสร้าง จึงพิจารณาให้มีความเป็นไปได้ เสื้อกั๊กสีสด ที่สามารถมองเห็นได้ชัดในระยะไกล การทำงาน การปฏิ บั ติ ต นของคนงาน ป้ายไฟบอกพื้นที่ทำงานบำรุง รักษาทาง แผง ในระดับปานกลาง - จัด ให้ มี อุ ป กรณ์ เพื่ อ ความปลอดภั ย ได้ แ ก่ ป้ ายไฟบอกพื้ น ที่ ท ำงานบำรุ ง และสภาพ เครื่ องมื อเครื่อ งจั ก ร สภาพ กั้ น กรวย เครื่องหมายบนผิวจราจร ไฟส่อ ง รัก ษาทาง แผงกั้ น กรวย เครื่อ งหมายบนผิ ว จราจร ไฟส่ อ งสว่ า งและไฟ แวดล้อม การทำงานและสภาพแวดล้อม สว่าง และไฟกระพริบ อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ กระพริบ เพื่อใช้เตือนพื้นที่ปฏิบัติงานบำรุงรักษาทางก่อนถึงพื้นที่ทำงาน ในการทำงาน รวมทั้ ง การ จากการจากการสั ญ จรของผู้ สั ญ จร จึ ง ส่ ง เกิ ดอุบัติเหตุต่างๆ จากการ กระทบต่ อ สุ ข ภาพคนงานก่ อ สร้ า ง อาจ สั ญ จรของผู้ สั ญ จร ซึ่ ง จะ ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ และเสียชีวิตได้ ก่ อ ให้ เกิ ด การบาดเจ็บ การ เจ็บป่วย และเสียชีวิตได้ ผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจ - กรมทางหลวงชนบท 4-294 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.7.4 อาชีวอนามัย 1) กรณีไม่มีโครงการ การทำงานในพื้น ที่ก่อสร้างมี ความอั นตรายต่ อสุขภาพ ทั้ งการก่อสร้างขนายใหญ่ และขนาดเล็ ก โดยเฉพาะการก่อสร้างในพื้นที่สูงหรือพื้นที่ทะเล มีความอันตรายที่เกิดต่อสุขภาพอนามัย และการบาดเจ็บ ของ คนงานได้ ดังนั้นในกรณีที่ไม่มีการพัฒนาโครงการ จึงคาดว่าไม่มีผลกระทบเกิดขึ้น 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้างและระยะก่อสร้าง การก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัด กระบี่ ในการดำเนิ น งานก่ อสร้างมี กิจ กรรมต่ างๆ เช่น การรื้อย้ ายสิ่งกีด ขวางที่ อยู่ในพื้ น ที่ ดำเนิ น การ ซึ่งจำเป็น ต้องใช้แรงงานสูงสุด 170 คน/วัน ต้องทำงานต่อเนื่องประมาณ 2 ปี ซี่งอาจมีความเสี่ยงจากการเกิด อุบัติเหตุในระหว่างการก่อสร้างหรื อการปฏิบัติงานได้ โดยเฉพาะลักษณะงานที่เกี่ยวข้ องกับการใช้เครื่องจักรกล ขนาดใหญ่ ของมีคม อุปกรณ์ ไฟฟ้า งานตัด งานเชื่อม ได้แก่ การใช้เครื่องเจาะ อาจทำให้เศษหิ นกระเด็นเข้าตา หรือกระแทกร่างกายทำให้เกิดการบาดเจ็บได้ การใช้ อุป กรณ์ตัด เหล็ก/เชื่อมเหล็ก จะทำให้เกิด แสงจ้า ทำให้ ตาพล่ามัวหรือปวดตา การใช้เลื่อยยนต์หรืออุปกรณ์มีคมในการตัดฟันต้นไม้/วั ชพืชคลุมดินเพื่ อเปิดพื้นที่ หรือ การใช้เครื่องจักรกลหนักต่างๆ ในงานปรับพื้นที่ก่อสร้างและงานเจาะ/เคลื่อนย้ายหินบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง อาจทำ ให้เศษดิน/หินกระเด็นโดนร่างกายทำให้ได้รับบาดเจ็บสภาวะแวดล้อมในการทำงานที่ไม่เหมาะสม เช่น การทำงาน กลางแจ้งในแดดร้อนจั ด อาจทำให้เจ็บป่วยได้ ทั้งนี้หากผู้ปฏิบัติงานขาดความระมัดระวัง ประมาท ไม่มีความ ชำนาญในงานที่รับ ผิดชอบหรืออุปกรณ์ เครื่ องจักรมีสภาพชำรุดไม่พ ร้อมใช้งาน จะเป็นผลให้เกิดการบาดเจ็บ ตั้งแต่ระดับน้อย เช่น แผลถลอก แผลไฟไหม้ กระดูกหัก ไปจนถึงการสูญ เสียอวัย วะ หรืออาจรุน แรงจนถึง การ เสียชีวิต ทั้งนี้การที่เกิดอุบัติเหตุขึ้นแต่ละครั้ง ย่อมหมายถึงการสูญเสียเกิดขึ้น ได้แก่ ก) การสูญเสียโดยตรง เช่น ได้รับบาดเจ็บ พิการ หรือตาย และอาจทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย ทำให้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร ตลอดจนทรัพย์สินอื่นๆ ชำรุดเสี ยหาย การสูญเสียที่คิดเป็นเงินที่นายจ้าง หรือรัฐบาลต้องจ่ายโดยตรง ให้แก่ผู้ที่ ได้รับอุบัติเหตุจากการทำงาน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงิ นทดแทนที่ต้องจ่าย โดยรัฐหรือโรงงาน ค่าทำขวัญ เป็นต้น ข) การสูญ เสียโดยทางอ้อม คือ การสูญเสี ยซึ่งมักจะคิดไม่ถึง หรือไม่ค่อยได้คิ ดว่าเป็นการ สูญเสียเป็นลักษณะการสูญเสียที่แฝงอยู่ไม่ปรากฏเด่นชัด เช่น สูญเสียแรงงานของลูกจ้างที่ได้รับบาดเจ็บ จะต้อง ใช้เวลาพักฟื้นจนกว่าจะหาย สูญเสียเวลาของลูกจ้างคนอื่นๆ ซึ่งหยุดทำงานในขณะเกิดอุบัติเหตุด้วยเหตุผลต่อไปนี้ ความอยากรู้อยากเห็ น เข้าไปมุงดู ซั กถามเหตุการณ์ ด้วยความเห็ น ใจลู กจ้ างผู้บ าดเจ็ บ ตื่ น เต้น หรือช่วยเหลื อ ผู้บาดเจ็บในการทำปฐมพยาบาลหรือนำส่งโรงพยาบาล สูญเสียเวลาของแพทย์หรือพยาบาล หรือเจ้าหน้าที่อื่นๆ ในการปฐมพยาบาล ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมเครื่องจักรกล เครื่องมือ ทำให้ปริมาณผลผลิตขาดหายไป ผลิตให้ ผู้ใช้ไม่ทันเวลา เงินรางวัล โบนัสประจำปีลดน้อยลงไป สูญเสียผลกำไรส่วนหนึ่ง ไป เนื่องจากลูกจ้างบาดเจ็บ และเครื่องจักรหยุดทำงาน ทำให้คนงานขวัญเสีย เกิดความกลัว ประสิทธิภาพการทำงานลดลง และครอบครัว ต้องสูญเสียกำลังหลัก กำลังใจ สูญเสียรายได้ เป็นต้น ค) อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน การทำงานในชีวิตประจำวันของคนเรานั้น จะต้อง สัมผัสสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันไป ทำให้แต่ละคนได้รับพิษภั ย และการเกิดโรคอันเนื่องมาจากการทำงานแตกต่าง กันไปตามสถานภาพ ในหน้าที่การงานของแต่ละคน อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงานพิจารณาได้ ดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 4-295 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - เสียงดัง คนทำงานโดยทั่วไปประมาณวันละ 8 ชั่วโมง จะรับระดับเสียงได้ ไม่เกิน 90 เดซิเบล ถ้าดังเกินไปจะทำให้หูตึงและอาจหูหนวกได้ - แสงสว่าง แสงสว่างมากเกินไป อาทิ เช่น จากเตาหลอม ไฟเชื่ อม ทำให้ตาฝ้า ตามัว และอาจบอดได้ - ความร้อน ถ้าไม่มีการป้องกันความร้อนที่ดีแล้วอาจได้รับอันตรายจากความร้อน เช่น ทำให้อ่อนเพลียไม่มีแรง หน้ามืดบ่อยๆ และอาจเป็นลมสลบได้ - ความกดดัน อากาศในบริเวณปฏิบัติงานที่มีความกดดันสูงกว่าปกติ จะทำให้เกิดอาการ ปวดหู อาจทำให้เยื่อหูฉีกขาดและทำให้หูหนวกในที่สุด - ความสั่ น สะเทื อน อาจทำให้ เนื้ อเยื่ ออ่ อนของมื อ เกิด อาการอั กเสบลุ กลามไปถึง กระดูกข้อมือ หรือทำให้กล้ามเนื้อมือเป็นอัมพาตหรือทำให้อวัยะบางส่วนลีบได้ - สารเคมี ฝุ่ น ไอ ควั น ละอองแก๊ส ของสารพิ ษ สามารถเข้ าสู่ ร่างกายได้ 3 ทาง คื อ 1) การหายใจ สารเคมีเมื่อเข้าไปถึง ปอดจะถูกดูดซึมอย่างเร็วทำให้เกิ ด โรคปอดได้ 2) การดูดซึม ทางผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเป็นแผล เกิดอาการเป็นพิษต่อระบบหมุนเวียนโลหิตของร่างกาย และ 3) การกินเข้าไป การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับวัสดุบางชนิดอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ วัสดุเหล่านี้ ได้แก่ วัสดุ ที่มีขอบแหลมคม วัสดุที่วางไว้ในที่ที่ไม่เหมาะสม เช่น ไม่มีสิ่งจับยึด แขวนไว้เหนือศรีษะโดยไม่มีเครื่องป้องกัน อันตราย หรือวางไว้เกะกะบนพื้น วัสดุที่ติดไฟได้ง่าย เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง ขยะมูลฝอย สารเคมีที่เป็ นพิษ วัสดุที่มี อุณ หภูมิสูง เช่น โลหะที่เผาจนร้อนจัด น้ ำร้อน ไอน้ำหรืออากาศที่มีความดันสูง เช่น หม้อไอน้ำ เครื่องปั้มลม สื่อไฟฟ้ าที่ ปราศจากฉนวนหุ้ม และบั นไดที่หักหรือนั่งร้ านที่ไม่ แข็งแรง โดยหลักความปลอดภัยในการทำงาน โดยทั่วไปจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญต่อเรื่องสุขภาพความปลอดภัย ปฎิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อย่างจริงจัง เคร่งครัด โดยใช้เครื่องมือให้ถูกวิธี ถูกขนาด และถูกกับงาน แต่งกายให้ถู กต้องตามระเบียบของ โรงงาน และใช้เครื่องป้องกันอันตรายทุกครั้งที่ปฏิบัติงานที่กำหนดให้ใช้เครื่องป้องกัน หลีกเลี่ยงการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือหรือเครื่องจักรที่ชำรุดเสียหาย หรืออยู่ใ นสภาพที่ไม่เหมาะสมต่อการใช้งาน เก็บรักษาอุปกรณ์ และ เครื่องมือที่ใช้ในการทำงานให้ เป็นระเบียบเรียบร้อยอยู่เสมอ เมื่อนำไปใช้งานต้องเก็บไว้ให้ถูกจุดทุกครั้ง รักษา ความสะอาดทางเดิ น และติด ป้ายแสดงให้ ชัดเจนที่ บ ริเวณปฏิบัติ งานที่มี อั น ตราย รู้จั กตำแหน่ ง หรือที่ติ ดตั้ ง เครื่องดับเพลิง ตลอดจนวิธีการใช้ เป็นต้น ซึ่งสาเหตุโดยทั่วไปของการเกิดอุบัติเหตุอาจแบ่งได้ดังนี้ • ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ มักเกิดกับบุคคลที่เข้าทำงานใหม่ๆ หรือเข้าทำงานกับเครื่องมือ เครื่องจักรใหม่ โดยที่ไม่ได้รับคำอธิบายถึงการปฏิบัติและการทำงานของเครื่องมือเครื่องจักรโดยละเอียด จึงมักจะ ทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นบ่อยๆ เช่น การสอนเกี่ยวกั บความปลอดภัยยังไม่ดีพอ กฎความปลอดภัยไม่มี ผลบังคับใช้ ไม่ได้วางแผนงานความปลอดภัยไว้เป็นส่วนหนึ่งของงาน จุดอันตรายต่างๆ ไม่ได้ทำการแก้ไข อุปกรณ์ความปลอดภัย ไม่ได้จัดให้ ขาดความรู้หรือไม่ได้ตระหนักในเรื่องความปลอดภัย • ความประมาท เช่น เกิดจากมีความเชื่อมั่นมากเกินไปเนื่องจากทำงานมานาน การละเลย ไม่เอาใจใส่หรือมีทัศนคติผิดๆ ในเรื่องความปลอดภัย เครื่องป้องกันอันตรายหรือเครื่องกั้นจัดไว้ให้ แต่ไม่ใช้หรือ ถอดออก ใช้เครื่องมือเครื่องใช้ไม่ถู กต้องกับลักษณะของงานที่ทำ ถึงแม้ว่าจะมีเครื่องมือที่ถูกต้องให้เลือกใช้ได้ เหมาะสมก็ตาม ยกของด้วยวิธีผิดๆ จนน่าจะเกิดอันตราย อิริยาบทในการเคลื่อนไหวน่าจะเกิดอันตราย เช่น การเดิน การวิ่ง การกระโดด การก้าว การปีนป่าย และการหยอกล้อหรือล้อเล่นในระหว่างการทำงาน เป็นต้น • สภาพร่างกายของบุคคล เช่น อ่อนเพลีย เนื่องจากไม่สบายเป็นไข้แล้วเข้าทำงานหนัก หูหนวก สายตาไม่ดี โรคหัวใจ และสภาพร่างกายไม่เหมาะกับงาน • สภาพจิตใจของบุคคล เช่น ขาดความความตั้งใจในการทำงาน ขาดความสามารถในการ ควบคุมอารมณ์ในขณะทำงาน ตื่นเต้นง่าย ขวัญอ่อน ตกใจง่าย กรมทางหลวงชนบท 4-296 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม • อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องจักร มีข้อบกพร่องอาจเนื่องจากสาเหตุ เช่น ใช้เครื่ องมือ ไม่ถูกขนาด ใช้เครื่องมือที่สึกหรอชำรุด ทื่อ หรือหัก ใช้เครื่องมือที่ปราศจากด้ามหรือที่จับที่เหมาะสม ไม่ใช้เครื่อง ป้องกันอันตราย จับตั้งงานไม่ได้ขนาด และไม่มั่นคง ละเลยต่อการบำรุงรักษา เช่น น้ำมันหล่อลื่นไม่เพียงพอ • สภาพของบริเวณปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย เช่น แสงสว่างไม่เพียงพอ เสียงดังมาก เกินไปการระบายอากาศที่ไม่เหมาะสม ความสกปรก บริเวณที่คับแคบ มีสารเคมี และเชื้อเพลิง พื้นที่ลื่น เนื่องจาก คราบน้ำมัน หลุมและสิ่งกีดขวางทางเดิน และการสูญเสียเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ กรณีที่เกิดอุบัติเหตุในระหว่างการปฏิบัติงาน ซึ่งไม่มีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกหลัก วิชาการ บุคคลากรผู้ให้การปฐมพยาบาลขาดความรู้ ความชำนาญ และอุปกรณ์ไม่มีความพร้อมในการดูแลคนเจ็ บ ก่อนนำส่งโรงพยาบาล จะทำให้ระดับความรุนแรงเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ในการดำเนินกิจกรรมก่ อสร้างโครงการ อาจมี อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา โดยทั่วไปอุบัติเหตุที่ เกิดขึ้นจากการทำงานร้อยละ 85.0 เกิดจากตัวบุคคลด้วยการ ขาดความรู้/ความเอาใจใส่/ความประมาท/ขาดประสบการณ์ และร้อยละ 15.0 เกิดจากเครื่องจักรชำรุดหรือไม่พร้อม ต่อการปฏิบัติงาน แต่ทั้งนี้ในการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างถนนโดยทั่วไป จะมีการเตรียมอุปกรณ์ป้องกันอันตราย ส่วนบุคคล เช่น หมวกนิรภัย ที่อุดหู ถุงมือ หน้ากากหรือผ้าปิดจมูก และรองเท้านิรภัย เป็นต้น ให้กับเจ้าหน้าที่ และคนงานทุ กคนสวมใส่ ตลอดระยะเวลาการก่อสร้ าง ซึ่ งคาดว่าจะช่ วยป้ องกันและลดผลกระทบจากการเกิด อุบัติเหตุในการทำงานได้ จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง การป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้รถจักรยานยนต์ของราษฎรในพื้นที่ ก) วัตถุประสงค์ในการเดินทาง ผลจากการสำรวจการเดินทางของประชาชนในพื้นที่โครงการ พบว่า ผู้ใช้ยานพาหนะประเภทรถจักรยานยนต์ส่วนใหญ่ใช้ทางหลวงหมายเลข 4206 และกบ.5035 เป็นหลัก มีวัตถุประสงค์ในการเดินทางเพื่อไป-มาหาสู่กัน จ่ายตลาด และทำงาน ข) การดำเนินโครงการ การดำเนินกิจกรรมในระยะก่อสร้างของโครงการครั้งนี้ ไม่มีการปิด ช่องทางจราจรแต่อย่างใด ผู้ใช้ทางยังคงเดินทางไป -มาได้ตามปกติ แต่บางช่วงของทางหลวงหมายเลข 4206 และกบ.5035 อาจมีการลดพื้นที่ผิวจราจรลงบ้างแต่ยังคงช่องจราจรไว้ 1 ช่องต่อทิศทาง ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อ ระดับการบริการของทางหลวง (Level of Service, LOS) ลดลงแต่อย่างใด ค) มาตรการป้องกันอุบัติเหตุ ในช่วงก่อสร้างโครงการ ได้กำหนดให้มีการจัดจราจรช่วงก่อสร้าง และการจัดการด้านความปลอดภัยอยู่แล้ว โดยจะมีการติดตั้งป้ายจราจร สัญญาณไฟ และไฟส่องสว่างในบริเวณ ที่สำคัญหรือจุดเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดอุบัติเหตุ เช่น ทางแยก ทางโค้ง ทางเบี่ยง เป็นต้น เพื่อให้ผู้ใช้ทางโดยเฉพาะ ผู้ที่ใช้รถจักรยานยนต์ ได้มีความระมัดระวังในการขับขีย ่ านพาหนะและป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (2) ระยะดำเนินการ กิจกรรมการคมนาคมบนถนนโครงการ การบำรุงรักษาตามแนวเส้นทาง รวมทั้งการบำรุงรักษา ตามปกติ การบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา และการบำรุง รักษาพิ เศษ การบู รณะและซ่ อมแซมบำรุงฉุกเฉิ น เช่น งานตีเส้นจราจร งานซ่อมบำรุงผิวทางที่ชำรุด การซ่อมบำรุงเปลี่ยนหรือซ่อมแซมอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย เป็ น ต้น ต้ องมีการใช้ อุป กรณ์ /เครื่องจักร/เครื่องยนต์ ในการทำงาน โดยถ้าผู้ ป ฏิ บั ติ งานขาดความระมั ด ระวั ง ประมาท ไม่มีความชำนาญในการที่รับผิดชอบ ไม่ทราบกฎระเบียบความปลอดภัยในการทำงาน อาจเป็นผลให้เกิด การบาดเจ็ บ ตั้งแต่ระดั บ เล็กน้ อย เช่น แผลถลอก แผลไฟไหม้ กระดู กหั ก จนถึงการเสีย ชีวิ ตได้ แต่เนื่ องจาก ลักษณะของกิจกรรมไม่แตกต่างจากการดำเนินโครงการในปัจจุบัน เป็นกิจกรรมการดำเนินงานปกติของเจ้าหน้าที่ กรมทางหลวงชนบท ซึ่งมีประสบการณ์ ในการดำเนินการบำรุงรักษามาแล้วในหลายเส้นทาง การดำเนิน งาน ในแต่ละครั้งไม่ได้ใช้ระยะเวลานาน จึงพิจารณาระดับผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ กรมทางหลวงชนบท 4-297 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.7.5 สุขาภิบาล 1) กรณีไม่มีโครงการ ผลการศึกษาด้านสุขาภิบาลในพื้นที่โครงการ พบว่า การจัดการขยะมูลฝอยภายในชุมชนได้รับการ ให้บริการจากองค์การบริหารส่ วนตำบลเกาะกลาง ที่เป็นตัวกลางในการรวบรวมขยะจากชุมชนเปรียบเสมือน ธนาคารขยะ ซึ่งได้มีกิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชน เกี่ยวกับวิธีการจัดการขยะที่ถูกต้อง ทำให้คน ในชุมชนลดการสร้างขยะอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ในภาพรวมของพื้นที่โครงการจึงไม่มีปัญหาด้านสุขาภิบาล และจาก การสอบถามข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง พบว่า การจัดเก็บขยะมูลฝอย ในพื้นที่มีการจัดเก็บทุกวัน และนำไปพักไว้ที่ธนาคารขยะของตำบลเกาะกลางก่อนส่งต่อไปที่อำเภอคลองท่อม เพื่อเปลี่ยนรูป จากขยะเป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งในพื้นที่ตำบลเกาะกลางไม่มีปัญหาเรื่องขยะตกค้าง ประกอบกับ ประชาชนในพื้นที่ทุกครัวเรือนมีส้วมที่ถูก สุขลักษณะ การระบายน้ำเสียของชุมชนผ่านท่อระบายน้ำ กรณีไม่ มี โครงการ จะไม่มีผลกระทบต่อปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย ของเสีย น้ำเสียของชุมชนแต่อย่างใด พื้นที่เกาะลันตาอันประกอบไปด้วย 3 ตำบล คือ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลศาลาด่าน และตำบล เกาะลันตาน้อย พบว่า การจัดการขยะมูลฝอยภายในชุมชน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ได้รับการให้บริการจากองค์การ บริหารส่วนตำบลเกาะลันตาใหญ่ และเทศบาลตำบลเกาะลันตาใหญ่ ทำหน้าที่รวบรวมขยะจากชุมชน และมีการ คัดแยกขยะเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ โดยมีบ่อขยะในพื้นที่จำนวน 2 บ่อ คือ บ่อขยะใหม่ อบต.เกาะลันตาใหญ่ และ บ่อขยะ ทต.เกาะลันตาใหญ่ ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลสถิติ แต่จากการลงสำรวจพบว่า บ่อขยะ ทต.เกาะลันตาใหญ่ ซึ่งมีขนาดพื้นที่ 1.2 ไร่ นั้น มีปริมาณขยะในบ่อเกือบเต็มอยู่แล้ว ส่วนของการจัดการขยะมูลฝอยภายในชุมชน อบต.ศาลาด่าน มีบ่อขยะในพื้นที่จำนวน 1 บ่อ คือ บ่อขยะ อบต.ศาลาด่าน มีขนาดพื้นที่ 6 ไร่ มีปริมาณขยะในบ่อ เกือบเต็มอยู่ แล้ว โดยจากการสอบถามทาง อบต.ศาลาด่าน มีการซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีก 7 ไร่ ในแปลงติดกันกับ บริเวณบ่อขยะเดิมเพื่อใช้ในการจัดการกับขยะมูลฝอยที่มีปริมาณมาก เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีทั้งชุมชนที่พักอาศัย และโรงแรมรีสอร์ท อยู่มากที่สุดในเกาะลันตา การระบายน้ำเสียของชุมชนไม่มีระบบบำบัดรวมแต่โรงแรมรีสอร์ท ในเกาะมีระบบบำบัดตามมาตรฐานอยู่แล้ว จึงมีผลกระทบในระดับปานกลาง 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่โครงการองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง มีการจัดเก็บและ คัดแยกขยะชุมชน ไว้ที่บ่อขยะมีพื้นที่รวมประมาณ 1 ไร่ เพื่อส่งเข้ารวม ที่จุดคัดแยกขยะรวมของจังหวัดกระบี่ ที่บ่อขยะ อบต.คลองท่อมใต้ ซึ่งการจัดการขยะภายในเกาะลันตา นั้น ตำบลเกาะลันตาน้อยไม่มีพื้นที่บ่อขยะ ใช้วิธีการจัดการกันเองในครัวเรือน ส่วนอีก 2 ตำบล คือ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ และตำบลศาลาด่าน ใช้วิธีการ เทกองกลางแจ้ ง โดยมี บ่ อ ขยะจำนวน 3 บ่ อ คือ บ่ อ ขยะใหม่ อบต.เกาะลั น ตาใหญ่ ขนาด 3.5 ไร่ บ่ อ ขยะ ทต.เกาะลันตาใหญ่ ขนาด 1.2 ไร่ และบ่อขยะ อบต.ศาลาด่าน ขนาด 6 ไร่ ปริมาณขยะที่เข้าระบบรวมทั้งเกาะ คือ 22.8 ตัน/วัน การลงพื้ น ที่ เพิ่ อ สำรวจบ่ อ ขยะ พบว่ า ในพื้ น เกาะลั น ตามี จ ำนวนขยะตกค้า งเป็ น ปริม าณมาก สอดคล้องกับ สถิติขยะตกค้างของพื้นที่ภายในเกาะลันตาของ บ่อขยะ อบต.ศาลาด่าน ที่มีปริมาณขยะมูลฝอย ตกค้าง 48,600 ตัน โดยสถิติการทิ้งขยะของชุมชนที่ผ่านมา ในปี พ.ศ. 2560 – 2562 พบว่าในแต่ละปีมีอัตรา ของขยะเพิ่มขึ้นมากกว่าปริมาณที่สามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเฉพาะอบต.ศาลาด่านที่เหลือขยะทิ้ง ในบ่อขยะร้อยละ 98.9-100 ในปี พ.ศ. 2560 – 2562 ซึ่งเป็นปริมาณมหาศาล โดยในพื้นที่เกาะลันตานั้น การจะ นำขยะที่สามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้ข้ามฝั่ งมานั้นทำได้ยาก และไม่คุ้มค่าเนื่องจากมีค่าขนส่งที่สูงจากการ ข้ามแพขนานยนต์ กรมทางหลวงชนบท 4-298 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในระยะก่อสร้าง กิจกรรมภานในสำนั กงานโครงการและบ้ านพั กคนงานจะมี ขยะมู ลฝอยเกิดขึ้น ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจากคนงานก่อสร้าง 1 กิโลกรัม/คน/วัน (สำนักงานสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น , 2555) ซึ่งจะมี ปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น ดังนี้ - ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น = 1 กิโลกรัม/คน/วัน - จำนวนคนงานก่อสร้างทั้งหมด = 170 คน - ปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด = 170 กิโลกรัม/วัน หรือ = 0.17 ตัน/วัน น้ำชะขยะมูลฝอย (Leachate) หมายถึง ของเหลวที่ไหลซึมออกมาจากกองขยะมูลฝอย ซึ่งจะมี ความสกปรกสูงและอาจปนเปื้อนสูแ ี่ ยู่บริเวณใกล้เคียงได้ เนื่องจากน้ำชะขยะจะมีคา ่ หล่งน้ำผิวดินตามธรรมชาติทอ ่ COD (Chemical Oxygen Demand) สูงมาก เมื่อปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้ำจะทำให้ปริมาณออกซิเจนในน้ำต่ำลง และส่งผลทำให้ สิ่งมี ชีวิตในน้ ำตายได้ (Clement 1997; Marttinen 2002; Pirbazari 1996 ; Silva 2004 ; Sisinno 2000) ดังนั้น จึงต้องควบคุมมิให้น้ำชะขยะมูลฝอยแพร่กระจายไปสู่สิ่งแวดล้อมโดยรอบ โดยการบำบัดน้ำชะขยะ ก่อนปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม ( Renoua, 2008) ทั้งนี้ น้ำเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้นจะถูกระบายออกสู่ภายนอกพื้นที่ ตั้งหน่วยก่อสร้างโครงการหรือบริเวณใกล้เคียง หากไม่มีการจัดการบำบัดน้ำเสียที่เหมาะสม อาจส่งผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำและกลายเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคได้ และเนื่องจากบริเวณพื้นที่โดยรอบหน่วยก่อสร้าง โครงการเป็ น พื้ น ที่ โล่ งและสวนปาล์ม การระบายน้ ำเสีย จากหน่ วยก่อสร้างอาจส่งผลกระทบต่อพื้ น ที่ บ ริเวณ ดังกล่าว ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของผลผลิต มีระยะเวลาในการเกิดผลกระทบตลอดช่วงก่อสร้าง แต่ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างถาวร มีขอบเขตผลกระทบอยู่บริเวณโดยรอบพื้นที่ตั้งหน่วยก่อสร้างโครงการ จึงมีผลกระทบ อยู่ในระดับปานกลาง ในกรณีที่ไม่มีการจัดการหรือนำไปกำจัดที่ถูกหลักวิชาการ จะทำให้บริเวณที่ตั้งหน่วยก่อสร้างของ โครงการ เป็นแหล่งอาหาร แหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงนำโรค เช่น แมลงวัน ยุง และแมลงสาบ เป็นต้น ซึ่งก่อ ให้เกิดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค อาจก่อให้เกิดโรคระบาดได้ เช่น โรคไข้เลือดออกที่มียุงเป็นพาหะนำโรค อีกทั้งหาก ให้เกิดการปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้ำทำให้น้ำมีการปนเปื้อนจากโรคต่างๆ เช่น แบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ เชื้อรา ซึ่งจะ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพได้ซึ่งจะก่อให้เกิดอัตราการเจ็บป่วยของประชาชน ที่เพิ่มขึ้นได้ รวมทั้ง ทำให้เกิด มลพิษต่อสิ่งแวดล้อมที่อยู่บริเวณโดยรอบพื้นที่ รวมทั้งเป็นสาเหตุแห่งความรำคาญ อันเนื่องมาจากเสียง กลิ่น ควัน ผงและฝุ่นละอองได้ดังนั้น การกำจัดขยะด้วยวิธีการกองทิ้งบนดินรวมทั้งการเผากลางแจ้งถือว่าเป็นวิธีการ กำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้อง เพราะทำให้เกิดปัญหาภาวะมลพิษต่อสภาพแวดล้อม ซึ่งจากผลการตรวจสอบ ข้อมูล การสำรวจขยะมูล ฝอยจากกรมควบคุม มลพิษ พบว่า ในพื ้น ที ่องค์ก ารบริหารส่ว นตำบลเกาะกลาง มี ปริมาณขยะเกิดขึ้น 7.72 ตัน/วัน จำแนกเป็นปริมาณขยะที่เก็บขนไปกำจัด 1.00 ตัน/วัน และปริมาณขยะที่ถูก นำไปใช้ป ระโยชน์ 6.72 ตัน /วัน ซึ่ง ในพื้นที่ไม่มีปัญ หาปริม าณขยะที่ตกค้าง ดังนั้นปริม าณขยะที่เกิดขึ้นจาก โครงการประมาณ 0.05 ตัน/วัน คาดว่าจะมีผลกระทบต่อการให้บริการ/จัดเก็บขององค์ก ารบริหารส่วนตำบล เกาะกลางอยู่ในระดับปานกลาง การจัดการขยะมูลฝอยของสำนักงานควบคุมโครงการและบ้านพักคนงานก่อสร้าง (1) ผู้รับ จ้างก่อสร้างต้องจัด ให้มีถังขยะแยกประเภทที่มีฝาปิดมิดชิด น้ำไม่ส ามารถจะรั่วซึมได้ (ไม่ควรใช้เข่งในการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย) มีจำนวนและขนาดที่เพี ยงพอต่อปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ตั้งวางไว้ตามจุดต่างๆ ภายในพื้นที่หน่วยก่อสร้าง เช่น บ้านพักคนงาน ห้องอาหาร อาคารและสำนักงานควบคุม โครงการ รวมทั้งโรงซ่อมบำรุง โดยจัด ให้มีเจ้าหน้าที่หรือคนงานเก็บรวบรวมขยะมูล ฝอยไปไว้ในจุดรวมขยะ ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องประสานงานติดต่อพนักงานเก็บขยะมูลฝอยของ อบต.เกาะกลาง เพื่อนำรถบรรทุกขยะเข้ามา จัดเก็บและขนส่งต่อไปยังสถานกำจัดขยะมูลฝอย กรมทางหลวงชนบท 4-299 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ติดป้ายหรือสัญลักษณ์บนถังขยะตามประเภทของขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะอินทรีย์ (ย่อยสลายได้) และขยะอันตรายให้ชัดเจน (รูปที่ 4.7.5-1) รูปที่ 4.7.5-1 ตัวอย่างถังขยะแยกประเภท (3) ให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่และคนงานก่อสร้างให้เข้าใจถึงประเภทและการแยกขยะ เพื่อลดขยะ ที่ต้องนำไปกำจัดจริง ๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนำกลับมาใช้ได้อีก เช่น ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก ขยะเปี ยกสามารถนำมาทำปุ๋ ยน้ ำชี วภาพ ขยะอัน ตราย เช่ น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกำจัดที่ปลอดภัย โดยการแยกขยะแบบถูกวิธี ดังนี้ • ขยะเปรียกหรือขยะย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหารและพืชผักที่เหลือจากการรับประทาน และการประกอบอาหาร สามารถนำไปหมัก ทำปุ ๋ ย ได้ จากปริม าณขยะมูล ฝอยทั ้ง หมดมีป ระมาณ 46% ขยะประเภทนี้ให้แยกใส่ถัง สีเขียว เพื่อจะนำไปทำปุ๋ยหมัก • ขยะรีไซเคิล หรือขยะที่สามารถนำไปขายได้ เช่น ขวด แก้วพลาสติก เศษแก้ ว กระป๋อง น้ำอัดลม กระป๋องน้ำผลไม้ ขวดแก้ว เศษกระดาษ กล่องเครื่องดื่ม ถุงพลาสติก ซึ่งจากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด มีอยู่ประมาณ 42% ขยะประเภทนี้ให้แยกใส่ถังสีเหลือง เพื่อจะถูกนำไปรีไซเคิลและนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ใหม่ • ขยะทั่วไป เป็นขยะที่ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าในการนำไปรีไซเคิล เช่น พลาสติกใส่อาหาร หลอด ซองขนม ซองลูกอม ซองบะหมี่ ทิชชู กล่องอาหาร แก้วกระดาษเคลือบใสเครื่องดื่ม มาม่าคัพ จากปริมาณขยะ มูลฝอยทั้งหมดประมาณ 9% ขยะประเภทนี้ให้แยกใส่ถังสีน้ำเงิน เพื่อจะถูกนำมาไปฝังกลบรอการย่อยสลาย • ขยะมีพิษ ที่ต้องเก็บรวบรวมแล้วนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี เช่น กระป๋องยาฆ่าแมลง หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย ซึ่งจากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด มีอยู่ประมาณ 3% ขยะประเภทนี้ให้แยกใส่ถังสีแดง เพื่อจะนำไป กำจัดอย่างถูกวิธี วิธีการลดและจัดการขยะก่อนนำไปทิ้ง • การลดการใช้ หรือการลดขยะจากแหล่งที่เกิด โดยพยายามหลีกเลี่ยงหรือลดการเกิดขยะ หรือมลพิษที่เกิดขึ้น เช่น การใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก ลดการใช้หลอดดูด โดยการกินน้ำเปล่าจากแก้ว • การนำผลิตภัณฑ์มาใช้ซ้ำ เป็นการนำวัสดุของใช้กลับมาใช้ในรูปแบบเดิมหรือนำมาซ่อมแซม หรือนำมาใช้ทำประโยชน์อื่น ๆ โดยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ - ขั้นตอนการผลิตสินค้า พยายามทำให้เกิดเศษวัสดุหรือของเสียน้อยที่สุด - ขัน้ ตอนการนำของมาใช้ซ้ำ เป็นการยืดอายุการใช้งานก่อนจะนำไปทิ้ง เช่น การนำขวด พลาสติกมาบรรจุนำ ้ การใช้กระดาษ 2 หน้า กรมทางหลวงชนบท 4-300 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม • การนำกลับมาผลิตใหม่ เป็นการแยกวัสดุที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้ออกจากขยะและ รวบรวมใช้เป็นวัตถุดบ ิ ในการผลิตสินค้าขึน ้ ใหม่หรือเรียกว่ารีไซเคิล • การเลี่ยงการใช้วัสดุกำจัดยาก เช่น กล่องโฟม การใช้จานหรือแก้วกระดาษ ยาฆ่าแมลง ควรใช้สมุนไพรเป็นสารกำจัด • การซ่อมแซมนำกลับมาใช้ใหม่เป็นการซ่อมแซมวัสดุที่ใช้แล้ว ทีส ่ ามารถซ่อมแซมนำกลับมา ใช้ใหม่ได้ เช่น การซ่อมแซมเสื้อผ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าชำรุด เป็นต้น ปัญหาน้ำเสีย การระบายน้ำเสียที่เกิดจากสำนักงานควบคุมงาน และบ้านพักคนงาน เป็นน้ำเสียที่เกิดขึ้นจาก กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวันของเจ้าหน้าที่ คนงานก่อสร้างและการล้างทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ การก่อสร้าง ซึ่งส่วนใหญ่มักจะระบายน้ำเสียออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยไม่ผ่านการบำบัดให้มีคุณ ภาพ ดีขึ้นก่อน จะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณ ภาพน้ำในแหล่งน้ำเสื่อมโทรมลง เนื่องจากน้ำทิ้งนี้ ส่วนมาก จะเป็น น้ำจากส้วมและจากการชำระซักล้าง ซึ่งประกอบไปด้วยสารอินทรีย์สบู่ ผงซักฟอก เศษอาหาร ไขมั น สารอินทรีย์ และสิ่งปฏิกูลอื่นๆ เจือปนอยู่ สารเหล่านี้เมื่อไหลลงสู่แหล่งน้ำ จะเกิดผลเสียสองประการใหญ่ๆ คือ ประการแรกช่วยเพิ่มอาหารเสริมแก่พืชน้ำและสัตว์น้ำ ทำให้มีพืชน้ำและสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น เมื่อพืชน้ำและสัตว์น้ำ ตายไป จะทำให้เกิดสารอินทรีย์ในน้ำเพิ่มขึ้น สารอินทรีย์ที่มาจากน้ำทิ้งและที่เกิดเพิ่มขึ้ นนี้ ถ้ามีจำนวนมากเมื่อถูก ย่อยสลายโดยแอโรบิคบัคเตรีที่มีอยู่ในน้ำ ก็จะนำเอาออกซิเจนละลายในน้ำมาใช้ในอัตราทีส ่ ูงกว่าอัตราที่ออกซิเจน ในอากาศละลายลงในน้ำ ทำให้เกิดสภาพขาดออกซิเจนขึ้น อันเป็นสภาวะแวดล้อมที่เหมาะกับแอนแอโรบิคบัคเตรี ให้ย่อยสลายสารอินทรีย์ต่อไป ทำให้น้ำกลายเป็นสีดำมีกลิ่นเหม็น ส่วนสารอื่นๆ ที่ปนมา เช่น สารอนินทรีย์จะเพิ่ม ปริมาณสูงขึ้น ทำให้คุณภาพน้ำทิ้งไม่ได้มาตรฐานและเสียประโยชน์ใช้สอยไป นอกจากนี้ถ้าน้ำทิ้งมีเชื้อโรคชนิด ต่างๆ ที่เป็นอันตราย เช่น บัคเตรี และไวรัส ก็จะทำให้เกิดโรคได้ ดังนั้น จำเป็ นต้องมีมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบด้านคุณ ภาพน้ ำ โดยจัด การน้ำเสี ยหรือน้ ำใช้ ผ่ านถังบำบั ด น้ ำเสี ย ชนิ ด เกรอะ -กรองไร้อากาศและ ถังดั ก ไขมั น เพื่ อให้ คุ ณ ภาพน้ ำอยู่ ในเกณฑ์ ม าตรฐานควบคุ ม การระบายน้ ำทิ้ งจากระบบบำบั ดน้ ำเสี ย ชุ มชน ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากระบบบำบัด น้ำเสียรวมของชุมชน ดังนี้ - ความเป็นกรดและด่าง (pH) ระหว่าง 5.5 – 9.0 - บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร กรณีหน่วยบำบัด สุดท้ายเป็นบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond) หรือบ่อผึ่ง (Oxidation Pond) ให้ใช้ค่าบีโอดีของน้ำที่ผ่านการ กรองแล้ว (Filtrate BOD) - ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) ไม่เกิน 30 มิลลิกรัมต่อลิตร กรณีหน่วยบำบัด สุดท้ายเป็นบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond) หรือบ่อผึ่ง (Oxidation Pond) ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร - น้ำมันและไขมัน (Fat, Oil and Grease) ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร - ไนโตรเจนทั้งหมด (Total Nitrogen) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมไนโตรเจนต่อลิตร - ฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ไม่เกิน 2 มิลลิกรัมฟอสฟอรัสต่อลิตร การตรวจสอบค่ามาตรฐานน้ ำทิ้ งจากระบบบำบั ด น้ ำเสี ย รวมของชุม ชนให้ เป็ น ไปตาม Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater ฉบั บ ล่ า สุ ด ซึ่ ง American Public Health Association, American Water Work Association และ Water Environment Federation ร่วมกัน กำหนดไว้ หรือตามวิธีอื่นที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษประกาศในราชกิจจานุเบกษา ดังนั้นผลกระทบด้านน้ำเสีย ที่เกิดจากโครงการอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-301 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ โครงการกำหนดให้มีห้องน้ำ-ห้องส้วม 1 แห่ง บริเวณ กม.0+500 และที่จอดรถใต้โครงสร้าง สะพาน ฝั่งตำบลเกาะกลาง เพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเยี่ยใชมจุดชมวิว ของโครงการ ซึ่งคาดว่าจะมีการ ระบายน้ำเสียและขยะมูลฝอยจากกิจกรรมต่างๆ ซึ่งอาจมีผลกระทบด้านมลพิษและเป็นแหล่งแพร่เ ชื้อโรคได้ จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ได้กำหนดให้มีจุดชมวิวบนสะพานจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ กม.0+692 และ กม.0+892 มีทางขึ้น -ลง เพื่อไปยังจุดชมวิวในรูปแบบสะพานลอยและลิฟท์ ตั้งอยู่บนฝั่งของพื้นที่ตำบลเกาะกลางบริเวณ กม.0+512 โดย จุดชมวิวทั้งสองแห่งดังกล่าวจะมีทางเดินเชือ ่ มถึงกันระยะทางประมาณ 500 เมตร ซึ่งตามรูปแบบโครงการ คาดว่า จะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาใช้บริการจุดชมวิวอย่างต่อเนื่อง โดยนักท่องเที่ยวจะมีพฤติกรรมที่มีความแตกต่างกันไป ตามแต่ละบุคคล นักท่องเที่ยวแบบไป -กลับ เป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีการผลิตขยะมูลฝอยในพื้นที่ ค่อนข้างน้อย จะมีพฤติกรรมการทิ้งขยะโดยทิ้งขยะลงในถัง ขยะโดยตรง ไม่ทิ้งเกลื่อนกลาดหรือทิ้งไว้ข้าง ๆ ถังขยะ ในกรณีที่ ขยะล้นถังและมีการคัดแยกขยะมูลฝอย หากบริเวณนั้นมีถง ั ขยะแบบแยกประเภท แต่อย่างไรก็ตาม ในถังขยะอาจ มีขยะมู ลฝอยผิ ดประเภทปะปนอยู่ในถังขยะแต่ ละประเภท อาจเนื่ องมาจากการขาดความรู้เกี่ยวกับ คัด แยก ขยะมูลฝอย และการไม่ตระหนักถึงประโยชน์ที่ได้จากการคัดแยกขยะมูลฝอยของนักท่องเที่ยว ดังนั้น เพื่อเป็นการ ป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ จึงกำหนดให้มีการจัดการขยะมูลฝอย ดังนี้ - ติดตั้งถังขยะขนาด 240 ลิตร มีฝาปิดพร้อมกรงตาข่ายเหล็กกันลิงคุ้ ยขยะ แยกประเภท 4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะอัน ตราย ขยะทั่ วไป และขยะรีไซเคิล บริเวณพื้น ที่ ว่างของลานจอดรถ ใกล้กับทางขึ้น-ลงไปจุดชมวิวโครงการ ฝั่งซ้ายทางและฝั่งขวาทางอย่างละ 1 ชุด (รูปที่ 4.7.5-2) - ติ ด ป้ า ยหรือสั ญ ลั กษณ์ บ นถัง ขยะตามประเภทของขยะ 4 ประเภท ได้ แ ก่ ขยะทั่ ว ไป ขยะรีไซเคิล ขยะเปียก และขยะอันตรายให้ชัดเจน - ติ ด ตั้ ง ป้ า ยประชาสั ม พั น ธ์ รณรงค์ ข อความร่ว มมื อ งดใช้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ โฟมและพลาสติ ก แก่ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว - กรมทางหลวงชนบทประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง ในการเก็บขนขยะมูลฝอยไปกำจัด ตามหลักสุขาภิบาล โดยการเก็บขนขึ้นอยู่กับปริมาณขยะมูลฝอยและช่วงเวลา ช่วงวันหยุดยาวหรือช่ วงเทศกาล ท่องเที่ยว (พฤศจิกายน-มีนาคมของทุกปี) จะมีปริมาณขยะมูลฝอยมากให้จัดเก็บขยะทุกวันๆ ละ 3 - 4 เที่ยว/วัน ในช่วงเวลา 07.00 - 17.00 น. เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขยะตกค้างในพื้นที่ แต่หากเป็นช่วงปกติจะจั ดเก็บขยะมูลฝอย 1 - 2 เที่ ย ว/วั น ในช่ ว งเวลา 0 8.00 – 16.00 น. ขึ้น อยู่ กั บ ปริม าณขยะมู ล ฝอยที่ เก็ บ ขน โดยมี ต ามแนวทาง การจัดการขยะมูลฝอย แสดงดังรูปที่ 4.7.5-3 - ทำการขนส่งขยะมูลฝอยจากสถานที่รวบรวมขยะมูลฝอยไปยังสถานที่กำจัดขยะโดยเตาเผา เพื่อผลิตพลังงาน ณ เทศบาลเมืองกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 4-302 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.7.5-2 แนวทางการจัดการขยะมูลฝอย รูปที่ 4.7.5-3 ตำแหน่งติดตั้งถังขยะบริเวณพื้นที่ว่างของลานจอดรถใกล้กับทางขึ้น-ลงไปจุดชมวิวโครงการ กรมทางหลวงชนบท 4-303 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.7.6 อุบัติเหตุและความปลอดภัย 1) กรณีไม่มีโครงการ ผลการรวบรวมข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุที่ผ่านมาของจังหวัดกระบี่ (ปี 2560 - 2562) พบการเกิด อุบัติเหตุบนทางหลวงของทั้งจังหวัดกระบี่เพิ่มมากขึ้นมากกว่า 100 ครั้งในแต่ละปี และการเดินเพื่อไปเกาะลันตา จะใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 จนถึงแยกห้วยน้ ำขาวจากนั้นจะต้องเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 อีกประมาณ 27 กิโลเมตร จนสุดถนนที่บริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน และเดินทางข้ามไปยังเกาะลั นตาน้อย โดยอาศัยบริการแพขนานยนต์ในการเดินทางข้ามฟาก และการจราจรมีความหนาแน่น จากการตรวจสอบจุดเสี่ยง ต่อการเกิดอุบัติเหตุ ในพื้น ที่โครงการ พบว่า บริเวณพื้น ที่โครงการมีสัญ ญาณไฟจราจรและป้ ายเตือนผู้ใช้ท าง หากไม่มีการพัฒ นาโครงการและไม่ มีการแก้ไขปัญหาด้านอุบัติเหตุและความปลอดภัย ผู้ใช้ทางหรือประชาชน ในพื้นที่อาจมีความเสี่ยงต่อการประสบอุบัติเหตุ ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรั พย์สินได้ จึงมีผลกระทบ อยู่ในระดับปานกลาง 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง งานเตรี ย มพื้ น ที่ ส ำหรั บ ก่ อ สร้ า ง งานดิ น /หิ น งานเตรี ย มวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งและงานขนย้ า ย งานโครงสร้าง สะพานข้ามเกาะลันตา การปรับปรุงระบบระบายน้ำ เป็นต้น การดำเนินกิจ กรรมดังกล่าวจะมีการ นำเครื่องจักรเข้ามายังพื้นที่ก่อสร้าง อาจส่งผลให้ เกิดการจราจรชะลอตัวในบริเวณที่มีกิจกรรมและอาจเกิดการ กีด ขวางการจราจร ทำให้ บ ริเวณดั งกล่ าวเป็ น จุ ด เสี่ ย งต่ อการเกิด อุ บั ติ เหตุ และอาจทำให้ ผู้ใช้ รถใช้ ถนนและ คนเดินเท้าที่สัญจรผ่านอาจได้รับอันตรายจากการจราจรหรือเครื่องจักรในการก่อสร้างได้ ถึงแม้ว่าสถิติการเกิด อุบัติเหตุของจังหวัดกระบี่ ปี พ.ศ. 2560- 2562 พบการเกิดอุบัติเหตุเป็นเพิ่มขึ้น แต่ในช่วงที่การดำเนินกิจกรรม ก่อสร้างเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ซึ่งเป็นทางคมนาคมสายหลักที่ใช้ในการข้ามฟากจากบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน และเดินทางข้ามไปยังเกาะลันตาน้อย หากผู้ขับขี่ยานพาหนะขาดความระมัดระวัง อาจส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุ เกิดขึ้นได้ การก่อสร้างมีกิจกรรมการขนส่งชิ้นส่วนหรือโครงสร้างขนาดใหญ่เข้ามายังพื้นที่ก่อสร้าง ขณะ ทำการยก/เคลื่อนย้ายชิ้นส่วนดังกล่าว ในบางเวลาหรือบางช่วงอาจมีความจำเป็นต้องปิดกั้นการจราจรและจัดทำ ทางเบี่ยงในการสัญจร ซึ่งส่งผลให้เกิดความไม่สะดวกในการใช้เส้นทาง การปิดกัน ้ การจราจรในบริเวณที่มีกิจกรรม โดยเฉพาะบริเวณที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ หากไม่มีการจัดการจราจรที่ดีอาจส่งผลกระทบต่อความเสี่ยง ในการเกิดอุบัติเหตุของผู้ใช้รถ/ถนนและคนเดินเท้า โดยผลกระทบดังกล่าวจะเกิดในระยะก่อสร้างเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง (2) ระยะดำเนินการ เมื่อก่อสร้างเส้นทางเชื่อมเกาะลันตาแล้วเสร็จ จะทำให้โครงข่ายคมนาคมในพื้นที่โครงการมี ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4206 จนสุดถนนที่บริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน ทำให้ สามารถลดความเสี่ย งต่อ การเกิด อุบ ั ติเหตุบ ริเวณจุด ตัด /ทางแยก และการติด ตั้ง สัญ ญาณไฟจราจรต่า งๆ รวมถึงไฟส่องสว่างเพิ่มมากขึ้นในจุดที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ส่งผลให้การคมนาคมมีความสะดวกและ ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น กิจกรรมการบำรุงรักษาทาง จะมีการนำเครื่องจักรเข้ามายังพื้นที่ก่อสร้าง อาจทำให้บริเวณ ดังกล่าวกลายเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ ก่อให้เกิดการกีดขวางการจราจรในบริเวณที่มีกิจกรรม แต่มี ขอบเขตผลกระทบอยู่ในพื้นที่ที่เขตทางเท่านั้น และมีระยะเวลาในช่วงสั้นๆ จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-304 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.7.7 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี 1) กรณีไม่มีโครงการ ผลการตรวจสอบโบราณสถานและโบราณคดี จ ากฐานข้ อ มู ล ภู มิ ศ าสตร์ ข องกรมศิ ล ปากร เรื่อง รายชื่อโบราณสถานในเขตจังหวัดกระบี่ (อ้างอิงตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนพิเศษ 165 ง ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2561) และจากการจัดส่งหนังสือขอตรวจสอบแหล่ง โบราณสถานและโบราณคดี ในพื้นที่ศึกษาโครงการในรัศมี 1 กิโลเมตร กับ สำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช (อ้างอิงตามหนังสือเลขที่ วธ 0422/14 ลงวัน ที ่ 5 มกราคม 2564) พบว่า ในพื ้น ที ่ศึก ษาโครงการระยะ 1 กิโลเมตร นับ จากกึ่งกลาง แนวเส้นทางออกไปทั้งสองข้าง ไม่พบแหล่งโบราณสถานและโบราณคดีที่สำคัญ ดังนั้นในกรณีไม่มีโครงการ จึงไม่มี ผลกระทบต่อแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีแต่อย่างใด 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การแบ่งพื้นที่สำรวจโครงการเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง -ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เป็น สองส่วน คือ บริเวณที่ตั้งโครงการฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอ เกาะลันตา และบริเวณที่ตั้งโครงการฝั่ง ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา ไม่พบหลักฐานทางโบราณคดี ที่เป็น โบราณวัตถุ โบราณสถาน เมืองโบราณ ในบริเวณพื้นที่ ทั้งสองส่วน ประกอบกับการสอบถามสัมภาษณ์ ผู้สูงอายุ และผู้นำชุมชนในพื้นที่ กล่าวว่าไม่พบ และไม่เคยมีการพบหลักฐานทางโบราณคดีที่เป็นโบราณวัตถุใดๆ ทั้งสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ รวมทั้งโบราณสถานในบริเวณพื้นที่โครงการเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งผลการสำรวจครั้งนี้ พบเพียงศาสนสถาน ทางฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา 1 แห่ง คือ มัสยิดดารุสซุนนะฮ์ ซึ่งอยู่ห่างออกไปมากกว่า 1 กิโลเมตร จึงไม่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินโครงการ และพบศาสนสถานทางฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอ เกาะลันตา 1 แห่ง คือ มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตั้งอยู่ห่างจากแนวก่อสร้างโครงการในระยะห่างมากกว่า 1 กิโลเมตร เช่นกัน และกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุมซึ่งทางโครงการได้ปรับย้ายแนวเพื่อไม่ให้กระทบต่อกุโบร์แห่งนี้แล้ว นอกจากนี้ การตรวจสอบแหล่งโบราณสถานและโบราณคดี ในพื้นที่ศึกษาระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเส้นทางโครงการกับสำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช (อ้างอิงตามหนังสือเลขที่ วธ 0422/14 ลงวันที่ 5 มกราคม 2564) พบว่า ในพื้นที่ ศึกษาโครงการอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ไม่มีแหล่งโบราณสถานและ โบราณคดีแต่อย่างใด และผลการสำรวจภาคสนามโดยผู้เชี่ยวชาญด้านโบราณคดี ไม่พบแหล่งโบราณคดีใต้น้ำ ในพื้นที่ดำเนินการโครงการและพื้นที่ศึกษาระยะ 1 กิโลเมตร จากแนวเส้นทางโครงการ และผลการประสานงาน เพิ่มเติมกองโบราณคดีใต้น้ำ เพื่อตรวจสอบข้อมูลแหล่งโบราณคดีใต้น้ำบริเวณพื้นที่โครงการ ไม่พบแหล่งโบราณสถาน ในพื้นที่โครงการแต่อย่างใด แต่ทั้งนี้ เนื่องจากบริเวณพื้นที่โครงการมีแหล่งศาสนสถาน กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม มีระยะห่าง จากกึ่งกลางแนวเส้นทางโครงการ 34 เมตร ซึ่งผลการประเมินผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน ตามกิจกรรมก่อสร้างโครงการ แบ่งเป็น 5 กรณี ดังนี้ ก) กิจกรรมเตรียมพื้นที่โครงการ จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.035 – 0.049 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่ง ไม่เกินค่ามาตรฐานคุณ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรม เตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.022 - 0.031 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณ ภาพอากาศใน กรมทางหลวงชนบท 4-305 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม บรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.333 - 0.400 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพ อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้า นส่วน) ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ( NO2) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.0051 - 0.0066 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพ อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 58.1 - 74.0 เดซิเบล (เอ) ซึ่งเกินค่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) และมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.002 - 0.246 มิลลิเมตร/วินาที ไม่เกิน 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 แสดงดังตารางที่ 4.7.7-1 ซึ่งมีเพียงค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง เกินค่ามาตรฐานเพียง 1 แห่ง คือ กุโบร์บ้านทุ่ง โต๊ะหยุม แต่ไม่มีผู้อยู่อาศัย จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ข) กิจกรรมงานผิวทางและชั้นทางโครงการ จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.026 – 0.028 มิ ลลิ กรัม/ลู กบาศก์ เมตร ซึ่ งไม่ เกิ นค่ ามาตรฐานคุ ณ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่ วไป (ไม่ เกิ น 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ( PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรม เตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ที่ 0.019 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียม พื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.333 – 0.400 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน) ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่ าอยู่ในช่ วง 0.0051 – 0.0064 ส่วนในล้ านส่ วน ซึ่งไม่ เกิ นค่ามาตรฐานคุณ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่ วไป (ไม่ เกิ น 0.17 ส่ วนในล้ านส่ วน) ระดั บเสี ยงเฉลี่ ย 24 ชั่ วโมง มี ค่ าอยู่ ในช่ วง 58.2 – 75.7 เดซิ เบล (เอ) ซึ่ งเกิ นค่ า มาตรฐานที่กำหนด (ไม่ เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) และมีค่าความเร็วอนุ ภาคสู งสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.004 – 0.580 มิ ลลิ เมตร/วิ นาที ไม่ เกิ น 5.0 มิ ลลิ เมตร/วิ นาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 แสดงดั งตารางที่ 4.7.7-2 ซึ่งมีเพียงค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง เกินค่ามาตรฐานเพียง 1 แห่ง คือ กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม แต่ไม่มีผู้อยู่อาศัย จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ค) งานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนล่างโครงการ จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ ปริมาณฝุ่น ละอองรวม ( TSP) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.026 – 0.028 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.33 มิ ล ลิ ก รัม /ลู ก บาศก์ เมตร) ปริม าณฝุ่ น ละอองขนาดเล็ ก กว่ า 10 ไมโครเมตร ( PM10 ) เฉลี่ ย 24 ชั่ ว โมง จากกิ จ กรรมเตรีย มพื้ น ที่ มี ค่ า อยู่ ที่ 0.019 มิ ล ลิ กรัม /ลู ก บาศก์ เมตร ซึ่ งไม่ เกิ น ค่า มาตรฐานคุณ ภาพอากาศ ในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.333 – 0.400 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพ อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน) ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ( NO2) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.0051 – 0.0064 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพ อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 58.4 – 79.0 เดซิเบล (เอ) ซึ่งเกินค่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) และมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.010 – 2.029 มิลลิเมตร/วินาที ไม่เกิน 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 แสดงดังตารางที่ 4.7.7-3 ซึ่งมีเพียงค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง เกินค่ามาตรฐานเพียง 1 แห่ง คือ กุโบร์บ้าน ทุ่งโต๊ะหยุม แต่ไม่มีผู้อยู่อาศัย จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ กรมทางหลวงชนบท 4-306 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.7.7-1 ตำแหน่งกุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุมและมัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม กรมทางหลวงชนบท 4-307 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.7-1 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่โครงการ ต่อศาสนสถานและสถานที่สำคัญทางศาสนา ปริมาณฝุ่น ผลกระทบด้าน ปริมาณฝุ่น ละอองขนาดเล็ก ปริมาณก๊าซ ผลกระทบด้าน ระยะห่าง ปริมาณก๊าซ แรงสั่นสะเทือน ละอองรวม กว่า 10 ไนโตรเจนได ระดับเสี ยง จากจุด คาร์บอนมอนอกไ ความเร็ว (TSP) เฉลี่ ย 24 ไมโครเมตร ออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 24 ลาดับ พืน ้ ทีอ ่ ่อนไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว ซด์ (CO) เฉลี่ ย อนุภาคสู งสุ ด ชั่วโมง (PM10) เฉลี่ ย 24 เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (Leq โครงการ 1 ชั่วโมง (ส่วน (PPV) (มิลลิกรัม/ ชั่วโมง ชั ว ่ โมง ( ส่ วน 24 hr) (เดซิ (เมตร) ในล้านส่วน) (มิลลิ เมตร ต่อ ลูกบาศก์เมตร) (มิลลิกรัม/ ในล่ านส่ วน) เบล (เอ)) ลูกบาศก์เมตร) วินาที) 1 กุโบร์บา ้ นทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.049 0.031 0.400 0.0066 74.0 0.246 2 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.035 0.022 0.333 0.0051 58.1 0.002 ค่ามาตรฐาน 0.33 1 0.12 1 30.0 2 0.17 3 70.0 4 55 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2547 2 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2538 3 กาหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2552 4 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 5 กาหนดมาตรฐานระดับความสัน ่ สะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2553 ตารางที่ 4.7.7-2 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากกิจกรรมงานผิวทาง และชั้นทางโครงการต่อศาสนสถานและสถานที่สำคัญทางศาสนา ปริมาณฝุ่น ผลกระทบด้าน ปริมาณฝุ่น ละอองขนาดเล็ ก ปริมาณก๊าซ ปริมาณก๊าซ ระยะห่าง ผลกระทบด้าน แรงสั่นสะเทือน ละอองรวม กว่า 10 คาร์บอน ไนโตรเจน จากจุด ระดับเสี ยงเฉลี่ย ความเร็ว (TSP) เฉลี่ ย 24 ไมโครเมตร มอนอกไซด์ ไดออกไซด์ ลาดับ พืน ้ ทีอ ่ ่อนไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว 24 ชั่วโมง อนุภาคสู งสุ ด ชั่วโมง (PM10) เฉลี่ ย 24 (CO) เฉลี่ ย 1 (NO2) เฉลี่ย 1 โครงการ (Leq 24 hr) (PPV) (มิลลิกรัม/ ชั่วโมง ชั่วโมง (ส่วนใน ชั่วโมง (ส่ วน (เมตร) (เดซิเบล (เอ)) (มิลลิ เมตร ต่อ ลูกบาศก์เมตร) (มิลลิกรัม/ ล้านส่วน) ในล่ านส่ วน) ลูกบาศก์เมตร) วินาที) 1 กุโบร์บา ้ นทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.026 0.019 0.400 0.0064 75.7 0.580 2 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.028 0.019 0.333 0.0051 58.2 0.004 ค่ามาตรฐาน 0.33 1 0.12 1 30.0 2 0.17 3 70.0 4 55 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2547 2 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2538 3 กาหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2552 4 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 5 กาหนดมาตรฐานระดับความสัน ่ สะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2553 กรมทางหลวงชนบท 4-308 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.7-3 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากงานก่อสร้างโครงสร้าง สะพานส่วนล่างโครงการต่อศาสนสถานและสถานที่สำคัญทางศาสนา ปริมาณฝุ่น ผลกระทบด้าน ปริมาณฝุ่น ละอองขนาดเล็ก ปริมาณก๊าซ ปริมาณก๊าซ ระยะห่าง ผลกระทบด้าน แรงสั่นสะเทือน ละอองรวม กว่า 10 คาร์บอน ไนโตรเจนได จากจุด ระดับเสี ยงเฉลี่ย ความเร็ว (TSP) เฉลี่ ย 24 ไมโครเมตร มอนอกไซด์ ออกไซด์ (NO2) ลาดับ พืน ้ ทีอ ่ ่อนไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว 24 ชั่วโมง อนุภาคสู งสุ ด ชั่วโมง (PM10) เฉลี่ ย 24 (CO) เฉลี่ ย 1 เฉลี่ย 1 โครงการ (Leq 24 hr) (PPV) (มิลลิกรัม/ ชั่วโมง ชั่วโมง (ส่วนใน ชั่วโมง (ส่ วน (เมตร) (เดซิเบล (เอ)) (มิลลิ เมตร ต่อ ลูกบาศก์เมตร) (มิลลิกรัม/ ล้านส่วน) ในล่ านส่ วน) ลูกบาศก์เมตร) วินาที) 1 กุโบร์บา ้ นทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.026 0.019 0.400 0.0064 79.0 2.029 2 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.028 0.019 0.333 0.0051 58.4 0.010 ค่ามาตรฐาน 0.33 1 0.12 1 30.0 2 0.17 3 70.0 4 55 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2547 2 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2538 3 กาหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2552 4 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 5 กาหนดมาตรฐานระดับความสัน ่ สะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2553 ง) งานก่อสร้างโครงสร้างสะพานส่วนบนโครงการ จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.026 – 0.028 มิ ลลิ กรัม/ลู กบาศก์ เมตร ซึ่ งไม่ เกิ นค่ ามาตรฐานคุ ณ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่ วไป (ไม่ เกิ น 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ( PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรม เตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ที่ 0.019 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียม พื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.333 – 0.400 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน) ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่า อยู่ในช่วง 0.0051 – 0.0064 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่ วนในล้ านส่ วน) ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่ วโมง มีค่าอยู่ในช่ วง 58.1 – 75.6 เดซิเบล (เอ) ซึ่ งเกินค่ามาตรฐาน ที่กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) และมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.001 – 0.210 มิลลิเมตร/ วินาที ไม่เกิน 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 แสดงดังตารางที่ 4.7.7-4 ซึ่งมีเพียงค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง เกินค่ามาตรฐานเพียง 1 แห่ง คือ กุโบร์บ้า นทุ่งโต๊ะ หยุม แต่ไม่มีผู้อยู่อาศัย จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ กรมทางหลวงชนบท 4-309 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.7-4 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากงานก่อสร้างโครงสร้าง สะพานส่วนบนโครงการต่อศาสนสถานและสถานที่สำคัญทางศาสนา ปริมาณฝุ่น ผลกระทบด้าน ปริมาณฝุ่น ละอองขนาดเล็ก ปริมาณก๊าซ ปริมาณก๊าซ ระยะห่าง ผลกระทบด้าน แรงสั่นสะเทือน ละอองรวม กว่ า 10 คาร์บอน ไนโตรเจนได จากจุด ระดับเสี ยงเฉลี่ย ความเร็ว (TSP) เฉลี่ ย 24 ไมโครเมตร มอนอกไซด์ ออกไซด์ (NO2) ลาดับ พืน ้ ทีอ ่ ่อนไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว 24 ชั่วโมง อนุภาคสู งสุ ด ชั่วโมง (PM10) เฉลี่ ย 24 (CO) เฉลี่ ย 1 เฉลี่ย 1 โครงการ (Leq 24 hr) (PPV) (มิลลิกรัม/ ชั่วโมง ชั่วโมง (ส่วนใน ชั่วโมง (ส่ วน (เมตร) (เดซิเบล (เอ)) (มิลลิ เมตร ต่อ ลูกบาศก์เมตร) (มิลลิกรัม/ ล้านส่วน) ในล่ านส่ วน) ลูกบาศก์เมตร) วินาที) 1 กุโบร์บา ้ นทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.026 0.019 0.400 0.0064 75.6 0.210 2 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.028 0.019 0.333 0.0051 58.1 0.001 ค่ามาตรฐาน 0.33 1 0.12 1 30.0 2 0.17 3 70.0 4 55 ่ า : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 ทีม หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2547 2 ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2538 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง 3 ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2552 กาหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง 4 ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง 5 ่ สะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร, คณะกรรมการสิง กาหนดมาตรฐานระดับความสัน ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2553 จ) กิจกรรมการขนส่งวัสดุก่อสร้าง จากกิจกรรมเตรียมพื้น ที่ ปริมาณฝุ่น ละอองรวม ( TSP) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.027 – 0.028 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกิ นค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ( PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง จาก กิจกรรมเตรียมพื้นที่มีค่าอยู่ที่ 0.019 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ โดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จาก กิจ กรรมเตรียมพื้ น ที่ มี ค่าอยู่ ในช่ วง 0.333 – 0.401 ส่วนในล้านส่ วน ซึ่ งไม่เกิน ค่ามาตรฐานคุณ ภาพอากาศ ในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน) ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.0054 – 0.0072 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศ ในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 57.9 – 60.6 เดซิเบล (เอ) ซึ่งไม่เกิน ค่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) และมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด ( PPV) อยู่ระหว่าง 0.064 – 0.597 มิลลิเมตร/วินาที ไม่เกิน 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 จึงมีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.7.7-5 กรมทางหลวงชนบท 4-310 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.7-5 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากกิจกรรมขนส่งวัสดุก่อสร้างโครงการ ต่อศาสนสถานและสถานที่สำคัญทางศาสนา ปริมาณฝุ่น ผลกระทบด้าน ปริมาณฝุ่น ละอองขนาดเล็ก ปริมาณก๊าซ ปริมาณก๊าซ ผลกระทบด้าน ระยะห่าง แรงสั่นสะเทือน ละอองรวม กว่า 10 คาร์บอน ไนโตรเจนได ระดับเสี ยง จากจุด ความเร็ว (TSP) เฉลี่ ย 24 ไมโครเมตร มอนอกไซด์ ออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 24 ลาดับ พืน ้ ทีอ ่ ่อนไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว อนุภาคสู งสุ ด ชั่วโมง (PM10) เฉลี่ ย 24 (CO) เฉลี่ ย 1 เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (Leq โครงการ (PPV) (มิลลิกรัม/ ชั่วโมง ชั่วโมง (ส่วนใน ชั่วโมง (ส่ วน 24 hr) (เดซิ (เมตร) (มิลลิ เมตร ต่อ ลูกบาศก์เมตร) (มิลลิกรัม/ ล้านส่วน) ในล่ านส่ วน) เบล (เอ)) ลูกบาศก์เมตร) วินาที) 1 กุโบร์บา ้ นทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.027 0.019 0.401 0.0072 60.6 0.597 2 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.028 0.019 0.333 0.0054 57.9 0.064 ค่ามาตรฐาน 0.33 1 0.12 1 30.0 2 0.17 3 70.0 4 55 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 1 หมายเหตุ : กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2547 2 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2538 3 กาหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2552 4 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 5 กาหนดมาตรฐานระดับความสัน ่ สะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2553 (2) ระยะดำเนินการ กิจกรรมการคมนาคมบนถนนโครงการและงานบำรุงรักษา เพื่อต่ออายุให้อยู่ในสภาพที่ใช้งาน ได้นานขึ้น รวมทั้งแก้ไขปรับปรุงหรือเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้ใช้เส้นทางสามารถใช้ทางเป็นไปด้วย ความปลอดภัย ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อประวัติศาสตร์และโบราณคดี การประเมินผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน ตามกิจกรรมระยะดำเนินการ โครงการ ปี พ.ศ. 2570 - 2590 ต่อแหล่งศาสนสถาน กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ดังนี้ ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 0.028 – 0.029 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์ เมตร ซึ่ งไม่ เกิน ค่ามาตรฐานคุณ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่ วไป (ไม่ เกิน 0.33 มิ ล ลิ กรัม /ลู กบาศก์เมตร) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.019 – 0.021 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.370 – 0.619 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 30.0 ส่วนในล้านส่วน) ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง จากกิจกรรมเตรียมพื้นที่ มีค่าอยู่ในช่วง 0.0057 – 0.0103 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (ไม่เกิน 0.17 ส่วนในล้านส่วน) ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 57.9 – 68.7 เดซิเบล (เอ) ซึ่งไม่เกิน ค่ามาตรฐานที่ กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) และมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุ ด ( PPV) อยู่ระหว่าง 0.0 32 – 0.299 มิลลิเมตร/วินาที ไม่เกิน 5.0 มิลลิเมตร/วินาที ของค่ามาตรฐานอาคารประเภทที่ 2 จึงมีผลกระทบอยู่ใน ระดับต่ำ แสดงดังตารางที่ 4.7.7-6 กรมทางหลวงชนบท 4-311 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.7-6 ผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน จากกิจกรรมในระยะดำเนินการ ระยะห่าง ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) จากจุด ฝุ่นละอองรวม (TSP) เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง (PM10) เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง (มิลลิกรัม/ เฉลี่ ย 1 ชั่วโมง ลาดับ พืน้ ทีอ ่ ่อนไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว (มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร) ลูกบาศก์เมตร) (ส่วนในล้านส่วน) โครงการ (เมตร) 2570 2575 2580 2585 2590 2570 2575 2580 2585 2590 2570 2575 2580 2585 2590 1 กุโบร์บา ้ นทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.028 0.029 0.029 0.029 0.029 0.020 0.020 0.020 0.021 0.021 0.538 0.558 0.579 0.599 0.619 2 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.028 0.028 0.029 0.029 0.029 0.019 0.019 0.019 0.019 0.019 0.370 0.376 0.381 0.387 0.392 ค่ามาตรฐาน 1 0.33 1 0.12 1 30.0 2 ระยะห่าง ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ผลกระทบด้านระดับเสียงเฉลี่ ย จากจุด ผลกระทบด้านแรงสั่นสะเทือน เฉลี่ ย 1 ชั่วโมง 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) ลาดับ พืน ้ ทีอ ่ ่อนไหว ประเภท กึง ่ กลางแนว (เดซิเบล (เอ)) ความเร็วอนุภาคสู งสุ ด (PPV) (ส่วนในล้านส่วน) โครงการ (มิลลิ เมตร ต่อ วินาที) (เมตร) 2570 2575 2580 2585 2590 2570 2575 2580 2585 2590 1 กุโบร์บา ้ นทุ่งโต๊ะหยุม สุสาน 34 0.0088 0.0092 0.0096 0.0100 0.0103 67.5 67.9 68.2 68.6 68.7 0.299 2 มัสยิดบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ศาสนสถาน 962 0.0057 0.0058 0.0059 0.0060 0.0061 57.9 57.9 57.9 57.9 57.9 0.032 1 3 4 5 ค่ามาตรฐาน 0.17 70.0 5 ทีม ่ า : การวิเคราะห์โดยที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : 1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2547 2 กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2538 3 กาหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2552 4 กาหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2540 5 กาหนดมาตรฐานระดับความสัน ่ สะเทือนโดยเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร, คณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ 2553 4.7.8 ทัศนียภาพ 1) กรณีไม่มีโครงการ ที่ตั้งโครงการสะพานเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะ ลันตา จังหวัดกระบี่ มีจุดเริ่มต้นที่ กม.0+000 (ทล.4206 กม.26+620) และจุดสิ้นสุดที่ กม.2+527 (กบ.5035) ระยะทางประมาณ 2.527 กิโลเมตร ผลการสำรวจพื้ นที่ตำบลเกาะกลาง ในบริเวณภูเขาจะมีสภาพเป็น ป่าไม้ ลักษณะเป็นป่ าดิบ ชื้น พัน ธุ์ไม้ ที่สำคัญ เช่น หลุม พอ ตะเคี ยน ไม้ ยาง นอกจากนี้ยังมีป่ าชายเลน เช่ น ไม้ แสม ไม้ โกงกาง เป็ น ต้ น บริเวณเชิ งเขาส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น พื้ น ที่ เกษตรกรรม ได้ แก่ สวนยางพารา สวนปาล์ ม น้ ำมั น สวนมะพร้าว และในบริเวณที่ราบและที่เนินใช้ประโยชน์ทางด้ านที่อยู่อาศัย เกษตรกรรมและการประมง ได้แก่ สวนยางพารา สวนปาล์ ม น้ ำมัน สวนมะพร้าว ที่ น า ประมงชายฝั่ งและประมงพื้ น บ้ าน เป็ น ต้น สำหรับ พื้ น ที่ ในตำบลเกาะลันตาน้ อย ที่ อยู่ในพื้ นที่ศึกษาของโครงการฯ ที่มี ลักษณะที่ คล้ายกั บฝั่งตำบลเกาะกลาง โดยใน บริเวณภูเขาจะมีสภาพเป็นป่าไม้ลักษณะเป็นป่าดิบชื้นพันธุ์ไม้ที่ สำคัญ เช่น หลุมพอ ตะเคี ยน ไม้ยาง นอกจากนี้ ยั ง มี ป่ า ชายเลนเช่ น ไม้ แ สม ไม้ โ กงกาง เป็ น ต้ น บริ เวณเชิ ง เขาส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น พื้ น ที่ เกษตรกรรม ได้ แ ก่ สวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน สวนมะพร้า ว และในบริเวณที่ราบและที่เนิ นใช้ประโยชน์ ทางด้ านที่อยู่อาศัย เกษตรกรรมและการประมง ได้แก่ สวนยางพารา สวนปาล์มน้ ำมัน สวนมะพร้าว ที่นา ประมงชายฝั่งและประมง พื้นบ้านเป็นต้น และพบแนวของสายระบบจำหน่ายไฟฟ้า 33 kV ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่พาดผ่านมาจาก เกาะปลิง เพื่อขึ้นสู่เกาะลันตาน้อยบริเวณถนนสาย กบ.5035 ช่วง กม.3+400 ถึง กม.3+500 ที่อยู่ในแนวศึกษา โครงการฯ และยังพบตำแหน่งของแนวท่อร้อยสายไฟใต้น้ำของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้ามมาจากตำบลเกาะกลาง กรมทางหลวงชนบท 4-312 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาขึ้นฝั่งที่บริเวณเดียวกัน และยังมีแนวของสายสื่อสาร CAT TOT TUC และ กฟภ. ที่บริเวณหน้ากูโบร์ทุ่งหยุม หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะลันตาน้อย ในกรณีไม่มีโครงการจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนียภาพหรือลดคุณค่า ของภูมิทัศน์ของพื้นที่ไปจากเดิมแต่อย่างใด 2) กรณีมีโครงการ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การพัฒนาโครงข่ายทางคมนาคมเป็นส่วนสำคัญของการสัญจรและการขนส่งทางบก ซึ่งในการ ก่อสร้างสะพานของโครงการ มีงานเตรียมพื้นที่สำหรับก่อสร้าง งานดิน/หิน งานเตรียมวัสดุก่อสร้างและงานขนย้าย งานโครงสร้างสะพาน งานระบบระบายน้ำ การดำเนินงานของสำนักงานโครงการ การจัดระบบสาธารณูปโภคและ ความปลอดภัย กิจกรรมดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อการใช้ที่ดินข้างเคียง ผลกระทบต่อสภาพพื้นที่ทางธรรมชาติ ทั้งทรัพยากรสัตว์ พรรณพืช ผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่และสังคม มลภาวะด้านต่างๆ รวมไปถึงผลกระทบ ทางทัศนียภาพ เนื่องจากจะทำให้พื้นที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นพื้นที่เปิดโล่ง และวัสดุ /อุปกรณ์ที่ใช้งานในการรื้อย้าย รวมทั้งการกองเศษวัสดุไว้ในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างและริมเขตทาง ก่อให้เกิดผลกระทบต่อทัศนี ยภาพที่แปลกแยก จากสภาพเดิมหรือถูกทำลาย ทำให้สภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพ ( physical environment) ที่สามารถรับรู้ได้ ทางสายตาขณะสัญจรไปตามถนนไม่สวยงาม (Visual Impact) มีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง (2) ระยะดำเนินการ ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่โครงการปัจจุบน ้ ที่เกษตรกรรมและเส้นทาง ั เป็นพื้นที่ป่าชายหาดสลับพืน คมนาคม ลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบและเป็นพื้นที่เปิดโล่ง กรณีที่มีโครงการเกิดขึ้นจะมี ผลกระทบต่อการ เปลี่ยนแปลงหรือลดคุณค่าของวิวทิวทัศน์และการเปลี่ ยนแปลงคุณค่าทางสายตา (Visual Impact) ไปจากเดิม ก่อให้เกิดการแปลกแยก (Alienation) ของการที่ก่อสร้างปรากฏขึ้นอย่างแตกต่างกันมากกับบริเวณที่มีลักษณะ พื้นที่หรือสถานที่สำคัญเดิม โดยบัณฑิต (2547) ได้ทำการศึกษาความสามารถในการมองเห็นพื้นที่ (Visual Field) มนุษย์สามารถมองเห็นพื้นที่ได้ตามความกว้างของจอตาประกอบกับการกรอกตาไปโดยรอบจะช่วยให้มองเห็น พื้นที่กว้างมากขึ้นได้ ทั้งนี้พื้นที่ในการมองเห็นจะถูกจำกัดโดยอวัยวะที่อยู่รอบตา คือ จมูก และขมับ ทำให้ดวงตา ทั้งสองข้างของมนุษย์จะมองเห็นพื้นที่ในมุมกว้างสุด คือ 124 องศาและมนุษย์สามารถมองเห็นความลึก (Perception of Depth) แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ การมองเห็นระยะใกล้ชิด (Fovea Vision) เมื่อมุมมองเท่ากับ 4 องศา ก็จะสามารถ มองเห็นรายละเอียดได้การมองเห็นระยะใกล้ (Near Surround Vision) เมื่อมุมมองเท่ากับ 60 องศา ก็จะสามารถ มองเห็นรายละเอียดได้ และการมองเห็นระยะไกล ( Far Surround Vision) เมื่อมุมมองเท่ากับ 120 องศา ก็จะ สามารถมองเห็นรายละเอียดได้ ขอบเขตการมองเห็นของมนุษย์จะมองเห็นภาพด้วยมุมมอง 60 องศา ในแนวตั้ง คือ 40 องศาเหนือระดับสายตา และ 20 องศาใต้ระดับสายตา และที่อยู่ไกลได้ไม่เกิน 3.45 เท่าของขนาดความสูง ของวัตถุนั้น โดยความสัมพันธ์ของระยะห่างระหว่างอาคารกับผู้มองและความสูงของโครงสร้าง ดังนี้ - มุมมอง 45 องศา จะสามารถเห็นรายละเอียดของภาพได้ชัดเจน - มุมมอง 27 องศา จะสามารถเห็นภาพได้ทั้งหมด - มุมมอง 18 องศา จะสามารถเห็นภาพเด่นชัดในพื้นภาพ - มุมมอง 12 องศา จะเห็นภาพเป็นส่วนประกอบของพื้นภาพเท่านั้น สำหรับการบดบัง ในภูมิทัศน์โดยทั่วไปของการรับรู้แบบสามมิตินั้น ย่อมมีโอกาสเกิดภาพมากกว่า หนึ่งภาพบนพื้นหลัง โดยหากทั้งสองภาพมีความสำคัญต่างกัน ภาพหนึ่งจะเป็นจุดสนใจหรือเป็นเป้ าหมายในการ มองและภาพอื่นๆ จะเป็นตัวบดบัง ซึ่งจะทำให้การรับรู้ภาพเป้าหมายของผู้มองนั้นเปลี่ยนแปลงไป กรมทางหลวงชนบท 4-313 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม อิทธิพล (2535) อธิบายว่าตำแหน่งและกิจกรรมที่ผู้มองทำอยู่ขณะมองภาพนั้น เป็นปัจจัยหนึ่ง ที่มีผลต่อการรับรู้ เช่น ความแตกต่างของการมองภูมิทัศน์จากมุมสูงและมุมต่างความแตกต่างของการมองภูมิทัศน์ จากมุมเปิดโล่งและมุมแคบ เป็นต้น วิยะดา (2543) กล่าวว่าตำแหน่งผู้มองที่มีต่อการรับรู้ภูมิทัศน์ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ ก) ตำแหน่งของผู้มองในแนวราบ คือ ความแตกต่างของการรับรู้ของผู้มองที่มีการเคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของการมองเฉพาะในแนวราบ โดยระดับสายตาของผู้มองอยู่ในระดั บเดียวกับภาพ ที่มองเสมอ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ (ก) มุมมองขณะผู้มองอยู่นิ่งกับที่ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ - The Panoramas คื อ มุ ม มองที่ เป็ น ภาพรวมแสดงให้ เห็ น ความสั ม พั น ธ์ ข อง องค์ประกอบในภูมิทัศน์ทั้งหมด ภาพในมุมนี้จะทำให้เห็นองค์ประกอบในภูมิทัศน์เป็น 3 มิติ ได้อย่างชัดเจน - The Skyline คือ มุ ม มองที่ เป็ น ภาพรวม แสดงให้ เห็ น องค์ ป ระกอบของเมื อ ง ต่อเนื่องในแนวนอนโดยการมองจากระดับพื้นดิน ทำให้เห็นความสัมพั นธ์ในเชิงความสูงขององค์ประกอบต่างๆ ในภูมิทัศน์ได้ - The Vista คือ มุมมองเฉพาะบริเวณ เกิดจากการมีองค์ประกอบต่า งๆ ขนาบอยู่ สองข้างในแนวการมองพุ่งตรงไปยังจุดสนใจ การรับรู้ในลักษณะนี้มักเกิดขึ้นขณะที่เคลื่อนที่ไปยังจุดสนใจ หรือทำ ให้เกิดความรู้สึกถูกดึงดูดเข้าไปยังจุดสนใจ ได้แก่ แนวการมองที่เกิดขึ้นเมื่อองค์ประกอบมีแบบแผน หรือมีลักษณะ เป็นแนวแกน (The Formal Vista) และแนวการมองที่เกิดขึ้นเมื่อองค์ประกอบไม่ได้อยู่ในแนวแกนเดียวกับจุด สนใจ (The Informal Vista) (ข) มุมมองขณะที่ผู้มองเคลื่อนที่ คือ การที่ภูมิทัศน์ปรากฏอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับใน ขณะที่เคลื่อนไหว ทำให้ผู้มองได้สัมผัสถึงความสัมพันธ์ของระนาบและที่ว่างโดยรอบเรีย กว่า การมองเป็นลำดับ (Serial Vista) ภาพที่ปรากฎแต่ละภาพจะก่อให้เกิดความรู้สึกและอารมณ์ที่แตกต่างกันออกไป โดยเมื่อนำภาพ ทั้งหมดมาลำดับต่อเนื่องกันก็จะเกิดเป็นภาพภูมิทัศน์ในจินตนาการของผู้มองได้ ข) ตำแหน่งของผู้มองในแนวดิ่ง คือ ความแตกต่างของการรับรู้ของผู้มองที่อยู่ในระดับความ สูงที่แตกต่างกัน ทำให้มุมมองและระดับสายตาเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ภาพของพื้นที่เดียวกันมีความแตกต่างกัน ออกไป แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ - ตำแหน่งของผู้มองอยู่สูงกว่าภาพหรือภูมิทัศน์ที่มอง เป็นมุมมองที่มองเห็นภาพรวม ขององค์ประกอบในภูมิทัศน์ โดยจะไม่เห็นรายละเอียดของสิ่งต่างๆ มากนัก ทำให้ผู้มองเกิดความรู้สึกตื่นเต้น สดชื่น เกิดจินตนาการที่กว้างไกลได้ ทั้งนี้หากมีธรรมชาติ หรือสิ่ง ก่อสร้างที่ขัดแย้งกับภาพรวมของภูมิทัศน์ในบริ เวณนั้น อย่างรุนแรงก็อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อความรู้สึกของผู้มองได้เช่นเดียวกัน เช่น มุมมองจากจุดชมวิว เป็นต้น - ตำแหน่งของผู้มองอยู่ระดับเดียวกับภาพหรือภูมิทัศน์ที่มอง คือ มุมมองในระดับ สายตาปกติที่สามารถมองเห็นรายละเอียดของสิ่งต่างๆ ได้ชัดเจน เช่น เส้น สีสัน รูปร่าง สัดส่วน พื้นผิวฯลฯ ทำให้ ผู้มองเกิดความรู้สึกเป็นกันเอง สบายใจ และปลอดภัย ทั้งนี้หากเกิดความไม่สมดุลหรือความไม่เป็นระเบียบของ ภาพ ก็จะส่งผลกระทบในทางลบต่อความรู้สึกของผู้มองได้ - ตำแหน่งของผู้มองอยู่ต่ำกว่าภาพหรือภูมิทัศน์ที่มอง คือ มุมมองในมุมเงยที่ระดับ ความละเอียดของภาพลดหลั่นกันไปตามระยะห่างของภาพที่มองเห็น กล่าวคือ ความชัดเจนอาจอยู่เฉพาะส่วนที่ ใกล้ตา และลดลงเรื่อยๆ เมื่อภาพนั้นอยู่ห่างออกไป ทำให้ผู้มองเกิดความรู้สึกเคารพ ยำเกรง และศรัทธา ทั้งนี้หาก เกิดความบกพร่องของสัดส่วน ความไม่สมมาตรของวัตถุ และความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น อาคารที่ไม่สง่างาม ฯลฯ ก็อาจจะส่งผลกระทบในทางลบต่อความรู้สึกของผู้มองได้ กรมทางหลวงชนบท 4-314 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การพั ฒ นาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลั นตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลัน ตาน้ อย อำเภอเกาะลันตา จั งหวัดกระบี่ มีจุดเริ่มต้นที่ กม.0+000 (ทล.4206 กม.26+620) และจุดสิ้นสุดที่ กม.2+527 (กบ.5035) (รูป ที่ 4.7.8 -1) โครงสร้า งสะพานมีต ำแหน่งตอม่ออยู่ในบริเวณคลองลาด (ทะเล) เป็นส่ว นใหญ่ โดยความสูงของสะพานยกระดับมีจุดสูงสุดที่กึ่งกลางสะพานประมาณ 8.0-15.0 เมตร (จากระดับน้ำทะเล) ซึ่งเป็น โครงสร้างสะพานที่มีขนาดใหญ่และมีความสูง จะมีผลกระทบต่อทัศนียภาพของพื้นที่ที่แปลกแยกไปจากเดิม โดยผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงภายในรัศมี 100 เมตร คาดว่าจะได้รับผลกระทบทางสายตา (View and Vista) โดยเฉพาะมุมมองจากเส้นทางไปยังโครงสร้างสะพาน โดยความสัมพันธ์ของระยะห่างระหว่างอาคารกับผู้มองและ ความสู งของโครงสร้าง จะมองเห็ น ด้ วยมุ ม มอง 20 -30 องศา ซี่ งสามารถเห็ น รายละเอี ยดของภาพได้ ชัด เจน (บัณฑิต, 2547) สำหรับการบดบังในภูมิทัศน์โดยทั่วไปของการรับรู้แบบสามมิตินั้น ย่อมมีโอกาสเกิดภาพมากกว่า หนึ่งภาพบนพื้นหลัง โดยหากทั้งสองภาพมีความสำคัญต่างกัน ภาพหนึ่งจะเป็นจุดสนใจหรือเป็นเป้าหมายในการ มองและภาพอื่นๆ จะเป็นตัวบดบัง ซึ่งจะทำให้การรับรู้ภาพเป้าหมายของผู้มองนั้นเปลี่ยนแปลงไป ตำแหน่ งของผู้ มองอยู่ ต่ ำกว่าภาพหรือภู มิ ทั ศน์ ที่ มอง คื อ มุ มมองในมุ มเงยที่ ระดั บความ ละเอียดของภาพลดหลั่นกันไปตามระยะห่างของภาพที่มองเห็น กล่าวคือความชัดเจนอาจอยู่เฉพาะส่วนที่ใกล้ตาและ ลดลงเรื่อยๆ เมื่อภาพนั้นอยู่ห่างออกไป ทำให้ ผู้มองเกิดความรู้สึกเคารพ ยำเกรง และศรัทธา ทั้งนี้ หากเกิดความ บกพร่องของสั ดส่ วน ความไม่ สมมาตรของวัตถุ และความไม่ เ ป็ นระเบี ยบเรียบร้อย เช่น โครงสร้างที่ ไม่ สวยงาม ก็อาจจะส่งผลกระทบในทางลบต่อความรู้สึกของผู้มองได้ และเมื่อพิจารณาผู้ที่มองมายังสะพานของโครงการที่มีระดับ ความสูง พบว่าความสัมพันธ์ของระยะห่างระหว่างถนนกับผู้มองและความสูงของโครงสร้างสะพานด้วยมุมมอง 60 องศาในแนวตั้ง คือ 40 องศา เหนือระดับสายตา และ 20 องศา ใต้ระดับสายตาและอยู่ไกลไม่เกิน 3.45 เท่า ของ ขนาดความสู งของวัตถุ นั้ น จึ งทำให้ มองเห็ นโครงสร้างสะพานได้ อย่ างชั ดเจน มี ผลกระทบต่ อมุ มมองทางสายตา (Visual Impact) และทัศนวิสัย (Visibility) อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ทั้งนี้โครงสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบล เกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เป็นเส้นทางคมนาคมที่มีลักษณะเช่นเดียวกับ สะพานสิริลันตาเชื่อมเกาะลันตาที่มีอยู่ในพื้นที่จังหวัดกระบี่ จึงทำให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่มีความคุ้นชินกับ โครงสร้างดังกล่าว ดังนั้นจึงพิจารณาให้มีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวบริเวณเกาะลันตา การจัดตั้งชุมชนวิสาหกิจการท่องเที่ยวที่สำคัญในจังหวัดกระบี่ ทั่วทุกอำเภอ ซึ่งมีชุมชนท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ธรรมชาติและศิลปะวัฒนธรรม ในปัจจุบันของอำเภอเกาะลันตา 2 แห่ง คือ ชุมชนท่องเที่ยวบ้านร่าหมาด- ขุนสมุทร ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตาน้อย และชุมชนท่องเที่ยวทุ่งหยีเพ็ง ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอ เกาะลันตา โดยแหล่งท่องเที่ยวของเกาะลันตา ได้แก่ ย่านเก่าลันตา ประภาคารแห่งเกาะลันตา เกาะรอก สะพาน สิริลันตา ชายหาดคลองดาว หาดบากันเตียง หาดคอกวาง จุดดำน้ำ หินแดง หินม่วง หาดพระแอะ น้ำตกคลองจาก หาดคลองหิน โดยระยะห่างจากแนวเส้นทางโครงการดังแสดงในรูปที่ 4.7.8-2 และตารางที่ 4.7.8-1 กรมทางหลวงชนบท 4-315 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.7.8-1 ภาพจำลองโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 4-316 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.7.8-1 ภาพจำลองโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 4-317 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 4.7.8-2 แหล่งท่องเที่ยวในเกาะลันตา กรมทางหลวงชนบท 4-318 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 4.7.8-1 ระยะห่างระหว่างแนวเส้นทางโครงการและแหล่งท่องเที่ยวในเกาะลันตา ลำดับ แหล่งท่องเที่ยว ระยะห่าง (กม.) 1 ชุมชนท่องเที่ยวบ้านร่าหมาด-ขุนสมุทร 3.98 2 ชุมชนท่องเที่ยวทุ่งหยีเพ็ง 10.52 3 ย่านเก่าลันตา 16.85 4 ประภาคารแห่งเกาะลันตา 23.78 5 เกาะรอก 51.70 6 สะพานสิริลันตา 7.88 7 ชายหาดคลองดาว 10.00 8 หาดบากันเตียง 21.40 9 หาดคอกวาง 10.07 10 หาดพระแอะ 11.44 11 น้ำตกคลองจาก 20.73 12 หาดคลองหิน 20.04 ระดับการเปลี่ยนแปลงที่ยอมให้เกิดขึ้น (Limits of Acceptable Change, LAC) Stankey et al (1985) ได้เสนอแนะแนวคิดนี้เพื่อใช้ปรับปรุงวิธีการกำหนดขีดความสามารถรองรับ ด้านนัน ทนาการ เนื่องจากแต่เดิม นั้น วิธีการกำหนดขี ด ความสามารถรองรับ ด้า นนัน ทนาการมักจะมาจาก ความพยายามในการค้นหาคำตอบ “จำนวนเท่าใดจึงจะมากเกินไป ” ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วจะทำค่อนข้างยากมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านนิเวศวิท ยา เนื่องจากไม่สามารถหาความสัมพัน ธ์อย่างมีนัยสำคัญ ระหว่างจำนวนผู้ ใช้ ประโยชน์กับผลกระทบที่เกิดขึ้นได้โดยง่าย ดังนั้น เพื่อให้สามารถกำหนดขีดความสามารถรองรับด้านนันทนาการได้ โดยไม่ต้องไปพะวงถึงการกำหนด เป็นตัวเลขจำนวนนักท่องเที่ ยวเพียงประการเดียว Stankey et al (1985) จึงนำเสนอเทคนิคใหม่ที่มุ่งกำหนดถึง สภาพที่ ต้ องการให้ เป็ น ( desired condition) ของแหล่ ง นั น ทนาการทั้ งในด้ านทรัพ ยากรและประสบการณ์ นันทนาการที่พึงได้รับ โดยผู้เกี่ยวข้องต้องสามารถกำหนดระดับของผลกระทบจากกิจกรรมนันทนาการที่ยอมให้ เกิดขึ้นที่จะไม่ท ำให้สูญ เสียสภาพของแหล่งนัน ทนาการที่ต้องการไป นั่นคือ ผลกระทบที่ยอมให้เกิดขึ้นได้นั้ น จักต้องไม่รุนแรงจนส่งผลให้สภาพของความเป็นแหล่งนันทนาการนั้นเปลี่ยนแปลงไปจากที่กำหนดไว้ วิธีการนี้ จึงให้ความสำคัญกับการกำหนดเป้าหมายของสภาพแหล่งนันทนาการและประสบการณ์นั นทนาการที่ต้องการ รวมไปถึง ต้ องมี ก ารระบุ ปั จ จั ย ชี้ วั ด ผลกระทบและการติ ด ตามผลกระทบที่ เกิด ขึ้น อย่ า งสม่ ำ เสมอเป็ น ร ะบบ ว่าเกินจากระดับ ที่ กำหนดไว้หรือไม่ อี กทั้งมีการวางแผนบริหารจัดการเพื่ อกำกับ ดูแลไม่ให้ ผลกระทบเกิดขึ้น มากกว่าที่กำหนดซึ่งจะส่งผลให้สภาพความเป็นแหล่งนันทนาการไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้องการได้ แนวคิด LAC อีกนัยหนึ่ง จึงเป็นวิธีการกำหนดขีดความสามารถรองรับด้ านนันทนาการพร้อมไปกับการวางแผนจัดการ แหล่ งนั น ทนาการ ภายหลั งได้ มี ก ารปรับ ปรุงกระบวนการ LAC โดยเพิ่ ม ขั้น ตอนของการระบุ เป้ าหมายและ วัตถุประสงค์ของแหล่งนันทนาการเพิ่มเติมจากการระบุประเด็นปัญหา ซึ่งทำให้มีความชัดเจนมากขึ้น กรอบกระบวนการวางแผนโดยใช้แนวคิด LAC ในการกำหนดขีดความสามารถรองรับด้านนันทนาการ (Stankey et al. 1985) มีดังนี้ - ระบุแหล่งนันทนาการ - กำหนดช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการของพื้นที่ที่มีความเป็นไปได้ - เลือกปัจจัยชี้วัดสำหรับฐานทรัพยากรและสภาพที่สังคม กรมทางหลวงชนบท 4-319 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - สำรวจสถานภาพของทรัพยากรและทางสังคมของแหล่งนันทนาการ - กำหนดเกณฑ์ตัดสินระดับผลกระทบที่ยอมรับได้ด้านทรัพยากรและด้านสังคม - ศึกษาทางเลือกที่เหมาะสม - ศึกษามาตรการจัดการสำหรับแต่ละทางเลือก - คัดเลือกช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการที่เหมาะสมที่สุด - นำมาตรการและแนวทางไปปฏิบัติและติดตามผล แนวคิด LAC ได้นำไปใช้กับการกำหนดขีดความสามารถรองรับด้านนิเวศวิทยา ด้านจิตวิทยา และด้าน วัฒ นธรรม ส่วนขีดความสามารถรองรับทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวก สามารถกำหนดเป็นจำนวน นักท่องเที่ยวได้เช่นเดิม 1) ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (Recreation Opportunity Spectrum, ROS) คนส่วนใหญ่มักเลือกที่จะประกอบกิจกรรมนันทนาการในพื้นที่ที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ ที่ตนปรารถนา ดังนั้น จึง เป็นหน้าที่ของนักจัดการที่ต้องดำเนินการจัดการพื้นที่นัน ทนาการให้เหมาะสมเพื่อ ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นภายใต้เงื่อนไขของสภาพพื้ นที่ ลักษณะของทรัพยากร และรูปแบบกิจกรรม นันทนาการ ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (ROS) จึงเป็นเครื่องมือสำคัญประการหนึ่งในการจัดการแหล่งท่องเที่ยว เพื่อให้ได้รับประสบการณ์ตามที่กำหนดไว้ Clark and Stankey (1979) ได้สรุปความหมายของช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการไว้ในระยะเริ่มแรก ว่า เป็ น ความหลากหลายของโอกาสหรือทางเลื อกสำหรับ นั ก ท่ องเที่ ย วในการประกอบกิ จ กรรมนั น ทนาการ โดยพิจารณาจากศักยภาพของทรัพยากรนันทนาการในพื้นที่นั้นๆ เป็นประการสำคัญ หลักการหรือสมมุติ ฐาน เบื้องต้นของแนวคิดนี้ ก็คือ การห่างไกลจากความเจริญ ความสันโดษ ระดับความเป็นธรรมชาติ และการพัฒนา จัดการที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ประสบการณ์นันทนาการที่ได้รับในพื้นที่แต่ละแห่งมีความแตกต่างกันด้วย แม้จะ เป็นกิจกรรมนันทนาการประเภทเดียวกัน Forest Service (1982) และ Payne และคณะ (1997) ได้ ก ล่ า วถึ ง โอกาสด้ า นนั น ทนาการ (Recreation opportunity) ว่าเป็นการผสมผสานระหว่างองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน ที่เกี่ยวข้องในการประกอบ กิจกรรมนันทนาการของคนทั่วไป คือ - กิจกรรม (activities) - สภาพแวดล้อมของพื้นที่ที่ประกอบกิจกรรม (settings) - ประสบการณ์ที่ได้รับจากการประกอบกิจกรรม (experiences) โอกาสด้านนันทนาการจึงหมายถึง ประสบการณ์นันทนาการที่ นักท่องเที่ยวมีโอกาสได้รับจากการ เข้าร่วมกิจกรรมนัน ทนาการ ซึ่งประสบการณ์ ดังกล่าวมี ลักษณะเฉพาะตัวอันเป็ นผลมาจากการจัด การสภาพ แวดล้อมของพื้นที่ จึงมีความหลากหลายตั้งแต่ประสบการณ์นันทนาการประเภทสันโดษและกึ่งสันโดษ ซึ่งเกิดขึ้น ในสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติสูง ไปจนกระทั่งประสบการณ์นันทนาการที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมประเภท ธรรมชาติที่มีการดัดแปลงหรือเลียนแบบธรรมชาติ ชนบท และประสบการณ์นันทนาการเมือง ทั้งนี้ ช่วงชั้นโอกาส ด้านนันทนาการ เป็นเครื่องมือให้นักจัดการพื้นที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่สำหรับประกอบกิจกรรม ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ และประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวจะได้รับ เพื่อสร้างกิจกรรมนันทนาการที่สอดคล้อง เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวต้องการ กรมทางหลวงชนบท 4-320 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (1) ประเภทของช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ ดรรชนีและคณะ (2562) ได้จัดแบ่งช่วงชั้นโอกาสด้า นนันทนาการออกเป็น 6 ประเภท ตาม การศึกษาของศูนย์วิจัยป่าไม้ (2541) ซึ่งในแต่ละช่วงชั้นจะมีปัจจัยสภาพแวดล้อมและการจัดการที่ท ำให้เกิด ประสบการณ์นันทนาการที่แตกต่างกันไปตั้งแต่ความสงบสันโดษกับสภาพแวดล้อมธรรมชาติที่ไม่มีการพัฒนาใด ๆ ไปจนถึงได้ รับความสะดวกสบายในสภาพแวดล้อมของความเป็น เมืองที่ แวดล้อมด้วยผู้คน แสดงดัง ตารางที่ 4.7.8-2 ตารางที่ 4.7.8-2 ประเภทของช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ ประเภทพื้นที่ สภาพพื้นที่ ธรรมชาติสันโดษ (P) - สภาพพื้น ที่เป็นผืน ใหญ่ ติดต่อกัน ที่ยังเป็น ธรรมชาติสมบู รณ์ ยังไม่ ถูกดัดแปลงหรือมี ร่องรอยของการพัฒนาใดๆ โอกาสพบปะบุคคลอื่นๆ น้อยมาก มีร่องรอยของมนุษย์และ กิจกรรมอันเกิดจากมนุษย์น้อยมาก การควบคุมเป็นไปอย่างอิสระด้วยจิตสำนึกอันดี ของ นักท่องเที่ยวเอง มีข้อจำกัดการเข้าถึงสูงมาก ธรรมชาติกึ่งสันโดษไม่ใช้ - พื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ ยังคงเป็ น ธรรมชาติ ส มบู ร ณ์ โอกาสพบปะบุ ค คลอื่ น ค่ อนข้า งต่ ำ มี สิ่ ง ยานยนต์ (SPNM) อำนวยความสะดวกได้บ้างแต่เป็นลักษณะชั่วคราวไม่ถาวร มีข้อจำกัดการการเข้าถึงสูง ธรรมชาติกึ่งสันโดษใช้ - พื้นที่ส่วนใหญ่ยังคงมีลักษณะแวดล้อมเป็นธรรมชาติ ที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ มีปริมาณ ยานยนต์ (SPM) ผู้เข้าไปใช้พื้นที่ปานกลาง สามารถพบเห็นร่องรอยที่เกิดจากการใช้พื้นที่ของบุคคลอื่นๆ มีการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกเท่าที่จำเป็น การเข้าถึงใช้ยานพาหนะหรืออุปกรณ์ ที่ ใช้เครื่องยนต์ได้ ธรรมชาติดัดแปลงหรือ - พื้ นที่ ยั งคงมีส ภาพเป็ น ธรรมชาติแ ต่มี ก ารดัด แปลงหรือ เปลี่ย นแปลงแบบเลี ยนแบบ พื้นที่ค่อนข้างพัฒนา (RN) ธรรมชาติอย่างเห็นได้ชัดเจน แต่ก็กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมธรรมชาติ มีการพัฒนา สิ่งอำนวยความสะดวกปานกลาง การพบเห็นและได้ยินเสียงจากบุคคลอื่นอยู่ในระดับ ค่อนข้างสูง สามารถเข้าถึงโดยใช้พาหนะหรืออุปกรณ์เครื่องยนต์ได้เกือบทุกประเภท ชนบทหรือพื้นที่พัฒนา - สภาพพื้ น ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงธรรมชาติ อ ย่ า งเห็ น ได้ ชั ด เจนเพื่ อ ขยายโอกาสด้ า น ในเขตธรรมชาติ (R) นั น ทนาการให้ ม ากขึ้ น รวมถึ งเพื่ อ ป้ อ งกั น ผลกระทบจากการท่ อ งเที่ ย วที่ มี ต่ อ พื ช ดิน และน้ำ การพบเห็นและได้ยินเสียงจากบุคคลอื่นเป็นเรื่องปกติ และโอกาสพบปะ บุคคลอื่นๆ มีปานกลางถึงสูง มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนหมู่มาก สามารถใช้ พาหนะหรืออุปกรณ์เครื่องยนต์ได้ทุกประเภท เมือง (U) - สภาพแวดล้อมเมือง มักมีการตกแต่ งและประดับประดาพื้นที่ ด้วยไม้ต่างถิ่น ส่วนใหญ่ จะได้ ยิ น เสี ย งจากมนุ ษ ย์ แ ละเครื่ อ งยนต์ ต่ าง ๆ โอกาสพบปะบุ ค คลอื่ น ๆ มี สู งมาก สิ่งอำนวยความสะดวกถูกออกแบบมาเพื่ อรองรับการใช้ประโยชน์สำหรับคนหมู่มาก ให้ความสะดวกและสบาย มีพาหนะโดยสารประจำทาง และสามารถใช้พาหนะหรือ อุปกรณ์เครื่องยนต์ได้ทุกประเภท ที่มา : ดรรชนีและคณะ (2562) กรมทางหลวงชนบท 4-321 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการกับการกำหนดขีดความสามารถรองรับนันทนาการ ROS ใช้ในการกำหนดขีดความสามารถรองรับด้านกายภาพของแหล่งนันทนาการ โดยช่วงชั้น โอกาสด้านนันทนาการที่ต่างกันจะนำไปสู่การกำหนดขนาดของพื้นที่ใช้สอยที่นักท่องเที่ยวแต่ละคนใช้ในการ ประกอบกิจกรรมนันทนาการที่แตกต่างกัน ดังตารางที่ 4.7.8-3 ซึ่งรวบรวมจากกรณีศึกษาในต่างประเทศ อย่างไร ก็ดี ค่ามาตรฐานของพื้นที่ที่นักท่องเที่ยว 1 คน จำเป็นต้องใช้ในการประกอบกิจกรรมขึ้นกับปัจจัยหลายประการ เช่น ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ ลักษณะของการประกอบกิจกรรม สภาพของพื้นที่ และประสบการณ์ที่ ต้องการได้รับโดยเฉพาะโอกาสการพบปะคนอื่น ๆ ในการประกอบกิจกรรม เป็นต้น จึงใช้ประกอบเป็นแนวทาง ในการพิจารณากำหนดค่ามาตรฐานเชิงพื้นที่ (ตารางที่ 4.7.8-4) สำหรับ การประเมินขีด ความสามารถรองรับ ด้านนันทนาการทางกายภาพที่หมู่เกาะลันตาต่อไป ตารางที่ 4.7.8-3 เกณฑ์มาตรฐานขนาดเนื้อที่ประกอบกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรม พื้นที่พัฒนา พื้นที่กึ่งธรรมชาติ พื้นที่ธรรมชาติสูง ดำน้ำตื้น 3x4 ตร.ม./คน และพื้นที่ว่าง (open space at least 50%) หรือ 100 ตร.ม/คน นอนอาบแดดชายหาด 14 ตร.ม./คน 18.6 ตร.ม./คน 30 ตร.ม./คน (เฉลี่ย 5 ตร.ม./คน) 1/ ว่ายน้ำ 10 ตร.ม./คน 15 ตร.ม./คน 20 ตร.ม./คน กางเต็นท์พักแรม 10x10 ตร.ม./เต็นท์ 12x12 ตร.ม./เต็นท์ 15x15 ตร.ม./เต็นท์ (เต็นท์ 3 คน) 2/ กางเต็นท์พักแรม ระยะห่างระหว่าง ระยะห่างระหว่าง ระยะห่างระหว่าง (เต็นท์ 3 คน) 3/ เต็นท์ 10-15 เมตร เต็นท์ 16-30 เมตร เต็นท์ 30 เมตรขึ้นไป หมายเหตุ : 1/ Texas Comprehensive Outdoor Recreation Plan, Vol. 5 Section 14.4 Comprehensive Plan for Wisconsin, Outdoor Recreation, P. G-8 2/ Bureau of Land Management 3/ National Recreation and Park Association, Bulletin No. 16, Pp. 12-18 ตารางที่ 4.7.8-4 มาตรฐานการใช้พื้นที่ชายหาด ขนาดมาตรฐานพื้นที่ (ตารางเมตร/คน) ประเภทของชายหาด Bovy & Lawson Silva et al (1998) 2 (2007) ชายหาดสาธารณะใกล้เมือง 5 15 ชายหาดสาธารณะนอกเมืองที่มีระดับการใช้ประโยชน์ค่อนข้างเข้มข้น 8 30 ชายหาดรีสอร์ทมาตรฐานน้อย 1-2 ดาว/ใช้ประโยชน์หนาแน่นปานกลาง 10 - ชายหาดรีสอร์ทมาตรฐานปานกลาง 3-4 ดาว/ใช้ประโยชน์ไม่หนาแน่น 20 - ชายหาดรีสอร์ทมาตรฐานสูง >5 ดาว มีความเป็นส่วนตัวสูง 30 ชายหาดพื้นที่อนุรักษ์เพื่อพักผ่อนอย่างสงบและการเรียนรู้ 50 2 Bovy-Baud, Manuel B. and F. R. Lawson. 1998. Tourism and recreation handbook of planning and design. Architectural Press, U.S.A. กรมทางหลวงชนบท 4-322 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (3) การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable tourism) การท่องเที่ยวแบบยั่งยืนหรือ Sustainable Tourism จัดว่าเป็นแนวคิดการพัฒนาและบริหาร จัดการการท่องเที่ยวของโลกยุคปัจจุบั นและเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ อันเนื่องมาจากรายงานของ World Commission on Environment and Development หรือเรียกโดยย่อว่า Bruntland Report on Our common future เมื่ อปี ค.ศ. 1987 ซึ่ งระบุ ว่า สิ่ งแวดล้อมและทรัพ ยากรธรรมชาติของโลกมี อ ย่างจำกัด ดั งนั้ น มนุษ ย์ จำเป็นต้องใช้ประโยชน์ทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมอย่างชาญฉลาดป้ องกันไม่ ให้ เกิด การสูญ เสียหรือ ก่อให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด เพื่อให้การใช้ประโยชน์เป็นไปอย่างยั่งยืน ยาวนาน ไม่เฉพาะสำหรับประชาชนในยุคนี้ แต่รวมถึงให้ลูกหลานในอนาคตได้มีโอกาสได้ใช้ประโยชน์ด้วยเช่นกัน ดังนั้น การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนจึงกลายเป็นแนวคิดสากลที่ได้รับการยอมรับจาก ทุกประเทศ องค์การสหประชาชาติ องค์การสากลที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ และองค์การด้านการท่องเที่ยวระดับโลก และระดับภูมิภาคต่าง ๆ องค์การการท่องเที่ยวโลก หรือ World Tourism Organization ได้ให้ความหมายของ การท่ องเที่ ยวแบบยั่งยืน ว่าเป็ น การท่ องเที่ ยวที่ สนองตอบความต้องการของนักท่ องเที่ยวและผู้เจ้าของแหล่ ง ท่องเที่ ยว โดยเน้ นการจัดการทรัพ ยากรธรรมชาติเพื่ อให้ส ามารถรักษาความมั่น คงของระบบนิเวศ ตลอดจน วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน เพื่อประโยชน์ทั้งในปัจจุบันและอนาคต (WTO, 1997)3 ลักษณะสำคัญของการ ท่องเที่ ย วอย่างยั่งยืน คือ เป็ น การท่ องเที่ ยวที่ สมดุล กับ สิ่ งแวดล้ อม เป็ น การท่ องเที่ ยวที่ ยั งคงเอกลั กษณ์ ด้ าน วัฒนธรรม เป็นการท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวหน้าใหม่และหน้าเก่า เป็นแหล่งท่องเที่ ยวที่สามารถ แข่งขันกับแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ๆ ได้ ซึ่งองค์การการท่องเที่ยวโลก ยังได้กำหนดกรอบหลักการในการพัฒนาและ บริหารจัดการการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนไว้ 7 ประการ ดังนี้ (WTO, 1997) - การพั ฒ นาและบริหารจั ด การต้ องอยู่ ภ ายใต้ ขีด ความสามารถการรองรับ ได้ ( carrying capacity) ทั้งทางกายภาพ ชีวภาพ และสังคม/วัฒนธรรม ซึ่งเป็นทรัพยากรฐาน และถ้าจำเป็นก็จะต้องมีการฟื้นฟู หรือทดแทน รวมทั้งควบคุมระบบของธรรมชาติให้สามารถผลิตและให้บริการต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน - ต้องตระหนั กถึงความต้องการของชุม ชนท้ องถิ่น เปิ ดโอกาสให้ มีส่ วนร่วมและกระจาย ประโยชน์สู่ท้องถิ่นอย่างเป็นธรรม กิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวหรือนันทนาการที่ จัดขึ้น ต้องเน้น ประสบการณ์ที่มีคุณค่าต่อผู้มาเยือน - ให้ผู้มาเยือน หรือนักท่องเที่ยวได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ ทรัพยากร และวิถีชีวิตของ คนท้องถิ่น เน้น การออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกที่สะท้ อน หรือกลมกลืนกับธรรมชาติหรือสถาปั ตยกรรม ท้องถิ่น และพยายามใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น - พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามตรวจสอบและตัดสินใจ การจัดการการท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดความยั่งยืนนั้นมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ประการ คือ คุณภาพ ความต่ อเนื่ อง และความสมดุล โดยมุ่ งไปสู่เป้ าหมายพื้ นฐาน 3 ประการ คือ ด้ านสิ่งแวดล้ อม ด้านประสบการณ์ ท่องเที่ย วที่มีคุณ ค่า และคุณ ภาพชีวิต ที่ดีของประชาชนทั้ง ด้า นสัง คมและเศรษฐกิจ โดยกระตุ้น ให้เกิด การ มีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่นและการกระจายประโยชน์อย่างเป็นธรรมในสังคม (รูปที่ 4.7.8-3) 3 World Tourism Organization. 1997. International Tourism: a global perspective. 2nd edition. WTO, Spain. กรมทางหลวงชนบท 4-323 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม คุณภาพที่ดีของสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากร การท่องเที่ยวแบบ ยั่งยืน (ST) ประสบการณ์ท่องเที่ยว คุณภาพชีวิตที่ดีของ ที่มีคุณภาพ ประชาชนท้องถิ่นและ การมีส่วนร่วม ่ ยืน รูปที่ 4.7.8-3 ความสัมพันธ์ของเป้าหมายหลัก 3 ประการของการท่องเที่ยวแบบยัง สำหรับแหล่งท่องเที่ยวได้มีการกำหนดประเด็นและตัวอย่างปัจจัยชี้วัดการจัดการที่ได้มาตรฐาน ความยั่งยืนไว้ ดังนี้ - ความสามารถขององค์กรที่รับผิดชอบจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวในการดูแลรักษาและ ปกป้องทรัพยากรท่องเที่ยวให้มีความยั่ งยืน ปัจจัยที่ใช้ในการประเมิ นในระดับท้องถิ่น ได้แก่ งบประมาณของ องค์กรท้องถิ่น บุคลากรทั้งจำนวนและคุณภาพของบุคลากรในการจัดการทรัพยากรท่อ งเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ เวลาที่จัดสรรให้ได้ในภาระกิจดูแลรักษาทรัพยากรท่องเที่ยว และความสนใจขององค์กรท้องถิ่น ซึ่งแสดงให้เห็นได้ จากพันธกิจขององค์กรที่มีระบุชัดเจนและรับรองด้วยกฎหมายหรือความเห็นชอบของคนในชุมชนท้องถิ่นนั้น ๆ - ผลการดำเนินการในการจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวขององค์กรท้องถิ่นเพื่ อรักษาคุณภาพ ของทรัพ ยากรท่องเที่ย ว ปัจ จัย ที่ใช้ในการประเมินผล เช่น การดูแลรักษาความสะอาดของแหล่งท่องเที่ย ว การดูแลบำรุงรักษาสิ่งอำนวยความสะดวกให้อยู่ในสภาพการใช้งานได้และไม่ทรุดโทรม ความหลากหลายของชนิด พันธุ์พืชและสัตว์ในแหล่งท่องเที่ยว เป็นต้น - การวางแผนการพั ฒนาการท่ องเที่ ยวอย่างยั่ งยืน ปั จจั ยชี้ วัด ได้ แก่ องค์กรท้ องถิ่นมี แผน การพัฒนาที่มีเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องตอบสนองต่อหลักการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนหรือไม่ และในแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวดังกล่าวมีกิจกรรมการดำเนินงานที่มีความเป็นไปได้ มีความชัดเจนในการ ตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในท้องถิ่นนั้น - การออกแบบสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกต่า ง ๆ มีความสอดคล้องกลมกลืน กับธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยเน้นการใช้วัสดุจากธรรมชาติในท้องถิ่นที่ไม่ก่อให้ เกิดการทำลายสิ่งแวดล้อม ตามมา และวัสดุที่ไม่ได้มาจากพืชและสัตว์สงวนที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรืออยู่ภายใต้ภัยคุกคาม เช่น ไม่นำไม้ที่ลักลอบ ตัดออกมาจากพื้นที่อนุรักษ์มาใช้ในการก่อสร้าง หรือไม่ตกแต่งสถานที่ด้วยหนังเสือที่ลักลอบล่าจากป่า เป็นต้น - การแลกเปลี่ยนข้อมูล ทักษะ และความรู้ต่าง ๆ ในการจัดการการท่องเที่ยว ระหว่างท้องถิ่น ด้วยกันเอง และระหว่างท้องถิ่นกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อปรับปรุงการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวให้ มีประสิทธิภาพดียั่งขึ้น - การฝึกอบรมและเพิ่มพูนความรู้ จิตสำนึกของคนในท้องถิ่นในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรการท่องเที่ยว ตัวชี้วัดที่สำคัญ คือ (1) การเข้าร่วมรับการฝึกอบรม ดูงานเพื่อเพิ่มพูนความรู้ และ (2) ระดับทักษะความรู้ความสามารถต่าง ๆ ของประชาชนท้องถิ่นในการจัดการการท่องเที่ยวที่เพิ่มพูนขึ้น กรมทางหลวงชนบท 4-324 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - การมี ส่ วนร่วมของผู้เกี่ย วข้องทุ กฝ่ าย โดยเฉพาะประชาชนในท้ องถิ่น ปั จจั ยชี้ วัด เช่ น สั ด ส่ ว นของประชาชนท้ องถิ่น ที่ เข้า ร่ว มในการจั ด การการท่ องเที่ ย วของท้ องถิ่น ลั กษณะการมี ส่ ว นร่ว มของ ประชาชนท้องถิ่น ความถี่ของการมีส่วนร่วม ความคิดเห็นและความเต็มใจของประชาชนท้องถิ่นต่อการท่องเที่ยว เป็นต้น - ผลความคืบหน้าในการจัดการการท่องเที่ยว ปัจจัยชี้วัด คือ มีการประเมินผลการจัดการ ทรัพยากรการท่องเที่ยวหรือไม่ หัวข้อหรือประเด็นการประเมินสอดคล้องและครอบคลุมกับเป้าหมายหรือประเด็น ในการคุ้มครองรักษาทรัพยากรท่องเที่ยวให้คงอยู่อย่างยั่งยืนไม่เสื่อมโทรม ความถี่ และความสม่ำเสมอของการ ประเมินผล - พันธมิตรในการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปัจจัยชี้วัด คือ มีเครือข่ายสนับสนุนหรือความร่วมมือ ในการจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน หรือไม่ เช่น กลุ่มผู้ประกอบการที่สนับสนุนและมีพันธสัญญา ในการใช้ทรัพยากรท่องเที่ยวอย่างระมัดระวังและช่วยองค์กรท้องถิ่ นประเมินติดตามสถานภาพของทรัพยากร ท่องเที่ยว เป็นต้น (4) การประเมินขีดความสามารถรองรับการท่องเที่ยว ดรรชนีและคณะ (2562) ได้อธิบายขีดความสามารถในการรองรับทางการท่องเที่ยวด้านกายภาพ (PCC) หมายถึง จำนวนนักท่องเที่ยวสูงสุดต่อช่วงเวลาที่ขนาดพื้นที่สามารถรองรับการใช้ประโยชน์ โดยยังสามารถ เอื้อให้เกิดกิจกรรมท่องเที่ยวตามต้องการได้ ซึ่งแปรผันไปตามลักษณะของกิจกรรมประเภทของแหล่งท่องเที่ยว และช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ ก) ขีดความสามารถรองรับด้านกายภาพ พิจารณาจากขนาดเนื้อที่ซึ่งสามารถรองรับ การประกอบกิ จ กรรมของนักท่องเที่ย วได้ โดยกำหนดเป็นค่าสูงสุดที่พื้นที่สามารถรองรับการใช้ประโยชน์กิจกรรมชายหาด ได้แก่ นั่งเล่นอาบแดด เดินเล่น เล่นน้ำ เป็นต้น และกิจกรรมดำน้ำตื้น ภายใต้ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการที่เหมาะสมกับประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยว ต้องการ โดยผลการประเมินขีดความสามารถสูงสุด ด้านกายภาพในภาพรวมของเกาะลันตาใหญ่เท่ากับ 16,077 คนต่ อช่ ว งเวลา และ 55,700 คนต่ อวัน โดยหาดที่ ส ามารถรองรับ นั กท่ องเที่ ย วมากที่ สุ ด คื อ หาดคลองโขง รองลงมา คือ หาดคลองดาวและหาดพระแอะ ตามลำดับ ส่วนเกาะรอกในด้านกายภาพสามารถรองรับนักท่องเที่ยว กิจกรรมชายหาด 946 คนต่อช่วงเวลา และจำนวนเท่ากันกับนักท่องเที่ยวต่อวัน เกาะไหง 2,141 คน ต่อช่วงเวลา และ 6,958 คน/วัน ส่วนจุดดำน้ำต่างๆ บริเวณเกาะรอก รับได้ 622 คน ต่อช่วงเวลา และ 7,464 คน/วัน เกาะ ไหง 255 คน ต่อช่วงเวลา และ 2 ,060 คน/วัน และเกาะห้า 120 คน ต่อช่ วงเวลา และ 1,440 คน/วัน (ดรรชนี และคณะ, 2562) การประเมินถึงจำนวนนักท่องเที่ยวว่าสอดคล้องกับค่าขีดความสามารถรองรับด้ านกายภาพ เพื่ อใช้ เป็ น ข้อมู ลในการตั ดสิ น ใจบริหารจัด การแหล่ งท่ องเที่ ยวนั้ น ต้องดำเนิ น การเก็บรวบรวมข้อมู ลจำนวน นักท่องเที่ยวที่เข้าไปประกอบกิ จกรรมในแต่ละจุดท่องเที่ ยว ซึ่งกรณีของหมู่เกาะลันตานั้น การรวบรวมข้อมูล นักท่องเที่ยวควรดำเนินการเป็นรายชั่วโมง เพื่อจะได้สามารถวิเคราะห์ความหนาแน่นของการประกอบกิจกรรมใน แต่ละช่วงเวลา และสามารถกำหนดถึงมาตรการในการกระจายนักท่องเที่ยวให้เหมาะสมในช่วงเวลาที่มีคว าม หนาแน่นมากกว่าปกติ การดำเนินการใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างและทำการนับจำนวนนักท่องเที่ยวในช่วงต้นชั่วโมง นำมาหาค่าเฉลี่ยจำนวนนักท่องเที่ยวเป็นรายชั่วโมง โดยผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ลักษณะการใช้พื้นที่ชายหาด พบว่ า ส่ ว นใหญ่ นั กท่ องเที่ ย วจะเพิ่ ม ขึ้น เรื่อยๆ ในช่ ว งเช้ า และจะลดลงหลั งเที่ ย ง อาจเนื่ อ งจากแดดร้อนจั ด นักท่องเที่ยวจะมาใช้ชายหาดเพิ่มขึ้นอีกครั้งในช่วงประมาณบ่ายสามโมงเป็นต้นไป เมื่อเปรียบเทียบจำนวนคน ที่ ไปใช้ ช ายหาดกับ ขีด ความสามารถสู งสุ ด และขีด ความสามารถที่ เหมาะสมตามเกณฑ์ ที่ กำหนดพบว่า ไม่ มี กรมทางหลวงชนบท 4-325 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม จุดท่องเที่ยวใดเกินขีดความสามารถรองรับทางกายภาพ ยกเว้นจุดดำน้ำเกาะห้า ในช่วง 12.00-13.00 น. ซึ่งเกิน ขีดความสามารถรองรับที่เหมาะสมไปเล็กน้อย จึงควรมีการกระจายนักท่องเที่ยวไปยังจุดดำน้ำอื่น ๆ ในช่วงเวลานี้ เพื่อลดผลกระทบความแออัดบริเวณจุดดำน้ำเกาะห้า (ดรรชนีและคณะ, 2562) ข) ขีดความสามารถด้านสิ่งอำนวยความสะดวกหรือด้านการจัดการ ดรรชนี และคณะ (2562) ได้ อธิ บ ายขีด ความสามารถด้ านสิ่ งอำนวยความสะดวกหรือ ด้านการจัดการ (FCC) หมายถึง จำนวนนักท่องเที่ยวสูงสุดที่องค์กรรับผิดชอบสามารถสร้างระบบการจัดการ และดำเนินการให้บริการด้านท่องเที่ยวได้อย่ างมีประสิทธิภาพ โดยระบบการจัดการต้องมีประสิทธิภาพเพียงพอ ที่ทำให้นักท่องเที่ยวเกิดความพึงพอใจในการมาเยือนและใช้บริการ การประเมินขีดความสามารถรองรับด้านสิ่งอำนวยความสะดวก (FCC) พิจารณาจากความ เพี ยงพอของสิ่งอำนวยความสะดวกว่าสามารถรองรับนั กท่ องเที่ ยวได้ กี่คนในช่วงเวลาเดียวกั น โดยวิเคราะห์ สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนักท่องเที่ยว ได้แก่ ที่พัก ร้านอาหาร ห้องสุขา และที่จอดรถ รวมถึง ทุ่นจอดเรือในกรณีที่มีการสัญจรทางน้ำ หากจำนวนผู้ใช้ประโยชน์เกินจำนวนสิ่งอำนวยความสะดวกที่จัดไว้ให้ นักจัดการแหล่งนันทนาการจำเป็นต้องพิจารณาว่าควรเพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวกหรือไม่ อย่างไร หรือควรบริหาร จัดการสิ่งอำนวยความสะดวกเดิมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น หรือกระจายนักท่องเที่ยวไปใช้สิ่งอำนวยความสะดวก ณ จุดอื่น ๆ เป็นต้น โดยผลการประเมินที่พักบนเกาะลันตาใหญ่รองรับได้ 12,240 คน/คืน ที่จอดรถสาธารณะมี จำนวนค่อนข้างจำกัดรองรับได้ 275 คันต่อช่วงเวลา โดยส่วนใหญ่ที่จอดรถสาธารณะคือสองข้างถนนเส้นหลัก ส่วนในโรงแรมจะมีที่จอดรถสำหรับแขกของโรงแรมเท่านั้น ห้องสุขาสาธารณะสามารถรองรับได้ประมาณ 442 คน/ชั่วโมง ที่พักบนเกาะรอกสามารถรองรับได้ 48 คน/คืน แต่ปัจจุบันงดการให้บริการชั่วคราวตามนโยบายของ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส่วนร้านอาหารบนเกาะรอกเป็นร้านสวัสดิการรองรับนักท่องเที่ยว 66 คน/ช่วงเวลา แต่ส่วนใหญ่ผู้ประกอบการทัวร์จะเตรียมอาหารกลางวันมาเองให้กับนักท่องเที่ยวที่ไปกับบริษัท ของตน โดยใช้สถานที่นั่งรับประทานอาหารที่ทางอุทยานฯเตรียมไว้ให้ เกาะรอกมีห้องสุขาค่อนข้างจำกัด สำหรับ ชาย 5 ห้อง และหญิง 5 ห้อง เกาะไหงที่พักรองรับได้ 864 คน/คืน ร้านอาหารส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในโรงแรม รองรับได้ ประมาณ 1,065 คน/ช่วงเวลา ไม่พบห้องน้ำสาธารณะบนเกาะไหง ทุ่นจอดเรือพบว่าบริเวณเกาะรอกมีมากที่สุด 37 ทุ่น เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีเรือเข้า -ออก นำนักท่องเที่ยวมาประกอบกิจกรรมชายหาดที่เกาะรอกเป็นจำนวน มาก รวมถึงมีจุดดำน้ำถึง 3 แห่ง กระจายบริเวณเกาะรอก ส่วนใหญ่เป็นทุ่นขนาดเล็ก (23 ทุ่น) รองลงมาคือ ทุ่น ขนาดกลาง (10 ทุ่น) ส่วนเกาะไหงในบริเวณจุดดำน้ำมีทุ่นจอดเรือรวม 11 ทุ่น ส่วนเกาะห้ามี 4 ทุ่น สำหรับผูกเรือ ที่พานักท่องเที่ยวไปประกอบกิจกรรมดำน้ำ (ดรรชนีและคณะ, 2562) จากการศึกษาเปรียบเทียบจำนวนผู้ใช้สง ิ่ อำนวยความสะดวกกับค่าขีดความสามารถรองรับ ของสิ่งอำนวยความสะดวกทั้ง 4 ประเภท พบว่า สิ่งอำนวยความสะดวกประเภทที่พักบนเกาะลันตาใหญ่มีผู้เข้าพัก ค้างคืนประมาณ 11,387 คน/คืน จากตัวเลขดังกล่า ว แสดงถึงแนวโน้มที่พักบนเกาะลั นตาอาจไม่เพียงพอใน อนาคต อย่างไรก็ดี มีข้อสังเกตว่ายังมีที่พักซึ่งไม่ได้รับการสำรวจอีกมาก เนื่องจากไม่ได้มีรายชื่ออยู่ในทะเบียน ธุรกิจที่พักและโรงแรม ห้องสุขาสาธารณะพบว่ามีปัญหาไม่เพียงพอ โดยเฉพาะที่หาดพระแอะในช่วงเวลาเย็น เนื่องจากมีนักท่องเที่ย วกลับ จากไปท่ องเที่ย วเกาะมาขึ้น ฝั่งที่นี่และต้องการใช้ห้องน้ำ ห้องสุขา โดยมีจำนวน รองรับ ได้ 12 คน/ชั่วโมง ทำให้ต้องใช้เวลารอคิวห้ องน้ำอยู่บ้าง สำหรับที่ จอดรถเป็นปัญหาบนเกาะลันตาใหญ่ เนื่องจากพื้นที่มีจำกัด โดยเฉพาะชุมชนศาลาด่าน พระแอะ คลองนิ นและหาดบากันเตียง ส่วนเกาะรอกพบว่า มีปัญหาสิ่งอำนวยความสะดวกประเภทห้องน้ำมากที่สุด โดยในช่วง 11.00-14.00 น. มีห้องน้ำไม่เพียงพอ การรอ ต่อคิวประมาณ 5 นาที เนื่องจากฤดูกาลที่ผ่านมาห้องน้ำชำรุดเพราะต้นไม้ล้มทับห้องน้ำเสียหายใช้การไม่ได้ 1 ชุด 6 ห้อง ส่วนร้านอาหารพบว่าไม่มีปัญหาเรื่องเกินขีดความสามารถรองรับฯ แต่อย่างใด (ดรรชนีและคณะ, 2562) กรมทางหลวงชนบท 4-326 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ค) ขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยวด้านสังคมวัฒนธรรม ดรรชนีและคณะ (2562) ได้อธิบายขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยวด้านสังคม วัฒนธรรม หมายถึง จำนวนนักท่องเที่ยวสูงสุดต่อช่วงเวลาที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อสังคมและวัฒนธรรม ของชุมชนท้องถิ่นในแหล่งท่องเที่ยวจนชุมชนเกิดความรู้สึกอึดอัดและส่งผลกระทบต่อวิ ถีชีวิตความเป็นอยู่ของคน ในชุมชน หรือระดับของผลกระทบจากการท่องเที่ยวสูงสุดที่ชุมชนยอมรับให้เกิดขึ้นได้กับชุมชน วิธีการประเมินกำหนดให้ ชุมชนเป้าหมายในการติดตามผลกระทบด้านสังคมวัฒนธรรม ได้แก่ ชุมชนที่ตั้งอยู่บริเวณติดชายทะเลหาดคลองพะแอะ ศาลาด่าน หาดคลองดาว หาดคลองนิน และชุมชนที่ เน้นการท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต ได้แก่ บ้านทุ่งหยีเพ็ง และศรีรายา โดยเก็บข้อมูลในระดั บครัวเรือน สุ่มตัวอย่างแบบ โควตาอย่างน้อย 400 ตัวอย่าง โดยผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นของตัวแทนครัวเรือนเป็นสิ่งที่ช่วยบ่งชี้ถึง ผลกระทบทางการท่องเที่ยวทางด้านสังคม วัฒนธรรม ซึ่งชุมชนท้องถิ่นส่วนใหญ่มีความคิดเห็นทั้งเชิงบวกและเชิง ลบกับการท่องเที่ยว ซึ่งความคิดเห็นในเชิงบวกที่มีค่าสูง สุด คือ ประเด็นด้านความภาคภูมิใจ พบว่ากลุ่มตัวอย่าง รับรู้เชิงบวกในทุกด้านโดยเฉพาะความภาคภูมิใจในทรัพยากร รองลงมาคือ ความภาคภูมิใจในวิถีชีวิตและความ ภาคภูมิใจในตนเอง ตามลำดับ รองลงมา คือ นักท่องเที่ยวที่เข้ามาทำให้มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรม ซึ่ง กันและกัน ช่วยสนับสนุน การสร้างสัมพัน ธ์ที่ดีในครัวเรือน การท่ องเที่ยวมีผลโดยตรงต่อรายได้ และการมี นักท่องเที่ยวเข้ามาในชุมชน ทำให้เยาวชนในชุมชนได้พัฒนาทักษะทางด้านภาษา (ดรรชนีและคณะ, 2562) ผลกระทบด้านลบทางการท่องเที่ยวในพื้นที่ เกาะลันตา เมื่อพิจารณารายละเอี ยดของผล การศึกษา พบว่าเรื่องสิ่งแวดล้อมประเด็นสำคัญคือ ปริมาณขยะและการจัดการขยะ เป็นเรื่องที่ชุมชนท้องถิ่น สะท้อนข้อมูลผลกระทบด้านลบมากที่สุด ด้านสังคม คือ อุบัติเหตุ การซื้อขายยาเสพติด การลักขโมย การจี้ปล้น ผลกระทบจากแรงงานต่ างด้ าว พฤติ กรรมและค่านิยมของเยาวชน ตามลำดับ ส่วนด้านเศรษฐกิจส่ วนใหญ่ มี ผลกระทบด้านลบน้อยมาก โดยมีความกังวลเรื่องราคาสินค้าและบริการ แต่ส่วนใหญ่เป็นผลกระทบทางบวก ซึ่ง ผลกระทบเหล่านี้ ควรดำเนินการแก้ไขอย่างเป็นระบบด้วยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน (ดรรชนีและคณะ, 2562) การก่อสร้างสถานที่พักเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอน การขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรมในพื้นที่เกาะลันตา จั งหวัดกระบี่ การจดทะเบียนประกอบธุรกิจโรงแรม ต้องดำเนิ นการตามกฎหมายอื่นที่ เกี่ ยวข้อง ได้ แก่ กฎหมายว่าด้วยสิ่งแวดล้อม กฎหมายว่าด้วยควบคุมอาคาร กฎหมายว่าดัวยผังเมือง และกฎหมายอื่น ๆ โดยมีขั้นตอนการขออนุญาตก่อสร้างฯ ดังนี้ (ก) ผู้ขออนุญาตนำโฉนดที่ดิน มาขอตรวจสอบข้อกำหนดต่าง ๆ ตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง กับสำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ ได้แก่ - กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบาง ชนิดหรือบางประเภท ในพื้นที่บางส่วนในท้องที่อำเภอเกาะลันตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอ เหนือคลอง และอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 - กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบาง ชนิด หรือบางประเภท ในพื้นที่บางส่วนในท้องที่อำเภอเกาะลันตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ พ.ศ. 2557 - กฎกระทรวงให้ ใช้บั งคับ ผังเมื องรวมชุม ชนเกาะลั น ตาใหญ่ - เกาะลั น ตาน้ อ ย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 - กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 - ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และ มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 กรมทางหลวงชนบท 4-327 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 4 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่ง แวดล้อม (ประกาศในราชกิ จจานุเบกษา เล่มที่ 136 ตอน พิเศษ 3 ง วันที่ 4 มกราคม 2562) ดังเอกสารท้ายประกาศ 6 ขั้นตอนในการเสนอรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม (ข) ในกรณีที่สำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ พิจารณาตรวจสอบโฉนดที่ดินแล้ว ว่าไม่ขัดต่อกฎหมายใด ๆ ให้ผู้ขออนุญาตฯ จัด ส่งเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ได้แก่ โฉนดที่ดิน แบบแปลนแผนผัง พร้อมรายการประกอบแบบแปลนแผนผังอาคารโรงแรมที่วิศวกรและสถาปนิก ผู้ได้รบ ั อนุญาตตามกฎหมายลงชื่อ รับรอง แผนที่แสดงบริเวณและสถานที่ตั้งของโรงแรมและสถานที่ใกล้เคียง รวมทั้งหลักฐานแสดงความเป็นเจ้าของ อาคารหรือสถานที่ที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรมหรือหน้งสือยินยอมให้ใช้อาคารหรือสถานที่ที่ขออนุญาตประกอบ กิจการพาณิชย์ในกรณีที่อาคารหรือสถานที่นั้นเป็นของผู้อื่น ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ที่ขออนุญาต พิจารณาตรวจสอบ (ค) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดส่งหนังสือและเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องใน การขออนุญาตให้สำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่พิจารณา เพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ โรงแรม จะเห็นได้ว่าการพัฒนาพื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เพื่อรองรับการท่องเที่ยวนั้น มีกฎหมายต่าง ๆ ควบคุมการใช้ ที่ดินในพื้นที่เกาะลันตา เพื่อป้องกันผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากรและเป็นการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมในด้าน ต่าง ๆ หากมีการก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะ ลันตา จังหวัดกระบี่ จะเป็นการเชื่อมต่อโครงข่ายคมนาคมในพื้นที่ให้มีป ระสิทธิภาพจะเป็นสิ่งอำนวยความสะดวก ต่อการเดินทางและมีความปลอดภัยยิ่งขึ้น ประชาชนและนักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงสถานที่ที่ต้องการได้ง่ายขึ้น แต่ทั้งนี้การพัฒนาโครงการดังกล่าว ไม่ได้เป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่ เนื่ องจากในพื้ น ที่ เกาะลั น ตามี กฏหมายควบคุม การใช้ ที่ ดิ น อยู่ แล้ ว ประกอบกับ การก่อสร้า งสถานที่ พั กหรือ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ จะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนและกฎระเบียบเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม สรุป ในอนาคตการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่เกาะลันตา คาดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง แบบค่อยเป็นค่อยไปตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม โดยมีปัจจัยหลักขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เช่น การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวของเมือง การเจริญเติบโตทางภาคอุตสาหกรรม และความ ต้องการอาหาร/สินค้าการเกษตรที่มากขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้ว นเป็นปัจจัยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดังนั้น หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องมีการบูรณาการวางแผนการจัดการทรัพยากรและการจัด สรรการใช้ ประโยชน์ที่ดินร่วมกัน ตามนโยบายการใช้ที่ดินที่เหมาะสมต่อไป กรมทางหลวงชนบท 4-328 บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ สิ่งแวดลอม รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม บทที่ 5 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.1 บทนำ การดำเนินโครงการฯ อาจก่อให้เกิดผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบต่อสิ่งแวดล้อม โดยผลกระทบทางลบ ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ อยู่ในระดับปานกลางถึงระดับต่ำ ส่วนผลกระทบทางลบที่ เกิดขึ้นแม้ว่าในบางประเด็น จะมี ผลกระทบไม่มากนัก แต่จำเป็นต้องมีการกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนิน โครงการทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งนี้ เพื่อให้การพัฒนาโครงการเกิดประโยชน์สูงสุดและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม น้อยที่สุด โดยมาตรการที่นำเสนอนี้ได้ผนวกกับความคิดเห็นของกลุ่มผู้ มีส่วนได้-ส่วนเสียที่ได้จากการจัดประชุม ชี้แจงและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนมาประกอบในการจัดทำมาตรการในแต่ละระยะของการดำเนินโครงการ โดยแบ่งเป็นระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ ดังนี้ ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง เสนอให้ผู้รับจ้างก่อสร้างเป็นผู้รับผิดชอบงานป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง และให้เริ่มงานตั้งแต่กรมทางหลวงชนบทลงนามให้สัญญาว่าจ้าง บริษัทผู้รับเหมา/ผู้รับจ้างก่อสร้าง โดยที่กรมทางหลวงชนบทเป็นผูก ้ ำกับดูแลและควบคุมการดำเนินงานของบริษัท ผู้รับจ้างก่อสร้างให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่กำหนดไว้ในรายงานการประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด ระยะดำเนินการ เสนอให้กรมทางหลวงชนบท นำมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่กำหนดไว้นำไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การพัฒนาโครงการได้รับประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าต่อการลงทุน และ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ผลการประเมิ น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มเบื้ อ งต้ น (Initial Environmental Examination ; IEE) ของ โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยวิธี Leopold Matrix ต่อปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมจำนวน 38 ปัจจัยย่อย ครอบคลุมทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทั้ง 4 ประเภท คือ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ คุณค่าการใช้ประโยชน์ของ มนุษย์ และคุณค่าต่อคุณภาพชีวิต ตามรูปแบบการพัฒนาโครงการ ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ ซึ่งสรุปผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1) ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีผลกระทบ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีผลกระทบจากการพัฒนาโครงการหรือกิจกรรมการก่อสร้างต่างๆ ของโครงการ ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะไม่ถูกนำไปพิจารณาต่อ จำนวน 13 ปัจจัย ประกอบด้วย ภูมิสัณฐาน ทรัพยากรแร่ธาตุ น้ำใต้ดิน น้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค พลังงาน การอุตสาหกรรม เหมืองแร่ สันทนาการ การศึกษา การแบ่งแยก ความปลอดภัย ในสังคม สารอันตราย และความสำคัญเฉพาะต่อชุมชน 2) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบในระดับต่ำ ปัจจัยที่สามารถป้ องกันหรือลดระดับของผลกระทบลงได้ด้วยมาตรการป้ องกันแก้ไขผลกระทบ สิ่งแวดล้อมทั่วไป โดยปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่ มีผลกระทบอยู่ในระดับต่ำ จำนวน 2 ปัจจัยย่อย ประกอบด้วย เกษตรกรรมและผู้ใช้ทาง แสดงดังตารางที่ 5.1-1 กรมทางหลวงชนบท 5-1 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 5.1-1 สรุปมาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั่วไปของโครงการ ปัจจัยสิ่งแวดล้อม ระยะเวลา มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1. เกษตรกรรม ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ - กำหนดพื้นที่ก่อสร้างให้ชัดเจน ระยะก่อสร้าง - ไม่ให้ มี ก ารบุ ก รุก หรือทำความเสี ย หายแก่ พื้ น ที่ เกษตรกรรมหรือ ต่ อ วิถีชีวิตของเกษตรกรในท้องถิ่น - หากพื้นที่เกษตรกรรมที่สูญเสียเป็นไม้ผล ต้องมีก ารชดเชยด้วยราคา ที่เหมาะสมและเป็นธรรม ระยะดำเนินการ - ไม่ มี ผ ลกระทบ จึ ง ไม่ ได้ ก ำหนดมาตรการป้ อ งกั น แก้ ไ ขผลกระทบ สิ่งแวดล้อมทั่วไป 2. ผู้ใช้ทาง ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ - ก่ อ นเริ่ ม ดำเนิ น การก่ อ สร้ า งต้ อ งประชาสั ม พั น ธ์ ให้ ผู้ ใช้ ท างบริ เวณ ระยะก่อสร้าง โครงการทราบถึ ง แผนการก่ อ สร้ า ง และติ ด ตั้ งป้ า ยประชาสั ม พั น ธ์ โดยระบุชื่อโครงการ ระยะเวลา สถานที่ก่อสร้าง หน่วยงานรับผิดชอบ ชื่อนายช่างโครงการ พร้อมเบอร์ติดต่อ เป็นต้น - ต้องวางแผนการใช้เส้ นทางขนส่งวัสดุอุปกรณ์ ก่อสร้างโครงการ เพื่อ หลีกเลี่ยงปัญหาด้านการจราจรติดขัด และเป็นอุปสรรคต่อการสัญจร ไป-มาของผู้ใช้ทาง - หากมี ค วามจำเป็ น ต้ อ งปิ ด เส้น ทางเพื่ อ ทำการก่ อสร้าง ขนย้ายวัส ดุ อุปกรณ์ก่อสร้าง หรือกองวัสดุก่อสร้างบนผิวทาง ต้องจัดทำทางเบี่ยง และมีเจ้าหน้าที่คอยอำนวยความสะดวกแก่ยานพาหนะที่สัญจรไป -มา บนแนวเส้นทาง ระยะดำเนินการ - ตรวจสอบ/ซ่อมแซมป้ายจราจรและสภาพพื้นผิวจราจร ให้อยู่ในสภาพดี สามารถใช้งานได้มีประสิทธิภาพเสมอ 3) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่มีระดับปานกลาง-สูง (มีนัยสำคัญ) ปั จ จั ย ที่ น ำไปศึ ก ษาผลกระทบในขั้น รายละเอี ย ด (EIA) จำนวน 22 ปั จจั ย ได้ แก่ ทรัพยากรดิ น ธรณีวิทยาและแผ่นดินไหว น้ำผิวดิน น้ำทะเล คุณภาพอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน ระบบนิเวศ สัตว์ในระบบนิเวศ พืชในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตหายาก การคมนาคมขนส่ง สาธารณูปโภค การควบคุมน้ำท่วมและการระบายน้ำ การใช้ ที่ ดิ น เศรษฐกิ จ-สั งคม การสาธารณสุ ข สุ ขาภิ บาล อาชี วอนามั ย อุ บั ติ เหตุ และความปลอดภั ย โบราณคดี และ ประวัติศาสตร์ และทัศนียภาพ 5.2 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นรายละเอียด ได้มีการเสนอแนะมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม รวมทั้งแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้รับจ้างก่อสร้างของ กรมทางหลวงชนบทนำไปปฏิบัติ และเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการดำเนินโครงการและส่งผลกระทบต่อประชาชน ที่อยู่ใกล้เคียงน้อยที่สุดหรืออยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ดังต่อไปนี้ กรมทางหลวงชนบท 5-2 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.1 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 5.2.1.1 ทรัพยากรดิน 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบจากการสูญเสียดินหรือการเคลื่อนย้ายดินออกจากบริเวณเดิม - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องจัดเตรียมเรือท้องแบนสำหรับให้รถบรรทุกดินขุดเจาะเสาเข็ มเจาะในทะเล ไปรับดินจากกระบะพักดินบนเรือท้องแบน เพื่อนำเรือท้องแบนขนดินไปยังท่าเรือบ้านคลองหมาก ฝั่งเกาะลันตาน้อย (รูปที่ 5.2.1-1) ที่จอดร บรรทุกรอรับวัสดุ จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล ทางลาดปรับระดับได้ตามสภาพ ระดับนาทะเลขน ลง ตัวอย่างเรือท้องแบนสาหรับให้รถบรรทุกดินและวัสดุที่ได้จากการขุดเจาะเสาเข็มในทะเล มาใส่กระบะรถบรรทุกที่ อยู่บนเรือท้องแบน เมื่อมีปริมาณวัสดุเหมาะสมแก่การบรรทุกแล้ว เรือท้องแบนจะส่งรถบรรทุกไปยังฝัง ่ ต่อไป รูปที่ 5.2.1-1 เรือท้องแบนสำหรับบรรทุกดินและวัสดุจากการเจาะเสาเข็มในทะเล กรมทางหลวงชนบท 5-3 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ให้ทำการขนส่งเศษมวลดิ นและหินจากกิจกรรมขุดเจาะฐานรากในทะเลไปไว้ในพื้ นที่กองดิน ฝั่งเกาะลันตาน้อย โดยใช้เรือท้องแบนและรถบรรทุกวัสดุ ทำการขนส่งมายังพื้นที่กองเก็บบนฝั่ง ซึ่ง ต้องจัดเตรียม รถเครนขนาดใหญ่ตั้งอยู่บนฝั่ง เพื่อทำการยกวัสดุขึ้นรถบรรทุกลำเลียงมาตามถนน กบ.5035 - ให้ลำเลียงเศษมวลดินจากการขุดเจาะฐานรากสะพานในทะเล 5,750 ลูกบาศก์เมตร ออกจาก พื้นที่ก่อสร้าง ไปยังจุดทิ้งดินของโครงการ 2 แห่ง ได้แก่ ▪ การก่อสร้างเสาเข็มเจาะบนบกฝั่งตำบลเกาะกลางทั้งหมด จะนำไปทิ้งที่พื้นที่สาธารณประโยชน์ ของ อบต.เกาะกลาง มีขนาดพื้นที่ประมาณ 4.6 ไร่ ระยะห่างจากพื้นที่โครงการ 4.2 กิโลเมตร (รูปที่ 5.2.1-2) รูปที่ 5.2.1-2 ตำแหน่งที่ทิงดินของโครงการ พืนที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะกลาง ▪ การก่อสร้างเสาเข็มเจาะในทะเล จะนำไปทิ้งข้าง อบต.เกาะลันตาน้อย ขนาดพื้นที่ประมาณ 2.0 ไร่ ระยะห่างจากพื้นที่โครงการ 9.1 กิโลเมตร (รูปที่ 5.2.1-3) ซึ่งมีความประสงค์ในการถมที่เพื่อปรับระดับให้ เหมาะสมต่อการพัฒนาพื้นที่เพื่อสาธารณประโยชน์ในอนาคตต่อไป โดยมิได้มีการใช้พื้นที่เพื่อการเพาะปลูกพืช แต่อย่างใด กรมทางหลวงชนบท 5-4 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-3 ตำแหน่งที่ทิงดินของโครงการ พืนที่สาธารณประโยชน์ของ อบต.เกาะลันตาน้อย - การขนส่งเศษมวลดินจากกิจกรรมก่อสร้างฐานรากสะพานที่อยู่ในทะเล ต้องปฏิบัติดังนี้ ▪ กำหนดให้ใช้รถบรรทุกที่จอดอยู่บนเรือท้องแบนขนาดเล็ก ในการขนส่งระหว่างจุดที่ทำการ ขุดเจาะกับท่าเรือบ้านหัวหินและท่าเรือบ้านคลองหมาก ▪ เรือท้องแบนที่ใช้ในการขนส่งจะต้องมีทางลาด (Ramp) ที่ปรับระดับได้ เพื่อให้สะดวกต่อ การเทียบท่า ในช่วงเวลาที่ระดับน้ำทะเลขึ้น-ลง ▪ พื้ น ที่ ทิ้ ง ดิ น (ดิ น เค็ ม ) ของโครงการ ให้ ใช้ ยิ ป ซั ม จากธรรมชาติ ห รือยิ ป ซั ม จากโรงงาน อุ ต สาหกรรม ผสมกั บ ปู น ขาวในอั ต ราหนึ่ ง ต่ อ หนึ่ ง ส่ ว น เพื่ อ รองพื้ น ที่ ทิ้ ง ดิ น โดยใช้ ต ามอั ต ราแนะนำของ กรมพัฒนาที่ดิน และต้องการสร้างคันดินล้อมรอบพื้นที่ทิ้งดินสูง 0.5 เมตร พร้อมขุดร่องน้ำ เพื่อป้องกันไม่ให้ น้ำเค็มไหลออกสู่สาธารณะและป้องกันการแพร่กระจายของดินเค็ม - ให้ใช้ผ้าใบปิดคลุมท้ายรถบรรทุกขณะทำการขนย้ายดินและวัส ดุอุปกรณ์ก่อสร้างอย่างมิดชิด เพื่อป้องกันการร่วงหล่นของดิน และป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง - ให้ท ำการขนย้ ายเศษมวลดิน นอกช่วงเวลาเร่งด่ วน (เวลา 07.30 - 9.00 น. และ 17.00 – 18.00 น.) เพื่อลดผลกระทบต่อการจราจรทั้งทางบกและทางน้ำ ผลกระทบต่อการชะล้างพังทลายของดิน - กำหนดขอบเขตพื้นที่ก่อสร้างให้ชัดเจนและเปิดพื้นที่ก่อสร้างเท่าที่จำเป็น - กิจกรรมการก่อสร้างในบริเวณใกล้กับลำน้ำ /ตลิ่งลำน้ำ โดยเฉพาะหากมีกิจกรรมการขุดดิน ริม ตลิ่ ง ต้ อ งกำหนดขอบเขตหรือ จำกั ด ระยะการขุ ด ดิ น อย่ า งชั ด เจน เฉพาะพื้ น ที่ ที่ มี ก ารทำงานจริง เท่ านั้ น และต้องทำการบูรณะดูแลตลิ่งให้มีสภาพดังเดิมภายหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ กรมทางหลวงชนบท 5-5 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - การนำดินเข้ามาในพื้นที่ต้องรีบดำเนินการบดดินให้แน่น เพื่อป้องกันการชะล้างของดินออกจาก พื้นที่โครงการ - การปรับถมดินคันทาง ต้องบดอัดดินให้ได้ค่ามาตรฐานการบดอัดดินตามมาตรฐานทางวิศวกรรม ่ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน เพือ - จัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยเก็บกวาดเศษดิน/หินที่ตกลงสู่ผิวจราจร - ที่ใช้เป็นเส้นทางคนส่งเศษมวลดินและวัสดุก่อสร้างของโครงการ ได้แก่ ทล.4206 และ กบ.5035 ในช่วงพื้นที่โครงการ 2) ระยะดำเนินการ - 5.2.1.2 ธรณีวิทยาและแผ่นดินไหว 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ขันออกแบบรายละเอียด - การออกแบบโครงสร้างสะพานให้ นำค่าระดั บความรุนแรงแผ่ นดิ นไหว PGA ประมาณ 0.02g ในกรณีของโอกาส 10% มาร่วมพิจารณาในขั้นตอนการออกแบบโครงการ - ออกแบบโครงสร้างสะพานให้สามารถรองรับแรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากแผ่ นดินไหวตามมาตรฐาน AASHTO LRFD โดยการคำนวณแรงแผ่ น ดิ น ไหวทำโดยวิ ธี uniform load ตามที่ ระบุ ไว้ ใน AASHTO Guide Specifications for LRFD Seismic Bridge Design, 2 nd Edition, 2011 (Article C5.4.2) ร่ว มกั บ มาตรฐาน การออกแบบ มยผ.1301/1302-61 ของประเทศไทย - ออกแบบการก่อสร้างให้รองรับแผ่นดินไหวตามกฎกระทรวงกำหนดการรับน้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคาร และพื้ นดิ นที่ รองรับอาคารในการต้ านทานแรงสั่ นสะเทื อนของแผ่ น ดิ นไหว พ.ศ. 2564 ประกาศ ณ วันที่ 28 มกราคม 2564 ที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 มาตรการทั่วไป - กรณีเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในพื้นที่โครงการ ให้ดำเนินการตรวจสอบความเสียหายตลอดแนว เส้นทางโดยเฉพาะโครงสร้างสะพาน และในกรณีที่พบความเสียหาย เช่น ถนนทรุด ถนนแยก/ร้าว ต้องดำเนินการ ซ่อมแซม/ปรับปรุงให้อยู่ในสภาพดีโดยเร็ว 2) ระยะดำเนินการ ผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหว - กรณีเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในพื้นที่โครงการ ให้ดำเนินการตรวจสอบความเสียหายตลอดแนว เส้นทางโดยเฉพาะโครงสร้างสะพาน และในกรณีที่พบความเสียหาย เช่น ถนนทรุด ถนนแยก/ร้าว ต้องดำเนินการ ซ่อมแซม/ปรับปรุงให้อยู่ในสภาพดีโดยเร็ว - ดำเนินการสำรวจความเสียหายสะพานอย่างละเอียด ตามวิธีการที่ระบุไว้ในคู่มือบำรุงสะพาน และทางลอด ปี พ.ศ. 2562 ของกรมทางหลวงชนบท - ผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหว อาจมีผลกระทบต่อโครงการ โดยมีมาตรการลดผลกระทบ ระบุมาตรการในระยะดำเนินการ หากเกิดผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหวขึ้นมาแล้ว จะดำเนินการดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 5-6 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการซ่อมแซมบูรณะฉุกเฉิน สำหรับถนน โครงสร้างสะพาน และสิ่งสาธารณูปโภคที่ ติดตั้งไปกับโครงสร้างสะพานที่เสียหายจากแผ่นดินไหว กิจกรรมหลัก : ซ่อมแซมฉุกเฉิน เพื่อให้ถนน สะพาน และระบบสาธารณูปโภคที่ติดตั้งไปกับ โครงสร้างสะพาน สามารถกลับมาให้บริการได้เร็วที่สุด หน่วยงานหลัก : กรมทางหลวงชนบท หน่วยงานรับผิดชอบดูแล โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา และทางหลวงชนบทในเกาะลันตาน้อยและเกาะลันตาใหญ่ และส่วนราชการเจ้าของระบบสาธารณูปโภคที่เสียหาย มาตรการฟื้นฟูบูรณะโครงสร้างพื้นฐานที่เสียหายจากแผ่นดินไหว กิจกรรมหลัก : การประเมิ นความเสีย หายของ ถนน สะพาน และวงเงินงบประมาณที่ จะใช้ ซ่อมแซมฟื้นฟูบูรณะ การพิจารณาข้อกำหนดเพิ่มเติม เพื่อป้องกันความเสียหายจากเหตุแผ่นดินไหวในอนาคต และการฟื้นฟูบูรณะถนน สะพาน และสิ่งสาธารณูปโภคที่ติดตั้งอยู่กับสะพาน หน่วยงานหลัก : กรมทางหลวงชนบท หน่วยงานรับผิดชอบดูแลโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา และทางหลวงชนบทใน เกาะลันตาน้อยและเกาะลันตาใหญ่ และส่วนราชการเจ้าของระบบสาธารณูปโภคที่เสียหาย การรายงานและติดตามประเมินผล กิจกรรมหลัก : การจัดทำรายงานความเสียหายจากภัยแผ่นดินไหว และการติดตามประเมิน ผลการฟื้นฟูบูรณะ ถนน สะพาน และและสิ่งสาธารณูปโภคที่ติดตั้งอยู่กับสะพานทุกๆ ปี อย่างน้อย 2 ปี หลังจาก เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว หน่วยงานหลัก : กรมทางหลวงชนบท หน่วยงานรับผิดชอบดูแลโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา และทางหลวงชนบทใน เกาะลันตาน้อยและเกาะลันตาใหญ่ และส่วนราชการเจ้าของระบบสาธารณูปโภคที่เสียหาย การเรียนรู้จากบทเรียนเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ผ่านมา กิจกรรมหลัก : การจัดทำสรุปบทเรียน ทั้งข้อดีและข้อที่ควรได้รับการปรับปรุงจากการบริหาร จัดการภัยจากแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น และการนำข้อสังเกตที่ได้จากบทเรียนที่ได้รับ ( Lesson Leant) มาปรับปรุง การจัดการในด้านต่างๆ เช่น การออกแบบโครงสร้างต้านทานแรงแผ่นดินไหว การเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ เช่น การฟื้นฟูบูรณะฉุกเฉิน สำหรับถนน สะพาน สาธารณูปโภคที่ติดตั้งไปกับสะพาน หน่วยงานหลัก : กรมทางหลวงชนบท หน่วยงานรับผิดชอบดูแลโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา และทางหลวงชนบทใน เกาะลันตาน้อยและเกาะลันตาใหญ่ และส่วนราชการเจ้าของระบบสาธารณูปโภคที่เสียหาย ผลกระทบจากการเกิดสนามิ - เมื่อรู้ว่ามีแผ่นดินไหวเกิดขึ้น ขณะที่อยู่ในทะเลหรือบริเวณชายฝั่ง ให้รีบออกจากบริเวณชายฝั่ง ไปยังบริเวณที่สูงทันที โดยไม่ต้องรอประกาศจากทางราชการ เนื่องจากคลื่นสึนามีเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง - เมื่ อ ได้ รับ ฟั ง ประกาศจากทางราชการเกี่ ย วกั บ การเกิ ด แผ่ น ดิ น ไหวบริเวณทะเลอั น ด ามั น ให้ เตรีย มรับ สถานะการณ์ ที่ อาจจะเกิด คลื่น สึน ามิ ต ามมาได้ให้ เคลื่ อนย้ ายรถที่ จอดบริ เวณท่ าเรือบ้ านหั วหิ น ออกจากพื้นที่ดังกล่าวไปอยู่ในพื้นที่สูงซึ่งอยู่ห่างจากท่าเรือบ้านหัวหิน ไป 300 เมตร ตามทางหลวงหมายเลข 4206 ซึ่งเป็นพื้นที่ดอนน้ำท่วมไม่ถึงและปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ - สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่ง หากทะเลมีการลดของระดับน้ำลงมาก หลังการเกิดแผ่นดินไหว ให้สันนิษฐานว่าอาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ ให้อพยพ คน สัตว์เลี้ยง ให้อยู่ห่างจากชายฝั่งมากๆ และอยู่ในที่ดอน หรือน้ำท่วมไม่ถึง หากมีรถอยู่บนสะพานให้ระบายรถออกจากสะพานทั้ งหมด และกั้นมิให้มีการจราจรจากตำบล เกาะกลางข้ามไปยังเกาะลันตาน้อย - ถ้าอยู่ในเรือซึ่งจอดอยู่ในท่าเรือบ้านหัวหิน ต.เกาะกลาง อันเป็นพื้นที่ริมชายฝั่ง ให้ประชาสัมพันธ์ เรื่องการอพยพเรือ ไปกลางทะเล เมื่อทราบว่าจะเกิดคลื่นสึนามิพัดเข้าหา เพราะคลื่นสึนามิที่อยู่ไกลชายฝั่งมากๆ จะมีขนาดเล็ก กรมทางหลวงชนบท 5-7 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - คลื่นสึนามิอาจเกิดขึ้นได้หลายระลอกจากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งเดียว เนื่องจากมีการแกว่งไป-มา ของน้ำทะเล ดังนั้นควรรอสักระยะหนึ่งจึงสามารถลงไปชาดหาดได้ และติดตามการเสนอข่าวของทางราชการ อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง - กรมทางหลวงชนบท วางแผนในการฝึกซ้อมรับภัยจากคลื่นสึนามิ เช่น แนวทางการใช้เส้นทาง สะพานเชื่อมเกาะลันตา เป็นเส้นทางอพยพ หนีภัยสึนามิ และใช้เป็นเส้นทางในการกู้ภัยสึนามิของเกาะลันตา และ เกาะต่างๆ ที่อยู่ในทะเลใกล้เกาะลันตา เช่น เกาะพีพี เป็นต้น พร้อมทั้งวางแผนล่วงหน้า ในเรื่องการประสานงาน ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำหนดขั้นตอนในด้ านการช่วยเหลือบรรเทาภัยด้านต่างๆ และฟื้นฟูสิ่งก่อสร้าง และสาธารณูปโภคที่ติดตั้งอยู่กับสะพานเชื่อมเกาะลันตา เป็นต้น - ติด ตั้ งป้ ายเตื อนในเขตพื้ น ที่ เสี่ย งภัยคลื่น ยั กษ์ “สึ น ามิ ” ไว้ ที่ ริมท่ าเรือบ้ านหั วหิ น ฝั่ งตำบล เกาะกลาง จำนวน 1 ป้าย และริมชายฝั่งในเขตตำบลเกาะลันตาน้อย จำนวน 1 ป้าย - ติดตั้งป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์ “สึนามิ” พร้อมบอกทิศทางเคลื่อนที่อพยพและ ระยะทางในการอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัย ดังนี้ ▪ พื้นที่ฝั่งตำบลเกาะกลาง ติดตั้งป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์สึ นามิ จำนวน 2 แห่ง ได้แ ก่ ติ ดตั้ งบนสะพานที่ กม.0+400 ด้ านขวาทาง จำนวน 1 ป้ าย ระบุ ระยะทางถึงจุด ปลอดภัย 400 เมตร (กรณีอยู่บนสะพาน ควรขับรถลงจากสะพานมายังพื้นที่ถนนพื้นราบฝั่งตำบลเกาะกลาง กม.0+000) และติดตั้ง บนถนนพื้นราบใต้สะพานฝั่งเกาะกลางที่ กม.0+400 ด้านขวาทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุระยะทางถึงจุดปลอดภัย 200 เมตร (ถนนพื้นราบ กม.0+200 มีภูมิประเทศเป็นเนินสูงที่มีความปลอดภัยจากคลื่นสึนามิแล้ว) ▪ พื้นที่ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ติดตั้งป้ายบอกเส้นทางอพยพหนีคลื่นยักษ์สึนามิ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ติดตั้งบนสะพาน ที่ กม.1+900 ด้านซ้ายทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุระยะทางถึงจุดปลอดภัย 300 เมตร (กรณี อยู่ บ นสะพาน ควรขั บ รถลงจากสะพานมายั ง พื้ น ที่ ถ นนพื้ น ราบฝั่ ง ตำบลเกาะลั น ตาน้ อ ย กม.2+200) และติดตั้งบนทางหลวงชนบท สาย กบ.5035 ฝั่งเกาะลันตาน้อย ที่ กม.1+900 ด้าน ขวาทาง จำนวน 1 ป้าย ระบุ ระยะทางถึงจุดปลอดภัย 50 เมตร โดยให้อพยพขึ้นพื้นที่เนินสูงด้าน ซ้ายทางของทางหลวงชนบท สาย กบ.5035 - ทำการติดตั้งป้ายบอกจุดปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ ดังนี้ ▪ ฝั่งตำบลเกาะกลาง ติดตั้งป้ายบอกจุดปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ที่ กม. 0+000 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้รถที่ระบายลงมาจากสะพานเชื่อมเกาะลันตา ทราบว่ามาถึงจุดปลอดภัยคลื่นสึนามิฝั่ง ตำบลเกาะกลางแล้ว และที่ กม.0+200 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้ประชาชนที่อพยพจากพื้นที่ริมท่าเรือบ้านหัวหิน ทราบว่ามาถึงจุดปลอดภัยคลื่นสึนามิที่เป็นพื้นที่เนินสูงของ ทล.4206 ▪ ฝั่ ง ตำบลเกาะลั น ตาน้ อ ย ติ ด ตั้ ง ป้ า ยบอกจุ ด ปลอดภั ย จากคลื่ น สึ น ามิ จำนวน 2 แห่ ง ได้แก่ ที่ กม.2+200 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้รถที่ระบายลงมาจากสะพานเชื่อมเกาะลันตา ทราบว่ามาถึงจุดปลอดภัย คลื่นสึนามิฝั่งเกาะลันตาน้อยแล้ว และที่ กม.1+900 ด้านซ้ายทาง เพื่อให้ประชาชนที่อพยพจากพื้นที่ริมชายฝั่ง เกาะลันตาน้อย บริเวณทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 ทราบว่ามาถึงจุดปลอดภัยคลื่นสึนามิที่เป็นพื้นที่เนินสูง ด้านขวาทางของทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 กรมทางหลวงชนบท 5-8 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.1.3 คุณภาพนำผิวดิน 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การจัดการนำเสียจากสำนักงานควบคุม/บ้านพักคนงาน - ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ-กรองไร้อากาศ (รูปที่ 5.2.1-4) เพื่อรองรับน้ำเสียจาก ห้องน้ำ-ห้องส้วม ขนาด 10.0 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง น้ำเสียจากโรงอาหาร ขนาด 10.0 ลบ.ม. จำนวน 2 ถัง และน้ำเสีย จากโรงซ่อมบำรุง 1.50 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง เพื่อบำบัดน้ำเสียให้อยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งก่อนระบายลงสู่แหล่งน้ำ ่ ริเวณใกล้เคียง ที่อยูบ รูปที่ 5.2.1-4 ตัวอย่าง ังบำบัดนำเสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ-กรองไร้อากาศ - ติดตั้งถังดักไขมัน (รูปที่ 5.2.1-5) เพื่อรองรับน้ำเสียจากห้องอาหาร ขนาด 0.5 ลบ.ม. จำนวน 4 ถัง และติดตั้งถังดักไขมันที่โรงซ่อมบำรุง ขนาด 0.5 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง รูปที่ 5.2.1-5 ตัวอย่าง ังดักไขมัน - ทำการเทพื้นคอนกรีตในบริเวณที่อาจเกิดการรั่วไหลของน้ำมันและไขมัน ในบริเวณที่พักคนงาน และโรงซ่อมบำรุงเครื่องจักรกล โดยทำเป็นพื้นคอนกรีตที่ยกขอบโดยรอบและต่อท่อระหว่างพื้ นคอนกรีตและ บ่อดักไขมัน (รูปที่ 5.2.1-6) เพื่อรวบรวมสิ่งรั่วไหลจากพื้นคอนกรีตลงสู่บ่อดักไขมันโดยตรง และระบายน้ำที่ผ่าน การดักไขมันลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสีย กรมทางหลวงชนบท 5-9 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - จัดเตรียมพื้นที่สำหรับเครื่องจักร รวมทั้งโรงบำรุงเครื่องจักร บริเวณที่เก็บถังน้ำมันเชื้อเพลิง ่ ง และถังเก็บน้ำมันที่ใช้แล้ว บริเวณที่ทำความสะอาดยานพาหนะและเครื่องจักรกล รวมทั้งพื้นที่กอง ถังน้ำมันเครือ วัสดุก่อสร้างให้อยู่ห่างจากแหล่งน้ำและทางระบายน้ำอย่างน้อย 100 เมตร เพื่อป้องกันการปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้ำ - จัดภาชนะรองรับน้ำมันที่ใช้แล้วไว้ในโรงซ่อมบำรุงเพื่อรวบรวมและนำไปกำจัดให้เหมาะสม - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องจัดให้มีถังขยะแยกประเภทที่มีฝาปิดมิดชิด (รูปที่ 5.2.1-7) น้ำไม่สามารถ จะรั่วซึมได้ (ไม่ควรใช้เข่งในการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย) มีจำนวนและขนาดที่เพียงพอต่อปริมาณขยะที่เกิดขึ้นใน แต่ละวัน ตั้งวางไว้ตามจุดต่างๆ ภายในพื้นที่หน่วยก่อสร้าง เช่น บ้านพักคนงาน ห้องอาหาร อาคารและสำนักงาน รวมทั้งโรงซ่อมบำรุง โดยจัดให้มีเจ้าหน้าที่หรือคนงานเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยไปไว้ในจุดรวมขยะ - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องประสานงานติดต่อพนักงานเก็บขยะมูลฝอยของ อบต.เกาะกลาง เพื่อนำ รถบรรทุกขยะเข้ามาจัดเก็บและขนส่งต่อไปยังสถานกำจัดขยะมูลฝอย รูปที่ 5.2.1-6 ตัวอย่างการทำพืนคอนกรีตแบบยกขอบโดยรอบ ่ ไหลของนำมันและไขมัน บริเวณที่อาจเกิดการรัว รูปที่ 5.2.1-7 ่ ีฝาปิดมิดชิด ตัวอย่าง ังขยะแยกประเภททีม กรมทางหลวงชนบท 5-10 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม การจัดการนำเสียจากสุขาเคลื่อนที่ - ติดตั้งสุขาเคลื่อนที่พร้อมทั้งถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ-กรองไร้อากาศ (รูปที่ 5.2.1-8) จำนวน 4 ห้อง/ชุด จำนวน 2 ชุด ทำการติดตั้งในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างฝั่งเกาะกลาง 1 ชุด และพื้นที่ฝั่งเกาะลันตาน้อย 1 ชุด เพื่อสุขอนามัยการขับถ่ายของคนงานก่อสร้างที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน และประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง และ อบต.เกาะลันตาน้อย ให้เข้ามาดำเนินการจัดเก็บและนำของเสียที่เกิดขึ้นไปกำจัดในแต่ละวัน รูปที่ 5.2.1-8 ตัวอย่างสุขาเคลื่อนที่ การจัดการนำเสียจากโรงหล่อคอนกรีต - ระบบการจัดการน้ำเสียของโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ ใช้วิธีปล่อยให้ตกตะกอน (Coagulation) ในบ่ อ ประกอบด้ ว ย บ่ อ 2 บ่ อ คื อ บ่ อ แรกจะเป็ น ที่ รองรับ คอนกรีต ส่ ว นที่ ค้ า งในรถขนส่ ง คอนกรีต ขนาด 4.0×4.0×1.5 เมตร และบ่อที่สองเป็นบ่อรับน้ำล้นจากบ่อแรก ขนาด 4.0×4.0×1.5 เมตร มาทำการบำบัดน้ำเสีย ทางเคมี ซึ่งเหมาะสำหรับน้ำเสียที่มีลักษณะที่มีความกรด-ด่าง (pH) สูง โดยการปรับสภาพน้ำที่มีค่าความเป็นกรด- ด่ างหรือค่ า pH ให้ อยู่ ในสภาพที่ เป็ น กลาง (Neutralization) มี ค่ า pH อยู่ ในช่ วง 5-7 น้ ำที่ มี ค่าความเป็ นด่ างสู ง จะต้ องนำกรดมาเติ ม เพื่ อปรับ สภาพน้ ำให้ เป็ น กลางมากที่ สุ ด ทั้ งนี้ ก รดที่ นิ ย มนำมาใช้ ได้ แ ก่ กรดกามะถัน (H2SO4), กรดเกลือ (HCL), หรือก๊าซคาร์บ อนไดออกไซด์ (CO2) และน้ำ ที่ผ่านการตกตะกอนของบ่อที่สองจะ นำไปใช้ในการทำความสะอาดรถขนส่ง ตลอดจนใช้ในกิจกรรมภายในของหน่วยก่อสร้างหรือปล่อยออกไปนอก พื้นที่ ส่วนกากตะกอนคอนกรีต เมื่อสะสมจนเต็มบ่อก็จะทำการขุดไปถมที่หรือฝังกลบ การจัดการในรูปแบบนี้ใช้ ค่าลงทุนที่ไม่สูง โดยระบบบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตคอนกรีต - ก่อสร้างบ่อรวมน้ำขนาด 6.5×6.5×1.5 เมตร และบ่อพักน้ำขนาด 54 ลูกบาศก์เมตร (รูปที่ 5.2.1-9) เพื่อดักกากคอนกรีตให้ตกตะกอนก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำธรรมชาติหรือนำกลับมาให้ล้างทำความสะอาด รถบรรทุก กรมทางหลวงชนบท 5-11 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-9 ตัวอย่างบ่อรวมนำหรือบ่อพักนำ 2) ระยะดำเนินการ - จัด ห้ องสุ ขาสำหรับ รองรับ นั กท่ องเที่ ย วบริ เวณฝั่ งเกาะกลาง โดยกำหนดตำแหน่ งห้ องสุ ขา บริเวณด้านใต้สะพานโครงการ และประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง ให้เข้ามาดำเนินการดูแลรักษาความสะอาด - ติด ตั ้ง ถัง ขยะขนาด 240 ลิต ร มีฝ าปิด พร้อ มกรงตาข่า ยเหล็ก กัน ลิง คุ้ย ขยะ แยกประเภท 4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะอันตราย ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล บริเวณพื้นที่ว่างของลานจอดรถใกล้กับ ทางขึ้น-ลงไปจุดชมวิวโครงการ ฝั่งซ้ายทางและฝั่งขวาทางอย่างละ 1 ชุด - ติดป้ายหรือสัญลักษณ์บนถังขยะตามประเภทของขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะเปียก และขยะอันตรายให้ชัดเจน - ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์ขอความร่วมมืองดใช้บรรจุภัณฑ์โฟมและพลาสติกแก่ผู้ประกอบการ และนักท่องเที่ยว - กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง ในการเก็บขนขยะมูลฝอยไปกำจัด ตามหลักสุขาภิบาล โดยการเก็บขนขึ้นอยู่กับปริมาณขยะมูลฝอยและช่วงเวลา ช่วงวันหยุดยาวหรือช่วงเทศกาล ท่องเที่ยว (พฤศจิกายน-มีนาคมของทุกปี) จะมีปริมาณขยะมูลฝอยมากให้จัดเก็บขยะทุกวันๆ ละ 3 - 4 เที่ยว/วัน ในช่วงเวลา 07.00 - 17.00 น. เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขยะตกค้างในพื้นที่ แต่หากเป็นช่วงปกติจะจัดเก็บขยะมูลฝอย 1 - 2 เที่ยว/วัน ในช่วงเวลา 08.00 – 16.00 น. ขึ้นอยู่กับปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บขน ตามแนวทางการจัดการ ขยะมูลฝอย เพื่อทำการขนส่งขยะมูลฝอยจากสถานที่ รวบรวมขยะมูลฝอยไปยังสถานที่ กำจัดขยะโดยเตาเผา เพื่อผลิตพลังงาน ณ เทศบาลเมืองกระบี่ 5.2.1.4 คุณภาพนำทะเลและสมุทรศาสตร์ 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อคุณภาพนำทะเล การป้องกันตะกอนดินลงสู่ทะเลจากการก่อสร้าง นนบนฝั่ง - กำหนดขอบเขตพื้นที่ก่อสร้างให้ชัดเจนและเปิดพื้นที่ก่อสร้างเท่าที่จำเป็นเท่านั้น - การนำดินเข้ามาในพื้นที่ต้องรีบดำเนินการบดอัดดินให้แน่น - ก่อสร้างทางระบายน้ำชั่วคราวและติดตั้งรั้วดักตะกอนแบบ Temporary Silt Fence ความสูง เหนือพื้นดิน 1.0 เมตร บริเวณพื้นที่ก่อสร้างใกล้แหล่งน้ำ 2 แห่ง ได้แก่ ฝั่งตำบลเกาะกลาง (ช่วง กม.0+000- กม.0+500) และฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย (กม.2+000-กม.2+527) เพือ ่ ป้องกันการชะล้างตะกอนดินจากน้ำฝนลง สู่แหล่งน้ำ (รูปที่ 5.2.1-10 ถึงรูปที่ 5.2.1-13) กรมทางหลวงชนบท 5-12 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-10 ตัวอย่างแบบรายละเอียดรัวดักตะกอนแบบ Temporary Silt Fence กรมทางหลวงชนบท 5-13 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-11 ตำแหน่งติดตังรัวดักตะกอน Temporary Silt Fence บริเวณฝั่งตำบลเกาะกลาง กรมทางหลวงชนบท 5-14 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-12 ตำแหน่งติดตังรัวดักตะกอน Temporary Silt Fence บริเวณฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 5-15 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-13 กระบะป้องกันการล้น (Extended Casing) การป้องกันนำปูนรั่วออกจากแบบหล่อคอนกรีต - เลือกใช้ส่วนผสมคอนกรีตที่มีส่วนละเอียดเพียงพอที่จะไปอุดตามช่องว่างระหว่างเม็ดหิน - เลือกใช้คอนกรีตที่มีค่ายุบตัวในขณะเทให้เหมาะสมกับงาน - ตรวจสอบระยะและการหนุนเหล็กเสริมให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดไว้รวมทั้งควรมีการตรวจสอบ ระยะต่างๆ ในแบบหล่อเพื่อให้คอนกรีตสามารถไหลผ่านเข้าเต็มแบบได้โดยไม่เกิดการแยกตัว - ทำการตรวจสอบความแข็งแรงของแบบและค้ำยันก่อนเทคอนกรีต รวมทั้งอุดรูรั่วทั้งหมดรวมถึง รูในแบบที่ต้องมีเหล็กเสริมเสียบทะลุออกมา เพื่อป้องกันน้ำปูนไหลออกจากแบบขณะเทคอนกรีต - ใช้แ บบหล่ อเหล็ กที่ กัน น้ ำ และตรวจสอบแบบหล่ อก่อนเทคอนกรีตพร้อมทั้ งอุด รูรั่วทั้ ง หมด ตัวอย่างลักษณะแบบหล่อคอนกรีตสำหรับสะพานรูป Box Girder ดังแสดงในรูปที่ 5.2.1-14 - ป้องกันไม่ให้สายลายโพลิเมอร์และคอนกรีตรั่วไหลลงทะเลในขณะทำการหล่อเสาเข็มเจาะ ในทะเลด้วยการติดตั้งกระบะป้องกันการล้น (Extended Casing) อยู่ที่ด้านบนของปลอกเหล็กเสาเข็มเจาะ ดังแสดง ในรูปที่ 5.2.1-15 การป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากที่สูง การป้องกันที่ตัวผู้ปฏิบัติงาน - ฝึกอบรมให้กับผู้ที่ต้องขึ้นไปปฏิบัติงานบนที่สูง - มีการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัตง ิ าน - สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล - ติดตั้งรั้วตาข่ายและอุปกรณ์ป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเลตลอดระยะเวลาก่อสร้าง การป้องกันในสถานที่ทำงาน - จัดระบบงาน เพื่อจำกัดการทำงานบนที่สูง - ติดตั้งรั้วตาข่ายและอุปกรณ์ป้องกันการตก เพื่อลดความเสี่ยง แสดงดังรูปที่ 5.2.1-15 - พื้นที่ทำงานปราศจากปัจจัยที่ทำให้สะดุด ลื่น - กั้นหรือปิดช่องเปิดบนพื้นให้แข็งแรง พร้อมป้ายเตือนอันตราย การป้องกันอันตรายจากการร่วงหล่นของวัสดุในพื้นที่ปฏิบัติงาน - อุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก ควรใส่ในภาชนะที่แข็งแรง - วัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดต้องไม่วางกีดขวางทางเดิน - จัดเก็บเศษวัสดุที่เหลือใช้ในภาชนะที่แข็งแรง - จัดเก็บทำความสะอาดอย่างต่อเนื่อง กรมทางหลวงชนบท 5-16 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน - ใช้เชือกผูกรัดเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงาน - ขนย้ายวัสดุอุปกรณ์อย่างถูกวิธี รูปที่ 5.2.1-14 แบบหล่อคอนกรีตชนิดกันนำและป้องกันการรั่วของนำปูน ออกจากแบบหล่อลงทะเล รูปที่ 5.2.1-15 ตัวอย่างการติดตังรัวตาข่ายป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากที่สูง กรมทางหลวงชนบท 5-17 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม การป้องกันอันตรายจากการสะดุด ลื่นล้ม บนพื้นที่ทำงาน - จัดเก็บเศษวัสดุและอุปกรณ์ ก่อสร้ างให้เป็นระเบียบ ไม่วางกีดขวางทางเดิน และมีพนักงาน ทำความสะอาดอย่างต่อเนื่อง - สายไฟ สายยาง ห้ามลากผ่านพื้นทางเดิน - บริเวณช่องทางขึ้น-ลงบันได ต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง - พื้นที่ทำงานต้องมีราวกันตก และแผ่นกันของตก - พื้นที่ทำงานต้องไม่เปียกแฉะ - พื้นที่ทำงานจะต้องไม่มีคราบน้ำมัน จารบี - พื้นทางเดินต้องเรียบเสมอกัน การป้องกันอันตรายจากการตกในการเดิน เคลื่อนย้าย หรือเปลี่ยนพื้นที่ปฏิบัติงาน - มีราวกันตก หรือเชือกนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างโดยรอบ - มีทางเดินชั่วคราวพร้อมราวกันตก - ติดตั้งตาข่ายนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างที่มั่นคงแข็งแรง - ปิดกั้นบริเวณด้านล่างพื้นที่ปฏิบัติงาน - จัดเตรียมนั่งร้าน หรือเครื่องจักรกลที่กำหนดไว้ในแผนงาน - สวมใส่ และใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกตลอดเวลา - ห้ามเคลื่อนย้ายร่างกายบนที่สูง โดยปราศจากการเกาะเกี่ยวเข็มขัดนิรภัย การป้องกันการฟุ้งกระจายของตะกอนดินในทะเลจากกิจกรรมขุดเจาะฐานราก เนื่องจากเสาเข็มเหล็กโครงสร้างที่นำมาก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวเป็นโครงสร้างเหล็กและปริมาณ ตะกอนดินที่ จะทำให้เกิดการฟุ้งกระจายน้อยกว่าชนิดแบบเสาคอนกรีต การก่ อสร้างหรือรื้อย้ายเสาเข็มจะใช้ วิธีการสั่น Hydraulic เสาเข็มเพื่อให้ดินคล้ายตัว การก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวจะแบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ ดังนี้ - ท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) ฝั่งเกาะกลาง รูปแบบท่าเทียบเรือชั่วคราวจะต่อจาก ท่าเรือขนส่งเดิมแล้วต่อยื่นออกไปประมาณ 50 เมตร การก่อสร้างฐานรากในน้ำทะเลจะกำหนดให้ทำการล้อมม่าน ดักตะกอน (Silt Curtain) โดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง และต้องทำการติดตั้งหลักยึดกับท้องน้ำ เพื่อให้ม่า นดักตะกอน คลุมถึงพื้นท้องน้ำ แสดงดังรูปที่ 5.2.1-16 จากนั้นจะกำหนดให้เริ่มทำการก่อสร้างท่า เทียบเรือชั่วคราวฝั่ง เกาะ กลางและก่อสร้างตอม่อสะพาน F2 type 2 ตัวริมตลิ่ง เมื่อก่อสร้างกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพาน F2 type 2 ตัวที่ 1 แล้ว เสร็จ จึง จะกำหนดให้รื้อ ม่านดักตะกอนออกแล้วใช้งานท่า เทียบเรือชั่วคราวเพื่อก่อสร้าง ตอม่อสะพาน F1 type 1 ต่อไปได้ - ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตาน้อย รูปแบบท่าเทียบเรือชั่วคราวจะต่อยื่นออกมาจากตลิ่ง ตามแนวที่จะก่อสร้างสะพาน และยื่นออกไปในทะเลประมาณ 200 เมตร การก่อสร้างท่า เทียบเรือชั่วคราวนี้ จะกำหนดให้ก่อสร้างที่ละชุด จำนวน 3 ชุด แสดงดังรูปที่ 5.2.1-17 การก่อสร้างฐานรากในน้ำทะเลจะกำหนดให้ ทำการล้อมม่านดักตะกอน (Silt Curtain) โดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง และต้องทำการติดตั้งหลักยึดกับ ท้องน้ำ เพื่อให้ ม่านดักตะกอนคลุมถึงพื้นท้องน้ำ ซึง ่ การล้อมม่านดักตะกอนชุดแรกสำหรับกั้นเขตก่อสร้างแท่นก่อสร้าง Platform และการกดเสาเข็มตอม่อสะพานแบบ F3 type 3 ทั้ง 2 ตัว เมื่อทำการกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพานเสร็จ แล้วก็จะให้รื้อย้ายม่านดักตะกอนชุดที่ 1 แล้วไปยังชุดก่อสร้างชุดที่ 2 สำหรับกั้นเขตก่อสร้างแท่นก่อสร้าง และ การกดเสาเข็มตอม่อสะพานตัวที่ 3 เมื่อทำการกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพานตัวที่ 3 เสร็จแล้ว ก็จะให้รื้อย้าย ม่านดักตะกอนชุดที่ 2 แล้วไปยังชุดก่อสร้างชุดที่ 3 เมื่อทำการกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพานตัวที่ 4 เสร็จแล้ว ก็จะให้รื้อย้ายม่านดักตะกอน (Silt Curtain) ออกไป แล้วใช้แท่นก่อสร้างเป็นท่าเทียบเรือชั่วคราวเพื่อใช้ขนส่งวัสดุ ก่อสร้างเพื่อก่อสร้างตอม่อสะพานแบบ F3 type 3 ตัวที่ 5-13 ต่อไป กรมทางหลวงชนบท 5-18 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-16 การติดตังม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง รูปที่ 5.2.1-17 การติดตังม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 5-19 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - การก่อสร้างตอม่อสะพานแบบ F1 type 1, F2 type 2 ตัวที่ 2 และ F3 type 3 ตัวที่ 5-13 การก่อสร้างจะใช้บั้นจั่นกดเสาเข็มทำงานบนเรือตลอดเวลาไม่มีการก่อสร้างแท่นก่อสร้าง Platform ดังนั้นก่อนจะ ก่อสร้างตอม่อสะพานเหล่านี้ จะกำหนดให้ทำการล้อมม่านดักตะกอน (Silt Curtain) โดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง และ ต้องทำการติดตั้งหลักยึดกับท้องน้ำ เพื่อให้ม่านดักตะกอนคลุมถึงพื้นท้องน้ำ โดยรูปแบบการล้อมม่านดักตะกอน ตอม่อสะพานทั้ง 3 แบบ แสดงดังรูปที่ 5.2.1-18 การติดตั้งม่านดักตะกอน จะกำหนดให้ล้อมม่านโดยรอบห่าง จากแนวเสาเข็มที่ระยะ 5 เมตร หลังจากติดตั้งม่านดักตะกอนแล้ว ผลกระทบของกระจายของการฟุ้งกระจายของ ตะกอนอยู่ในระดับต่ำเพราะประสิ ทธิภาพของม่านดักตะกอนนี้ จะยอมให้ตะกอนออกไปได้ 0.2% ของความ เข้มข้นตะกอนสูงสุด โดยความเข้มข้นของตะกอนที่ เกินขึ้นสูงสุดประมาณ 6.3 ppm. (ช่วงการก่อสร้างตอม่ อ สะพานแบบ F1 type 1) ดังนั้น ตะกอนดินที่สามารถออกไปได้จะเหลือเพียง 0.012 ppm. และผลกระทบที่เกิด ้ อยู่ในระดับต่ำ โดยคุณสมบัติและการติดตั้งม่านดักตะกอนที่นำมาใช้ในโครงการ แสดงดังรูปที่ 5.2.1-19 ถึงรูปที่ ขึน 5.2.1-21 ตามลำดับ การป้องกันผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางสมุทรศาสตร์ - ออกแบบตอม่อสะพานลงในทะเลให้มีพื้นที่หน้าตัดให้น้อยที่สุด เพือ ่ ลดการกีดขวางการไหลของ กระแสน้ำ - เมื่อก่อสร้างฐานรากสะพานของโครงการแล้วเสร็จ ให้ทำการรื้อถอนฐานรากของท่าเทียบเรือ ชั่วคราว (Temporary Jetty) ที่ละช่วง แล้วทำการลำเลียงชิ้นส่วนที่รื้อออกด้วยเรือท้องแบนมายังฝั่งตำบลเกาะกลาง เพื่อลำเลียงไปยังสำนักงานควบคุมโครงการ เพื่อนำชิ้นส่วนสะพานนำกลับไปใช้ประโยชน์ต่อไปในอนาคต ทั้งนี้ การรื้อถอนท่าเทียบเรือชั่วคราว จะต้องทำการรื้อท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อยก่อน ส่วนท่าเทียบ เรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง จะใช้ในการขนส่งชิ้นส่วนจากฝั่งเกาะลันตาน้อยจนหมด หลังจากนั้นจึงทยอย ทำการรื้อถอนท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลางเป็นลำดับสุดท้าย และปรับสภาพพื้นที่ให้เรียบร้อยดังเช่ น ก่อนมีโครงการ - ป้องกันวัสดุตกหล่นในระหว่างการรื้อถอนท่า เทียบเรือชั่วคราว โดยทำการขึงผ้าใบหรือตาข่าย ใต้พื้นท่าเทียบเรือชั่วคราวตลอดระยะเวลาก่อสร้างเพื่อป้องกันวัสดุตกหล่นในทะเล - การรื้อถอนเสาเข็มชั่วคราว Steel Pipe Pile ให้ทำการถอนเสาเข็มในช่วงเวลาน้ำลงเท่านั้น ซึ่งจะทำให้สามารถหลีกเลี่ยงการก่อให้เกิดการฟุ้งกระจายของตะกอนขนาดเล็กในทะเลได้ 2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท 5-20 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-18 การติดตังม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณตอม่อสะพานในแต่ละแบบ กรมทางหลวงชนบท 5-21 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-19 คุณสมบัติของม่านดักตะกอน (Silt Curtain) ที่ใช้ในโครงการ รูปที่ 5.2.1-20 วิธีการติดตังม่านดักตะกอน (Silt Curtain) ที่ใช้ในโครงการ กรมทางหลวงชนบท 5-22 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-21 ตัวอย่างแบบรายละเอียดของม่านดักตะกอนในนำ (Silt Curtain) กรมทางหลวงชนบท 5-23 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.1.6 คุณภาพอากาศ 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบด้านคุณภาพอากาศที่เกิดจากการดำเนินโครงการต่อพืนที่อ่อนไหวทางด้านสิ่งแวดล้อม - ประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง และ อบต.เกาะลันตาน้อย เพื่อประชาสัมพันธ์แผนการดำเนินงาน ก่อสร้างให้ ประชาชนได้ รับทราบก่ อนการก่อสร้างและทำการติ ดป้ ายประชาสั มพั นธ์รายละเอี ยดโครงการ และ แจ้งแผนงานการก่อสร้างให้ประชาชนได้ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน - ให้เปิดพื้นที่ก่อสร้างเท่าที่จำเป็นและเร่งรัดงานก่อสร้างให้เสร็จโดยเร็ว เพื่อลดการฟุ้งกระจายของ ฝุ่นละออง - ทำการฉีดพรมน้ำ 2 ครั้ง/วัน บริเวณที่มีกิจกรรมการเปิดหน้าดินบริเวณช่วงปรับปรุงถนนเชิงลาด จุดเริ่มต้นโครงการ ตำบลเกาะกลาง และช่วงปรับปรุงถนนเชิงลาด จุดสิ้นสุดโครงการ ตำบลเกาะลันตาน้อย เพื่อลด ผลกระทบด้านการฟุ้งกระจายของปริมาณฝุ่นละออง (รูปที่ 5.2.1-22) ้ กระจายของปริมาณฝุ่นละออง รูปที่ 5.2.1-22 การฉีดพรมนำเพื่อผลกระทบด้านการฟุง - ทำความสะอาดล้อของยานพาหนะทุ กชนิ ดก่อนที่จะออกจากพื้ น ที่ก่อสร้าง โดยจัด สถานที่ สำหรับ ล้างล้อและตัวรถพร้อมอุปกรณ์ที่ใช้ฉีด ที่มีความดัน สูง เพื่อป้องกัน ไม่ให้เศษดินที่ติด กับล้อรถตกหล่ น บริเวณถนน (รูปที่ 5.2.1-23) - ใช้ผ้าใบปิดคลุมวัสดุก่อสร้างที่สามารถฟุ้งกระจายได้ให้ มิดชิดขณะขนส่งด้วยรถบรรทุก (รูปที่ 5.2.1-24) - ห้ามกองดินหรือวัสดุก่อสร้างบนผิวจราจรและจัดให้มีรถบรรทุกมารอรับเศษมวลดินขณะทำการ ขุดเจาะฐานราก และให้ลำเลียงออกจากพื้นที่ก่อสร้างไปยังจุดทิ้งดิน - จำกัดความเร็วของรถบรรทุกขณะวิ่งผ่านพื้นที่แหล่งชุมชนและพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ไม่เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง - ตรวจสอบสภาพและบำรุงรักษาเครื่องจักรต่างๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง เพื่อลดการระบายมลพิ ษ ทางอากาศตามคู่มอ ื การบำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์ - จัดให้มีเจ้าหน้าที่ทำความสะอาดกวาดดิน หิน และทราย ที่ตกหล่นอยู่บนผิวจราจรอยู่เป็นประจำ ่ ป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง เพือ กรมทางหลวงชนบท 5-24 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - จัดอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น (Mask) ให้แก่เจ้าหน้าที่และคนงานก่อสร้างในช่วงเปิดดำเนินกิจกรรม เปิดหน้าดิน รื้อย้ายและแผ้วถาง ขุดถม - ติดสติ๊กเกอร์บริเวณกระบะท้ายรถบรรทุกและเครื่องจักรของโครงการ ที่ระบุชื่อบริษัท ผู้ดำเนินการ และหมายเลขโทรศัพท์เพื่อการร้องเรียน - หากมีการร้องเรียนจากผลกระทบด้านฝุ่นละออง อันเนื่องจากการดำเนินงานโครงการให้ผู้รับจ้าง ก่อสร้างต้องดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น รูปที่ 5.2.1-23 การทำความสะอาดล้อยานพาหนะ รูปที่ 5.2.1-24 การใช้ผ้าใบปิดคลุมวัสดุก่อสร้าง ด้วยอุปกรณ์ฉีดความดันสูง ขนส่งด้วยร บรรทุก 2) ระยะดำเนินการ - ทำความสะอาดผิวทางโดยเฉพาะบนสะพาน ซึง ่ อาจใช้รถดูดฝุ่นในช่วงเวลากลางคืนเป็นประจำ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือจัดให้มีพนักงานทำความสะอาด ทำการกวาดและเก็บขยะตกหล่น เพื่อลดการ สะสมของฝุ่นละออง - จัดระบบการจราจรให้มีความคล่องตัว โดยการติดตั้งเครื่องหมายจราจรบอกทิ ศทาง กำหนด ประเภท และความเร็วของยานพาหนะ เพือ ่ ป้องกันปัญหาการกักตัวของมลสารในพื้นที่ - หากได้ รับ เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับผลกระทบทางด้านอากาศ กรมทางหลวงชนบทจะต้องเร่ง ดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้นทันที 5.2.1.7 เสียง 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบเสียงรบกวนจากการดำเนินโครงการต่อพืนที่อ่อนไหวทางด้านสิ่งแวดล้อม - ให้ทำการสำรวจความคิดเห็น ในระยะเตรียมการก่อสร้างอีกครั้ง หากเจ้าของบ้านต้องการให้ ติดตั้งกำแพงกั้นเสียงบริเวณริมเขตทางประชิดหน้าบ้าน ให้กรมทางหลวงชนบทดำเนินการติดตั้งเพิ่มเติม - ประชาสัมพันธ์วิธีการก่อสร้าง ระยะเวลาการก่อสร้าง และวิธีการประสานงานในกรณีที่ชุมชน ได้รับความเดือดร้อนจากการก่อสร้างให้กับชุมชนในพื้นที่โดยรอบพื้นที่ก่อสร้างทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน ตลอดจนประสานงานความร่วมมือกับ อบต.เกาะกลาง และ อบต.เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 5-25 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - กำหนดให้ผู้รับจ้างก่อสร้างใช้เครื่องจักรกลในการก่อสร้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม ในกรณีที่เครื่องมือนั้นทำให้เกิดเสียงดังเกิน 90 เดซิเบล (เอ) และต้องจำกัดเวลาการทำงานของคนงานที่อยู่ใกล้เครื่องจักร เพื่อไม่ให้ได้รับอันตรายด้านเสียง - ขณะก่อสร้างถนนโครงการและก่อสร้างฐานรากสะพานให้ติดตั้งกำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิด เมทัลชีท (Metal Sheet) หนา 0.64 มิลลิเมตร หรือวัสดุที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า ความสูง 3.0 เมตร ความยาว 100 เมตร ช่ วง กม.0+290 - กม.0+390 และความยาว 85 เมตร ช่วง กม.1+920 - กม.2+005 บริเวณที่ มี ผลกระทบด้านเสียงเกินค่ามาตรฐานที่กำหนด จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) และกุโบร์ บ้านทุ่งโต๊ะหยุม (กม.2+012) (รูปที่ 5.2.1-25 ถึงรูปที่ 5.2.1-27) - ขณะที่มีกิจกรรมทางศาสนาบริเวณกุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม (กม.2+012) ให้หยุดกิจกรรมการก่อสร้าง ชั่วคราวบริเวณใกล้เคียงกุโบร์จนเสร็จสิ้นกิจกรรม - ติด ตั้ งรั้วล้ อมพื้ น ที่ ก่อสร้างบริ เวณตั้ งแต่ จุด เริ่ม ต้ น โครงการตั้ งแต่ กม.0+150 - กม.0+500 ฝั่งตำบลเกาะกลางและช่วง กม.2+050 - กม.2+200 ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย - จำกัดความเร็วของรถบรรทุกขณะวิ่งผ่ านพื้นที่แหล่งชุมชนและพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม ไม่เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้ องตรวจสอบ/ดูแลเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ ก่อสร้างต่างๆ อย่าง สม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีและจัดหา/ติดตั้งอุปกรณ์ ลดเสียง เพื่อลดผลระดับความดังของการทำงานของ เครื่องจักร หรือปรับเปลี่ยนมาใช้เครื่องจักรที่มีสภาพใหม่ เพื่อลดผลระดับเสียงจากการใช้งาน - หลีกเลี่ยงการใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ที่ก่อให้เกิดเสียงดังพร้อมกัน - จั ด ให้ มี อุป กรณ์ ป้ องกัน เสี ย งสำหรับ เจ้ า หน้ า ที่ และคนงานก่อสร้า งที่ ป ฏิบั ติ งานอยู่ ในพื้ น ที่ ก่อสร้างที่มีเสียงดังเกินกว่า 90 เดซิเบล (เอ) เช่น ปลั๊กอุดหู (Ear Plug) ที่ครอบหู (Ear Muff) เป็นต้น พร้อมทั้ง กำหนดให้คนงานใช้เครื่องป้องกันในกรณีที่ทำงานในพื้นที่ที่มีเสียงดังหรือสับเปลี่ยนคนงาน - หากมีการร้องเรียนจากประชาชน เรื่อง เสียงดังรบกวนอันเนื่องจากการดำเนิ นงานโครงการ ให้ ผู้ รั บ จ้ า งก่ อ สร้ า งดำเนิ น การตรวจสอบหาสาเหตุ แ ละแก้ ไขผลกระทบที่ เกิ ด ขึ้ น พร้ อ มทั้ ง แจ้ ง ประชาชน ให้รับทราบถึงแนวทางแก้ไขและผลการแก้ไข 2) ระยะดำเนินการ - เมื่ อทำการก่อสร้างถนนโครงการแล้วเสร็จ ให้ ท ำการติด ตั้งกำแพงกัน เสีย งชนิ ด อะคริลิคใส (Acrylic) หรือวัสดุที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า สูง 2 เมตร หนา 15 มิลลิเมตร ความยาวกำแพง 85 เมตร บริเวณราว สะพานของโครงการ เพื่อป้องกันผลกระทบด้านเสียงต่อกุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม (กม.2+012) เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวมี การประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอยู่เป็นประจำ (รูปที่ 5.2.1-28 และรูปที่ 5.2.1-29) - ติดตั้งป้ายเครื่องหมายสัญญาณห้ ามบีบแตรบริเวณราวสะพานโครงการก่อนถึงบริเวณกุโบร์ ทุ่งโต๊ะหยุม เพื่อป้องกันเสียงแตรจากรถที่ใช้เส้นทางโครงการในขณะที่มีการประกอบพิธีที่กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม - ตรวจสอบและดูแลรักษาผิวจราจรของถนนโครงการให้ มีสภาพดี เพื่อลดแรงกระแทกระหว่าง ล้อยานพาหนะกับผิวจราจร - ตรวจสอบและดูแลรักษากำแพงกั น เสี ยงชนิ ด อะคริลิ คใส (Acrylic) บริเวณราวสะพานของ โครงการให้มีสภาพดี เพื่อป้องกันผลกระทบด้านเสียงต่อกุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม (กม.2+012) - ประสานงานกับตำรวจทางหลวงในพื้นที่ จังหวัดกระบี่ในการตรวจจับยานพาหนะที่ก่อให้ เกิด เสียงดัง และควบคุมความเร็วของยานพาหนะที่เข้ามาใช้เส้นทางของโครงการให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด กรมทางหลวงชนบท 5-26 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-25 แบบรายละเอียดกำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีท กรมทางหลวงชนบท 5-27 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-26 ตำแหน่งติดตังกำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีทบริเวณหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 5-28 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-27 ตำแหน่งติดตังกำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีทบริเวณกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม (กม.2+012) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 5-29 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.1-28 แบบรายละเอียดกำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใส กรมทางหลวงชนบท 5-30 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ่ โต๊ะหยุม (กม.2+012) ระยะดำเนินการ รูปที่ 5.2.1-29 ตำแหน่งติดตังกำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใสบริเวณกุโบร์บ้านทุง กรมทางหลวงชนบท 5-31 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.1.8 ความสั่นสะเทือน 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบจากความสั่นสะเทือนที่มีต่อพืนที่อ่อนไหวทางด้านสิ่งแวดล้อม - กิ จ กรรมก่ อสร้างที่ ก่ อให้ เกิ ด แรงสั่ น สะเทื อ นสู ง ให้ ด ำเนิ น การในช่ ว งเวลากลางวั น เท่ านั้ น (08.30-17.30 น.) - เลือกใช้เครื่องมือและเครื่องจักรที่ทำให้เกิดแรงกระแทกน้อย - จำกัดน้ำหนักบรรทุกให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนดอย่างเคร่งครัด - ตรวจสอบและบำรุ ง รักษาผิ วจราจรที่ ช ำรุ ด ขรุขระหรื อเป็ น หลุ ม บ่ อ บนเส้ น ทางการขนส่ ง เครื่องจักร/อุปกรณ์กอ่ สร้างให้อยู่ในสภาพดี รวมถึงถนนชั่วคราวสำหรับการเบี่ยงจราจร ตลอดช่วงการก่อสร้าง - จำกัดความเร็วรถบรรทุกขณะวิ่งผ่านพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้เข็มเจาะแทนเข็มตอกบริเวณพื้นที่ก่อสร้างที่มีอาคารบ้านเรือนและชุมชนอาศัยอยู่หนาแน่น - ติดตั้งป้ายจำกัดความเร็วในการขับขี่ของรถขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างโครงการ ก่อนถึงเขต ชุมชนและพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ยานพาหนะลดความเร็วลง ซึ่งช่วยลดแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้น - ผู้รับจ้างก่อสร้างโครงการต้องทำการถ่ายภาพและบันทึกข้อมูลสภาพของผนังอาคารบ้านเรือน และสิ่งก่อสร้างของประชาชนบริเวณตั้งแต่จุดเริ่มต้นโครงการ กม.0+000 ถึง กม.0+500 ก่อนดำเนินการก่อสร้าง เพื่อให้ทราบถึงลักษณะอาคารก่อนก่อสร้างโครงการ เพื่อใช้ในการตรวจสอบผลกระทบเมื่อมีข้อร้องเรียน - ในกรณี ที่มีเรื่องร้องเรียนหรือเกิดความเสียหายต่ออาคารและสิ่งปลูกสร้าง อันเนื่องจากความ สั่นสะเทือนที่เกิดจากกิจกรรมของโครงการ จะต้องดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นโดยเร็ว 2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบทควบคุมน้ ำหนั ก บรรทุ กของยานพาหนะที่ เข้ ามาใช้ เส้ นทางและตรวจสอบ อย่างต่อเนื่อง - ตรวจสอบสภาพพื้นผิวจราจร เช่น ความขรุขระรอยต่อบนผิวถนน ความไม่สม่ำเสมอของผิวจราจร ในกรณี ที่ พบว่ามี การชำรุดเสี ยหาย ให้ ดำเนิ นการซ่ อมแซมโดยเร็ว เพื่ อลดแรงกระแทกระหว่ างล้ อยานพาหนะ กับผิวถนน - ตรวจสอบและบำรุงรักษาผิวทาง ไหล่ทาง เส้นจราจร หลักกิโลเมตร สะพาน ไฟส่องสว่าง ให้มี สภาพดีอยู่เสมอ พร้อมทั้งตรวจสอบการติดตั้งป้ายบอกทาง ป้ายสัญญาณและสัญลักษณ์ต่างๆ ให้มีความเพียงพอ และอยู่ในสภาพดี สามารถมองเห็นได้ชัดเจนในระยะไกล โดยเฉพาะจุดที่สำคัญ เช่น บริเวณจุดเชื่อมต่อถนนโครงข่าย ควรมี การแจ้ งเตื อนบอกระยะทาง เพื่ อให้ ผู้ ใช้ ทางสามารถวางแผนการใช้ ช่ องทางจราจรได้ อย่ างเหมาะสมและ ปลอดภัย - กำหนดให้มีการติดตั้งเครื่องหมาย การปรับทิศทาง และการจำกัดความเร็วของยานพาหนะก่อน เริ่มต้นการบำรุงรักษาเส้นทาง เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการคมนาคม และป้องกันการเกิดอุบัติเหตุต่อผู้ใช้ทาง - หากมีการซ่อมแซมผิวทาง ไหล่ทาง และลาดคันทาง ต้องกำหนดให้บริษัทผู้รับจ้างก่อสร้าง/ ผู้รับจ้างติดตั้งป้ายเตือนล่วงหน้าในระยะ 1,000 เมตร เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้เส้นทาง - กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากสถานี ตำรวจภูธ รกระบี่และเจ้าหน้าที่ต ำรวจทางหลวง ให้ จัด เจ้า หน้ า ที่ มาตรวจตราดูแลไม่ให้ผู้ใช้ท างใช้ความเร็ว ในการขับขี่เกินเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด กรมทางหลวงชนบท 5-32 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.2 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ 5.2.2.1 ระบบนิเวศบก 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศบก - เนื่องจากผลกระทบด้านนิเวศบกเป็นผลกระทบต่อเนื่องมาจากผลกระทบด้านพืชในระบบนิเวศ และสัตว์ในระบบนิเวศ ดังนั้น จึงใช้มาตรการฯ ร่วมกับมาตรการป้องกันผลกระทบด้านพื ชในระบบนิเวศและ สัตว์ในระบบนิเวศอย่างเคร่งครัด - กำหนดเขตก่อสร้างให้ชัดเจนและควบคุมผู้รับจ้างก่อสร้างให้ดำเนินการก่อสร้างเฉพาะภายในเขต ก่อสร้างที่กำหนดไว้เท่านั้น - การตัดฟันต้นไม้และแผ้วถางพรรณพืชให้ดำเนินการเฉพาะที่จำเป็นเพื่อการก่อสร้างเท่านั้น - เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จให้ ดำเนิ นการปลูกป่ าชายเลนทดแทนภายหลังดำเนิ นโครงการ ซึ่งสัต ว์ ในระบบนิเวศสามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ - ออกระเบียบห้ามเจ้าหน้าที่ของบริษัทผู้รับจ้างก่อสร้างหรือผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องในพื้นที่ดำเนินการ แห่งนี้ ห้ามกระทำการใดๆ อันอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ และให้ยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด - หากพบเห็ น สั ต ว์ ป่ า ในพื้ น ที่ ก่ อ สร้ า งโครงการในระยะก่อ สร้า งต้ อ งให้ โอกาสกับ สั ต ว์ ป่ า ได้ หลบเลี่ยงออกไปจากพื้นที่ด้วยเส้นทางที่ปลอดภัย หรือช่วยเหลือ/รวบรวมส่งต่อยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะลั นตา สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด กระบี่ และสำนักจัดการ ทรัพยากรป่าไม้ที่ 12 สาขากระบี่ เพื่อนำไปปล่อยในพื้นที่ที่เหมาะสมที่มีระบบนิเวศใกล้เคียง 2) ระยะดำเนินการ ปฏิ บั ติ ต ามมาตรการป้ อ งกั น และแก้ ไขผลกระทบสิ่ งแวดล้ อ มด้ า นพื ช ในระบบนิ เวศและสั ต ว์ ในระบบนิเวศอย่างเคร่งครัด 5.2.2.2 นิเวศวิทยาทางนำ 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงนิเวศวิทยาทางนำ - ต้องปฏิบั ติตามมาตรการป้ องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้ านคุณ ภาพน้ำทะเลและ นิเวศวิทยาชายฝั่งอย่างเคร่งครัด - ออกแบบตอม่อสะพานลงในทะเลให้มีพื้นที่หน้าตัดให้น้อยที่สุดเพื่อลดการกีดขวางทางน้ำ - กิจกรรมการก่อสร้างในบริเวณใกล้กับลำน้ำ /ตลิ่งลำน้ำ โดยเฉพาะหากมีกิจกรรมการขุดดิน ริมตลิ่ง ต้องกำหนดขอบขอบหรือจำกัดระยะการขุดดินอย่างชัดเจน เฉพาะพื้นที่ที่มีการทำงานจริงเท่านั้น และ ต้องทำการบูรณะดูแลตลิ่งให้มีสภาพดังเดิมภายหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ - ต้อ งทำการติด ตั้ง ตาข่า ยขึง ด้า นล่า งโครงสร้า งสะพานตลอดระยะเวลาที่ท ำการก่อ สร้า ง เพื่อป้องกันเศษสิ่งวัสดุก่อสร้างร่วงหล่นไปในทะเล กรมทางหลวงชนบท 5-33 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องจัดเตรียมเรือท้องแบนสำหรับให้รถบรรทุกดินขุดเจาะเสาเข็มเจาะในทะเล ไปรับดินจากกระบะพักดินบนเรือท้องแบน เพื่อนำเรือท้องแบนขนดินไปยังท่าเรือบ้านคลองหมาก ฝั่งเกาะลันตาน้อย - ให้ทำการขนส่งเศษมวลดินและหินจากกิจกรรมขุดเจาะฐานรากในทะเลไปไว้ในพื้นที่กองดินฝั่ง เกาะลันตาน้อย โดยใช้เรือท้องแบนและรถบรรทุกวัสดุ ทำการขนส่งมายังพื้นที่กองเก็บบนฝั่ง ซึ่งต้องจัดเตรียม รถเครนขนาดใหญ่ตั้งอยู่บนฝั่ง เพือ ่ ทำการยกวัสดุขนึ้ รถบรรทุกลำเลียงมาตามถนน กบ.5035 - ติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณตอม่อสะพานตลอดระยะเวลาก่อสร้าง เพื่อลด ผลกระทบต่อการฟุ้งกระจายของตะกอนในทะเล - ตรวจสอบสภาพและบำรุงรักษาเครื่องจักรต่ างๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง เพื่อลดการรั่วไหลน้ำมัน ลงสู่ทะเลตามคู่มือการบำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์ - จัดให้มีวัสดุ/อุปกรณ์รองรับบริเวณที่จะมีการรั่วไหลของน้ำมันด้วยวัสดุดูดซับน้ำมัน - การติดตั้งและรื้อย้ายเสาท่าเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) ให้ดำเนินการในช่วงน้ำลงต่ำสุด พื้นที่ชายฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย จะมีลักษณะชายฝั่งที่ตื้นและแห้งเป็นระยะทางยาวจะส่งผลต่อการแพร่กระจาย ของตะกอนดิน - ใช้ระบบในการขุดเจาะเสาเข็ม โดยการกดปลอกเหล็กบริเวณชั้นบนของผิวท้องทะเลเพื่อการป้องกัน การฟุ้งกระจายของตะกอน - ป้องกันเศษดินที่ เกิดจากการขุดเจาะเสาเข็มร่วงหล่ นลงสู่ทะเลในขั้นตอนการขนถ่ายดินลงสู่ รถบรรทุก - ป้องกันไม่ให้สายลายโพลิ เมอร์และคอนกรีตรั่วไหลลงทะเลในขณะทำการหล่ อเสาเข็มเจาะ ในทะเลด้วยการติดตั้งกระบะป้องกันการล้น (Extended Casing) อยู่ที่ด้านบนของปลอกเหล็กเสาเข็มเจาะ 2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท จะต้องจัดถังรองรับขยะมูลฝอยให้มีปริมาณเพียงพอ ตั้งในบริเวณพื้นที่ จุดจอดรถฝั่งเกาะกลาง และประสานงานกับองค์กรบริหารส่วนตำบลเกาะกลางให้เข้ามาดำเนิน การรวบรวม ขยะมูลฝอยไปกำจัดอย่างสม่ำเสมอ - จัดให้มีอุปกรณ์ในการป้องกันการรั่วไหลของสารเคมีและน้ำมันเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ หากเกิด อุบัติเหตุของรถบรรทุ กสารเคมีบนสะพาน เช่น วัสดุในการดูดซับ ถังรองรับของรถที่เหมาะสม เป็นต้น ประจำ หมวดการทางคลองท่อม เพื่อป้องกันระงับเหตุในเบื้องต้น 5.2.2.3 นิเวศวิทยาชายฝั่ง 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงนิเวศวิทยาชายฝั่ง ผลกระทบต่อป่าชายเลน - ต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านสัตว์ป่าอย่างเคร่งครัด - การตัดฟันต้นไม้และแผ้วถางพรรณพืชให้ดำเนินการเฉพาะที่จำเป็นเพื่อการก่อสร้างเท่านั้น - ดำเนินการปลูกป่าชายเลนทดแทน ตามแนวทางปฏิบัติตามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง ว่าด้วยการปลูกป่าและบำรุงรักษาป่าชายเลน พ.ศ. 2564 กรมทางหลวงชนบท 5-34 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ▪ กรมทางหลวงชนบท ต้ อ งจั ด ตั้ ง งบประมาณให้ ก รมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ดำเนินการปลูกป่าชายเลนทดแทน 20 เท่า (1.2×20 = 24 ไร่) ของพื้นที่ป่าชายเลนที่ต้องสูญเสียไป โดยพนักงาน เจ้าหน้าที่ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เป็นผู้สำรวจ คัดเลือกพื้นที่และกำหนดชนิดพันธุ์ไม้ที่เหมาะสม ในการปลูกและบำรุงรักษา ▪ กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ในการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายปลูกป่าชายเลนทดแทนในปีที่ 1 ระยะดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง (อายุ 2-6 ปี) เป็นเวลา 5 ปี โดยให้กรม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งพิจารณาพื้นที่ที่ เหมาะสมในการปลูกป่าชายเลนทดแทนที่ต้องสูญเสียไปจากการ ดำเนินโครงการ ▪ การปลู ก และบำรุ ง ป่ า ชายเลนทดแทนเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ ห รื อ รัก ษาสภาพแวดล้ อ ม ให้ ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดที่ดำเนินโครงการ หรือในพื้นที่จังหวัดใกล้เคียงตามลำดับ ผลกระทบต่อปะการังและหญ้าทะเล - ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเลและทรัพยากรดินอย่างเคร่งครัด - ควบคุม และป้องกัน ผลกระทบที่ เกิด จากตะกอนชายฝั่ง การขุด เปิด หน้าดิน บนที่สูงชายฝั่ง การขุดลอกร่องน้ำที่มี แนวหญ้าทะเลอยู่ใกล้เคียง และการพัฒนาชายฝั่งในรูปแบบต่างๆ เพื่อป้องกันการชะล้าง พังทลายของหน้าดินใกล้ชายฝั่ง ลดปริมาณตะกอนที่จะไหลลงสู่ทะเลซึ่งจะส่ งผลกระทบต่อหญ้าทะเลโดยตรง และเพื่อให้หญ้าทะเลสามารถฟื้นตัวได้เองตามธรรมชาติ - ตรวจสอบสภาพและบำรุงรักษาเครื่องจักรต่างๆ ที่ใช้ในการก่อสร้างให้อยู่ในสภาพดี เพือ ่ ป้องกัน ่ ไหลของน้ำมันเครือ การรัว ่ งลงสู่ทะเล - จัดระเบียบการสัญจรทางน้ำ กำหนดแนวเดินเรือ หรือรณรงค์เพื่อหลีกเลี่ยงการเดินเรือผ่าน แนวหญ้าทะเล ตลอดจนการวางทุ่นบอกแนวเขตแนวหญ้าทะเล - ห้ามดำเนินการก่อสร้างในเขตพื้นที่ปะการังและหญ้าทะเล - ออกแบบตอม่อสะพานของโครงการ ต้องไม่อยู่ในขอบเขตแนวปะการังและหญ้าทะเล - ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 132 ตอนที่ 21 ก ลงวันที่ 26 มีนาคม 2558 - ห้ามจอดเรือโดยการทิ้งสมอเรือบริเวณแนวปะการังและหญ้าทะเล - ห้ามทิ้งขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล น้ำเสีย มลพิษ ลงในทะเล ที่อาจมีผลกระทบต่อคุณภาพน้ำทะเล อันจะส่งผลกระทบให้เกิดความเสียหายต่อปะการัง - ห้ามการขุดลอกร่องน้ำในแนวปะการัง - ห้ามการกระทำกิจกรรมใดๆ ที่ก่อให้เกิดตะกอนลงสู่ แนวปะการังและหญ้าทะเลอันจะส่งผล กระทบให้เกิดความเสียหายต่อปะการังและหญ้าทะเล - กำหนดเขตก่อสร้างให้ชัดเจนและควบคุมผู้รับจ้างก่อสร้างให้ดำเนินการก่อสร้างเฉพาะภายใน เขตก่อสร้างที่กำหนดไว้เท่านั้น - ห้ามค้นหา ล่อ จับ ได้มา เก็บสัตว์น้ำหรือการกระทำใดๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อล่อ จับ ได้มา หรือ เก็บสัตว์น้ำในบริเวณแนวปะการัง - ห้ามให้อาหารปลาและสัตว์น้ำในแนวปะการัง - ห้ามการเดินเหยียบย่ำปะการังและหญ้าทะเล - ขณะก่อสร้างสะพานโครงการ ให้ทำการติดตั้งตาข่ายและอุปกรณ์ป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล กรมทางหลวงชนบท 5-35 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ป้องกันไม่ให้สายลายโพลิเมอร์และคอนกรีตรั่วไหลลงทะเลในขณะทำการหล่อเสาเข็ม เจาะใน ทะเลด้วยการติดตั้งกระบะป้องกันการล้น (Extended Casing) อยู่ที่ด้านบนของปลอกเหล็กเสาเข็มเจาะ ดังแสดง ในรูปที่ 5.2.2-1 รูปที่ 5.2.2-1 กระบะป้องกันการล้น (Extended Casing) - ห้ามคนงานก่อสร้างทิ้งขยะและเศษวัสดุต่างๆ ลงสู่ทะเล - ห้ามล้างเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อสร้างต่างในทะเล - กรมทางหลวงชนบท สนั บสนุ นงบประมาณให้ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งตามความ เหมาะสม เพื่ อส่ งเสริ ม การศึ กษา การรณรงค์ และเผยแพร่ ความรู้ เกี่ ย วกั บ ปะการั งและหญ้ าทะเล จั ด ทำสื่ อ ประชาสัมพั นธ์ให้ตรงกลุ่มเป้ าหมาย เช่น ชาวประมง หรือผู้ที่เข้าไปใช้ประโยชน์จากแหล่งปะการังและหญ้าทะเล ตลอดจนประชาชนทั่วไปให้ตระหนักถึงความสำคัญของปะการังและหญ้าทะเล รวมทั้งทรัพยากรชายฝั่ง ตลอดจน สร้างแรงจูงใจให้เกิดความร่วมมือในการอนุรักษ์ ป้องกันและแก้ไขปัญหาหรือภัยคุกคามต่างๆ เพื่อให้คงสภาพเดิมไว้ - กรมทางหลวงชนบท สนับสนุนงบประมาณติดตามตรวจสอบสถานภาพและปัญหา รวมทั้งการ ฟื้นฟูสภาพเสื่อมโทรมของปะการังและหญ้ าทะเลที่อยู่โดยรอบพื้นที่โครงการ ให้แก่กรมทรัพ ยากรทางทะเล และชายฝั่งตามความเหมาะสม 2) ระยะดำเนินการ - 5.2.2.4 สัตว์ในระบบนิเวศ 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการรบกวนแหล่งอาศัย แหล่งหากินและแหล่งหลบภัยของสัตว์ป่า - ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านสัตว์หายากและพืช ในระบบ นิเวศอย่างเคร่งครัด - กรมทางหลวงชนบท ต้องประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่ งทะเล สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ และสำนั กจัดการทรัพ ยากรป่าไม้ที่ 12 สาขากระบี่ เพื่อนำเสนอแผนการก่อสร้างโครงการ เช่น ขอบเขตพื้นที่โครงการ กิจกรรมก่อสร้าง และมาตรการป้องกันผลกระทบที่สำคัญต่างๆ กรมทางหลวงชนบท 5-36 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - กรมทางหลวงชนบท ต้องเน้นย้ำให้ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องปฏิบัติตามข้อกฎหมายด้านทรัพยากรป่า ไม้ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม ที่บังคับใช้ในพื้นที่อย่างชัดเจน และไม่ดำเนินการในสิ่งที่ไม่บังควร เช่น การยิงปืน การ จัดประทัด การล่าสัตว์ป่าในพื้นที่ดำเนินการและพื้นที่ข้างเคียง การจุดไฟเผาที่อาจเกิดลุกลามไปยังพื้นที่ข้างเคียง การอนุ ญ าตให้ ผู้ อื่น มาทำการสิ่ งใดแทนตนเอง โดยไม่ แจ้ งให้กรมทางหลวงชนบทที่ เป็ น คู่สัญ ญา รวมทั้ งฝ่ าย ปกครองที่เกี่ยวข้องทราบ - กำหนดเขตก่อสร้างให้ชัดเจนและควบคุมผู้รับจ้างก่อสร้างให้ดำเนินการก่อสร้างเฉพาะภายใน เขตก่อสร้างที่กำหนดไว้เท่านั้น - ตัดฟันต้นไม้และแผ้วถางพรรณพืชให้ดำเนินการเฉพาะที่จำเป็นเพือ ่ การก่อสร้างเท่านั้น - ไม่ตัดฟันต้นไม้ที่มีนกกำลังสร้างรัง (ทั้งรังประเภทใช้วัสดุต่างๆ และโพรงรังที่ลำต้น) วางไข่ เลี้ยง ดูลูกอ่อน ต้องให้โอกาสกับนกดำเนินกิจกรรมดังกล่าวให้แล้วเสร็จ - ห้ามเจ้าหน้าที่ หรือคนงานก่ อสร้า ง ดักจับ หรือล่ าสั ตว์ป่ า ในพื้ น ที่ โครงการตลอดช่ วงดำเนิ น กิจกรรมก่อสร้างของโครงการ - หากพบเห็นสัตว์ป่าในพื้นที่ก่อสร้างโครงการในระยะก่อสร้างต้องให้โอกาสกับสัตว์ป่าได้หลบเลี่ยง ออกไปจากพื้ นที่ ด้วยเส้ นทางที่ ปลอดภัย หรือช่วยเหลื อ /รวบรวมส่งต่อยังหน่ วยงานที่เกี่ย วข้อง เช่ น อุท ยาน แห่งชาติหมู่เกาะลันตา สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ และสำนักจัดการทรัพยากร ป่าไม้ที่ 12 สาขากระบี่ เพือ่ นำไปปล่อยในพื้นที่ที่เหมาะสมที่มีระบบนิเวศใกล้เคียง - ระวังปัจจัยเสี่ยงด้านเสียง แสง ความสั่นสะเทือน และคุณภาพอากาศที่เกินค่ามาตรฐานกำหนด โดยดำเนินการตามมาตรการเหล่านี้อย่างเคร่งครัด - ในกรณีที่พบลูกอ่อนของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น นากใหญ่ขนเรียบ ลิงแสม เป็นต้น ต้องปล่อย ให้ อยู่ตามลำพัง เพราะตัวแม่มั กจะหลบซ่อนอยู่ในบริเวณใกล้เคี ยงและกลับ มาหาลูกในเวลากลางคืน และพา ลูกอ่อนออกไปเอง - จัดเตรียมอุปกรณ์ ที่เป็นประโยชน์ของคนงานก่อสร้างและพนักงานที่ ปฏิบัติงานในพื้นที่ เมื่อ พบเห็นสัตว์ป่าในระยะก่อสร้าง ได้แก่ ▪ ถุงมือ ที่ช่างสวมใส่ทั่วไปเพื่อลดความเสี่ยงการบาดเจ็บจากการกัดและข่วนของสัตว์ป่า ▪ ไม้ กวาด แปรงปั ด ที่ ท ำจากวัส ดุธ รรมชาติที่ มีความอ่อนนิ่ ม ใช้ปั ด เขี่ย และดัน สัต ว์ป่ า ขนาดตัวเล็ก ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลาน ▪ ผ้าขนหนูหรือผ้าเช็ดตัวที่สะอาดและไม่ปนเปื้อนสิ่งอื่นๆ โดยเฉพาะสารเคมี ผงฝุ่น เป็นต้น และกล่องพลาสติกขนาดต่างๆ ที่มีฝาปิดและช่องระบายอากาศ เพื่อช่วยจับคลุมสัตว์ป่ าขนาดเล็กที่พบบาดเจ็บ และ/หรือลูกสั ตว์ที่ถูกทิ้งตามลำพั ง และนำมากักขังชั่วคราวในกล่องดังกล่าว และนำส่ งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ อนึ่งกล่องกระดาษขนาดเล็กที่ไม่เคลือบแว็กซ์เหมาะสำหรับใส่/กักขังนกขนาดเล็กไว้ชั่วคราว - ติดป้ายห้ามให้อาหารลิง เพื่อลดปัญหาขัดแย้งระหว่างคนและสัตว์ป่า รวมทั้งป้องกันผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของสัตว์ป่าเนื่องจากพื้นที่จุดชมวิวที่เกิดจากโครงการ (รูปที่ 5.2.2-2) - ติดตั้งป้ายเตือนให้ลดความเร็วหรือจากัดความเร็วของรถยนต์ เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้ น กับสัตว์ป่าหรือลิงที่ข้ามถนน (รูปที่ 5.2.2-3) - ใช้ “ถังขยะกันลิงรื้อค้น” ในบริเวณโครงการเพื่อลดอุบัติการณ์การคุ้ยขยะของลิง (รูปที่ 5.2.2-4) - ติดตั้งป้ายเตือนให้ลดการใช้แตรหรือห้ามใช้ สัญญาณแตร เพื่อป้องกันผลกระทบด้านเสียงต่อ สัตว์ป่าและแหล่งชุมชน กรมทางหลวงชนบท 5-37 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.2-2 ตัวอย่างการติดป้ายห้ามให้อาหารลิง (DO NOT FEED THE MONKEYS) รูปที่ 5.2.2-3 ตัวอย่างป้ายเตือนให้ลดความเร็ว กรมทางหลวงชนบท 5-38 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตำแหน่งติดตัง ังขยะกันลิงรือค้นบริเวณพืนที่ว่างของลานจอดร ใกล้กับทางขน-ลงไปจุดชมวิวโครงการ รูปที่ 5.2.2-4 ตัวอย่าง ังขยะกันลิงรือค้น กรมทางหลวงชนบท 5-39 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - กรมทางหลวงชนบท สนับสนุนงบประมาณให้กับเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเลตามความเหมาะสม เพื่อควบคุมประชากรลิงแสมและการฟื้นฟูระบบนิเวศและถิ่นอาศัยของลิง ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชน และนักท่องเที่ยว - ผู้รับ จ้างก่ อสร้างพิ จารณาลดแรงสั่ น สะเทื อนดั งกล่ าวให้ มี น้ อยที่ สุ ด ที่ ผ่ านตั วกลางดั งกล่า ว โดยเฉพาะจากระดับผิวดินเลนถึงระดับความลึกประมาณ 50 เซนติเมตรที่เป็นการแพร่กระจายของสัตว์หน้าดิน ที่เป็นแหล่งอาหาร - การจราจรทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ก่อสร้าง ขนส่งวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง และควบคุมความเร็ว ของรถบรรทุกวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง ทั้งนี้เพื่อลดผลกระทบด้านเสียงและความสั่นสะเทือนต่อสัตว์ป่า - ติดตั้งฉากกั้นเสียงล้อมรอบ เพื่อป้องกันผลกระทบด้านเสียงรบกวน ไม่ดำเนินกิจกรรมต่างๆ ่ ให้เกิดเสียงดังพร้อมกันในเวลาเดียวกัน ที่กอ - หลีกเลี่ยงการดำเนินกิจกรรมใดๆ ในระหว่างเวลา 17.00-08.00 น. เพื่อมิให้แสงไฟและเสียง เครื่องจักรกลและเครื่องยนต์รบกวนการหากินของสัตว์ป่าที่หากินกลางคืน 2) ระยะดำเนินการ - ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือนอย่าง เคร่งครัด เพื่อลดผลกระทบต่อชุมชนและสัตว์ป่าในพื้นที่ - ป้องกันผลกระทบด้านเสียงจากการคมนาคมบนสะพานโครงการ ในช่วงฤดูกาลอพยพของนกน้ำ และนกชายเลน (เดือนตุลาคม-พฤศจิกายน และเดือนมีนาคม-เมษายน) ทั้งนี้เพื่อการลดมลพิษทางเสียงต่อสัตว์ป่า โดยเฉพาะเสียงที่ เกิดจากผิวหน้ายางล้อรถยนต์ลักษณะต่างๆ ที่เคลื่อนที่เสียดสีกับพื้ นผิวถนน จะก่อให้ เกิดเสียง ที่รบกวนสัตว์ป่าด้วยการจำกัดและควบคุมความเร็วของการเคลื่อนที่ของยานพาหนะไม่เกิน 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง - ติดตั้งแสงสว่างบนสะพานเชื่อมเกาะลันตาเท่าที่จำเป็น โดยมีคุณสมบัติ sodium light ที่ให้ช่วง คลื่นแสงดึงดูดแมลงน้อยและเป็นโคมไฟส่ องสว่างแบบ focused beam และใช้สัญลักษณ์ และ/หรือป้ายจราจร ทางหลวง รวมทั้งแนวเส้นขอบทาง เส้นแบ่งช่องทางที่สะท้อนแสงจากไฟส่องสว่างจากยานพาหนะ 5.2.2.5 พืชในระบบนิเวศ 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการสูญเสียพืชในระบบนิเวศ - ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ กรมป่าไม้ เพื่อตรวจสอบขอบเขตพื้นที่ก่อสร้างให้ชัดเจนก่อนการ ดำเนินการก่อสร้าง/ปรับพื้นที่ - กำหนดเขตก่อสร้างให้ชัดเจนและควบคุมผู้รับจ้างก่อสร้างให้ดำเนินการก่อสร้างเฉพาะภายใน เขตก่อสร้างเท่านั้น - กำหนดให้ ผู้รั บ จ้างก่ อสร้างจั ดทำบั ญ ชีรายชื่อต้ น ไม้ในเขตทาง เพื่ อตรวจสอบจำนวนต้น ไม้ และตำแหน่งของต้นไม้ที่จะต้องตัดออกจากบริเวณที่จะทำการก่อสร้างให้ชัดเจน โดยระบุพิกัด ชนิด จำนวน ขนาด ความสูง และบริเวณที่พบให้ค รบถ้วน พร้อมทั้งทำเครื่องหมายไว้บนต้นไม้ที่จะตัด เพื่อหลีกเลี่ ยงการตัดต้นไม้ บริเวณนอกแนวก่อสร้าง โดยให้ตัดออกเฉพาะที่มีความจำเป็นเท่านั้น - การล้มต้นไม้ จะต้องกำหนดทิศทางการล้มให้จำกัดอยู่ในพื้นที่ก่อสร้างเท่านั้น เพื่อไม่ให้ไม้ที่ล้ม ไปรบกวนต้นไม้นอกพื้นที่ก่อสร้าง โดยใช้หลักวิชาการทำไม้และเมื่อตัดต้นไม้ ออกแล้ว ต้องเก็บรวบรวมเศษซาก ต่างๆ ออกให้หมด กรมทางหลวงชนบท 5-40 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ออกระเบียบห้ามเจ้าหน้าที่ของบริษัทผู้รบ ั จ้างก่อสร้างหรือผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องในพื้นที่ดำเนินการ แห่งนี้ ห้ามกระทำการใดๆ อันอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า และทรัพยากรธรรมชาติ อื่นๆ และให้ยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด - การตัดฟันไม้หวงห้ามประเภท ก. (ไม้หวงห้ามธรรมดา) จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก ตะบูนขาว ตะบูนดำ โปรงแดง และส้านใหญ่ จะต้องปฏิบัติตามระเบียบของกรมป่าไม้ กฎกระทรวง การขออนุญาต และการอนุญาตทำไม้หวงห้าม พ.ศ. 2560 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560 การปลูกป่าทดแทน (ป่าสงวนแห่งชาติ) - กรมทางหลวงชนบท ต้องจัดตั้งงบประมาณให้กรมป่าไม้ดำเนินการปลูกป่าทดแทนเป็น 3 เท่า (4×3 = 12 ไร่) ของพื้นที่ป่าไม้ที่ต้องสูญเสียไป โดยในบริเวณพื้นที่โครงการหรือปลูกในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมอื่น ๆ โดยเฉพาะพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่อยู่ใกล้เคียงโครงการ และบำรุงรักษาดูแลกล้าไม้ที่ปลูกให้รอดตาย พร้อมทั้ง ปลูกซ่อมแซมในส่วนที่ตาย รวมทั้งป้องกันไฟป่าที่อาจจะเกิดขึ้น - กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับกรมป่าไม้ในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการปลูกป่าทดแทน ในปีที่ 1 ในระยะดำเนินการและบำรุงรักษาอย่างต่อเนื่อง (อายุ 2-10 ปี) เป็นเวลา 9 ปี โดยให้กรมป่าไม้พิจารณา พื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกป่าทดแทนพื้นที่ป่าที่ต้องสูญเสียไปจากการดำเนินโครงการ การปลูกป่าชายเลนทดแทน - กรมทางหลวงชนบท ต้องจัดตั้งงบประมาณให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ดำเนินการ ปลูกป่าชายเลนทดแทน 20 เท่า (1.2×20 = 24 ไร่) ของพื้นที่ป่าชายเลนที่ต้องสูญเสียไป โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เป็นผู้สำรวจ คัดเลือกพื้นที่และกำหนดชนิดพันธุ์ไม้ที่เหมาะสมในการปลูก และบำรุงรักษา - กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ในการสนับสนุ น ค่าใช้จ่ายปลูกป่าชายเลนทดแทนในปีที่ 1 ระยะดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง (อายุ 2-6 ปี) เป็นเวลา 5 ปี โดยให้ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งพิ จารณาพื้ นที่ ที่เหมาะสมในการปลู กป่าชายเลนทดแทนที่ ต้องสู ญ เสี ยไป จากการดำเนินโครงการ - การปลูกและบำรุงป่าชายเลนทดแทนเพื่อการอนุรักษ์หรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้ดำเนินการ ในพื้นที่จังหวัดที่ดำเนินโครงการ หรือในพื้นที่จังหวัดใกล้เคียงตามลำดับ - ดำเนินการตามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการปลูกบำรุงป่าชายเลน ทดแทนเพื่อการอนุรักษ์หรือรักษาสภาพแวดล้อม กรณีการดำเนินการโครงใดๆ ของหน่วยงานรัฐที่มีความจำเป็น ต้องเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชายเลน พ.ศ. 2556 - ดำเนิ นการตามแนวทางปฏิบัติต ามระเบียบกรมทรัพ ยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการ ปลูกป่าและบำรุงรักษาป่าชายเลน พ.ศ. 2564 เพื่อให้การปฏิบัติเกี่ยวกับการปลูกป่าและบำรุงป่าชายเลนเป็นไป ในทางเดียวกัน 2) ระยะดำเนินการ การปลูกป่าทดแทน (ป่าสงวนแห่งชาติ) - กรมทางหลวงชนบท ต้องจัดตั้งงบประมาณให้กรมป่าไม้ดำเนินการดูแลและบำรุงรักษาต้นไม้ หลังปลูก ต้องมีการรดน้ำในกรณีฝนไม่ตก ดินแห้ง กำจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้ ควรให้ปุ๋ยสูตร 15-30-15 รอบโคนต้นบริเวณตุ้มดิน ทุก 2-3 สัปดาห์ เป็นระยะเวลา 3 เดือน เพื่อเร่งการเจริญและแผ่ขยายของเรือนราก หากพบว่าต้นไม้ตายหรือเสียหายให้ทำการปลูกซ่อมหรือปลูกทดแทน กรมทางหลวงชนบท 5-41 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม การปลูกป่าชายเลนทดแทน - กรมทางหลวงชนบท ต้องจัดตั้งงบประมาณให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ดำเนินการ ดูแลและบารุงรักษาไม้ชายเลนหลังปลูก ต้องทำการแผ้วถางวัชพืชรอบโคนต้นไม่น้อยกว่าปีละ 1 ครั้ง และกำจัด ศัตรูพืชอื่น ตามความจำเป็น ด้วยวิธีการที่เหมาะสม เพื่อให้กล้าไม้แข็งแรงและมีอัตราการรอดตายสูง ภายหลัง การปลูก - ตรวจนับอัตราการรอดตายและให้ปลูกทดแทนต้นที่ ตายหรือคาดว่าจะตายโดยทันที ภายหลัง จากการทำแผ้วถางวัชพืช หรือกำจัดศัตรูพืชอื่นแล้ว 5.2.2.6 สิ่งมีชีวิตที่หายาก 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตที่หายาก ผลกระทบต่อโลมา - หลีกเลี่ยงการก่อสร้างฐานรากสะพานในฤดูมรสุมช่วงเดือนพฤษภาคม-กันยายน เพื่อป้องกัน ผลกระทบต่อเส้นทางว่ายน้ำของโลมา - หากพบเห็นโลมาเข้ามาในพื้นที่ก่อสร้าง ให้หยุดกิจกรรมก่อสร้างโครงการที่ อยู่ในทะเลทันที และรอจนกว่าโลมาว่ายน้ำออกนอกพื้นที่ก่อสร้างเกินกว่า 500 เมตร - ในขณะดำเนินกิจกรรมก่อสร้าง ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องปฏิบัติตามแผนการติดตามผลกระทบ ต่อโลมาปากขวดและโลมาหัวโหนก (รูปที่ 5.2.2-5) ดังนี้ ▪ ล่องเรือสำรวจและหยุดเรือตามจุดสำรวจ กำหนดระยะ ยาว 500 เมตร กว้าง 500 เมตร จำนวน 2 แถว ทั้งด้านทิศเหนือและทิศใต้ของสะพานโครงการ ▪ เจ้าหน้าที่ใช้กล้องสำรวจบริเวณผิวน้ำประจำอยู่บนเรือ ▪ หากพบโลมาเข้ามาในพื้นที่เฝ้าระวัง จะทำการแจ้งเตือนให้ฝ่ายก่อสร้างทราบทันที ทั้งทาง โทรศัพท์และการใช้สัญญาณเสียงแตรลม เพือ ่ ให้หยุดกิจกรรมก่อสร้างชั่วคราว ▪ เฝ้าสังเกตและจดบันทึก จนกว่าโลมาจะว่ายออกไปจากพื้นที่เฝ้าระวัง - ห้ามล้าง/ทำความสะอาดเครื่องมือ/เครื่องจักร และห้ามทิ้งขยะ สารเคมี และน้ำมันเครื่องที่ใช้ แล้วในแหล่งน้ำทะเล - จัดเก็บวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้างให้เป็นระเบียบเรียบร้อยในที่ที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน การตกลงไปในทะเล - ตรวจสอบสภาพของเครื่องจักรที่ใช้ก่อสร้าง อาทิเช่น รถที่ใช้ในงานก่อสร้าง ป้องกันมิให้น้ำมัน ่ ง มีการรั่วไหลปนเปื้อนลงสู่ทะเล เชื้อเพลิงและน้ำมันเครือ - หากพบสัตว์ทะเลหายากเกยตื้น เช่น โลมา เต่าทะเล ให้ติดต่อสำนักงานทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่งที่ 10 (กระบี่) เพื่อดำเนินการช่วยเหลือต่อไป กรมทางหลวงชนบท 5-42 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.2-5 แผนการติดตามผลกระทบต่อโลมา ผลกระทบต่อนากใหญ่ขนเรียบ - ต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านระบบนิเวศวิทยาทางน้ำ สัตว์ในระบบ นิเวศ และพืชในระบบนิเวศอย่างเคร่งครัด - กำหนดเขตก่อ สร้า งให้ชัด เจนและควบคุม ผู้รับ จ้า งก่อ สร้ า งให้ด ำเนิน การก่อ สร้า งเฉพาะ ภายในเขตก่อสร้างเท่านั้น - การตัดฟันต้นไม้และแผ้วถางพรรณพืชให้ดำเนินการเฉพาะที่จำเป็นเพื่อการก่อสร้างเท่านั้น - ห้ามเจ้าหน้าที่หรือคนงานก่อสร้าง ดักจับ หรือล่าสัตว์ป่าในพื้นที่โครงการตลอดช่วงดำเนิน กิจกรรมก่อสร้างของโครงการ - ออกระเบียบห้ามเจ้าหน้าที่ของบริษัทผู้รับจ้างก่อสร้างหรือผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องในพื้นที่ดำเนินการ แห่งนี้ ห้ามกระทำการใดๆ อันอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรป่ าไม้สัตว์ป่า และทรัพยากรธรรมชาติ อื่นๆ และให้ยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด กรมทางหลวงชนบท 5-43 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - หากพบเห็น นากใหญ่ ขนเรียบ (Lutrogale perspcillata) ในพื้ นที่ก่อสร้างโครงการในระยะ ก่อสร้างต้องให้โอกาสกับสัตว์ป่าได้หลบเลี่ยงออกไปจากพื้นที่ด้วยเส้นทางที่ปลอดภัย หรือช่วยเหลือ/รวบรวมส่ง ต่อยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง เช่น อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติแ ละสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ และสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 12 สาขากระบี่ เพื่อนำไปปล่อยในพื้นที่ที่เหมาะสมที่มีระบบ นิเวศใกล้เคียง - ระวังปัจจัยเสี่ยงด้านเสียง แสง ความสั่นสะเทือน และคุณภาพอากาศที่เกินค่ามาตรฐานกำหนด โดยดำเนินการตามมาตรการเหล่านี้อย่างเคร่งครัด - ในกรณีที่พบลูกอ่อนของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น นากใหญ่ขนเรียบ ลิงแสม เป็นต้น ต้องปล่อย ให้ อยู่ตามลำพัง เพราะตัวแม่มั กจะหลบซ่อนอยู่ในบริเวณใกล้เคียงและกลับมาหาลูกในเวลากลางคืน และพา ลูกอ่อนออกไปเอง - จัด เตรีย มอุป กรณ์ที่เป็น ประโยชน์ข องคนงานก่อ สร้า งและพนักงานที ่ ป ฏิบัติง านในพื้น ที ่ เมื่อพบเห็นสัตว์ป่าในระยะก่อสร้าง ได้แก่ ▪ ถุงมือ ที่ช่างสวมใส่ทั่วไปเพื่อลดความเสี่ยงการบาดเจ็บจากการกัดและข่วนของสัตว์ป่า ▪ ไม้ ก วาด แปรงปั ด ที่ ท ำจากวัส ดุธ รรมชาติที่ มีความอ่อ นนิ่ ม ใช้ปั ด เขี่ย และดัน สัต ว์ป่ า ขนาดตัวเล็ก ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลาน ▪ ผ้าขนหนูหรือผ้าเช็ดตัวที่สะอาดและไม่ปนเปื้อนสิ่งอื่นๆ โดยเฉพาะสารเคมี ผงฝุ่น เป็นต้น และกล่องพลาสติกขนาดต่างๆ ที่มีฝาปิดและช่องระบายอากาศ เพื่อช่วยจับคลุมสัตว์ป่าขนาดเล็กที่พบบาดเจ็บ และ/หรือลูกสัตว์ที่ถูกทิ้งตามลำพั ง และนำมากักขังชั่วคราวในกล่ องดังกล่าว และนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ อนึ่งกล่องกระดาษขนาดเล็กที่ไม่เคลือบแว็กซ์เหมาะสำหรับใส่/กักขังนกขนาดเล็กไว้ชั่วคราว - ผู้รับ จ้างก่อสร้างพิ จารณาลดแรงสั่ น สะเทื อนดั งกล่ าวให้ มี น้ อยที่ สุ ด ที่ ผ่ า นตั วกลางดั งกล่า ว โดยเฉพาะจากระดับผิวดินเลนถึงระดับความลึกประมาณ 50 เซนติเมตร ที่เป็นการแพร่กระจายของสัตว์หน้าดินที่ เป็นแหล่งอาหารของนากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspcillata) - จัดที่จอดรถขนส่งคนงาน/ช่าง และวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างให้อยู่ในพื้นที่ก่อสร้าง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งให้อยู่ห่างจากบริเวณแปลงสำรวจสัตว์ป่าพบรอยตีน กองมูล และร่องรอยเกลือกกลิ้งของนากใหญ่ขนเรียบ ทั้งนี้ เพื่อลดผลกระทบการถูกรบกวนด้าน visualized appearance และการถูกรบกวนด้านเสียง - ช่องเปิด (ถ้ามี) ที่เกิดจากงานเสาเข็มเสร็จแล้วต้องกลบหรื อปิดทันที เพื่อกันสัตว์ป่าตกลงไป โดยเฉพาะนากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspcillata) 2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท 5-44 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.3 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 5.2.3.1 การคมนาคมขนส่ง 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการกีดขวางหรือเป็นอุปสรรคต่อการสัญจร/การจราจรของโครงข่ายเส้นทางคมนาคม ในท้อง น ิ่ การคมนาคมทางบก - ประชาสัมพันธ์แผนงานโครงการ ให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบตั้งแต่ในช่วงก่อนการเตรียมพื้นที่ เพื่อก่อสร้าง ต่อเนื่องจนการก่อสร้างแล้วเสร็จ - จั ด ทำป้ า ยประชาสั ม พั น ธ์ ข นาดใหญ่ โดยมี เนื้ อ หา ประกอบด้ ว ย แผนที่ พื้ น ที่ ด ำเนิ น การ กำหนดการก่อสร้าง ระยะเวลาดำเนินการก่อสร้าง และบริษัทผู้รับจ้างก่อสร้าง งบประมาณ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ผู้รับจ้างก่อสร้าง และเจ้าของงาน (กรมทางหลวงชนบท) สามารถเห็ นได้ชัดเจน ติดตั้งก่อนการก่อสร้าง 2 เดือน จำนวน 2 แห่ง ที่บริเวณจุดเริ่มต้นก่อสร้างโครงการ (กม.0+000) และจุดสิ้นสุดการก่อสร้างโครงการ (กม.2+527) - เตรียมแผนการจั ดจราจรให้ แล้วเสร็จก่อนเริ่มการก่ อสร้างโครงการ ตามแสดงรายละเอีย ด ในบทที่ 2 ที่ ผ่านมา โดยจัดให้ มีแผงกั้น กรวย เครื่องหมายจราจรบนผิวทางและติดตั้งป้ ายเตือนเขตก่อสร้าง ตลอดจนติดตั้งสัญญาณไฟให้ชัดเจน ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ตามคู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจร ในงานก่อสร้าง เพือ ่ ป้องกันอันตรายต่อการใช้ทาง - ต้องทำการติดตั้ งตาข่ายขึงด้านล่ างโครงสร้างสะพานตลอดระยะเวลาที่ ทำการก่อสร้าง โดย เฉพาะงานสะพานที่ก่อสร้างบนพื้นดิน เพื่อป้องกันเศษสิ่งวัสดุก่อสร้างร่วงหล่นเป็นอันตรายต่อผู้ใช้เส้นทาง (รูปที่ 5.2.3-1) รูปที่ 5.2.3-1 ตัวอย่างการติดตังรัวตาข่ายป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากที่สูง กรมทางหลวงชนบท 5-45 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยอำนวยความสะดวกด้านการจราจรแก่ยานพาหนะที่ สัญจรไป -มา บนแนวเส้นทางโครงการขณะมีกิ จกรรมก่อสร้าง เพื่อทำหน้าที่ควบคุมในการหยุดการจราจรขณะมีการเข้า-ออก ของยานพาหนะขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างหรือบริเวณที่มีการเคลื่อนย้ายเครื่องจักร โดยเฉพาะช่วงที่ผ่านพื้นที่ ชุมชน - ติดสติ๊กเกอร์บริเวณกระบะท้ายรถบรรทุกและเครื่องจักรของโครงการ ที่ระบุบริษัทผู้ดำเนินการ และหมายเลขโทรศัพท์ เพื่อการร้องเรียน - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องติดตั้งป้ายโครงการ ผู้รับผิดชอบ หมายเลขโทรศัพท์ ที่ยานพาหนะที่มี การขนส่งวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในระยะก่อสร้างโครงการ - หากพบว่าในการขนส่งทาให้ถนนสาธารณะภายนอกพื้นที่โครงการ เสียหายจะต้องด าเนินการ ซ่อมให้กลับสู่สภาพที่ดีดังเดิมในทันทีที่พบเหตุหรือได้รับการแจ้งร้องเรียนจากประชาชน - กำหนดให้ผู้รับจ้า งก่อสร้า ง เตรีย มแผนการจัดการจราจรก่อนเริ่ม ต้นการก่อสร้ างโครงการ โดยจัดให้มีแผงกั้น กรวย เครื่องหมายจราจรบนผิวทาง และติดตั้งป้ายเตือนเขตก่อสร้าง ตลอดจนติดตั้งสัญญาณไฟ ให้ ชั ด เจน ทั้ ง ในเวลากลางวั น และกลางคื น ก่ อ นถึ ง เขตก่ อ สร้ า งอย่ า งน้ อ ย 500 เมตร โดยเฉพาะทางแยก การติดตั้งป้ ายบอกตำแหน่ งทางเบี่ยงก่ อนถึงพื้ นที่ จุดทางเบี่ย งเป็น ระยะทาง 300 เมตร โดยดำเนิ นการอย่าง ต่อเนื่องตลอดระยะเวลาก่อสร้าง เพื่อลดผลกระทบจากการจราจร (รูปที่ 5.2.3-2 และรูปที่ 5.2.3-3) ดังนี้ ▪ ที่ ร ะยะ 1 กิโลเมตร ก่อนถึ งเขตพื้ น ที่ ก่อ สร้า ง กำหนดให้ ติ ด ตั้ งป้ า ยเตื อนงานก่อสร้า ง เพื่อใช้เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะทราบว่ามีงานก่อสร้างอยู่ข้างหน้า ซึ่งจะทำให้ผู้ขับขี่มีความระมัดระวังมากยิ่งขึ้น ▪ ที่ระยะ 500 เมตรก่อนถึงเขตพื้นที่ก่อสร้าง (กรณีมีการก่อสร้างเข้ามาในถนนและมีการ ลดช่องจราจร) กำหนดให้ติดตั้งป้ายเตือนงานก่อสร้างและป้ายเตือนลดช่องจราจร เพื่อใช้เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะ ▪ ที่ระยะ 150 เมตร ก่อนถึงเขตพื้นที่โครงการ (กรณีมีการก่อสร้างเข้ามาในถนนและมีการ ลดช่องจราจร) กำหนดให้ติดตั้งป้ายเตือนงานก่อสร้าง ป้ายเตือนลดช่องจราจร และป้ายเตือนลดความเร็ว เพื่อใช้ เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะ ทราบว่าข้างหน้ามีพื้นที่ก่อสร้าง มีการลดช่องจราจรและขับขี่ตามความเร็วที่กำหนด ▪ ที่ระยะ 100 และ 50 เมตร ก่อนถึงเขตพื้นที่ก่อสร้าง กำหนดให้ตด ิ ตั้งป้ายเตือนลดความเร็ว ป้ายนำทาง และป้ายระวังคนงาน เพื่อใช้เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะทราบว่าควรขับขี่ด้วยความเร็วที่กำหนด และ ระมัดระวังคนงานที่กำลังปฏิบัติงาน กำหนดติดตั้งป้ ายนำทางจราจร พร้อมทั้งไฟกระพริบ ซึ่งจัดวางให้ห่างกัน ดวงละ 3 เมตร ตลอดเขตแนวพื้นที่ก่อสร้าง และกรวยวางไว้ห่างกัน 1 ถึง 2 เมตร ตลอดแนวลดช่องจราจร ▪ ที่ ระยะ 20 เมตร ก่ อนออกจากพื้ น ที่ ก่ อสร้าง ติ ด ตั้ งป้ ายสิ้ น สุ ด เขตก่อสร้างและกรวย เพื่ อให้ ผู้ขับขี่ทราบว่าสิ้น สุด เขตพื้ น ที่ก่อสร้างแนวเขตพื้ น ที่ ก่อสร้าง ต้ องติดตั้ งป้ ายเตือนลดความเร็ว กำแพง คอนกรีตหรือแบริเออร์ล้อมรอบพื้นที่ ก่อสร้าง พร้อมทั้งติดตั้งสัญญาณเตือนหรือไฟกระพริบที่ผู้ใช้ทางสามารถ มองได้ในระยะไกลไม่น้อยกว่า 500 เมตร ในทัศนวิสัยปกติ โดยให้เริ่มติดตั้งที่ขอบไหล่ทาง เข้ามาทีละ 50-60 เซนติเมตร ระยะห่างกันไม่เกิน 30 เมตร ซึ่งติดตั้งยาวตลอดแนวเขตพื้นที่ก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 5-46 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.3-2 ป้ายจราจรในช่วงก่อสร้างโครงการ กรมทางหลวงชนบท 5-47 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.3-3 ตัวอย่างการจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ กรมทางหลวงชนบท 5-48 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.3-3 ตัวอย่างการจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 5-49 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.3-3 ตัวอย่างการจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 5-50 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.3-3 ตัวอย่างการจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 5-51 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - กำหนดให้มีป้ายจราจร สัญญาณไฟจราจรชั่ วคราว เครื่องหมายที่แสดงขอบเขตก่ อสร้างและ แนวทางเบี่ยงเป็นไปตามมาตรฐาน เพื่อให้ชุมชนและผู้ใช้ทางเห็นได้เด่นชัด และสัญจรในเวลากลางวันและกลางคืน ได้อย่างปลอดภัยตามมาตรฐานวิศวกรรมการก่อสร้าง - จั ด ตั้ ง ศู น ย์ รั บ เรื่ อ งร้ อ งเรีย นของโครงการ พร้อ มติ ด ตั้ ง กล่ อ งรับ เรื่อ งร้ อ งเรี ย นและบอร์ ด ประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ สำนักงานควบคุมงานของโครงการ อบต.เกาะกลาง และ อบต. เกาะลันตาน้อย - ควบคุมและจำกัดความเร็วของยานพาหนะที่ใช้ขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างให้ใช้ความเร็ ว ไม่ เกิน 30 กิ โลเมตร/ชั่ วโมง ในช่วงที่ผ่านชุมชนและกวดขันพนักงานขับ ขี่ยานพาหนะของโครงการให้ป ฏิบั ติ ตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด - กำกับดูแลผู้รับจ้างก่อสร้างดูไม่ให้มีการขนส่งวัสดุก่อสร้างเกินน้ำหนักที่ กำหนด เพื่อมิให้ถนน ในเส้นทางขนส่งเกิดความเสียหายด้านการจราจร - หลี กเลี่ ย งการขนส่ งวัส ดุ อุป กรณ์ ก่อสร้างในช่ ว งชั่ วโมงเร่งด่ วน ช่ ว ง 07.00 -08.00 น. และ 17.00-18.00 น. - ต้องดำเนินการด้วยความระมัดระวัง มิให้เกิดความเสียหายต่อผิวจราจรบนทางหลวงหมายเลข 4206 และทางหลวงชนบท กบ.5035 หรือเป็นอุปสรรคต่อการสัญจร หากหลีกเลี่ยงไม่ได้จะต้องจัดการแก้ไขปัญหาให้ เกิดผลกระทบน้อยที่สุด - ต้องปิดคลุมท้ายรถบรรทุกที่ใช้ใ นการลำเลียงเศษมวลดินและวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้ างให้มิดชิด โดยมีชายผ้าหรือชายวัสดุอื่นๆ ยื่นยาวลงมามากกว่าส่วนการบรรทุกวัสดุอย่างน้อย 30 เซนติเมตร เพื่อป้องกัน การร่วงหล่นของเศษดินตกลงสู่ผิวจราจร - ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยหรือประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากสถานีตำรวจภูธรกระบี่และเจ้าหน้าที่ตำรวจทางหลวง มาอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ทาง บริเวณ พื้นที่ดำเนินการก่อสร้าง - ตรวจสอบและซ่อมแซมผิวการจราจรของถนนโครงข่ายอยู่เสมอ และหากพบว่ามีการชำรุด เนื่องจากการขนส่งของโครงการ ผู้รับจ้างต้องรีบทำการซ่อมแซมผิวทางให้มี สภาพดี เพื่อไม่ให้เป็นสาเหตุของการ เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน - ประสานงานกับหน่ว ยงานที่เกี่ย วข้อง ประกอบด้ว ย เจ้าหน้าที่จากสถานีตำรวจภูธรกระบี่ และเจ้าหน้าที่ตำรวจทางหลวงเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการขนส่ง เช่น การใช้รถนำขบวนหรือปิดการจราจร ชั่วคราวในการขนส่งอุปกรณ์ที่มีขนาดใหญ่หรือจำนวนมากๆ - เมื่อก่อสร้างทางในแต่ละส่วนแล้วเสร็จให้เร่งงานทาสีเส้นจราจร สันระนาด ติดตั้งสัญญาณไฟ และป้ายต่างๆ โดยเร็ว เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น - ปรับปรุงรอยต่อของทางเชื่อมเข้าสู่ที่อยู่อาศัยของประชาชนในพื้นที่ โครงการหรือสถานที่ต่างๆ ให้ได้มาตรฐานก่อนที่จะเปิดดำเนินการ เมื่อการก่อสร้างในแต่ละส่วนแล้วเสร็จ ให้เร่งงานทาสีเส้นจราจร ติดตั้ง สัญญาณไฟและป้ายต่างๆ โดยเร็ว - กาหนดให้ติดตั้งป้าย Overhead และป้าย Overhang ป้ายบังคับ ป้ายเตือน ป้ายแนะนา และ ป้ายชุดในพื้นที่โครงการ เพื่อให้การจราจรสามารถเคลื่อนตั วไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย รวมถึง ผู้ใช้ทางสามารถไปถึงจุดหมายปลายทางได้โดยไม่เกิดความสับสนในการเลือกใช้เส้นทาง ตามมาตรฐานของ กรมทางหลวงชนบท กรมทางหลวงชนบท 5-52 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - กรมทางหลวงชนบท ติดตามและควบคุมการดำเนินงานของบริษัทผู้รับจ้ างก่อสร้างให้ตระหนัก ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับประชาชน รวมถึงประชุ มหารือและประเมินผลมาตรการลดผลกระทบจากการก่อสร้าง ดังกล่าวร่วมกันทุกสัปดาห์ เพื่อไม่ให้เกิดความเดือดร้อนและส่งผลกระทบต่ อประชาชนที่อาศัยใกล้เคียงพื้ นที่ ก่อสร้างและผู้ที่สัญจรไป-มาในบริเวณแนวเส้นทางโครงการฯ การคมนาคมนาคมทางนำ - ให้ผู้รับจ้างแจ้งให้กลุ่มเรือประมงพื้นบ้าน/เรือหัวโทง เรือเฟอร์รี่และเรือ Speed Boat รับส่ง นักท่องเที่ยวทราบเกี่ยวกับกิจกรรมของโครงการ - ขณะทำการก่อสร้างผู้รับจ้างต้องประสานงานกับกรมเจ้าท่ากระบี่ ในการประชาสัมพันธ์และ กำหนดช่อง ทางการเดินเรือสัญจรผ่านบริเวณก่อสร้าง เพื่อให้ระมัดระวังและชะลอความเร็วของการเดินเรือ - หลีกเลี่ยงการก่อสร้างในช่วงเวลาเร่งด่วน 07.00-08.00 น. และ 17.00-18.00 น. - ให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับการเดินเรือ และการใช้ท่าเทียบเรืออย่างเคร่งครัด - การก่อสร้างผู้รับจ้างควรพิจารณาขั้นตอน และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม เพื่อให้พื้นที่ในการ เดิ น เรือลดลงน้ อยที่ สุด โดยเฉพาะการก่อสร้างสะพานข้ามคลองช่ องลาด ซึ่งปั จจุบั น ประชาชนใช้ ประโยชน์ ในการคมนาคมโดยใช้บริการแพขนานยนต์ข้ามไป -มาระหว่างท่าเรือบ้านหัวหิน ฝั่งตำบลเกาะกลาง และท่าเรือ บ้านคลองหมาก ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อยนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการเตรียมมาตรการลดผลกระทบตั้งแต่ ในขั้นตอนของการก่อสร้าง ดังต่อไปนี้ ▪ ติ ด ตั้ ง ทุ่ น ไฟกระพริ บ บริ เวณพื้ น ที่ ก่ อ สร้ า งตอม่ อ สะพานและท่ า เที ย บเรื อ ชั่ ว คราว (Temporary Jetty) เพื่อแสดงขอบเขตพื้นที่ก่อสร้างและสามารถมองเห็นได้ ในระยะไกล 500 เมตร เพื่อป้องกัน ผลกระทบจากการสัญจรน้ำ แสดงดังรูปที่ 5.2.3-4 รูปที่ 5.2.3-4 ติดตังทุ่นไฟกระพริบบริเวณพืนที่ก่อสร้างตอม่อสะพานและท่าเทียบเรือชั่วคราว กรมทางหลวงชนบท 5-53 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ▪ ทำการก่ อสร้างท่ าเที ย บเรือ ชั่ว คราว (Temporary Jetty) ริม ฝั่ ง หรือการใช้ Pontoon โดยเลือกวิธีการก่อสร้างให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งต้องมีความแข็งแรงเพียงพอในการรับน้ำหนัก และมีความโปร่ง เพียงพอให้น้ำไหลผ่านได้สะดวก โดยไม่กีดขวางทางน้ำ และบนท่าเทียบเรือชั่วคราว หรือ Pontoon จะติดตั้ง ราวธงพร้อมทั้งดวงไฟส่องสว่างให้เป็นจุดสังเกต ทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืน ริมชายฝั่ง โดยพื้นที่ริมท่าเรือ บ้านหัวหิน ต.เกาะกลาง มีการก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว เป็นความยาวประมาณ 50 เมตร และพื้นที่ก่อสร้างริม ฝั่งเกาะลันตาน้อย ต.เกาะลันตาน้อย ซึง ่ ลักษณะเป็นพื้นที่น้ำตื้นมาก ก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราว เป็นความยาว ประมาณ 200 เมตร เพือ ่ ความปลอดภัยของการจราจรทางน้ำ ▪ เครื่องจักรที่ ท ำการก่อสร้างจะอยู่ บ นท่ าเที ย บเรือชั่ ว คราว หรือ Pontoon ตลอดเวลา ทำงาน ตลอดจนการดู ด เอาโคลนออกจากหลุม การเทคอนกรีต และการใช้ ส ารเคมี ป ระกอบการก่อสร้างจะ ดำเนินการผ่านทางท่อที่เชื่อมต่อมาจากบนฝั่งแม่น้ำทั้งหมด โดยไม่ต้องใช้วิธีการขนส่งทางเรือหรือทิ้งลงในแหล่งน้ำ - จัดให้มีหลักผูกเรือชั่วคราวสำหรับกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน ของชุมชนหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (เรือ หัวโทง) ซึ่งอยู่ในพื้นที่ริมชายฝั่งระหว่างพื้นที่จอดเรือปัจจุบันกับท่าเรือพิมาลัย แสดงดังรูปที่ 5.2.3-5 ในกรณีที่ใช้ งานท่าเรือบ้านหัวหินไม่ได้ เช่น มีลมมรสุมรุนแรงพัดผ่านเข้ามาในคลองช่องลาด ชาวประมงพื้นบ้านสามารถไปใช้ ท่าเรือทางเลือก (ซึ่งชาวประมงใช้ท่าเรือบริ เวณนี้อยู่แล้ว โดยเฉพาะในช่วงมรสุม ) ได้แก่ ท่าเรือบ้านควน และ ท่าเรือหินโต - กำหนดแผนการก่อสร้างในพื้นที่คอขวด ปากทางเข้าท่าแพขนานยนต์บ้านหัวหิน ซึ่งมีระยะทาง ประมาณ 200 เมตร นั้น มีแผนดำเนินการดังนี้ ▪ ก่อสร้างในช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยวของเกาะลันตา (เดือนพฤษภาคม – ธันวาคม) ▪ เมื่อก่อสร้างฐานรากและเสาตอม่อแล้วเสร็จ ให้ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องคืนพื้นที่ผิวจราจรให้ ทันที เพื่อใช้ประโยชน์ในการสัญจรของประชาชนและนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการแพขนานยนต์ต่อไป - การหล่อคานและพื้นสะพานยื่นออกจากตอม่อทั้งสองข้างในลักษณะแขนยื่นสมดุล โดยไม่ต้องมี นั่งร้านรองรับสะพานมากีดขวางทางน้ำบริเวณกลางคลองช่องลาด - การก่อสร้างตอม่อและคานสะพาน จะทำการก่อสร้า งด้วยวิธีการและขั้นตอนการก่อสร้างที่ เหมาะสม เพื่อลดผลกระทบต่อการไหลของน้ำ - กำหนดให้มีมาตรการควบคุมดูแลการจัดการจราจรทางน้ำ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการ เดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ. 2456 ของกรมเจ้าท่า - ห้ามมิให้ผู้ใดเททิ้ง หรือทำด้วยประการใดๆ ให้หิน กรวด ทราย ดิน โคลน สิ่งของ หรือสิ่งปฏิกูล ใดๆ และเคมีภัณ ฑ์ลงในแหล่งน้ำ อันเป็นทางสัญจรของประชาชนหรือที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันภายใน น่านน้ำไทย อันจะเป็นเหตุให้เกิดการตื้นเขินตกตะกอน หรือสกปรก เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากกรมเจ้าท่า - ห้ามมิให้ผู้ใดเททิ้ง หรือทำด้วยประการใดๆ ให้น้ำมัน และเคมีภัณฑ์ หรือสิ่งใดๆ ลงในแหล่งน้ำ อันเป็นทางสัญจรของประชาชน หรือที่ป ระชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันภายในน่านน้ำไทยอั นอาจจะเป็นเหตุให้เกิด เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต หรือต่อสิ่งแวดล้อม หรือเป็นอันตรายต่อการเดินเรือในแม่น้ำลำคลอง - เมื่อมีเรือ หรือสิ่งอื่นใดของผู้รับจ้างก่อสร้าง จมลง หรืออยู่ในสภาพที่อาจเป็นอันตรายแก่การ เดินเรือในน่านน้ำไทย ให้ผู้รับ จ้าง หรือตัวแทนเจ้าของเรือ หรือสิ่งอื่นใดนั้น จัดทำเครื่องหมายแสดงอันตราย โดยพลัน ด้วยเครื่องหมายตามที่เจ้าท่าหรือเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่เห็นสมควร สำหรับเป็นที่สังเกตในการเดินเรือ ทั้งเวลากลางวันและเวลากลางคืน จนกว่าผู้รับ จ้าง หรือตัวแทนเจ้ า ของเรือหรือสิ่งอื่น ใดนั้ น จะได้ กู้ รื้ อ ขน ทำลาย หรือกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดแก่เรือ หรือสิ่งอื่นใด ซึ่งได้จมลงหรืออยู่ในสภาพที่อาจเป็นอันตราย แก่การเดินเรือออกจากที่นั้นเรียบร้อยแล้ว ซึ่งต้องกระทำให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กรมเจ้าท่ากำหนด กรมทางหลวงชนบท 5-54 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.3-5 การจัดหลักผูกเรือชั่วคราวบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน กรมทางหลวงชนบท 5-55 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ถ้ า มี อุ บั ติ เหตุ อั น ตรายเกิ ด ขึ้ น ในเรื อ ลำใดแก่ ล ำเรื อ หรื อ หม้ อ น้ ำ หรื อ เครื่ อ งจั ก ร หรื อ แก่ คนโดยสาร หรือบุคคลใดๆ ก็ดี หรือมีอุบัติเหตุอันตราย ซึ่งเรือลำนั้นเป็นต้นเหตุก็ดี ต้องแจ้งความไปยังกรมเจ้าท่าที่ ประจำอยู่ในพื้นที่โดยพลัน - ในการส่งสิ่งของที่ อาจทำให้เกิดอั นตรายขึ้น ได้ โดยทางเรือ ผู้ รับจ้ างต้ องจัด ให้ มีฉลากแสดง สภาพอันตรายของสิ่งของนั้นให้ชัดเจนที่หีบห่อและต้องแจ้งเป็นหนังสือเกี่ยวกั บสภาพอันตรายของสิ่งของนั้น ตลอดจนชื่อและที่อยู่ของผู้รับจ้างให้นายเรือทราบในขณะหรือก่อนการนำสิ่งของนั้นขึ้นเรือ - สายโทรศัพท์ สายไฟฟ้า หรือสายอื่นใด หรือท่อ หรือสิ่ งก่อสร้างที่ทอดใต้น้ำอันเป็นทางสัญ จร ของประชาชน หรือที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกั นภายในน่านน้ำไทย จัดให้มีเครื่องหมายแสดงไว้ ณ ที่ซึ่งสาย ท่อ หรือสิ่งก่อสร้างนั้นทอดลงน้ำ เครื่องหมายนั้นให้ ทำเป็นเสาสูงมีป้ายใหญ่สีขาวรูปกลมติดที่ปลายเสา ในกลาง ป้ายมีข้อความ “อันตรายมีสายท่อหรือสิ่งก่อสร้างใต้น้ำ” และในกรณีที่เห็นสมควร จะจัดให้มีการวางทุ่ น หรือ เครื่องหมายอื่นใดแสดงไว้ด้วยก็ได้ - พนักงานห้ามลากแห อวน เครื่องจับสัตว์น้ำ หรือเครื่องมือใดๆ ต้องระวางโทษปรับตามกฎหมาย ตั้งแต่ส ามร้อยบาทถึงสามพั น บาท และถ้าการกระทำดั งกล่ าวเป็ น เหตุ ให้ เกิด ความเสี ยหายแก่ส าย ท่ อ หรื อ สิ่งก่อสร้างใดๆ ที่ทอดใต้น้ำด้วย ตามกฎหมายต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือ น หรือปรับตั้งแต่หนึ่งพันบาท ถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และต้องชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายในการซ่อมสายท่อ หรือสิ่งก่ อสร้าง ใต้น้ำที่เสียหายเนื่องจากการที่ได้ลากของข้ามสายท่อ หรือสิ่งก่อสร้างนั้นด้วย - ให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตามข้อกำหนดในเงื่อนไขแนบท้ าย “ใบอนุญาตให้ปลูกสร้างสิ่งล่วงล้ำลำน้ำ” ที่ออกให้โดยกรมเจ้าท่าอย่างเคร่งครัด - เมื่อก่อสร้างต่อสะพานในทะเลแล้วเสร็จ ให้ติดตั้งแถบสะท้อนแสงเพื่อแสดงตำแหน่งเสา โดยทำ การการติดตั้ง Fender โดยรอบเสาตอม่อสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) และไฟฟ้าส่องสว่าง เพื่อให้เห็ น ตอม่อที่ชัดเจน เพื่อป้องกันเรือชนตอม่อสะพาน (รูปที่ 5.2.3-6) - ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างใต้ท้องสะพานในบริเวณร่องน้ำเดิน เรือ และติดตั้งทุ่ นสัญ ญาณไฟตาม มาตรฐานความปลอดภัยของกรมเจ้าท่ า รวมทั้งติดตั้งบรรทัด น้ำที่เสาตอม่อสะพานที่ ขนาบข้างร่องน้ำเดินเรือ เพื่อให้ชาวเรือสามารถสังเกตเห็นได้ชัดเจนทั้งในเวลากลางวันและในเวลากลางคืน แสดงดังรูปที่ 5.2.3-7 2) ระยะดำเนินการ - ตรวจสอบและบำรุ งรักษาผิวทาง ไหล่ท าง เส้น จราจร หลักกิโลเมตร สะพาน ไฟส่องสว่า ง ให้มีสภาพดีอยู่เสมอ พร้อมทั้งตรวจสอบการติดตั้งป้ายบอกทาง ป้ายสัญ ญาณและสัญลักษณ์ ต่างๆ ให้มีความ เพียงพอ และอยู่ในสภาพดี สามารถมองเห็นได้ชัดเจนในระยะไกล โดยเฉพาะจุดที่สำคัญ เช่น บริเวณจุดเชื่อมต่อ ถนนโครงข่าย ควรมีการแจ้งเตื อนบอกระยะทาง เพื่อให้ผู้ใช้ทางสามารถวางแผนการใช้ช่องทางจราจรได้อย่าง เหมาะสมและปลอดภัย - กำหนดให้มีการติดตั้งเครื่องหมาย การปรับทิศทาง และการจำกัด ความเร็วของยานพาหนะ ก่อนเริ่มต้นการบำรุ งรักษาเส้นทาง เพื่ ออำนวยความสะดวกด้านการคมนาคม และป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุ ต่อผู้ใช้ทาง - หากมีการซ่อมแซมผิ วทาง ไหล่ทาง และลาดคันทาง ต้องกำหนดให้บริษัทผู้รับเหมา/ผู้รับจ้าง ติดตั้งป้ายเตือนล่วงหน้าในระยะ 1,000 เมตร เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้เส้นทาง - กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากสถานี ตำรวจภูธรเกาะลันตาและเจ้าหน้าที่ตำรวจทางหลวง ให้จัดเจ้าหน้าที่มาตรวจตราดูแลไม่ให้ผู้ใช้ทางใช้ความเร็ว ในการขับขี่เกินเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด กรมทางหลวงชนบท 5-56 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.3-6 การติดตังแ บสะท้อนแสงเพื่อแสดงตำแหน่งเสาตอม่อ และการติดตัง Fender โดยรอบเสาตอม่อสะพานคานขง (Extradosed Bridge) รูปที่ 5.2.3-7 ้ งสะพานในบริเวณร่องนำเดินเรือ การติดตังไฟฟ้าส่องสว่างใต้ทอ และบรรทัดนำที่เสาตอม่อสะพาน กรมทางหลวงชนบท 5-57 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.3.2 สาธารณูปโภค 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการรือย้ายระบบสาธารณูปโภค - ผู้รับจ้างก่อสร้างก่อสร้างต้องประสานงานกับแขวงทางหลวงชนบทกระบี่ และหน่วยงานเจ้าของ สาธารณูปโภค เพื่อชี้แจงรายละเอียดของรูปแบบการก่อสร้าง และตำแหน่งของระบบสาธารณูปโภคที่ต้องรื้อย้าย พร้อมระบุช่วงเวลาของการดำเนินการ - รื้อย้าย เพื่อให้หน่วยงานนั้นๆ เตรียมแผนการปรับปรุงสาธารณูปโภคไปพร้อมกั บการรื้อย้าย สาธารณูปโภค เพื่อให้มีช่วงเวลาของการเกิดผลกระทบสั้นที่สุด รวมทั้งความเป็นไปได้ที่จะใช้สะพานโครงการ เป็นเส้นทางในการวางระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เข้าสู่เกาะลันตา - ผู้รับจ้างก่อสร้างก่อสร้างต้ องประชาสัมพั นธ์กิจกรรมการก่อสร้างของโครงการให้ประชาชน ในพื้นที่ได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง - ก่อนการรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคในพื้นที่ก่อสร้างโครงการทุกครั้ง ผู้รับจ้างก่อสร้างก่อสร้าง ต้องประชาสัมพันธ์แผนการรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภคให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน และแจ้งเตือนให้ประชาชนรับทราบก่อนการรื้อย้าย อย่างน้อย 7 วัน ซึ่งกำหนดโดยหน่วยงานเจ้าของสาธารณูปโภค พร้อมทั้งติดตั้งป้ายประกาศไว้ที่บริเวณพื้นที่ก่อสร้าง - ในการเคลื่อนย้ายสาธารณู ป โภคให้ ดำเนินการในเวลากลางคืนตั้งแต่เวลา 22.00-05.00 น. ของวันรุ่งขึ้น หรือดำเนินการในวันหยุดราชการ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการรบกวนชุมชนหรือธุรกิจต่างๆ ทั้งนี้ต้องมี การประชาสัมพัน ธ์หรือประกาศเตือนผ่านสื่อต่างๆ เช่น แผ่นพับ เว็บไซต์ หรือป้ายประกาศเตือน ในพื้นที่ที่จะ รื้อย้าย เป็นต้น เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ใช้เส้นทางได้รับทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน - เมื่ อทำการรื้อย้ า ยระบบสาธารณู ป โภคในพื้ น ที่ ก่ อ สร้ างแล้ ว เสร็จ ผู้ รับ จ้ างก่ อสร้า งจะต้ อ ง เก็บกวาดเศษดิน/หิน และเศษวัสดุต่างๆ ออกจากพื้นที่ก่อสร้างให้เรียบร้อย - หากพบว่ามีการร้องเรียนจากประชาชนหรือผู้ใช้เส้นทางว่าได้รั บผลกระทบจากการรื้อย้ าย ระบบสาธารณู ป โภค โดยก่อให้เกิดความเดือ ดร้อนรำคาญหรือสร้างความเสียหายให้แก่ระบบสาธารณู ปโภค ที่มีอยู่เดิม ผู้รับจ้างก่อสร้างจะต้องรีบดำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน 2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท 5-58 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.3.3 การควบคุมนำท่วมและการระบายนำ 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการกีดขวางการไหลของนำหรือลดประสิทธิภาพการระบายนำตามสภาพธรรมชาติ ระบบควบคุมนำท่วมและการระบายนำที่มีอยู่เดิม ขันตอนออกแบบรายละเอียด - ออกแบบอาคารระบายน้ ำ บริเวณสองฝั่ งทางของถนนระดั บ ดิ น ในพื้ น ที่ โครงการฝั่ งตำบล เกาะกลางและตำบลเกาะลันตาน้อย โดยการวางท่อกลม คสล.ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20 เมตร ความลาดเอียง ท้องท่อ 0.001 มิลลิเมตร พร้อมบ่อพักทุกระยะ 15.00 เมตร โดยมีส่วนเผื่อความปลอดภัยตั้งแต่ 1.50 ขึ้นไป - การวิเคราะห์ปริมาณน้ำหลากและออกแบบท่อระบายน้ำ ระบบระบายน้ำตามขวาง (Cross Drain) โดยใช้รอบปีการเกิ ดซ้ำ 50 ปี การออกแบบระบบระบายน้ำตามยาว (Side Drain) ใช้รอบปีการเกิดซ้ำ 10 ปี และการวิเคราะห์หาอัตราการไหลของน้ำบนสะพาน ใช้รอบปีการเกิดซ้ำ 25 ปี การก่อสร้างบนฝั่ง - ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านทรัพยากรดินและคุณภาพน้ำทะเลอย่าง เคร่งครัด - ให้ตรวจสอบและทบทวนความเหมาะสมระบบระบายน้ำ อาคารระบายน้ำทั้งหมดก่อนเริ่มการ ก่อสร้างโครงการ - การกองดิน ทราย และวัสดุก่อสร้างอื่นๆ จะต้องอยู่ห่างจากแหล่งน้ำไม่น้อยกว่า 100 เมตร - จัด ให้ม ีเ จ้า หน้า ที ่ค อยเก็บ กวาดเศษดิน ที ่ต กหล่น บริเ วณพื ้ น ที ่ก ่อ สร้า งอย่า งสม่ำ เสมอ เพื่อป้องกันการชะล้างเศษมวลดินลงสู่ระบบระบายน้ำ - ผู้รับจ้างต้องควบคุมไม่ให้คนงานก่อสร้างทิ้งขยะมูลฝอยและเศษวัสดุต่างๆ ลงสู่ลำน้ำ เพื่อป้องกัน ปัญหาลำน้ำตื้นเขินหรือท่อระบายน้ำอุดตัน เป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาน้ำท่วมขังได้ - ภายหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ ต้องทำการตรวจสอบท่อระบายน้ำต่างๆ ที่อยู่ตามแนวเส้นทาง ซึ่งอาจได้รับความเสียหายและอาจได้รับผลกระทบจากการตกทับถมของตะกอนดินในระหว่างการก่อสร้าง เพื่อให้ สามารถระบายน้ำได้สะดวก การก่อสร้างในทะเล - พิจารณาออกแบบโครงการให้มีผลกระทบต่อการระบายน้ำ โดยออกแบบให้มีตอม่อลงในทะเล ให้น้อยที่สุด - ติดตั้งม่านดักตะกอน ชนิดป้องกันการฟุ้งกระจายของตะกอนถึงก้นทะเล โดยติดตั้ง 2 บริเวณ คือ บริเวณท่าเรือขนส่งวัสดุชั่วคราว และบริเวณจุดก่อสร้างตอม่อสะพานให้ทำการล้อมม่านดั กตะกอนห่างจาก แนวเสาเข็มที่ระยะ 5.0 เมตร และเมื่อก่อสร้างกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพานตัวที่ 1 แล้วเสร็จ จะทำการ ้ ย้ายม่านดักตะกอนไปยังพื้นที่ก่อสร้างตอม่อสะพานในตำแหน่งถัดไป รือ - เมื่อก่อสร้างตอม่อสะพานในทะเลแล้ วเสร็จ ให้ทำการรื้อถอนสะพานลำเลียงชั่วคราว (Jetty) ฝั่งเกาะกลางและฝั่งเกาะลันตาน้อย ทั้งบนดินและใต้ดินออกให้หมด พร้อมทั้งปรับสภาพพื้นที่ให้ใกล้เคียงกับสภาพ เดิมก่อนมีโครงการ กรมทางหลวงชนบท 5-59 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท ต้องตรวจสอบประสิทธิภาพการระบายน้ำและปัญหาน้ำท่ วมขังบริเวณ สองข้างทางของโครงการ (พื้นที่ที่อยู่บนฝั่ง) เพื่อตรวจสอบความสามารถในการระบายน้ำของระบบระบายน้ำ ของโครงการว่ารองรับได้เพียงพอตามที่ออกแบบหรือไม่ และหากเกิดปัญหาจะต้องเร่งดำเนินการปรับปรุงแก้ไข โดยเร็ว - ดูแลอาคารระบายน้ำในทุกตำแหน่งตลอดแนวเส้นทางโครงการให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา โดยเฉพาะในฤดูฝนที่มีปริมาณน้ำหลากผ่ านอาคารระบายน้ำมาก รวมทั้งหากพบว่ามีอาคารระบายน้ำใดเกิดการ ชำรุดเสียหายต้องรีบดำเนินการแก้ไขโดยเร็ว 5.2.3.4 การใช้ที่ดิน 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากสภาพปัจจุบัน - กำหนดขอบเขตพื้นที่ก่อสร้างให้ชัดเจน เพื่อที่จะรบกวนพื้นที่เกษตรกรรมและการใช้ประโยชน์ ที่ดินอื่นๆ นอกเขตทางของประชาชนให้น้อยที่สุด - ควบคุมผู้รับจ้างให้ดำเนินการก่อสร้างเฉพาะภายในเขตก่อสร้างที่กำหนดไว้เท่านั้น - ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจำแนกประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินตามอำนาจ หน้าที่ที่กฎหมายกำหนด เช่น กรมที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กรมป่าไม้ กรมพัฒนาที่ดิ น สำนักงานจัดรูปที่ดินกลาง กรมธนารักษ์ กรมโยธาธิการและผังเมือง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อกำหนด มาตรการด้านการผังเมือง 2) ระยะดำเนินการ - โยธาธิการและผังเมื องกระบี่ ต้องควบคุมและพัฒนาพื้นที่ในเขตผั งเมือง โดยเฉพาะในพื้ นที่ ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลศาลาด่าน และตำบลเกาะลันตาใหญ่ให้เป็นไปตามข้อกำหนด เพื่อป้องกันการขยายตัว ของเมือง การเพิ่มขึ้นของโรงแรมและสิ่งก่อสร้างต่างๆ ในพื้นที่หวงห้ามต่างๆ ตามผังเมือง - โยธาธิการและผัง เมืองกระบี่ แกไขปรับปรุงผังเมืองรวมกระบี่ใหเหมาะสมกับ สภาพการณ และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปหรือเพื่อประโยชนของรัฐ - โยธาธิการและผังเมื องกระบี่ และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนประชาชนในบริเวณ พื้นที่ดังกล่าว สอดสองดูแลและแจงใหได้รับทราบถึงการฝาฝืน โดยการใชประโยชนที่ดินผิดไปจากที่ได้กำหนดไว รวมทั้งผลกระทบจากกิจกรรมที่อยู่นอกเหนือการควบคุมด้วยเหตุผลตามที่ได้ระบุไว - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บังคับใช้และปรับปรุงประกาศกระทรวงทรัพยากร- ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กาหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอม ในทองที่อาเภออ่าวลึก อาเภอ เมืองกระบี่ อาเภอเหนือคลอง อาเภอคลองทอม และอาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ให้มีผลบังคับใช้และมีความ ทันสมัย สอดคล้องกับสภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ กรมทางหลวงชนบท 5-60 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.4 คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 5.2.4.1 เศรษฐกิจ-สังคม 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อโครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมของชุมชนและด้านเศรษฐกิจของชุมชน - ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน และ คมนาคมขนส่ง อย่างเคร่งครัด - ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลโครงการให้แก่ประชาชนในบริเวณพื้นที่โครงการทราบล่วงหน้า อย่างน้อย 1 เดือน ประกอบด้วย ขอบเขตพื้นที่ก่อสร้าง รูปแบบการก่อสร้าง ระยะเวลาการก่อสร้าง เพื่อให้ประชาชน ในพื้นที่เข้าใจและเกิดการยอมรับในโครงการมากขึ้น - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องติดตั้งป้ายโครงการ ผู้รับผิดชอบ หมายเลขโทรศัพท์ ที่ยานพาหนะที่มีการ ขนส่งวัสดุอุปกรณ์ ต่ างๆ ในระยะก่ อสร้างโครงการ หากพบว่าในการขนส่ งทำให้ ถนนสาธารณะภายนอกพื้ น ที่ โครงการเสียหาย จะต้องดำเนินการซ่อมให้กลับสู่ สภาพที่ดีดังเดิมในทันทีที่พบเหตุหรือได้รับการแจ้งร้องเรียน จากประชาชน - กิจกรรมก่อสร้างที่มีเสียงดังมาก ให้ดำเนิน การในช่วงเวลากลางวันเท่านั้น (08.30-17.30 น.) แต่หากต้องทำงานหลั งเวลา 17.30 น. ให้เป็นการก่อสร้างที่ไม่เกิดเสียงดังมากและขยายเวลาได้ถึง 22.00 น. แต่ต้องมีการประชาสัมพันธ์ล่วงหน้า และหากมีความจำเป็นต้องทำการก่อสร้างหลัง 22.00 น. ต้องเป็นกิจกรรม ขนย้ายที่ไม่เกิดเสียงดัง หากเกิดการร้องเรียนของประชาชนในพื้นที่โครงการให้หยุดการก่อสร้างในช่วงเวลา กลางคืนทันที - ผู้รับจ้างต้องทำความเข้าใจต่อคนงาน และเจ้าหน้า ที่โครงการในการอยู่ร่วมกับชุมชน มีการ สร้างความสัมพันธ์อันดี ไม่ควรทำให้ประชาชนมีความหวาดระแวงในทรัพย์สิน และให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การปฏิบัติต่อประชาชนในพื้นที่อย่างเหมาะสม - กำหนดให้ผู้รับจ้างให้ความสำคัญในการพิจารณาจ้างแรงงานในท้องถิ่นเป็นอันดับแรก เพื่อลด ปัญหาด้านสังคม/ลดปัญหาการว่างงาน และการอพยพแรงงาน และให้โอกาสแก่คนในพื้นที่เข้าทำงานกับโครงการ ให้มากที่สุด - กำหนดให้ ผู้รั บ จ้างจัด ทำทะเบีย นคนงานที่ มาจากต่ างถิ่น เพื่ อให้ส ามารถควบคุมดู แล และ ตรวจสอบคนงานต่างถิ่นอย่างใกล้ชิด เพื่อมิให้สร้างความเดือดร้อนและก่อความรำคาญแก่ประชาชนในพื้นที่ - กิจกรรมก่อสร้างบริเวณหน้าสถานประกอบการ ให้เร่งรัดดำเนินการก่อสร้างโดยใช้ระยะเวลา ให้สั้นที่สุดและในขณะดำเนินการก่อสร้างต้องเว้นพื้นที่ทางเข้า-ออกพื้นที่ หรือจัดทำทางเข้า -ออกชั่วคราวให้กับ ทางสถานประกอบการ - ในกรณีที่เกิดความไม่เข้าใจกันขึ้นระหว่างโครงการและชุมชน กรมทางหลวงชนบทต้องจัดให้มี การประชุ มชี้แจงข้อเท็จจริงให้ แก่ประชาชนโดยเร่งด่วน เพื่อให้ ประชาชนได้ รับทราบข้อมู ลที่ แท้ จริง และพร้อม ที่จะแสดงให้เห็นว่า กรมทางหลวงชนบทมีความรับผิดชอบและสนใจต่อความรู้สึกของประชาชน - จัดตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียนของโครงการ พร้อมติดตั้งกล่องรับเรื่องร้องเรียนและบอร์ดประชาสัมพันธ์ โครงการ จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ สำนักงานควบคุมงานของโครงการ อบต.เกาะกลาง และ อบต.เกาะลันตาน้อย - หากได้รับเรื่องร้องเรียนถึงผลกระทบจากการก่อสร้าง จะต้องดำเนินการตรวจสอบและเร่งแก้ไข ติดตามผลการดำเนินการ รวมทั้งตอบกลับข้อร้องเรียนให้ผู้ได้รับผลกระทบรับทราบโดยเร็ว รวมทั้งตอบกลับ ข้อร้องเรียนให้ผู้ได้รับผลกระทบรับทราบโดยเร็ว แสดงดังรูปที่ 5.2.4-1 กรมทางหลวงชนบท 5-61 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.4-1 ขันตอนการตรวจสอบความปลอดภัยในการก่อสร้าง กำหนดให้มีช่องทางในการรับเรื่องร้องเรียน (รูปที่ 5.2.4-2 และรูปที่ 5.2.4-3) ดังนี้ ▪ เว็บไซต์กรมทางหลวงชนบท www.drr.go.th ผ่านเมนู ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ▪ สายด่วนกรมทางหลวงชนบท 1146 ▪ เดิ น ทางมาด้ ว ยตนเอง ที่ ศู น ย์ ข้ อ มู ล ข่ า วสารกรมทางหลวงชนบท ถนนพหลโยธิ น แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 หรือหน่วยงานของกรมทางหลวงชนบทในพื้นที่ประจำจังหวัดกระบี่ และสำนักงานควบคุมงานของโครงการ - ประสานงานกั บ ตำรวจทางหลวงในพื้ น ที่ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด กระบี่ แ ละบริ ษั ท รั บ สั ม ปทานบริการแพขนานยนต์ ระหว่ า งเกาะกลาง -เกาะลั น ตา เพื่ ออำนวยความสะดวก และป้ อ งกัน ปั ญ หา การจราจรที่เกิดขึ้นในพื้นที่ โดยเฉพาะการใช้บริการท่าแพขนานยนต์บ้านหัวหิน กรมทางหลวงชนบท 5-62 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.4-2 ผังการดำเนินงานของสายด่วน 1146 ทังส่วนกลางและส่วนภูมิภาค กรมทางหลวงชนบท 5-63 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 5.2.4-3 แนวทางการปฏิบัติการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์ ของศูนย์ประสานการแก้ไขตามข้อร้องเรียนของประชาชน ของกรมทางหลวงชนบท (ศปร.ทช.) กรมทางหลวงชนบท 5-64 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - การขนส่งอุปกรณ์ขนาดใหญ่ต้องมีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้า 7 วัน ในกรณีที่มีการปิดช่องทาง สัญจร หรือมีการดำเนินการใดๆ ที่เป็นอันตรายต่อการสัญจรปกติ และต้องติดป้ายชี้แจงรายละเอียดก่อนถึงพื้นที่ ก่อสร้าง 100 เมตร 2) ระยะดำเนินการ ในกรณีมีเรื่องร้องเรียนหรือตรวจสอบ พบว่า ประชาชนหรือผู้ที่ อยู่อาศัยในพื้นที่ได้รับผลกระทบ อันเนื่องมาจากโครงการ ซึ่งทำให้โครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมของชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลง จะต้องบริหาร จัดการเรื่องร้องเรียน โดยในข้อสั่งการได้กำหนดวันเวลาการแจ้งตอบผลการดำเนินการข้อร้องเรียนเบื้องต้ นไว้ ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่มีการรับเรื่องร้องเรียน โดยต้องแจ้งผลการดำเนินการเป็นระยะจนกว่าเรื่องร้องเรียนนั้น จะได้ข้อยุติ กำหนดให้มีช่องทางในการรับเรือ ่ งร้องเรียน ดังนี้ - เว็บไซต์กรมทางหลวงชนบท www.drr.go.th ผ่านเมนู ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ - สายด่วนกรมทางหลวงชนบท 1146 - เดินทางมาด้วยตนเอง ที่ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมทางหลวงชนบท ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 หรือหน่วยงานของกรมทางหลวงชนบทในพื้นที่ประจำจังหวัดกระบี่ 5.2.4.2 การโยกย้ายและเวนคืน 1) ระยะเตรียมการก่อสร้างและระยะก่อสร้าง - ประสานงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อบต.เกาะกลาง และอบต.เกาะลันตาน้อย และเจ้าของที่ดิน เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการและแจ้งแผนการดำเนินงานก่อสร้างให้ทราบล่วงหน้ าอย่างน้อย 1 เดือน 2) ระยะดำเนินการ - 5.2.4.3 การสาธารณสุข 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อปัญหาด้านสาธารณสุขของชุมชน - ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านน้ำผิวดิน อากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน และการคมนาคมขนส่งอย่างเคร่งครัด - จัดให้มีการคัดกรองสุขภาพพนั กงานก่อนรับเข้าทำงาน เพื่อลดผลกระทบด้านโรคติดต่อหรือ การแพร่กระจายโรคเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของแรงงานต่างถิ่น และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับระบบบริการสาธารณสุข ในพื้นที่ - รักษาความสะอาดภายในพื้นที่ก่อสร้างและบริเวณบ้านพักคนงานให้ถูกสุขลักษณะอย่างสม่ำเสมอ - จัดระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการภายในหน่วยก่อสร้างโครงการให้เพียงพอ - จัดหาน้ำดื่มที่สะอาดให้คนงานอย่างเพียงพอในพื้นที่ก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 5-65 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - จัดให้มีห้องน้ำ-ห้องส้วมในพื้นที่ตั้งหน่วยก่อสร้างอย่างเพียงพอ ในอัตราส่วนคนงาน 15 คน/ห้อง - กำหนดให้มีห้องน้ำชั่วคราวหรือสุขาเคลื่อนที่ ตั้งอยู่ใกล้บริเวณพื้นที่ก่อสร้าง สามารถรองรับ น้ำเสียได้อย่างเพียงพอ เพื่อสุขอนามัยการขับถ่ายของคนงานก่อสร้างที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ตามมาตรการป้องกัน ผลกระทบด้านน้ำทะเล - ติดตั้งถังดักไขมัน สำเร็จรูปชนิดเกรอะ-กรองไร้อากาศพร้อมทั้งดักไขมัน เพื่อรองรับน้ำเสียจาก กิจกรรมภายในบ้านพักคนงานและสำนักงาน โรงอาหาร และโรงซ่อมบำรุง - ควบคุมดูแลระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียสูงสุด และทำการสูบตะกอน จากระบบบำบัดน้ำเสียเป็นประจำทุกๆ 3 เดือน - จัดให้มีถังขยะแยกประเภทที่มีฝาปิด มิดชิด น้ำไม่สามารถจะรั่วซึมได้ (ไม่ควรใช้เข่งในการเก็บ รวบรวมขยะมู ลฝอย) มีจำนวนและขนาดที่เพียงพอต่อปริมาณขยะที่ เกิดขึ้นในแต่ละวัน ตั้งวางไว้ตามจุดต่างๆ ภายในพื้นที่หน่วยก่อสร้าง เช่น บ้านพักคนงาน ห้องอาหาร อาคารและสำนักงาน รวมทั้งโรงซ่อมบำรุง โดยจัดให้มี เจ้าหน้าที่หรือคนงานเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยไปไว้ในจุดรวมขยะ ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องประสานงานติดต่อพนักงาน เก็บขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง เพื่อนำรถบรรทุกขยะเข้ามาจัดเก็บและขนส่งต่อไปยัง สถานกำจัดขยะมูลฝอย - ติดป้ายหรือสัญลักษณ์บนถังขยะตามประเภทของขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะเปียก และขยะอันตรายให้ชัดเจน - ให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่และคนงานก่ อสร้างให้เข้าใจถึงประเภทและการแยกขยะ เพื่อลดขยะ ที่ต้องนำไปกำจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนำกลับมาใช้ได้อีก เช่น ขวดแก้ว โลหะ พลาสติ ก ขยะเปี ยกสามารถนำมาทำปุ๋ ยน้ ำชี วภาพ ขยะอั นตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกำจัดที่ปลอดภัย - ภายหลังดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ ให้ทำการรื้อถอนสำนักงานควบคุมงาน บ้านพักคนงาน รวมถึงการกำจัดถังบำบัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลที่อยู่บริเวณใต้ดินให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล มาตรการและแนวทางปฏิบัติการจัดส านที่ก่อสร้างและที่พักชั่วคราวของคนงานก่อสร้าง กรณี การป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) (สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2564) - ทำความเข้าใจบทบาทหน้าที่ และกลไกเชื่อมประสานการทำงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Social Dialogue) ได้แก่ หน่วยงานด้านปกครอง (เช่น อปท., สำนักงานเขต ฯลฯ) หน่วยงานด้านสาธารณสุข (เช่น ศูนย์บริการสาธารณสุข, รพ.สต., สสอ. ฯลฯ) สถานประกอบการ (นายจ้าง หัวหน้าคนงาน ผู้รับจ้างฯลฯ) และชุ ม ชนรอบข้ า ง เพื่ อ กำหนดแนวทางการทำงานร่ ว มกั น บู รณาการความร่ว มมื อ เพื่ อ เสริม พลั ง ในการ ดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ - จัดทำข้อตกลงร่วมของบริ ษัท ก่อสร้าง ให้ ความสำคัญ และยิน ดีต่อการปฏิบั ติต ามมาตรการ ป้องกันและควบคุมโรคของรัฐ และกำหนดเป็นนโยบายของบริษัทในการเปิดให้หน่วยงานสนับสนุนภายนอกและ ตัวคนงานมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา - กำหนดมาตรการแนวปฏิบั ติ เพื่ อการป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด -19 ในสถานที่ ก่อสร้างและที่ พั กชั่ วคราวของคนงานก่อสร้า ง รวมถึงมีการติ ดตามกำกั บ การปฏิบั ติ ตามมาตรการ แนวทางพื้นฐานที่สำคัญ คือ ลดการเข้าถึงสถานที่ก่อสร้าง ปรับแผนงานและกิจกรรมเพื่อลดการติดต่อใกล้ชิด เพิ่ มระดั บ สุขอนามั ยโดยรวมของสถานที่ ก่อสร้าง ให้ ความสำคัญ กับ สุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน คนงานชุมชนโดยรอบ ตลอดจนเพิ่มความตระหนักและสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพของพนักงาน กรมทางหลวงชนบท 5-66 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ลดปัจจัยเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ด้วยการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี รวมถึง การควบคุมโรคที่ มีป ระสิทธิภาพ ด้วยการยกระดั บการจัดการสุขาภิบ าลสิ่งแวดล้ อม อาคารสถานที่พั กอาศั ย สถานที่อาบน้ำ-ห้องสุขา ที่รับประทานอาหาร จุดให้บริการน้ำดื่ม พื้นที่ส่วนกลาง การจัดการสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอย และขยะติดเชื้อจากผู้ติดเชื้อ - ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาด ด้วยการลดปั จจั ยเสี่ยง ด้วยการมีพฤติกรรมอนามัยที่ ดี การดูแ ลรักษาตนเอง สัง เกตและติด ตามอาการของพนักงานและคนงาน รวมทั้ง การเพิ่ม ปัจ จัย ป้องกัน คือ การปฏิ บั ติ DMHTTA ที่ ถูกต้ อง ถูกพื้ น ที่ ถู กเวลา ตามหลั ก การ “การป้ องกั น การติ ด เชื้ อแบบครอบจั กรวาล (Universal Prevention for COVID-19)” หมายถึง การระมัดระวังป้องกันตนเองขั้นสูงสุดตลอดเวลาของทุกคน ให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด-19 แม้ยังไม่พบว่ามีความเสี่ยง ให้ทุกคนคิดเสมอว่า เราอาจติดเชื้อโควิด-19 โดย ไม่รู้ตัวและไม่มีอาการ รวมทั้งคนทุกคนที่ อยู่รอบตัวเราไม่ว่าจะสนิทแค่ไหนอาจเป็นผู้ติดเชื้อโควิด -19 แฝงกัน ทั้งหมด และอาจแพร่เชื้อมาให้เราได้ จึงต้องป้องกันอย่างสุดความสามารถที่จะไม่ให้ตนเองไปรับเชื้อโควิด-19 หรือ แพร่เชื้อโควิด-19 ให้ผู้อื่น - ใช้มาตรการเพื่อการสร้างความรอบรู้ ด้านสุขภาพให้กับบุคลากรทุกระดับ เรื่องการป้องกันและ ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 การสื่อสารด้วยช่องทาง ภาษา กลไกในการสื่อสาร และรูปแบบที่ง่ายต่อ การเข้าใจของคนที่มีความแตกต่างของระดับการศึกษา ลักษณะงาน และชาติพันธุ์หลากหลาย โดยเฉพาะในกลุ่ม แรงงานซึ่ งเป็ นกลุ่ม ที่มี ความเสี่ ยงสู ง การประยุกต์ ใช้วิธีการสร้างความรอบรู้ด้ วยเทคนิค การสื่อสารด้ วยภาพ เป็นการลดช่องว่างทางภาษา และเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร ง่ายต่อการเข้าใจที่ ถูกต้องตรงกัน ส่งเสริมให้ บุคคลแต่ละระดับใช้ข้อมูลที่ได้รับ เพื่อการป้องกันควบคุมโควิด-19 ไปใช้ในการตัดสินใจในการป้องกันควบคุมโรค ได้ถูกต้องเหมาะกับหน้ างานและวิถีชี วิต กระบวนการพัฒ นาตามมาตรการส่งเสริมความรอบรู้ในครั้งนี้ มีการ นำเสนอเครื่องมือ 3 ชิ้น เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน เกิดเป็นข้อมูลที่ทำให้ ผู้บริหารโครงการหรือแคมป์ก่อสร้าง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยหรือเจ้าหน้าที่ควบคุมงาน และจิตอาสาหรืออาสาสมัครของแคมป์ และ/หรือที่พักชั่วคราว สามารถมีการตัดสินใจร่วมกัน เป็นการเสริมพลังในการควบคุมป้องกันโรคและสร้างเสริมสุขภาพอย่ างต่อเนื่อง ยั่งยืน ส่งต่อผู้ติดเชื้อที่มีอาการรุนแรงสู่สถานพยาบาลอย่างปลอดภัย โดยการประสานงานกับโรงพยาบาล และ การสนองตอบความต้องการและการสนับสนุนด้านจิตสังคมแก่พนักงานและแรงงาน - สนองตอบความต้องการและการสนับสนุ นด้านจิตสังคมแก่พนักงานและแรงงาน การให้ความ สนับสนุนเรื่องสภาพความเป็น อยู่ ความต้องการทางสังคม และสภาพจิตใจ ทั้งของคนงานและผู้ติดตาม ทั้งที่อยู่ ในแคมป์งานและนอกแคมป์ งาน รวมถึงการให้ความรู้ข้อมู ลสถานการณ์ ปั ญ หาภายนอกแคมป์ เพื่อลดความ ตื่นตระหนก ความวิตกกังวล เพิ่มความเข้าใจและความเชื่อมั่นในการแยกกักในแคมป์ - จัดให้มีเครื่องมือสนับสนุนการจัดการ เช่น พัฒ นาระบบข้อมูลเครื่องมือติดตามอาการ หรือ แอปพลิเคชันต่างๆ ตลอดจนระบบสนับสนุนอุปกรณ์ (Supply) ที่จำเป็น เช่น หน้ากากอนามัย ถุงมือยาง ชุด PPE เครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้ว เครื่องวัดอุณหภูมิ เครื่องผลิตออกซิเจน เป็นต้น - สร้างเครือข่ายอาสาสมัครในกลุ่มแรงงาน เพื่อเป็นกลไกสื่อสาร สร้างความรู้ความเข้าใจส่งเสริม สนับสนุน และกำกับติดตามภายในพื้นที่ - เตรียมการรองรับเหตุการณ์ ฉุกเฉิน/ไม่คาดคิด เช่น น้ำไม่ไหล ไฟดับ น้ำท่วม ไฟไหม้ แรงงาน เจ็บป่วยกะทันหัน - กำหนดนโยบาย “การป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19”เป็นนโยบายสำคัญ ในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ทั้งในสถานที่ก่อสร้างและแคมป์คนงานก่อสร้าง และมุ่งให้เกิดการปฏิบัติ ตามมาตรการอย่างเคร่งครัด กรมทางหลวงชนบท 5-67 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - จัดตั้งทีมดำเนินงาน กำหนดผู้รับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคโควิด -19 โดยอาจมอบหมายเจ้าหน้าที่ค วามปลอดภัย (จป.) หรือหัวหน้างาน (Staff) หรือผู้ได้รับมอบหมาย เป็นแกนนำ ในการติดตามสถานการณ์ภายในสถานที่ก่อสร้างและแคมป์คนงานก่อสร้าง และเป็นผู้กำกับติดตามการปฏิบัติตาม มาตรการ แนวทางการป้องกันโรคโควิด-19 - กำหนดทางเข้า -ออกสถานที่ ก่อสร้างและแคมป์ คนงานที่ ชัด เจน จำกัดทางเข้า -ออกให้ เป็ น ช่องทางเดียว เพื่อควบคุมการเข้า-ออก และสามารถคัดกรองผู้เข้า-ออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ผู้ปฏิบัติงาน แรงงาน ผู้รับจ้าง และผู้มาติดต่อทุกคนก่อนเข้าปฏิบัติงานภายในบริ เวณสถานที่ ก่อสร้างและแคมป์คนงาน ต้องมีการคัดกรองโดยการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายหากพบผู้ที่มีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ให้พักคอยและวัดอุณหภูมิอีกครั้ง หากอุณหภูมิไม่ลดจะถือว่ามีไข้ ไม่อนุญาตให้เข้า ทำงาน และให้อยู่ในพื้นที่กักตัวชั่วคราว และรายงานให้ จป. หรือผู้รับผิดชอบประเมินความเสี่ยง ดำเนินการตาม ระดับความเสี่ยงต่อไป - ผู้ปฏิบัติงานและผู้มาติดต่อ สวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลา และอาจจัดให้มี อุปกรณ์ป้องกันตนเองเพิ่มเติม สำหรับผู้ปฏิบัติงาน เช่น ถุงมือ แผ่นใสครอบหน้า เป็นต้น ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะ งานที่ทำ - จัดให้มีที่ล้างมือพร้อมสบู่ หรือแอลกอฮอล์หรือเจลแอลกอฮอล์ (ที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสม อย่างน้อยร้อยละ 70) ไว้ ณ จุดทางเข้า-ออก บริเวณต่างๆ และจุดที่มีความเสี่ยงจากการสัมผัสร่วม เช่น จุดลงชื่อ เข้าทำงาน ที่ติดต่อ สถานที่รับประทานอาหาร จุดกดน้ำดื่ม ห้องส้วม สำหรับผู้ปฏิบัติงานและผู้ มาติดต่ออย่าง เพียงพอ - กำหนดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1–2 เมตร ตามความเหมาะสม รวมถึง การจัดเว้นระยะห่างของสถานที่ เพื่อลดการสัมผัสระหว่างบุคคล - ปรับรูปแบบการทำงาน จัดระบบการทำงานเพื่ อลดความหนาแน่ น ลดโอกาสเสี่ยงจากการ ทำงาน เช่น การเหลื่อมเวลาการทำงาน เหลื่อมพื้นที่ทำงาน สลับวัน เป็นต้น - จัดให้คนงานทำงานเป็นกลุ่ม ใช้ชีวิตเฉพาะในกลุ่มของตนเอง และกำหนดให้มีกิจกรรมข้ามกลุ่ม ให้ น้อยที่ สุ ด โดยการออกแบบระบบงานให้สอดคล้องกับ กระบวนการก่อสร้าง เช่น การแบ่ งกลุ่ ม คนงานของ ผู้รับจ้างแต่ละเจ้า จะไม่มีกิจกรรมหรือปฏิบัติงานในพื้นที่เดียวกัน ในเวลาเดียวกัน แยกพื้นที่การทำงาน - งดกิจกรรมการรวมตัว กิจกรรมสังสรรค์ กิจกรรมที่ทำให้เกิดความแออัด โดยถือหลักหลีกเลี่ยง การติดต่อสัมผัสระหว่างกัน - ในกรณี มีการรับ -ส่งพนั กงาน ให้ ดู แลด้ า นความปลอดภัย ของคนงาน เช่ น จำกัดจำนวนคน ในรถรับ-ส่ง ไม่ให้แออัด จัดที่นั่งไม่ให้หันหน้าเข้าหากัน และให้สวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัยหลีกเลี่ยง การพูดคุยโดยไม่จำเป็นตลอดระยะเวลาการเดินทาง ห้ามผู้ไม่เกี่ยวข้องร่วมโดยสาร และไม่แวะระหว่างทาง - ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการฉีดวัคซีนโควิด-19 แก่พนักงานแรงงาน ผู้รับจ้าง - ผู้รับจ้างก่อสวร้างใช้ Antigen Test Kit ตรวจหาเชื้อในพนักงานที่มีอาการคล้ายไข้หวัด ท้องเสีย จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รับรส หรือเมื่อสงสัยว่าอาจป่วยเป็นโรคโควิด-19 หากไม่มีผู้ที่มีอาการสงสัย ให้สุ่มตรวจเชิงรุก โดยใช้ PCR หรือ Antigen Test Kit ในพนักงานและแรงงานเป็นระยะ ตามขนาดจำนวนคนงาน - ประสาน ดำเนินการเพื่อให้คนงานทุกคนมีโรงพยาบาลคู่สัญญาที่จะให้การดูแลรักษา เมื่อพบว่า มีอาการป่วย หรือติดเชื้อ - จัดเตรียมสถานที่แยกกักตัวผู้ติดเชื้อ หรือมีความเสี่ยงจากการสัม ผัสผู้ติดเชื้อภายในสถานที่ ก่อสร้างและแคมป์คนงานก่อสร้าง (Camp Isolation) คนดูแล อาหาร น้ำ และมีระบบส่งต่อไปสถานพยาบาลที่ ที่อยู่ใกล้กับพื้นที่โครงการ กรมทางหลวงชนบท 5-68 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) ระยะดำเนินการ - ปฏิบั ติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน และการ คมนาคมขนส่งอย่างเคร่งครัด 5.2.4.3 อาชีวอนามัย/สุขอนามัย 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบจากโรคและการบาดเจ็บต่อสุขภาพและอนามัยเนื่องจากอุบัติเหตุจากการทำงานของ คนงาน - จัดทำมาตรการเชิงป้องกันและปฏิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 2564 เพื่อลดอัตราการประสบอันตรายจากกิจการงานก่อสร้าง - ต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านเสียง คุณภาพอากาศ การคมนาคม ขนส่ง และสุขาภิบาล อย่างเคร่งครัด เพื่อความปลอดภัยในช่วงการก่อสร้าง - จัดให้ มีน โยบายด้านความปลอดภัยในการปฏิ บั ติงานในพื้ นที่ ก่อสร้าง การกำหนดแผนการ ก่อสร้างและมาตรการควบคุมความปลอดภัยในการก่อสร้างในขั้นตอนต่างๆ - ควบคุมและกำกับดูแลพนักงานและคนงานก่อสร้างให้ปฏิบัติตามระเบียบหรือกฎหมายด้าน ความปลอดภัย การตรวจสอบหาสาเหตุการเกิดอันตรายต่างๆ และการให้ข้อเสนอแนะและฝึกอบรมพนักงาน และคนงานก่อสร้างให้ปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวัง และเป็นไปตามนโยบายด้านความปลอดภัยที่กำหนด - ให้ความรู้และคำแนะนำแก่คนงานก่อสร้างในการป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคอันเนื่องมาจาก สุขภาพอนามัยในที่พักคนงานหรือจากการปฏิบัติงาน เป็นต้น - กำหนดให้มีการตรวจสอบประวัติก่อนรับเข้ าปฏิบัติงาน โดยพนักงานจะต้องไม่เป็นบุคคลที่มี ความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรมหรือเกี่ยวข้องกับยาเสพติด - กำหนดให้ผู้รับจ้า งก่อสร้างควบคุมดูแลคนงานก่อสร้างให้ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับในการ ทำงานในท้องถิ่น การกำหนดเวลาทำงาน การเข้า-ออกที่ พัก รวมถึงห้ามสุรา เสพสิ่งเสพติด ฯลฯ เพื่อป้องกัน ปัญหาความขัดแย้งกับประชาชนในท้องถิ่น - จัดอบรมผู้ปฏิบัติงานให้รู้จักวิธีใช้ ดูแล และบำรุงรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ อย่างถูกต้อง และเหมาะสมกับ ประเภทของงานก่อนการปฏิ บั ติ งาน และกำหนดให้ มี เจ้ าหน้ า ที่ รับ ผิ ด ชอบตรวจสอบและ บำรุงรักษาเครื่ องจักรอุปกรณ์ ต่างๆ ให้ใช้งานได้ดีอยู่เสมอ หากพบว่าเครื่องจักรอุป กรณ์ ใดชำรุดเสียหายต้ อง ซ่อมแซมทันที เพือ่ ป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงาน - กรณีที่มีลูกจ้างผู้พักอาศัยตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป จัดให้มีตู้ยาสามัญประจำบ้านประจำที่พักอาศัย เพื่อดูแลบรรเทาอาการป่วย การปฐมพยาบาลในเบื้องต้น - จัดให้มีข้อมูลเบอร์โทรศัพท์สำหรับการติดต่อสถานพยาบาลที่ใกล้กับที่พักอาศัย เพื่อใช้ในกรณี ฉุกเฉินเจ็บป่วยหรือในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุของลูกจ้าง ทั้งนี้ให้ติดตั้งไว้ในที่ลูกจ้างเห็นได้ชัดเจน - ต้องจัดทำรั้วที่พักอาศัยให้มั่นคงแข็งแรง กำหนดทางเข้า-ออก และห้ามมิให้บุคคลซึ่งไม่เกี่ยวข้อง เข้าไปในเขตก่อสร้าง - จัดให้มีทางเดินเข้า-ออกที่พักอาศัยโดยมิให้ผ่านเขตอันตราย หากจำเป็นต้องผ่านเขตอันตราย ต้องมีมาตรการพิเศษ เพื่อความปลอดภัยของลูกจ้าง รวมทั้งต้องมีมาตรการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากสิ่งของ ตกจากที่สูง กรมทางหลวงชนบท 5-69 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ต้องจัดเตรียมอุป กรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ได้แก่ หมวกนิรภัย รองเท้านิรภั ย ถุงมือ หน้ากากป้องกันฝุ่น ที่อุดหู (Ear Plug) ที่ครอบหู (Ear Muff) แว่นตานิรภัย หรืออุปกรณ์อื่นๆ ให้เพียงพอ แก่ผู้ปฏิบัติงาน และกำชับให้ผู้ปฏิบัติงานสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลทุ กครั้งที่ปฏิบัติงาน รวมทั้งให้สวมใส่เครื่องนุ่งห่มให้เรียบร้อย รัดกุม โดยในกรณีที่ทำงานเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าจะต้องให้ผู้ปฏิบัติงาน สวมเครื่องนุ่งห่มที่ไม่เปียกน้ำ - จัดให้มเ ี ครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ ชนิดที่เหมาะสมกับประเภทของเชื้อเพลิงและมีจำนวน เพียงพอไว้ในบริเวณบ้านพักคนงานและสำนักงานควบคุมการก่อสร้าง - อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ต้ อ งอยู่ ในสภาพที่ ป ลอดภั ย และไม่ ช ำรุ ด มี อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น อั น ตรายจาก กระแสไฟฟ้ารั่ว สายไฟฟ้าต้องเดินมาจากที่สูง กรณีเดินบนพื้นดินหรือฝังดินต้องใช้ท่อร้อยสายไฟฟ้ าที่แข็งแรง และปลอดภัย การวางท่อผ่านให้ยึดผูกกับอุปกรณ์ลูกถ้วยฉนวนป้องกันไฟฟ้า - การปฏิบั ติงานในที่สู งเกิน กว่า 2.0 เมตร ต้ องทำนั่ งร้านที่ มีความแข็ งแรงปลอดภัยสามารถ รับน้ำหนักบรรทุกได้ไม่น้อยกว่า 4 เท่าของน้ำหนักในการใช้งาน - งานก่อสร้างที่มีความเสี่ยงจะตกจากที่ สูงหรืออยู่ในที่สูงเกินกว่า 4.0 เมตร ขึ้นไป ต้องจัดให้มี เข็มนิรภัยและสายช่วยชีวิตให้คนงานสวมใส่ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน - ตรวจสอบอุปกรณ์ทุกชนิดที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน เช่น รถเครน ลวดสลิง เชือก ตะขอ สะเก็น ว่าอยู่ในสภาพดีทุกครั้งก่อนเริ่มทำงาน - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องดูแลที่พักอาศัย เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบริเวณที่พักอาศัย - จัดทำป้ายหรือประกาศเตือนเกี่ยวกับพิษภัยหรืออัตราโทษตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานมาตรฐานด้านสวัสดิการ แรงงานที่พักอาศัยสำหรับลูกจ้างประเภทกิจการก่อสร้าง พ.ศ. 2559 ดังนี้ บ้านพักคนงานหรือลูกจ้าง - ขนาดห้องพักอาศัยควรมีความกว้างด้านที่ แคบที่สุ ดไม่น้อยกว่า 4.50 เมตร ขนาดพื้ นที่ รวม ไม่น้อยกว่า 9.0 ตารางเมตร ความสูงไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร ทั้งนี้ ให้มีพื้นที่พักอาศัยไม่น้อยกว่า 3.0 ตารางเมตร/คน และให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร - ฐานรากและโครงสร้างต้องมีความปลอดภัยและแข็งแรงเพียงพอ รวมทั้งวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง ต้องมีความเหมาะสม - ที่พักอาศัยสำหรับลูกจ้างในงานก่อสร้างที่สร้างติดต่อกันหรือมีความยาวรวมกันถึง 45 เมตร ต้องมีที่ว่างระหว่างแถวด้านข้างที่พักอาศัยนั้น กว้างไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร เป็นช่องตลอดความลึกของที่พักอาศัย - การระบายอากาศโดยใช้วิธีธรรมชาติ บริเวณห้องพักในที่พักอาศัยต้องมีประตูหน้าต่าง หรือ ช่องระบายอากาศติดกับอากาศภายนอกเป็นพื้นทีร ่ วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่ของห้องนั้น ทั้งนี้ ไม่นับรวม พื้นที่ของประตู หน้าต่าง และช่องระบายอากาศที่ติดต่อกับห้องอื่นหรือช่องทางเดินภายในอาคาร - จัดให้มีห้องพักให้แก่ลูกจ้างในจำนวนที่เพียงพอกับจำนวนลูกจ้างที่พักอาศัย กรมทางหลวงชนบท 5-70 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม การจัดห้องนำและห้องส้วม - ห้องน้ำห้องส้วมจะต้องสะอาด มีจำนวนเพียงพอ ต่อคนงานก่อสร้าง มีแสงสว่างเพียงพอ มีความ ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ - ห้องน้ำและห้องส้วมจะแยกจากกัน หรือรวมกันอยู่ในห้องเดียวกันก็ได้ แต่ต้องแยกชาย-หญิง มีลักษณะที่ จะรักษาความสะอาดได้ง่าย และมีช่องระบายอากาศไม่น้ อยกว่าร้อยละ 10.0 ของพื้น ที่ห้องหรือ มีพัดลมระบายอากาศได้เพียงพอ ระยะดิ่งระหว่างพื้นห้องถึงเพดานยอดฝาหรือผนังตอนต่ำสุดต้องไม่น้อยกว่ า 2 เมตร - ในกรณีที่ห้องน้ำและห้องส้วมแยกกันต้องมีขนาดพื้นที่ของห้องไม่น้อยกว่า 1 ตารางเมตร และ ต้องมีความกว้างภายในไม่น้อยกว่า 1 เมตร แต่ถ้าห้องน้ำและห้องส้วมรวมอยู่ในห้องเดี ยวกัน ต้องมีพื้นที่ภายใน ไม่น้อยกว่า 1.50 ตารางเมตร - ฐานรากและโครงสร้างต้องมีความปลอดภัยและแข็งแรงเพียงพอ รวมทั้งวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง ต้องมีความเหมาะสม - ภายหลั งดำเนิ น การก่อสร้างแล้ วเสร็จ ให้ ท ำการรื้อถอนสำนั กงานควบคุม งานและบ้ านพั ก คนงาน รวมถึงการกำจัดถังบำบัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลที่อยู่บริเวณใต้ดินให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล การจัดการขยะมูลฝอย - ตั้งจุดรวบรวมขยะมูลฝอย (Station) และแบ่งแยกประเภทของถัง รองรับขยะมู ลฝอยตามสี ต่างๆ ตามประเภทของขยะมูลฝอยที่รองรับ - จัดให้มีถังขยะที่เพี ยงพอถังขยะควรเป็นวัสดุที่ ทำความสะอาดง่าย มีความแข็งแรง ทนทาน ไม่รั่วซึม มีฝาปิดมิดชิด มีขนาดเหมาะสมกับปริมาณขยะ สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก ง่ายต่อการถ่ายและเทขยะ และสามารถป้องกันสัตว์และแมลงพาหะนำโรคได้ - มีถุงบรรจุภายในถังขยะ เพื่อความสะดวกต่อการจัดเก็บและไม่ตกหล่นหรือแพร่กระจาย - ผู้รับจ้างก่อสร้าง ส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะมูลฝอย เพื่ อเป็น การลดปริมาณขยะที่ ต้นทาง และลดภาระการส่งไปกำจัดให้น้อยลงโดยใช้หลัก 3 R ได้แก่ ▪ Reduce ลดการใช้ โดยเลือกใช้วัสดุจากธรรมชาติ ลดการใช้กล่องโฟมและพลาสติก ▪ Reuse การใช้ซำ ้ เช่น ใช้ถุงผ้า หรือถุงกระดาษแทนถุงพลาสติก ▪ Recycle การนำกลับมาใช้ใหม่ เป็นการนำสิ่งของใช้แล้วไปผ่านกระบวนการแปรรูป เพื่อ นำกลับมาใช้ใหม่ - ประสานงานองค์ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลเกาะกลางให้ เข้ามาดำเนิ น การจั ด เก็ บ ขยะมู ล ฝอย ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน เพื่อนำไปกำจัดตามหลักสุขาภิบาล การจัดการสัตว์และแมลงพาหะนำโรค - ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงหรือใช้สารกำจัด ติดมุ้งลวดตามประตูหน้าต่าง และมียาทากันยุง - รักษาความสะอาดความเป็นระเบียบของสถานที่พักอาศัย สำนักงาน โรงอาหาร โรงเก็บวัสดุ และโรงซ่อมบำรุงให้ทั่วถึงอย่างสม่ำเสมอ - อาหารแห้งต่างๆ เช่น แป้ง น้ำตาล ต้องบรรจุในภาชนะหรือขวดโหลที่มีฝาปิดมิดชิด - รวบรวมและกำจัดขยะมูลฝอย ซึ่งเป็นแหล่งอาหารและที่พักอาศัยของหนูลงในถังขยะมีฝาปิด มิดชิด ไม่รั่วซึม และนำขยะไปทิ้งทุกวัน ไม่ให้ตกค้าง - ปิดช่องหรือทางเปิดที่หนูจะเข้าไปในอาคารที่พักอาศัยและห้องอาหาร - เก็บอาหารในตู้และภาชนะที่ปกปิดมิดชิด เพื่อป้องกันแมลงวันตอม กรมทางหลวงชนบท 5-71 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม การจัดการคุณภาพนำเพื่อการบริโภค - จัดหาแหล่งน้ำดื่มที่คุณภาพ ผ่านกระบวนการผลิตน้ำดื่มที่ได้มาตรฐานและมีความเพียงพอ - ตั้งจุดบริการน้ำดื่มในพื้นที่สะอาด พื้นไม่แฉะ ตั้งห่างจากแหล่งปนเปื้อน ห้องส้วม จุดรวมขยะ - ตู้น้ำดื่ม คูลเลอร์ ก๊อกน้ำ ต้องอยู่ในสภาพดีและหมั่นทำความสะอาดอยู่เสมอ - แก้วน้ำส่วนตัวต้องทำความสะอาดหลังใช้ทุกครั้ง 2) ระยะดำเนินการ - จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับ ลักษณะงานให้พนักงานสวมใส่ และ ต้องกำชั บอย่างเคร่งครัดให้ สวมใส่ทุกครั้ง ระหว่างปฏิบั ติงาน เช่น หมวกแข็ง ถุงมือ รองเท้ าบูท และเสื้อกั๊ก ๊ สีสด ที่สามารถมองเห็นได้ชัดในระยะไกล สะท้อนแสงหรือเสื้อกัก - จัดให้มีอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย ได้แก่ ป้ายไฟบอกพื้นที่ทำงานบำรุงรักษาทาง แผงกั้น กรวย เครื่องหมายบนผิวจราจร ไฟส่องสว่างและไฟกระพริบ เพื่อใช้เตือนพื้นที่ปฏิบัติงานบำรุ งรักษาทางก่อนถึงพื้นที่ ทำงาน 5.2.4.4 สุขาภิบาล 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อปัญหาจัดการขยะมูลฝอย ของเสีย นำเสียของชุมชน การจัดการขยะมูลฝอย - ผู้รับ จ้ างก่อสร้างต้ องจั ด ให้ มี ถังขยะแยกประเภทที่ มี ฝาปิ ด มิ ดชิ ด น้ ำไม่ ส ามารถจะรั่วซึ มได้ (ไม่ควรใช้เข่งในการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย) มีจำนวนและขนาดที่เพียงพอต่อปริมาณขยะที่ เกิดขึ้นในแต่ละวัน ตั้งวางไว้ตามจุดต่างๆ ภายในพื้นที่หน่วยก่อสร้าง เช่น บ้านพักคนงาน ห้องอาหาร อาคารและสำนักงาน รวมทั้ง โรงซ่อมบำรุง โดยจัด ให้ มีเจ้าหน้าที่หรือคนงานเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยไปไว้ในจุ ดรวมขยะ ผู้รับจ้างก่อสร้าง ต้องประสานงานติดต่อพนักงานเก็บขยะมู ลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง เพื่อนำรถบรรทุกขยะ เข้ามาจัดเก็บและขนส่งต่อไปยังสถานกำจัดขยะมูลฝอย - ติดป้ายหรือสัญลักษณ์บนถังขยะตามประเภทของขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะเปียก และขยะอันตรายให้ชัดเจน - ภายหลังดำเนินการก่อสร้างแล้ วเสร็จ ให้ทำการรื้อถอนสำนักงานควบคุมงาน บ้านพักคนงาน รวมถึงการกำจัดถังบำบัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลที่อยู่บริเวณใต้ดินให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล - ให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่และคนงานก่อสร้ างให้เข้าใจถึงประเภทและการแยกขยะ เพื่อลดขยะ ที่ต้องนำไปกำจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนำกลับมาใช้ได้ อีก เช่น ขวดแก้ว โลหะ พลาสติ ก ขยะเปี ยกสามารถนำมาทำปุ๋ ย น้ ำชีวภาพ ขยะอั นตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกำจัดที่ปลอดภัย โดยการแยกขยะแบบถูกวิธี ดังนี้ ▪ ขยะย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหารและพืชผักที่เหลือจากการรับประทานและการประกอบ อาหาร สามารถนำไปหมักทำปุ๋ยได้ จากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมดมีประมาณ 46% ขยะประเภทนี้ให้แยกใส่ ถังสีเขียว เพื่อจะนำไปทำปุ๋ยหมัก ▪ ขยะรีไซเคิล หรือขยะที่สามารถนำไปขายได้ เช่น ขวด แก้วพลาสติก เศษแก้ว กระป๋อง น้ำอัดลม กระป๋องน้ำผลไม้ ขวดแก้ว เศษกระดาษ กล่องเครื่องดื่ม ถุงพลาสติก ซึ่งจากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด มีอยู่ประมาณ 42% ขยะประเภทนี้ให้แยกใส่ถังสีเหลือง เพื่อจะถูกนำไปรีไซเคิลและนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ใหม่ กรมทางหลวงชนบท 5-72 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ▪ ขยะทั่วไป เป็นขยะที่ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าในการนำไปรีไซเคิล เช่น พลาสติกใส่อาหาร หลอด ซองขนม ซองลูกอม ซองบะหมี่ ทิชชู กล่องอาหาร แก้วกระดาษเคลือบใสเครื่องดื่ม มาม่าคัพ จากปริมาณ ขยะมูลฝอยทั้งหมดประมาณ 9% ขยะประเภทนี้ให้แยกใส่ถังสีน้ำเงิน เพื่อจะถูกนำมาไปฝังกลบรอการย่อยสลาย ▪ ขยะมีพิษที่ต้องเก็บรวบรวมแล้วนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี เช่น กระป๋องยาฆ่าแมลง หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย ซึ่งจากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมดมีอยู่ประมาณ 3% ขยะประเภทนี้ให้แยกใส่ถังสี แดง เพื่อจะนำไป กำจัดอย่างถูกวิธี การลดและจัดการขยะก่อนนำไปทิง - การลดการใช้ หรือการลดขยะจากแหล่งที่เกิด โดยพยายามหลีกเลี่ ยงหรือลดการเกิดขยะหรือ มลพิษที่เกิดขึ้น เช่น การใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก ลดการใช้หลอดดูด โดยการกินน้ำเปล่าจากแก้ว - การนำผลิตภัณฑ์มาใช้ซ้ำ เป็นการนำวัสดุของใช้กลับมาใช้ในรูปแบบเดิมหรือนำมาซ่อมแซมใช้ หรือนำมาใช้ทำประโยชน์อื่นๆ โดยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ ▪ ขัน้ ตอนการผลิตสินค้า พยายามทำให้เกิดเศษวัสดุหรือของเสียน้อยที่สุด ▪ ขั้น ตอนการนำของมาใช้ซ้ำ เป็นการยืดอายุการใช้งานก่อนจะนำไปทิ้ ง เช่น การนำขวด พลาสติกมาบรรจุน้ำ การใช้กระดาษ 2 หน้า - การนำกลับ มาผลิ ตใหม่ เป็ น การแยกวัส ดุที่ ไม่ ส ามารถนำกลับ มาใช้ซ้ ำได้ออกจากขยะและ รวบรวมใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้าขึ้นใหม่หรือเรียกว่ารีไซเคิล - การเลี่ยงการใช้วัสดุกำจัดยาก เช่น กล่องโฟม การใช้จ านหรือแก้วกระดาษ ยาฆ่าแมลง ควรใช้ สมุนไพรเป็นสารกำจัด - การซ่อมแซมนำกลับมาใช้ใหม่เป็ นการซ่อมแซมวั สดุที่ใช้แล้ว ที่สามารถซ่อมแซมนำกลับมา ใช้ใหม่ได้ เช่น การซ่อมแซมเสื้อผ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าชำรุด เป็นต้น การจัดการนำเสียจากสำนักงานควบคุมโครงการและบ้านพักคนงานก่อสร้าง - ติ ด ตั้ ง ถังบำบั ด น้ ำ เสี ย สำเร็จ รูป ชนิ ด เกรอะ -กรองไร้อ ากาศ เพื่ อรองรับ น้ ำ เสี ย จากห้ อ งน้ ำ - ห้องส้วม ขนาด 10.0 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง น้ำเสียจากโรงอาหาร ขนาด 10.0 ลบ.ม. จำนวน 2 ถัง และน้ำเสียจาก โรงซ่อมบำรุง 1.50 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง เพื่อบำบัดน้ำเสียให้อยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้ำทิง ้ ก่อนระบายลงสู่แหล่งน้ำ ที่อยู่บริเวณใกล้เคียง - จัดการน้ำเสียหรือน้ำใช้ผ่านถังบำบัดน้ำเสียชนิดเกรอะ-กรองไร้อากาศและถังดักไขมัน เพื่อให้ คุ ณ ภาพน้ ำ อยู่ ในเกณฑ์ ม าตรฐานควบคุม การระบายน้ ำทิ้ ง ตามประกาศกระทรวงทรัพ ยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม ดังนี้ • ความเป็นกรดและด่าง (pH) ระหว่าง 5.5 - 9.0 • บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร กรณีหน่วยบำบัด สุดท้ายเป็นบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond) หรือบ่อผึ่ง (Oxidation Pond) ให้ใช้ค่าบีโอดีของน้ำที่ผ่านการ กรองแล้ว (Filtrate BOD) • ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) ไม่เกิน 30 มิลลิกรัมต่อลิ ตร กรณีหน่วยบำบัด สุดท้ายเป็นบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond) หรือบ่อผึ่ง (Oxidation Pond) ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร • น้ำมันและไขมัน (Fat, Oil and Grease) ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร • ไนโตรเจนทั้งหมด (Total Nitrogen) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมไนโตรเจนต่อลิตร กรมทางหลวงชนบท 5-73 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม • ฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ไม่เกิน 2 มิลลิกรัมฟอสฟอรัสต่อลิตร • การตรวจสอบค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชนให้เป็นไปตาม Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater ฉบั บ ล่ า สุ ด ซึ่ ง American Public Health Association, American Water Work Association และ Water Environment Federation ร่วมกันกำหนด ไว้หรือตามวิธีอื่นที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษประกาศในราชกิจจานุเบกษา - ติดตั้งถังดักไขมันบริเวณโรงซ่อมบำรุง ขนาด 0.5 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง น้ำเสียจากห้องอาหาร ขนาด 0.5 ลบ.ม. จำนวน 4 ถัง - วางท่ อระบายน้ ำชั่ วคราวชนิ ด PVC-5 ขนาดเส้ น ผ่ านศูน ย์ กลาง 1.20 เมตร โดยรอบพื้ น ที่ ก่อสร้าง เพื่ อรวบรวมน้ำเสียที่ผ่านถั งบำบั ดน้ ำเสียแบบรวมชนิดเกรอะ -กรองไร้อากาศ ไปยังบ่ อรวมน้ ำขนาด 6.5×6.5×1.0 เมตร ก่อนระบายออกสู่พื้นที่หน่วยก่อสร้างลงสู่รางเปิดริมทางหลวงหมายเลข 4206 - จัดให้มีถังขยะพร้อมฝาปิดขนาด 240 ลิตร จำนวน 4 ถัง/ชุด ตั้งวางอยู่ในบริเวณพื้นที่บ้านพัก คนงาน 1 ชุด โรงอาหาร 1 ชุด สำนักงาน 1 ชุด และพื้น ที่ก่อสร้าง 1 ชุด เพื่อรองรับปริมาณขยะในแต่ละวัน พร้อมทั้งประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง เข้ามาดำเนินการจัดเก็บในแต่ละวัน - จัดเตรียมพื้นที่สำหรับเครื่องจักร รวมทั้งโรงบำรุงเครื่องจักร บริเวณที่เก็บถังน้ำมันเชื้อเพลิง ถังน้ำมันเครื่อง และถังเก็บน้ำมันที่ใช้แล้ว บริเวณที่ทำความสะอาดยานพาหนะและ - เครื่องจักรกล รวมทั้งพื้นที่กองวัสดุก่อสร้างให้อยู่ห่างจากแหล่งน้ำและทางระบายน้ำอย่างน้อย 100 เมตร เพื่อป้องกันการปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้ำ - จัดภาชนะรองรับน้ำมันที่ใช้แล้วไว้ในโรงซ่อมบำรุงเพื่อรวบรวมและนำไปกำจัดให้เหมาะสม - ทำการเทพื้นคอนกรีตในบริเวณที่อาจเกิดการรั่วไหลของน้ำมันและไขมันในบริเวณที่พักคนงาน และโรงซ่ อมบำรุง เครื่องจั ก รกล โดยทำเป็ น พื้ น คอนกรี ต ที่ ย กขอบโดยรอบและต่ อ ท่ อระหว่ า งพื้ น คอนกรี ต และบ่อดักไขมัน เพื่อรวบรวมสิ่งรั่วไหลจากพื้นคอนกรีตลงสู่บ่อดักไขมันโดยตรง และระบายน้ำที่ผ่านการดักไขมัน ลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสีย - ภายหลังดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ ให้ทำการรื้อถอนสำนักงานควบคุมงาน บ้านพักคนงาน รวมถึงการกำจัดถังบำบัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลที่อยู่บริเวณใต้ดินให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล การจัดการนำเสียจากสุขาเคลื่อนที่ - ติ ด ตั้ ง สุ ข าเคลื่ อนที่ พ ร้อ มทั้ ง ถั งบำบั ด น้ ำ เสี ย สำเร็จ รูป ชนิ ด เกรอะ -กรองไร้อ ากาศ จำนวน 4 ห้อง/ชุด ในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างฝั่งเกาะกลาง 1 ชุด และฝั่งเกาะลันตาน้อย 1 ชุด เพื่อสุขอนามัยการขับถ่าย ของคนงานก่อสร้างที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน และประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง และอบต.เกาะลันตาน้อย เข้ามา ดำเนินการจัดเก็บและนำของเสียที่เกิดขึ้นไปกำจัดในแต่ละวัน 2) ระยะดำเนินการ - จัดสุขาสำหรับรองรับนักท่องเที่ ยวบริเวณฝั่งเกาะกลาง โดยกำหนดตำแหน่งห้องสุขาบริเวณ ด้านใต้สะพานโครงการ และประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง ให้เข้ามาดำเนินการดูแลรักษาความสะอาด - ติ ด ตั้ งถั ง ขยะขนาด 240 ลิ ต ร มี ฝ าปิ ด พร้อ มกรงตาข่ า ยเหล็ ก กัน ลิ ง คุ้ ย ขยะ แยกประเภท 4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะอันตราย ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล บริเวณพื้นที่ว่างของลานจอดรถใกล้กบ ั ทางขึ้น-ลงไปจุดชมวิวโครงการ ฝั่งซ้ายทางและฝั่งขวาทางอย่างละ 1 ชุด - ติดป้ายหรือสัญลักษณ์บนถังขยะตามประเภทของขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะเปียก และขยะอันตรายให้ชัดเจน กรมทางหลวงชนบท 5-74 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ติ ด ตั้ ง ป้ า ยประชาสั ม พั น ธ์ รณรงค์ ข อความร่ ว มมื อ งดใช้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ โฟมและพลาสติ ก แก่ ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว - กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง ในการเก็บขนขยะมูลฝอยไปกำจัดตาม หลั กสุ ขาภิบ าล โดยการเก็บ ขนขึ้น อยู่ กับ ปริม าณขยะมูล ฝอยและช่ วงเวลา ช่วงวัน หยุด ยาวหรือช่ วงเทศกาล ท่องเที่ยว (พฤศจิกายน-มีนาคมของทุกปี) จะมีปริมาณขยะมูลฝอยมากให้จัดเก็บขยะทุกวันๆ ละ 3 - 4 เที่ยว/วัน ในช่วงเวลา 07.00 - 17.00 น. เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขยะตกค้างในพื้นที่ แต่หากเป็นช่วงปกติจะจัดเก็บขยะมูลฝอย 1 - 2 เที่ยว/วัน ในช่วงเวลา 08.00 - 16.00 น. ขึ้นอยู่กับปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บขน เพื่อทำการขนส่งขยะมูลฝอย จากสถานที่รวบรวมขยะมูลฝอยไปยังสถานที่กำจัดขยะโดยเตาเผาเพื่อผลิตพลังงาน ณ เทศบาลเมืองกระบี่ - ติดป้ายห้ามทิ้งขยะบริเวณจุดชมวิว 2 แห่ง ได้แก่ กม.0+692 และ กม.0+892 เพื่อป้องกัน การทิ้งขยะลงทะเล 5.2.4.5 อุบัติเหตุและความปลอดภัย 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุของผู้ใช้ร / นน และคนเดินเท้า/จุดเสี่ยงต่อการเกิด อุบัติเหตุ - ต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคมนาคมขนส่งอย่างเคร่งครัด เพื่อลด ผลกระทบต่อความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุของผู้ใช้รถและจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ - ประสานงานกั บ องค์ ก ารปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ ได้ แ ก่ อบต.เกาะกลางและ อบต. เกาะลันตาน้ อย เพื่ อประชาสัมพั นธ์แผนงานโครงการให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบ ตั้งแต่ในระยะเตรียมการ ก่อสร้างและให้ดำเนินการต่อเนื่องไปจนการก่อสร้างโครงการแล้วเสร็จ ดังนี้ ▪ ก่อนเริ่มการก่อสร้างโครงการ ให้ประชาสัมพันธ์แผนการก่อสร้างให้ประชาชนบริเวณแนว เส้นทางโครงการทราบ และติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ขนาดใหญ่สามารถเห็นได้ชัดเจน โดยมีเนื้อหา ประกอบด้วย ชื่อโครงการ สถานที่ก่อสร้าง ระยะเวลา และบริษัทผู้รับจ้างก่อสร้าง งบประมาณ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ผู้รับจ้าง ก่อสร้าง และเจ้าของงาน (กรมทางหลวงชนบท) ติดตั้งก่อนเริ่มงานก่อสร้างอย่างน้อย 2 เดือน จำนวน 2 จุด ได้แก่ บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการ (กม.0+000) และจุดสิ้นสุดโครงการ (กม.2+527) ▪ ติดตั้งป้ายจราจรเพื่อเตือนภัยแก่ผู้ใช้เส้นทาง โดยประเภทและขนาดป้ายจราจรให้เป็นไป ตามมาตรฐานของกรมทางหลวงชนบท ป้ ายต้ องมี ขนาดใหญ่ สามารถมองเห็ น ได้ ชัด เจนสำหรั บ ผู้ ใช้ เส้ น ทาง โดยเฉพาะบริเวณทางแยก ทางโค้งทางเชื่อมถนนท้องถิ่น และแหล่งชุมชน - จัดเตรียมแผนการจัดการจราจรก่อนเริ่มต้น การก่อสร้างโครงการ โดยจัดให้มีแ ผงกั้น กรวย เครื่องหมายจราจรบนผิวทาง และติดตั้งป้ายเตือนเขตก่อสร้าง ตลอดจนติดตั้งสัญญาณไฟให้ชัดเจนทั้ง ในเวลา กลางวันและกลางคืน ก่อนถึงเขตก่อสร้างอย่างน้อย 500 เมตร โดยเฉพาะทางแยก - การติดตั้ งป้ายบอกตำแหน่ งทางเบี่ยงก่อนถึงพื้นที่จุดทางเบี่ยงเป็นระยะทาง 300 เมตร โดย ดำเนินการต่อเนื่องตลอดระยะเวลาก่อสร้าง เพื่อลดผลกระทบจากการจราจรของเส้นทางเดิม - จัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยอำนวยความสะดวกด้านการจราจรแก่ยานพาหนะที่สัญจรผ่านทางแยก และทางโค้ง ซึ่งเป็น จุดเสี่ยงในช่วงที่ มีกิจกรรมก่อสร้าง เพื่อทำหน้าที่ควบคุมในการหยุด การจราจรขณะมีการ เข้า-ออกของยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งวัสดุก่อสร้างหรือที่มีการเคลื่อนย้ายเครื่องจักร เพื่อลดผลกระทบด้าน การกีดขวางการเดินทางของประชาชนในพื้นที่ กรมทางหลวงชนบท 5-75 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ผู้ รั บ จ้ า งก่อ สร้า งต้ อ งติ ด ตั้ ง ไฟกระพริบ สามารถมองเห็ น ได้ ในระยะอย่ า งน้ อ ย 500 เมตร ในทัศนวิสัยปกติ บริเวณที่มีการใช้พื้นที่จราจรและทำให้เกิดทางเบี่ยง เพื่อเตือนให้ผู้ขับขี่รถยนต์ให้ทราบล่วงหน้า ก่อนถึงจุดเริ่มต้นก่อสร้าง - กรมทางหลวงชนบทควบคุมผู้รับเหมา/ผู้รับจ้างก่อสร้างนำวัสดุที่รื้ อถอนไปทิ้งหรือกำจัดให้ ถูกต้องตามกฎหมาย - ต้องปิดคลุมท้ ายรถบรรทุกที่ใช้ในการลำเลี ยงเศษมวลดินและวั สดุอุป กรณ์ก่อสร้างให้มิดชิด โดยมีชายผ้าหรือชายวัสดุอื่นๆ ยื่นยาวลงมามากกว่าส่วนการบรรทุกวัสดุอย่างน้อย 30 เซนติเมตร เพื่อป้องกัน การร่วงหล่นของเศษดินตกลงสู่ผิวจราจร - ตรวจสภาพของรถบรรทุก อุปกรณ์และเครื่องจักรที่ใช้ในกิ จกรรมก่อสร้าง ตามระยะรอบการ ทำงานของเครื่องจักรที่ใช้ในโครงการอยู่เสมอ - กำหนดน้ำหนักรถบรรทุกให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด - ตรวจสอบและซ่อมแซมผิวการจราจรของถนนโครงข่ายอยู่ เสมอ และหากพบว่า มีการชำรุด เนื่องจากการขนส่งของโครงการ ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องรีบทำการซ่อมแซมผิวทางให้มีสภาพดี เพื่อไม่ให้เป็นสาเหตุ ของการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน - ควบคุมและจั ดอบรมพนักงานขับ รถบรรทุกที่ ใช้ขนส่งวัสดุและอุป กรณ์ ก่อสร้างโครงการให้ ปฏิ บัติต ามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด และขับขี่ ยานพาหนะด้วยความระมั ดระวัง เพื่ อป้องกัน การเกิดอุบั ติเหตุ ั ขีเ ทั้งต่อตัวผู้ขบ ่ อง และผู้ร่วมใช้เส้นทาง ตลอดจนประชาชนที่อาศัยอยู่ใกล้แนวเส้นทางโครงการ - ห้ามพนักงานขับรถใช้สารกระตุ้นออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท หรือมีการมึนเมาในขณะปฏิบัติงาน หากมี การฝ่ าฝื น จะต้ องพิ จารณาโทษทั น ที เพื่ อไม่ ให้ เกิด อุบั ติเหตุจ นกระทบต่ อชี วิต ทรัพ ย์ สิน ผู้ อื่น ซึ่ งจะส่ ง ผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของโครงการ - ติดสติ๊กเกอร์บริเวณกระบะท้ายรถบรรทุกและเครื่องจักรของโครงการ ที่ระบุบริษัทผู้ดำเนินการ และหมายเลขโทรศัพท์ เพื่อการร้องเรียน - ติดตั้งตาข่ายขึงด้านล่างโครงสร้างสะพาน ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง เพื่อป้องกันเศษวัสดุจาก การก่อสร้างตกหล่นลงสู่ด้านล่าง 2) ระยะดำเนินการ - ปฏิบั ติต ามมาตรการป้ องกัน และแก้ ไขผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมด้ านการคมนาคมขนส่งอย่า ง เคร่งครัด ซึ่งเป็นการป้องกันอุบัติเหตุและเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ และเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู้ใช้ทาง - ตรวจสอบบำรุงรักษาสภาพผิวจราจร ไฟส่องสว่าง ป้ายบอกทาง และป้ายเตือนต่างๆ บนสะพาน และทางระดับดินให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอ - ช่วงที่มีการบำรุงรักษาเส้นทางโครงการ ต้องติดป้ายสัญลั กษณ์เตือนในบริเวณที่มีการใช้พื้ นที่ จราจรและทำให้เกิดทางเบี่ยง เตือนให้ผู้ขับขี่รถยนต์ให้ทราบล่วงหน้าก่อนถึงจุดเริ่มต้นก่อสร้าง จำนวน 3 จุด ที่ระยะ 1,000 เมตร ระยะ 500 เมตร และระยะ 200 เมตร ตามลำดับ - บริเวณตอม่อสะพานที่อยู่ใกล้กับร่องน้ำเดินเรือ ที่เป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ต้ องติดตั้ง ไฟส่องสว่างและไฟกระพริบ เพื่อเตือนให้ผู้ใช้สัญจรทางน้ำมีความระมัดระวังในการขับขี่เพิ่มขึ้น กรมทางหลวงชนบท 5-76 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.4.6 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการ ูกทำลายหรือทำให้เสียหายต่อโบราณส านและโบราณวัต ุที่มีความสำคัญ - ต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน และ การคมนาคมขนส่งอย่างเคร่งครัด - กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับสำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช ก่อนเข้าดำเนินการ และระหว่า งการดำเนิ น งานในพื้น ที่ แ ละหากพบโบราณวัต ถุ ทั้ง บนดิน ใต้ดิน และใต้ น้ำ ขอให้แจ้ง สำนัก ฯ อย่างเร่งด่วน เพื่อจะได้เข้าตรวจสอบและป้องกันการเกิดปัญหาแก่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดต่อไป - ขณะก่อสร้างถนนโครงการและก่อสร้างฐานรากสะพานให้ติดตั้งกำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิด เมทัลชีท (Metal Sheet) หนา 0.64 มิลลิเมตร หรือวัสดุที่มีประสิท ธิภาพสูงกว่า ความสูง 3.0 เมตร ความยาว 100 เมตร ช่ วง กม.0+290 - กม.0+390 และความยาว 85 เมตร ช่วง กม.1+920 - กม.2+005 บริเวณที่ มี ผลกระทบด้านเสียงเกินค่ามาตรฐานที่กำหนด จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) และกุโบร์ บ้านทุ่งโต๊ะหยุม (กม.2+012) 2) ระยะดำเนินการ - เมื่ อทำการก่อสร้างถนนโครงการแล้วเสร็จ ให้ ท ำการติด ตั้งกำแพงกัน เสียงชนิ ด อะคริลิคใส (Acrylic) หรือวัส ดุ ที่ มีป ระสิ ท ธิภาพสู งกว่ า ความสู ง 2 เมตร หนา 15 มิ ลลิ เมตร ความยาวกำแพง 85 เมตร บริเวณราวสะพานของโครงการ เพื่อป้องกันผลกระทบด้านเสียงต่อกุโบร์ทุ่งโต๊ ะหยุม (กม.2+012) เนื่องจากพื้นที่ ดังกล่าวมีการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอยู่เป็นประจำ - ติดตั้งป้ายเครื่องหมายสัญญาณห้ามบีบแตรบริเวณราวสะพานโครงการก่อนถึงบริเวณกุโบร์ทุ่ง โต๊ะหยุม (กม.2+012) เพื่อป้องกันเสียงแตรจากรถที่ใช้เส้นทางโครงการในขณะที่มีการประกอบพิธีที่กุโบร์ทุ่ งโต๊ะ หยุม (กม.2+012) - ตรวจสอบและดูแลรักษากำแพงกัน เสี ยงชนิ ด อะคริลิ คใส (Acrylic) บริเวณราวสะพานของ โครงการให้มีสภาพดี เพื่อป้องกันผลกระทบด้านเสียงต่อกุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม (กม.2+012) - ตรวจสอบและดูแลรักษาผิวจราจรของถนนโครงการให้มีสภาพดี เพื่อลดแรงกระแทกระหว่าง ล้อยานพาหนะกับผิวจราจร 5.2.4.7 ทัศนียภาพ 1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนียภาพหรือลดคุณค่าของภูมิทัศน์/ทัศนียภาพ - กำหนดเป็น เงื่อนไขในสัญ ญาก่อสร้างให้ผู้รับ จ้า งก่อสร้า งดูแลรักษาความสะอาดเรีย บร้อย ของพื้นที่ก่อสร้างอย่างสม่ำเสมอ - ต้องเก็บขยะออกจากพื้นที่ก่อสร้างและรักษาพื้นที่ก่อสร้างให้เป็นระเบียบอยู่เสมอ - เศษกิ่งไม้หรือเศษวัสดุที่เกิดจากการรื้อย้ายสิ่งกีดขวาง การแผ้วถางปรับพื้นที่ การขุดเจาะดิน การถมดิน รวมทั้งเศษวัสดุที่เหลือจากการก่อสร้าง เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จจะต้องรีบนำออกไปจากพื้นที่ก่อสร้างทันที เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อการกีดขวางการทำงาน และไม่ ให้เป็นอุปสรรคต่อการใช้ทางในบริเวณใกล้เคียง รวมทั้ง ป้องกันไม่ให้เกิดสภาพที่ไม่น่ามองด้วย ทั้งนี้ หากยังไม่สามารถนำไปกำจัดได้ทันทีจะต้องจัดให้มีพื้นที่ เก็บกอง ที่เป็นระเบียบเรียบร้อย และมีรั้วล้อมรอบพื้นที่เพื่อป้องกันไม่ให้ส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำผิวดินที่อยู่ใกล้เคียง กรมทางหลวงชนบท 5-77 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 5 มาตรการป้องกัน สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) ระยะดำเนินการ - ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านสุขาภิบาลอย่างเคร่งครัด - ดูแลและบำรุงรักษาประติมากรรมบริเวณจุดชมวิวและรักษาความสะอาดบริเวณพื้นที่จอดรถ บันไดขึ้นสะพานและแนวทางเดิ นริมสะพาน ซึ่งจะช่วยให้ทั ศนียภาพของโครงการดูสะดวด สวยงามและเป็ น ระเบียบเรียบร้อย กรมทางหลวงชนบท 5-78 บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบ สิ่งแวดลอม รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6.1 บทนำ การประเมิ น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม โครงการสะพานเชื่ อ มเกาะลั น ตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบล เกาะลั น ตาน้ อย อำเภอเกาะลั นตา จังหวัด กระบี่ พบว่า กิจกรรมการก่อสร้างและดำเนิ น โครงการมี ป ระเด็ น ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม ที่ ส ำคัญ อยู่ หลายประเด็ น ซึ่งทางโครงการได้ กำหนดให้ มี ม าตรการป้ องกัน และแก้ไข ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมที่จ ะเกิดขึ้ น ให้น้ อยที่ สุด ไว้แล้ ว (ดั งแสดงรายละเอี ยดในบทที่ 5 มาตรการป้ องกัน และ แก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม) และเพื่อให้มั่นใจว่ามาตรการต่างๆ จะถูกนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม จึงจำเป็น ต้องกำหนดให้มีการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ ทั้ งในระยะก่ อสร้างและระยะดำเนิ น การ นอกจากนี้ ยั ง จำเป็ น ต้ องมี ม าตรการติ ด ตามตรวจสอบผลกระทบ สิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นหลังจากการพัฒนาโครงการ เพื่อเป็นการตรวจสอบความถูกต้องและความแม่นยำของการ ประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ทำให้ทราบถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจริงในระหว่างการดำเนิ นกิจกรรมในระยะ ต่ า งๆ รวมทั้ ง ยั ง เป็ น การตรวจสอบประสิ ท ธิ ภ าพของมาตรการป้ อ งกัน และแก้ ไขลดผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่งในกรณีที่ผลการศึกษาไม่เป็นไปตามที่ได้คาดการณ์ไว้ หรือมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการป้องกันผลกระทบที่เกิดขึ้น ดังกล่าว หน่วยงานเจ้าของโครงการจะได้ดำเนินการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้นได้อย่างทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 6 .2 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม การติดตามตรวจสอบผลกระทบ ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ ของโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลัน ตา จั งหวัด กระบี่ ได้นำเสนอเป็นแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบ จำนวน 13 แผนฯ สรุปดังตารางที่ 6.2-1 ประกอบด้วย 1) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน 2) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเล 3) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ 4) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเสียง 5) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านความสั่นสะเทือน 6) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านนิเวศวิทยาทางน้ำ 7) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านพืชในระบบนิเวศ 8) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านสัตว์ในระบบนิเวศ 9) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านสัตว์หายาก 10) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคมนาคมขนส่ง อุบัติเหตุและความปลอดภัย 11) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านการระบายน้ำและการควบคุมน้ำท่วม 12) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเศรษฐกิจ-สังคม 13) แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านสาธารณสุขและอาชีวอนามัย กรมทางหลวงชนบท 6-1 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.2-1 สรุปแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบ งบประมาณ ลักษณะงาน สถานที่ดำเนินการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ทางสิ่งแวดล้อม (บาท/ปี) 1. ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 1.1 คุณภาพน้ำผิวดิน ระยะก่อสร้าง จำนวน 6 ดัชนี ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งก่อน - บ่อพั ก น้ำ/บ่ อกรองไร้อากาศ ที่ รับ น้ำ เสี ย - จำนวน 2 ครั้ง/ปี - กรมทางหลวงชนบท 20,000 บาท ระบายลงสู่แหล่งน้ำ จากกิจกรรมภายในสำนักงานโครงการและ ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้ง โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 - ความเป็นกรดและด่าง (pH) บ้านพักคนงานก่อสร้าง ก่อนระบายออกสู่ ตลอดระยะก่อสร้าง (Third Party) เป็น - บีโอดี (BOD) แหล่งน้ำหรือพืน ้ ที่รับน้ำที่อยู่ใกล้เคียง ผู้ดำเนินการ - ของแข็งแขวนลอย (SS) - น้ำมันและไขมัน (Fat, Oil and Grease) - ไนโตรเจนทั้งหมด (Total Nitrogen) - ฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - - - - - 1.2 คุณภาพน้ำทะเล ระยะก่อสร้าง จำนวน 15 ดัชนี ระยะก่อสร้าง จำนวน 3 สถานี ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง - วัตถุลอยน้ำ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ต.เกาะกลาง - จำนวน 2 ครั้ง/ปี - กรมทางหลวงชนบท 36,000 บาท - กลิ่น - สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้ง โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 - น้ำมันและไขมัน - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตลอดระยะก่อสร้าง โดย (Third Party) เป็น - อุณหภูมิ ต.เกาะลันตาน้อย เฉพาะที่มกี ิจกรรมก่อสร้าง ผู้ดำเนินการ - ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ใกล้เคียงแหล่งน้ำดังกล่าว - ความโปร่งใส - ความขุ่น - ปริมาณสารแขวนลอย - ออกซิเจนละลาย (DO) กรมทางหลวงชนบท 6-2 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.2-1 สรุปแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม (ต่อ) องค์ประกอบ งบประมาณ ลักษณะงาน สถานที่ดำเนินการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ทางสิ่งแวดล้อม (บาท/ปี) - ความเค็ม - ตะกั่ว - ปรอทรวม - สารหนู - แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด - กลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - - - - - 1.3 คุณภาพอากาศ ระยะก่อสร้าง จำนวน 5 ดัชนี ระยะก่อสร้าง จำนวน 2 สถานี ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง - ปริมาณฝุน่ ละอองรวม (TSP) - สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) - จำนวน 2 ครั้ง/ปี เป็น - กรมทางหลวงชนบท 250,000 บาท - ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 - สถานีที่ 2 กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม เวลา 5 วันต่อเนื่อง โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 ไมครอน (PM10) ครอบคลุมฤดูฝนและฤดู (Third Party) เป็น - ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) แล้ง ตลอดระยะก่อสร้าง ผู้ดำเนินการ - ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) - ความเร็วและทิศทางลม (Wind Speed & Wind Direct) ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - - - - - 1.4 เสียง ระยะก่อสร้าง จำนวน 4 ดัชนี ระยะก่อสร้าง จำนวน 2 สถานี ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง - ระดับเสียงเฉลี่ย 1 ชั่วโมง - สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) - จำนวน 2 ครั้ง/ปี เป็นเวลา - กรมทางหลวงชนบท 12,000 บาท - ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง - สถานีที่ 2 กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม 5 วันต่อเนื่อง ครอบคลุม โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 - ระดับเสียงสูงสุด ฤดูฝนและฤดูแล้ง (Third Party) เป็น - ระดับเสียงเฉลี่ยกลางวัน-กลางคืน ตลอดระยะก่อสร้าง ผู้ดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท 6-3 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.2-1 สรุปแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม (ต่อ) องค์ประกอบ งบประมาณ ลักษณะงาน สถานที่ดำเนินการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ทางสิ่งแวดล้อม (บาท/ปี) ระยะดำเนินการ จำนวน 4 ดัชนี ระยะดำเนินการ จำนวน 2 สถานี ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - ระดับเสียงเฉลีย่ 1 ชั่วโมง - สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) - จำนวน 2 ครั้ง/ปี เป็นเวลา - กรมทางหลวงชนบท 12,000 บาท - ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง - สถานีที่ 2 กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม 5 วันต่อเนื่อง ครอบคลุมฤดู โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 - ระดับเสียงสูงสุด ฝนและฤดูแล้ง ดำเนินการ (Third Party) เป็น - ระดับเสียงเฉลี่ยกลางวัน-กลางคืน 1 ครั้ง/ปี ในปีที 1, 2, 3, 5, ผู้ดำเนินการ 10, 15 และ 20 ของระยะ ดำเนินการ 1.5 ความสั่นสะเทือน ระยะก่อสร้าง จำนวน 2 ดัชนี ระยะก่อสร้าง จำนวน 2 สถานี ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง - ความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) - สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) - จำนวน 2 ครั้ง/ปี เป็นเวลา - กรมทางหลวงชนบท 72,000 บาท - ความถี่ (Hz) - สถานีที่ 2 กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม 5 วันต่อเนื่อง ครอบคลุมฤดู โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 ฝนและฤดูแล้ง ตลอดระยะ (Third Party) เป็น ก่อสร้าง ้ ำเนินการ ผูด ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - - - - - 2. ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ 2.1 นิเวศวิทยาทางน้ำ ระยะก่อสร้าง จำนวน 5 ดัชนี ระยะก่อสร้าง จำนวน 3 สถานี ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง - แพลงก์ตอนพืช (สถานีเดียวกับคุณภาพน้ำทะเล) - จำนวน 2 ครั้ง/ปี ครอบคลุม - กรมทางหลวง โดยจัด 117,000 บาท - แพลงก์ตอนสัตว์ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ต.เกาะกลาง ฤดูฝนและฤดูแล้ง ตลอด จ้างบุคคลที่ 3 (Third - พันธุ์ไม้น้ำ - สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง ระยะก่อสร้าง โดยเฉพาะที่มี Party) เป็นผู้ดำเนินการ - สัตว์หน้าดิน - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม กิจกรรมก่อสร้างใกล้เคียง - ปลา ต.เกาะลันตาน้อย แหล่งน้ำดังกล่าว ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - - - - - กรมทางหลวงชนบท 6-4 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.2-1 สรุปแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม (ต่อ) องค์ประกอบ งบประมาณ ลักษณะงาน สถานที่ดำเนินการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ทางสิ่งแวดล้อม (บาท/ปี) 2.2 พืชในระบบนิเวศ ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง - นับจำนวนและชนิดต้นไม้ที่ถูกรื้อ - เขตทางก่อสร้างโครงการ - ติ ด ตามการตั ด ไม้ อ อกจาก - จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third 10,000 บาท ย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้าง พื้นที่ก่อสร้าง ทุกครั้งที่มีการ Party) ภายใต้การกำกับ ตัดไม้และชักลากไม้ออกจาก ดูแลของกรมทางหลวง พื้นที่ ชนบท หรือองค์การ อุตสาหรกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) ในกรณีที่มีการ ตัดไม้ประเภทไม้หวงห้าม ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - พื้นที่ที่มีการปลูกป่าทดแทน ที่อยู่ - จำนวนและสภาพการเจริญเติบโตของ - จำนวน 1 ครั้ง/ปี ในปีที่ 1, - กรมทางหลวงชนบท 10,000 บาท บริเวณพื้นที่โครงการ ต้นไม้ที่ปลูกทดแทน 2, 3, 5, 10, 15 และ 20 โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 - จำนวนต้นไม้ที่ตาย ของระยะดำเนินการ (Third Party) เป็น - ขนาดพื้นที่ปลูกป่าทดแทน ผู้ดำเนินการ 2.3 สัตว์ในระบบ ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง นิเวศ - ความหลากชนิด - พื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนว - ดำเนินการ 2 ครั้ง/ปี ตลอด - กรมทางหลวงชนบท 300,000 บาท - การแพร่กระจาย ความชุกชุม เส้นทางโครงการ ระยะเวลาก่อสร้าง โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 - สถานภาพของสัตว์ป่า (Third Party) - สภาพนิเวศวิทยาพื้น ที่อาศั ย แหล่ง เป็นผู้ดำเนินการ อาหาร การใช้ประโยชน์พื้นที่ - ความเสียหายที่เกิดขึ้น ได้แก่ ชนิด/ จำนวนของสัตว์ป่าที่ ได้รับ อุบัติเหตุ ในแต่ ละครั้ง การบาดเจ็บ หรือ การ เสียชีวิต บริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ กรมทางหลวงชนบท 6-5 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ่ แวดล้อม (ต่อ) ตารางที่ 6.2-1 สรุปแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินการด้านสิง องค์ประกอบ งบประมาณ ลักษณะงาน สถานที่ดำเนินการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ทางสิ่งแวดล้อม (บาท/ปี) ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - ความหลากชนิด - พื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนว - ดำเนินการ 2 ครั้ง/ปี ในปีที่ - กรมทางหลวงชนบท 300,000 บาท - การแพร่กระจาย ความชุกชุม เส้นทางโครงการ 1, 2, 3, 5, 10, 15 และ 20 โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 - สถานภาพของสัตว์ป่า ของระยะดำเนินการ (Third Party) - สภาพนิเวศวิทยาพื้น ที่อาศั ย แหล่ง เป็นผู้ดำเนินการ อาหาร การใช้ประโยชน์พื้นที่ - ความเสียหายที่เกิดขึ้น ได้แก่ ชนิด/ จำนวนของสัตว์ป่าที่ ได้รับ อุบัติเหตุ ในแต่ ละครั้ง การบาดเจ็บ หรือ การ เสียชีวิต บริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ 2.4 สัตว์หายาก ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง - ความหลากชนิด - พื้น ที่ศึ ก ษาโครงการและพื้ น ที่ ใกล้เคีย งที่ - ดำเนินการตลอดระยะเวลา - กรมทางหลวงชนบท 650,000 บาท - การแพร่กระจาย ความชุกชุม อาจได้ รั บ ผลกระทบจากกิ จ กรรมการ ก่อสร้างฐานรากสะพาน โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 - สถานภาพของสัตว์ป่า ก่อสร้างของโครงการ - ทำการเฝ้าระวังโดย (Third Party) เป็น - สภาพนิเวศวิทยาพื้ น ที่อาศั ย แหล่ง - โดยเฉพาะบริเวณด้านทิศเหนือ และทิศใต้ เจ้าหน้าที่ควบคุมงาน ผู้ดำเนินการ อาหาร การใช้ประโยชน์พื้นที่ ของพื้นที่ สะพานโครงการ รวมถึงบริเวณ ดำเนินการทุกวัน - ความเสียหายที่เกิดขึ้น ได้แก่ ชนิด/ แนวสะพานโครงการ โดยเฉพาะช่วงฤดูฝนเดือน จำนวนของสั ตว์ป่ าที่ ได้รับอุบั ติเหตุ ุ ายน-ธันวาคม มิถน ในแต่ ล ะครั้ง การบาดเจ็ บ หรือ การ เสียชีวิต บริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ กรมทางหลวงชนบท 6-6 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.2-1 สรุปแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม (ต่อ) องค์ประกอบ งบประมาณ ลักษณะงาน สถานที่ดำเนินการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ทางสิ่งแวดล้อม (บาท/ปี) ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - ความหลากชนิด - พื้นที่ศึกษาโครงการและพื้นที่ใกล้เคียงที่ - ดำเนินการ 2 ครั้ง/ปี ในปีที่ - กรมทางหลวงชนบท 150,000 บาท - การแพร่กระจาย ความชุกชุม อาจได้ รั บ ผลกระทบจากกิ จ กรรมการ 1, 2, 3, 5, 10, 15 และ 20 โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 - สถานภาพของสัตว์ป่า ก่อสร้างของโครงการ ของระยะดำเนินการ (Third Party) เป็น - สภาพนิ เวศวิ ท ยาพื้ น ที่ อ าศั ย แหล่ ง - โดยเฉพาะบริเวณด้านทิศเหนือและทิศ - โดยเฉพาะช่ วงฤดูฝ นเดื อ น ผู้ดำเนินการ อาหาร การใช้ประโยชน์พื้นที่ ใต้ของพื้นที่สะพานโครงการ รวมถึง มิถุนายน-ธันวาคม - ความเสี ย หายที่ เกิ ด ขึ้ น ได้ แ ก่ ชนิ ด / บริเวณแนวสะพานโครงการ จำนวนของสัตว์ ป่าที่ได้รับอุบั ติเหตุใน แต่ละครั้ง การบาดเจ็บหรือการเสียชีวิต บริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ 3. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 3.1 การคมนาคม ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง เส้นทางลำเลียงขนส่งวัสดุ 2 ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ขนส่ง อุบัติเหตุ - ตรวจสอบปริมาณรถที่ใช้ในการขนส่ง เส้นทาง ได้แก่ - ดำเนินการ 2 ครั้ง/ปี ตลอด - กรมทางหลวงชนบท 60,000 บาท และความ วัสดุ-อุปกรณ์ก่อสร้างในแต่ละกิจกรรม - ทางหลวงหมายเลข 4206 ระยะเวลาก่อสร้าง โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 ปลอดภัย ที่ผ่านเข้า-ออกโครงการ - ทางหลวงชนบท กบ.5035 (Third Party) - ตรวจสอบสภาพการชำรุ ดเสี ยหายของ เป็นผู้ดำเนินการ แนวถนนโครงการ รวมทั้งแนวเส้นทาง ขนส่งวั ส ดและอุ ป กรณ์ ก่ อ สร้างเข้า สู่ พื้นที่โครงการ - รวบรวมข้ อมู ลสถิ ติ อุ บั ติ เหตุ ตำแหน่ ง เวลาที่ เกิ ด อุ บั ติ เหตุ และสาเหตุ ข อง อุบัติเหตุที่เกิดบริเวณแนวถนนโครงการ ร่วมกับการสำรวจด้านคมนาคมขนส่ง กรมทางหลวงชนบท 6-7 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.2-1 สรุปแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม (ต่อ) องค์ประกอบ งบประมาณ ลักษณะงาน สถานที่ดำเนินการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ทางสิ่งแวดล้อม (บาท/ปี) ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - สำรวจปริ ม าณ รถที่ มาใช้ แ นวถนน - ทางหลวงหมายเลข 4206 - ดำเนินการ 1 ครั้ง/ปี ในปีที่ - กรมทางหลวงชนบท 30,000 บาท โครงการ ว่ามี ปริ มาณเพิ่ มขึ้ นมากน้ อย - หลวงชนบท กบ.5035 1, 2, 3, 5, 10, 15 และ 20 โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 เพี ยงใด เพื่ อดู สภาพความคล่ องตั วของ - แนวถนนทางโครงการ ของระยะดำเนินการ (Third Party) การใช้ถนน เป็นผู้ดำเนินการ - ตรวจสอบสภาพการชำรุดเสี ยหายของ แนวถนนโครงการ - รวบรวมข้ อมู ลสถิ ติ อุ บั ติ เหตุ ตำแหน่ ง เวลาที่ เกิ ด อุ บั ติ เหตุ แ ละสาเหตุ ข อง อุบัตเิ หตุที่เกิดบริเวณแนวถนนโครงการ 3.2 การควบคุม ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง น้ำท่วมและ น้ำท่วมขังบริเวณทั้งสองฝั่งแนวเส้นทาง - พื้ น ที่ โ ครงการ จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ กม.0+000 จำนวน 2 ครั้ง/ปี ตลอดระยะ กรมทางหลวงชนบท โดย 40,000 บาท การระบายน้ำ และบริ เวณใกล้ เคี ยงสำรวจประสิ ทธิ ภาพ ในพื้นที่ตำบลเกาะกลาง และจุดสิ้นสุดที่ เวลาก่อสร้าง หรือหากเกิดกรณี จั ด จ้ า งบุ ค คลที่ 3 ( Third อาคารระบายน้ ำ ตลอดแนวเส้ น ทาง กม.2+527 ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย ฝนตกหนักให้มีการตรวจสอบ Party) เป็นผู้ดำเนินการ โครงการ โดยการตรวจสอบสภาพการ จังหวัดกระบี่ ภายใน 24 ชั่วโมง สะสมของตะกอนดิ น และวัช พื ช บริเวณ ทางระบายน้ำ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - - - - - กรมทางหลวงชนบท 6-8 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.2-1 สรุปแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม (ต่อ) องค์ประกอบ งบประมาณ ลักษณะงาน สถานที่ดำเนินการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ทางสิ่งแวดล้อม (บาท/ปี) 4. คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 4.1 เศรษฐกิจ-สังคม ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง - สำรวจข้ อ มู ล สภาพเศรษฐกิ จ -สั งคม - พื้นที่ศึกษาโครงการ ครอบคลุมพื้นที่ - จำนวน 1 ครั้ง/ปี ตลอด - กรมทางหลวงชนบท 250,000 บาท วั ฒ นธรรม และการเปลี่ ย นแปลงอั น ตำบลเกาะกลางและเกาะลันตาน้อย ระยะเวลาก่อสร้าง โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 เนื่ อ งจากโครงการ ปั ญ หาอุ ป สรรค - กลุม่ เป้าหมายในการดำเนินการ ได้แก่ (Third Party) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการ ครัวเรือน ผู้นำชุมชน สถานประกอบการ เป็นผู้ดำเนินการ โดยใช้ วิ ธี ก ารสั ม ภ าษณ์ ประกอ บ และพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม แบบสอบถาม ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - สำรวจข้ อ มู ล สภาพเศรษฐกิ จ -สั งคม - พื้นที่ศึกษาโครงการ ครอบคลุมพื้นที่ - จำนวน 1 ครั้ง/ปี ในปีที่ 1, - กรมทางหลวงชนบท 250,000 บาท วั ฒ นธรรม และการเปลี่ ย นแปลงอั น ตำบลเกาะกลางและเกาะลันตาน้อย 2, 3, 5, 10, 15 และ 20 โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 เนื่ อ งจากโครงการ ปั ญ หาอุ ป สรรค - กลุ่มเป้ าหมายในการดำเนิ นการ ได้แก่ ของระยะดำเนินการ (Third Party) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการ ครัวเรือน ผู้นำชุมชน สถานประกอบการ เป็นผู้ดำเนินการ โดยใช้ วิ ธี ก ารสั มภ าษณ์ ประกอบ และพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม แบบสอบถาม 4.2 สาธารณสุขและ ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง อาชีวอนามัย - ติ ดตามตรวจสอบปั ญ หาด้ านสุ ขภาพ - คนงานก่อสร้างและประชาชนที่อาศัยอยู่ - จำนวน 1 ครั้ง/ปี ตลอด - กรมทางหลวงชนบท รวมอยู่ใน อนามั ย ของประชาชนและคนงาน ในพื้นที่ศึกษา ระยะ 500 เมตร จากแนว ระยะเวลาก่อสร้าง โดยจัดจ้างบุคคลที่ 3 มาตรการติดตาม ก่ อ สร้ าง รวมทั้ งการบ ริ ก ารด้ าน เส้นทางโครงการ (Third Party) ตรวจสอบ สาธารณสุ ข ในพื้ น ที่ ศึ ก ษาโครงการ เป็นผู้ดำเนินการ ผลกระทบด้าน ร่วมกับการสำรวจด้านเศรษฐกิจ-สังคม เศรษฐกิจ-สังคม ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ ระยะดำเนินการ - - - - - กรมทางหลวงชนบท 6-9 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6.3 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 6.3.1 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน 1) หลักการและเหตุผล สำนักงานควบคุมโครงการและบ้านพักคนงานก่อสร้าง ตั้งอยู่ริมทางหลวงหมายเลข 4206 (ฝั่งซ้ายทาง) ห่างจากพื้นที่โครงการ 650 เมตร รองรับคนงานทั้งหมด 170 คน ซึ่งการดำเนินกิจกรรมต่างๆ จะมีปริมาณน้ำเสีย ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ประมาณ 23.03 ลูกบาศก์เมตร/วัน ได้แก่ น้ำเสียจากห้องน้ำ-ห้องส้วม ห้องอาหาร โรงซ่อม บำรุง น้ ำ ชะขยะมู ล ฝอย ซึ่ ง หากไม่ มี ก ารจั ด การที่ ดี ก่ อ นระบายออกสู่ พื้ น ที่ ภ ายนอก จะส่ ง ผลกระทบต่ อ การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในพื้นที่ดังกล่าวและกลายเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคได้ จึงจำเป็นต้องมีมาตรการติดตาม ตรวจสอบผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการ เพื่อนำมาปรับมาตรการป้องกันผลกระทบให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น และสามารถป้องกันผลกระทบได้มากที่สุด 2) วัตถุประสงค์ (1) เพื่ อติ ดตามตรวจสอบคุณภาพน้ ำบ่ อพั กน้ ำ/บ่ อกรองไร้อากาศ จากกิจกรรมภายในสำนั กงาน โครงการและบ้านพักคนงานก่อสร้าง ก่อนระบายออกสู่แหล่งน้ำหรือพื้นที่รบ ั น้ำที่อยู่ใกล้เคียง (2) เพื่อนำผลการติดตามตรวจสอบมาใช้ในการปรับปรุงมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ ที่มีต่อคุณภาพน้ำทิ้งให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3) พื้นที่ดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง - บ่อพักน้ำ/บ่อกรองไร้อากาศที่รับน้ำเสียจากสำนักงานโครงการและบ้านพักคนงานก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ - 4) วิธีดำเนินการ - ดำเนินการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์คุณภาพน้ำทิ้ง ตามวิธีการมาตรฐานของการวิเคราะห์น้ำ และน้ำเสีย (Standard Method for Examination of Water and Wastewater) ที่กำหนดโดย APHA, AWWA และ WPCF โดยตรวจวิเคราะห์ดัชนีที่กำหนด ดังแสดงในตารางที่ 6.3.1-1 - จัดทำรายงานเพื่อนำเสนอผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำผิวดินพร้อมข้อเสนอแนะ 5) ระยะเวลาและความถี่ในการตรวจวัด (1) ระยะก่อสร้าง - จำนวน 2 ครั้ง/ปี ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้ง ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท 6-10 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.3.1-1 ดัชนีตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและวิธีการตรวจวิเคราะห์ ดัชนี หน่วย วิธีวิเคราะห์ 1) ความเป็นกรด-ด่าง (pH) - Electrometric Method (pH Meter) 2) ของแข็งแขวนลอย (SS) mg/l Total Suspended Solids Dried at 103-105 oC 3) ค่าความสกปรกในรูปบีโอดี (BOD) mg/l Azide Modification Method 4) ฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) mg/l Ascorbic Method 5) ไนโตรเจนทั้งหมด (Total Nitrogen) mg/l Cadmium Reduction Method 6) ไขมันและน้ำมัน (Fat, Oil & Grease) mg/l Partition-Gravimetric Method หมายเหตุ : วิธีการวิเคราะห์คุณภาพน้ำผิวดินตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรื่ อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพ น้ ำในแหล่ งน้ ำผิ ว ดิ น และวิธีก ารตามที่ ก ำหนดใน Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater ของ APHA, AWWA และ WEF (1998) 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ - 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : รวม 20,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 10,000 บาท/สถานี - จำนวน 1 สถานี/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี (2) ระยะดำเนินการ - 8) การประเมินผล บุคคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมและตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการลดผลกระทบจากผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน โดยผลจากการตรวจวัดคุณภาพน้ำทิ้งไม่ควรมีค่าสูงกว่า ค่ามาตรฐานควบคุม การระบายน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ตามประกาศกระทรวงทรัพยากร - ธรรมชาติและสงแวดล้อม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ ำทิ้งจากระบบบําบัดน้ำเสียรวมของชุมชน (2553) เพื่อจัดทำรายงานและสรุปผลนำเสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง กรมทางหลวงชนบท 6-11 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6.3.2 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเล 1) หลักการและเหตุผล กิจกรรมการก่อสร้างฐานรากสะพานในทะเล นอกจากก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรในทะเลแล้ว ยังมีผลต่อการรบกวนตะกอนที่อยู่พื้นทะเลทำให้ตะกอนเกิดการฟุ้งกระจายขึ้น มา ซึ่งการฟุ้งกระจายของตะกอน จะลดความสามารถในการส่งผ่านของแสงลงสู่ในน้ำ ทำให้ประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงของแพลงก์ตอนพืช และพืชน้ำลดลง ปริมาณออกซิเจนในน้ำจึงลดลงเช่นเดียวกัน ขณะเดียวกันการฟุ้งกระจายของตะกอนยังส่งผลกระทบ ต่อ สิ่ง มีชีวิต หลายชนิด โดยตรง เช่น ตะกอนเข้า ไปอุด ตัน บริเวณอวัย วะที่ ใช้ห ายใจของสิ่ง มีชีวิต ในน้ำ หรือ ตะกอนปกคลุมทับถมบนปะการังและหญ้าทะเล ส่งผลทำให้ปะการังและหญ้าทะเลอ่อนแอและตายได้ส่งผลให้ ระบบนิเวศเกิดความเสื่อมโทรมลง นอกจากนี้ การรั่วไหลของน้ำมันจากเครื่องจักรกล การดำเนินกิจกรรมก่อสร้าง ที่ต้องใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ ซึ่งการรั่วไหลส่วนมากมักเกิดจากเครื่องมือ /เครื่องจักรกลที่มีสภาพไม่ดีหรือไม่ พร้อมต่อการปฏิบัติงาน รวมถึงกิจกรรมการขนส่งทางทะเลที่อาจเกิดการรั่วไหลของน้ำมันได้ เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ใน การเดินเรือ เก็บกัก หรือสูบถ่ายน้ำมันชำรุด ซึ่งน้ำมันที่รั่วไหลสู่แหล่งน้ำจะเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพทั้ง ทางกายภาพ เคมี และชีวภาพได้ จึงจำเป็นต้องมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบที่เกิด ขึ้นจากการดำเนิน โครงการ เพื่ อนำมาปรั บมาตรการป้ องกั น ผลกระทบให้ มี ประสิ ทธิ ภาพยิ่ งขึ้ น และสามารถป้ องกั น ผลกระทบ ได้มากที่สุด 2) วัตถุประสงค์ (1) เพื่อติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำทะเลที่บริเวณพื้นที่โครงการตัดผ่าน ซึ่งคาดว่าจะได้รับผลกระทบ จากการดำเนินโครงการ (2) เพื่อนำผลการติดตามตรวจสอบมาใช้ในการปรับปรุงมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่มีต่อ คุณภาพน้ำผิวดินให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3) พื้นที่ดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ดำเนินการเก็บตัวอย่างน้ำทะเล จำนวน 3 สถานี (รูปที่ 6.3.2-1) ได้แก่ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง - สถานีที่ 2 ชายฝั่งเกาะปลิง - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย (2) ระยะดำเนินการ - 4) วิธีดำเนินการ - ขั้น ตอนการสำรวจเก็ บ ตั ว อย่ า งและวิ เคราะห์ คุ ณ ภาพน้ ำ เป็ น ไปตามกำหนดในประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนพิเศษ 288ง เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 โดยตรวจวิเคราะห์ดัชนีที่กำหนด ดังแสดงในตารางที่ 6.3.2-1 - จัดทำรายงานเพื่อนำเสนอผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำทะเลพร้อมข้อเสนอแนะ กรมทางหลวงชนบท 6-12 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 6.3.2-1 ิ ตามตรวจสอบคุณภาพน้ำทะเลในพื้นที่โครงการ สถานีตด กรมทางหลวงชนบท 6-13 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.3.2-1 ดัชนีตรวจคุณภาพน้ำทะเล ระยะเวลา ดัชนีคุณภาพน้ำ หน่วย เก็บตัวอย่าง 1. วัตถุลอยน้ำ - ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 2. กลิ่น - ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 3. น้ำมันและไขมัน - ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 4. อุณหภูมิ C ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 5. ความเป็นกรด-ด่าง (pH) - ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 6. ความโปร่งใส (Transparency) cm ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 7. ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) - ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 8. ออกซิเจนละลาย (DO) mg/l ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 9. ความเค็ม (Salinity) ppt ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 10. ตะกั่ว (Pb) /l ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 11. ปรอทรวม (Total Mercury) /l ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 12. สารหนู (As) /l ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 13. แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform Bacteria) MPN/100 ml ฤดูฝน, ฤดูแล้ง 14. กลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Fecal Coliform Bacteria) CFU/100 ml ฤดูฝน, ฤดูแล้ง หมายเหตุ : วิธีการวิเคราะห์คุณภาพน้ำทะเล ตามกำหนดในประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพ น้ำทะเล ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนพิเศษ 288ง เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 5) ระยะเวลาและความถี่ในการตรวจวัด (1) ระยะก่อสร้าง จำนวน 2 ครั้ง/ปี ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้ งตลอดระยะเวลาก่อสร้าง โดยเฉพาะที่มีกิจกรรม ก่อสร้างใกล้เคียงแหล่งน้ำดังกล่าว (2) ระยะดำเนินการ - 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ - 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : รวม 36,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์และเก็บตัวอย่าง 6,000 บาท/สถานี - จำนวน 3 สถานี/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี (2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท 6-14 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 8) การประเมินผล บุคคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมและตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการลดผลกระทบจากผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำทะเล โดยผลจากการตรวจวัดคุณภาพน้ำทะเลไม่ควรมีค่าสูงกว่า มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล เพื่อจัดทำรายงานและสรุปผลนำเสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6.3.3 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ 1) หลักการและเหตุผล การดำเนินกิจกรรมโครงการ ได้แก่ งานเตรียมพื้นที่ งานดินถม งานก่ อสร้างฐานรากสะพาน และ งานขนส่งวั สดุ และอุ ป กรณ์ ก่อสร้าง จะทำให้ เกิด การฟุ้ งกระจายของฝุ่ น ละออง ซึ่ งจากผลการวิเคราะห์ ด้ ว ย แบบจำลอง พบว่า ขณะดำเนินกิจกรรมก่อสร้างต่างๆ จะก่อให้การฟุ้งกระจายของปริมาณฝุ่ นละอองรวม และ ฝุ่น ละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ส่วนระยะดำเนินการผลการคาดการณ์ปริมาณยานพาหนะบนถนน โครงการที่เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางด้านอากาศมีจำนวนไม่มากนัก ในการกำหนดให้มีมาตรการในการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ เพื่อเป็นการตรวจสอบประสิทธิภาพของมาตรการป้องกันฯ จึ งจำเป็น ต้องมี มาตรการติด ตามตรวจสอบผลกระทบที่ เกิด ขึ้นจากการดำเนิ นโครงการ เพื่ อนำมาปรับมาตรการป้ องกั น ผลกระทบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และสามารถป้องกันผลกระทบได้มากที่สุด 2) วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพอากาศที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมต่างๆ ของโครงการต่อ แหล่งชุมชนและพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวเส้นทางโครงการ 3) พื้นที่ดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ จำนวน 2 สถานี (รูปที่ 6.3.3-1) ได้แก่ - สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) - สถานีที่ 2 กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม (2) ระยะดำเนินการ - 4) วิธีดำเนินการ (1) ดำเนินการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณตัวแทนพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวเส้นทาง โครงการ โดยการตรวจวัดและวิธีวิเคราะห์ดังกล่าว ใช้วิธีตามรายละเอียดของข้อกำหนดในประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณ ภาพอากาศในบรรยากาศ โดยทั่ วไป ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 121 ตอนพิเศษ 104 ลงวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2547 และมาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการตรวจวัดเป็ นเวลา 5 วันต่อเนื่ อง ครอบคลุมทั้งวันธรรมดาและวันหยุด ดังแสดงใน ตารางที่ 6.3.3-1 (2) จัดทำรายงานเพื่อนำเสนอผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศพร้อมข้อเสนอแนะ กรมทางหลวงชนบท 6-15 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 6.3.3-1 สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในบริเวณพื้นที่โครงการ กรมทางหลวงชนบท 6-16 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.3.3-1 ดัชนีตรวจวัดคุณภาพอากาศและวิธีการตรวจวิเคราะห์ ดัชนี วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีวิเคราะห์ ระยะเวลาตรวจวัด 1. ปริมาณฝุ่นละอองรวม (TSP) High Volume Air Sampler Gravimetric Method 24 ชั่วโมง 2. ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน High Volume Gravimetric Method 24 ชั่วโมง (PM10) PM-10 Air Sampler 3. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) Impinger Absorption Chemiluminescense ่ โมง 1 ชัว Gas Analyzer Method 4. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) Gas Analyzer Non-Dispersive Infrared 1 ชั่วโมง 5. ความเร็วและทิศทางลม Wind Speed & Wind Wind Speed Analysis 24 ชั่วโมง (Wind Speed & Wind Direct) Direction Sensor 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง จำนวน 2 ครั้ง/ปี เป็นเวลา 5 วันต่อเนื่อง ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้ง ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ - 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ - 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : 250,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 62,500 บาท/สถานี - จำนวน 2 สถานี/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี (2) ระยะดำเนินการ - 8) การประเมินผล บุคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมและตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการลดผลกระทบจากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ซึ่งไม่ควรมีค่าสูงกว่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ โดยทั่วไป เพื่อจัดทำรายงานและสรุปผลนำเสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง กรมทางหลวงชนบท 6-17 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6.3.4 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเสียง 1) หลักการและเหตุผล การก่อสร้างถนนโครงการและการก่อสร้างฐานรากสะพาน จะมีผลกระทบด้านเสียงต่อพื้นที่อ่อนไหว ด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 58.2–78.4 เดซิเบล (เอ) ซึ่งเกินค่ามาตรฐานที่ กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) ส่งผลกระทบต่อพื้น ที่อ่อนไหว จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ ) และกุโบร์บ้า นทุ่ง โต๊ะ หยุม โดยระดับ เสียงที่เกิด ขึ้น อาจก่อให้เกิด ความรำคาญและรบกวนการ ดำเนินชีวิตประจำวัน ส่ว นในระยะดำเนินการตามผลการคาดการณ์ปริมาณจราจรบนแนวเส้นทางของโครงการ ในปี พ.ศ. 2570-2590 จะมีผลกระทบต่อระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 57.5-70.7 เดซิเบล(เอ) ซึ่งไม่ เกินค่ามาตรฐานที่กำหนด (ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)) จึงไม่มีผลกระทบด้านเสียง จึงได้กำหนดให้มีมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบด้านเสียงต่อพื้นที่อ่อนไหวดังกล่าว เพื่อเป็นการตรวจสอบประสิทธิภาพของมาตรการป้องกันฯ และเพื่ อเป็ น การติ ด ตามและประเมิ น มาตรการฯ ที่ ได้น ำเสนอไว้ เพื่ อนำมาปรับ มาตรการป้ องกัน และแก้ไข ผลกระทบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และสามารถป้องกันผลกระทบได้มากที่สุด 2) วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเสียงที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ ให้มีผลกระทบ ต่อชุมชนและพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด 3) พื้นที่ดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ติดตามตรวจสอบระดับเสียง จำนวน 2 สถานี (รูปที่ 6.3.4-1) ได้แก่ - สถานีที่ 1 หมูท่ ี่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) - สถานีที่ 2 กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม (2) ระยะดำเนินการ ติดตามตรวจสอบระดับเสียง จำนวน 2 สถานี ได้แก่ - สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) - สถานีที่ 2 กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม 4) วิธีดำเนินการ (1) ดำเนิ น การตรวจวัด ระดั บ เสี ย ง ตามวิธี การในประกาศคณะกรรมการสิ่ งแวดล้ อมแห่ งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) เรื่อง กำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2540 และประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง การคำนวณค่าระดับเสียง ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 โดยดำเนินการตรวจวัดเป็นเวลา 5 วันต่อเนื่อง ครอบคลุมทั้งวันธรรมดา และวันหยุด ซึ่งมีดัชนีที่ติดตามตรวจสอบ ดังแสดงในตารางที่ 6.3.4-1 (2) จัดทำรายงานเพื่อนำเสนอผลการติดตามตรวจสอบผลกระทบพร้อมข้อเสนอแนะ กรมทางหลวงชนบท 6-18 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 6.3.4-1 สถานีติดตามตรวจสอบระดับเสียงในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 6-19 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.3.4-1 ดัชนีตรวจวัดเสียงและวิธีการตรวจวิเคราะห์ ดัชนี วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีวิเคราะห์ ระยะเวลาตรวจวัด 1) ระดับเสียงเฉลี่ย 1 ชั่วโมง (Leq 1 hr) Integrated Sound Integrated Sound 1 ชั่วโมง 2) ระดับเสียงสูงสุด (Lmax) Level Meter Level Meter 24 ชั่วโมง 3) ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) 24 ชั่วโมง 4) ระดับเสียงเฉลี่ยกลางวัน-กลางคืน (Ldn) 24 ชั่วโมง 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง - จำนวน 2 ครั้ง/ปี เป็นเวลา 5 วันต่อเนื่อง (วันทำการ 3 วัน และวันหยุดราชการ 2 วัน) ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้ง ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ - จำนวน 2 ครั้ง/ปี เป็นเวลา 5 วันต่อเนื่อง ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้ง ในปีที่ 1, 2, 3, 5, 10, 15 และ 20 ของระยะดำเนินการ 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : 12,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 3,000 บาท/สถานี - จำนวน 2 สถานี/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี (2) ระยะดำเนินการ : 12,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 3,000 บาท/สถานี - จำนวน 2 สถานี/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี 8) การประเมินผล บุคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมและตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการลดผลกระทบจากผลการตรวจวัดระดับเสียง ซึ่งไม่ควรมี ค่าสูงกว่ามาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป เพื่อจัดทำ รายงาน และสรุปผลนำเสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง กรมทางหลวงชนบท 6-20 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6.3.5 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านความสั่นสะเทือน 1) หลักการและเหตุผล ความสั่นสะเทือนที่มาจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ในการก่อสร้างถนนและการเจาะเสาเข็มตอม่อ (Vibratory Pile Driver) มีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) อยู่ระหว่าง 0.021 – 3.218 มิลลิเมตร/วินาที เมื่อนำไป เปรียบเทีย บกับ มาตรฐานเพื่อป้องกัน ผลกระทบต่ออาคารตามประกาศคณะกรรมการสิ่ง แวดล้อมแห่ง ชาติ ฉบับที่ 37 (ปี พ.ศ. 2553) มาตรฐานระบบเยอรมนีหมายเลข 4150 และมาตรฐานระบบบริทิชหมายเลข 5228 พบว่า แรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นเป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดความเสียหายทางสถาปัตยกรรม ก่อให้เกิดความรำคาญ ต่อมนุษย์ แต่สามารถทนได้ในสภาพแวดล้อมของอาคาร แต่เพื่อเป็นการตรวจสอบประสิทธิภาพของมาตรการ ป้องกันฯ จึงจำเป็นต้องมีการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านความสั่นสะเทือน เพื่อเป็นการติดตามและประเมิน มาตรการฯ ที่ได้นำเสนอไว้ เพื่อนำมาปรับมาตรการป้องกันผลกระทบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สามารถป้องกัน ผลกระทบได้มากที่สุด 2) วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามตรวจสอบความสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้มีผลกระทบต่อ ชุมชนและพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด 3) พื้นที่ดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ติดตามตรวจสอบความสั่นสะเทือน จำนวน 2 สถานี (รูปที่ 6.3.5-1) ได้แก่ - สถานีที่ 1 หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) - สถานีที่ 2 กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม (2) ระยะดำเนินการ - 4) วิธีดำเนินการ (1) ตรวจวัดความสั่นสะเทือนและความถี่ (เฮิรตซ์) ของความสั่นสะเทือน พร้อมทั้งบันทึกเหตุการณ์ ที่ก่อให้เกิดแรงสั่นสะเทือนที่มีระดับแรงสั่นสะเทือนสูงจนอาจก่อให้เกิดผลกระทบ โดยใช้ Vibration Meter ซึ่งตอบสนองเฉพาะส่วนประกอบในแนวแกนของความเร็ว ณ จุดที่ทำการทดสอบ โดยจะวัดทั้ งส่วนประกอบ แนวแกนดิ่ง (Vertical) และแนวแกนราบ (Horizontal) ในการตรวจวัดจะวางเครื่องมือไว้ที่ระดับพื้นดินหรือชั้นล่างสุด ของอาคาร ตามข้อกำหนดที่ระบุไว้ในมาตรฐาน DIN 4150 ผลการตรวจวัดความสั่นสะเทือนจะแสดงในรูปของ ความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) โดยวิธีการตรวจวิเคราะห์ แสดงดังตารางที่ 6.3.5-1 (2) จัดทำรายงานเพื่อนำเสนอผลการติดตามตรวจสอบผลกระทบพร้อมข้อเสนอแนะ กรมทางหลวงชนบท 6-21 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 6.3.5-1 สถานีติดตามตรวจสอบความสั่นสะเทือนในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 6-22 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.3.5-1 ดัชนีตรวจวัดความสั่นสะเทือนและวิธีการตรวจวิเคราะห์ ระยะเวลา วิธีการ มาตรฐาน ดัชนีตรวจวัด วิธีการวิเคราะห์ เก็บตัวอย่าง เก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ 1. ความเร็วอนุภาคสูงสุด (PPV) 24 ชั่วโมง Vibration Meter Ground Vibration DIN 4150 2. ความถี่ (Hz) 24ชั่วโมง Method หมายเหตุ : เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดระดับความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร ตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 มาตรฐานระบบเยอรมนีหมายเลข 4150 ( DIN 4150) และมาตรฐานระบบบริทิชหมายเลข 5228 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง จำนวน 2 ครั้ง/ปี เป็นเวลา 5 วันต่อเนื่อง (วันทำการ 3 วัน และวันหยุดราชการ 2 วัน) ครอบคลุม ฤดูฝนและฤดูแล้ง ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ - 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ - 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : 72,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 18,000 บาท/สถานี - จำนวน 2 สถานี/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี (2) ระยะดำเนินการ - 8) การประเมินผล บุคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมและตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการลดผลกระทบจากผลการตรวจวัดความสั่นสะเทือน ซึ่งไม่ควรมีค่าสูงกว่าข้อกำหนดด้านความสั่นสะเทือน เพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 มาตรฐาน ระบบเยอรมนีหมายเลข 4150 และมาตรฐานระบบบริทิชหมายเลข 5228 เพื่อจัดทำรายงานและสรุปผลนำเสนอต่อ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง กรมทางหลวงชนบท 6-23 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6.4 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ 6.4.1 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านนิเวศวิทยาทางน้ำ 1) หลักการและเหตุผล ผลจากการสำรวจนิเวศวิทยาทางน้ำบริเวณพื้นที่โครงการ มีความอุดมสมบูรณ์ของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ ต อนสั ต ว์ ป านกลาง -สู ง ความอุ ด มสมบู รณ์ ข องสั ต ว์ ห น้ า ดิ น อยู่ ในระดั บ ต่ ำ ถึ ง ระดั บ ปานกลาง ส่วนทรัพยากรปลาและลูกปลาวัยอ่อนมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ชนิดปลาที่พบรวม 13 วงศ์ รวม 16 สกุล 18 ชนิด เป็นชนิดที่สามารถพบได้ทั่วไปในพื้นที่ เช่น ปลาบู่เกล็ดแข็ง ปลากระบอกเทา ปลาเห็ดโคนลาย ปลาดอกหมาก ปลากะพงข้างปาน ปลาข้างลาย เป็ น ต้ น ซึ่ งพบปลาที่ อยู่ในสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม 1 ชนิ ด คือ ปลากะรัง จุดน้ำตาล (Epinephelus coioides) ซึ่งการก่อสร้างตอม่อสะพานในทะเล จำนวน 17 ตอม่อ ก่อสร้างด้วยวิธี เข็มเจาะทั้งหมด โดยตอม่อสะพานเป็นโครงสร้างที่มีขนาดใหญ่ อาจมีผลต่อการกีดขวางทางน้ำและทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำ รวมทั้งในขณะดำเนินการขุดเจาะฐานรากจะมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ ด้านความขุน ่ เพิ่มสูงขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จึงเสนอให้มีการติดตามตรวจสอบนิเวศวิทยา ทางน้ำบริเวณแนวเส้นทางโครงการที่มีการดำเนินกิจกรรมของโครงการ 2) วัตถุประสงค์ ่ ติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ ให้มีผลกระทบต่อระบบนิเวศทางน้ำ เพือ ให้น้อยที่สุด 3) พื้นที่ดำเนินการ ระยะก่อสร้าง ดำเนินการเก็บตัวอย่างน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี (รูปที่ 6.4.1-1) ได้แก่ - สถานีที่ 1 ชายฝั่งบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง - สถานีที่ 2 ชายฝั่ง เกาะปลิง - สถานีที่ 3 ชายฝั่งบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ตำบลเกาะลันตาน้อย 4) วิธีดำเนินการ (1) ดำเนินการสำรวจนิเวศวิทยาทางน้ำ ได้แก่ แพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton) แพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton) สัตว์หน้าดิน ( Benthos) ชนิดพันธุ์ปลา และชนิดพั นธุ์ไม้น้ำ ซึ่งวิธีการเก็บตัวอย่างและวิธีก าร วิเคราะห์ แสดงดังตารางที่ 6.4.1-1 (2) จัดทำรายงานเพื่อนำเสนอผลการติดตามตรวจสอบผลกระทบพร้อมข้อเสนอแนะ 5) ระยะเวลาดำเนินการ ระยะก่อสร้าง จำนวน 2 ครั้ง/ปี ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้งตลอดระยะก่อสร้าง โดยเฉพาะในช่วง เวลาที่มีการก่อสร้างผ่านบริเวณแหล่งน้ำ กรมทางหลวงชนบท 6-24 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รูปที่ 6.4.1-1 สถานีสำรวจนิเวศวิทยาทางน้ำในพื้นที่ศึกษาโครงการ กรมทางหลวงชนบท 6-25 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6.4.1-1 ดัชนีตรวจวัดนิเวศวิทยาทางน้ำ วิธีการเก็บตัวอย่างและวิธีการวิเคราะห์ ดัชนีนิเวศวิทยาทางน้ำ หน่วย วิธีการเก็บตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ 1. แพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton) cell/cm3 Juday Plankton Trap Sedwide-Rafter Counting Cell 2. แพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton) cell/cm3 Juday Plankton Trap Sedwide-Rafter Counting Cell 3. สัตว์หน้าดิน (Benthos) cell/cm 2 Ekman Dredge Sedwide-Rafter Counting Cell 4. พันธุ์ปลา ชนิด สุ่มเก็บตัวอย่าง Sum of Species 5. พันธุ์ไม้น้ำ ชนิด สุ่มเก็บตัวอย่าง Sum of Species หมายเหตุ : - วิธีการวิเคราะห์แพลงก์ตอน (Planktons) ตามวิธีมาตรฐาน Standard Methods for the Examination of water and Wastewater 21* Edition, 2005 ซึง ่ กำหนดโดย APHA-AWWA-WEF ี ารวิเคราะห์สัตว์หน้าดิน (Benthos) ตามวิธีมาตรฐานของ Holme and Mclntyrc - วิธก - แพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ทำเก็บรักษาตัวอย่างโดยใช้ฟอร์มาลีนความเข้มข้น 4 เปอร์เซ็นต์ (%) - สัตว์หน้าดิน ทำเก็บรักษาตัวอย่างโดยใช้ฟอร์มาลีนความเข้มข้น 7 เปอร์เซ็นต์ (%) 6) หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท โดยจัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ 7) งบประมาณ ระยะก่อสร้าง : 117,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 19,500 บาท/สถานี - จำนวน 3 สถานี/ครั้ง - ความถีข ่ องการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี 8) การประเมินผล บุคคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมและตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการลดผลกระทบจากผลการสำรวจด้านนิเวศวิทยาทางน้ำ เพื่อจัดทำรายงานและสรุปผลนำเสนอต่อสำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6.4.2 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านพืชในระบบนิเวศ 1) หลักการและเหตุผล การก่อสร้างโครงการจะก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ดำเนินการในเขต ป่า สงวนแห่งชาติป่าหลังสอด/ป่าควนบากัน เกาะ ช่วง กม.1+958 - กม.2+527 ระยะทางประมาณ 0.569 กิโลเมตร คิดเป็น พื้น ที่รวมประมาณ 4.0 ไร่ ต้องรื้อย้ายต้นไม้ใหญ่ 40 ต้น ได้แก่ ไม้บก 2 ชนิ ด จำนวน 3 ต้น และไม้ชายเลน 6 ชนิด จำนวน 37 ต้น ที่ต้องทำการตัดฟัน/รื้อย้ายออกจากพื้ นที่ก่อสร้างเชิงลานสะพานของ โครงการ ฝั่งเกาะลันตาน้อย ซึ่งอยู่ในเฉพาะเขตพื้นที่ป่ าสงวนแห่งชาติป่าหลังสอด/ป่าควนบากันเกาะเท่านั้น และผลจากการตรวจสอบชนิดไม้ในพื้นที่ดำเนินการครั้งนี้ ไม่พบไม้ที่มีสถานภาพเพื่อการอนุรักษ์ของกรมอุทยาน สั ต ว์ ป่ า และพั น ธุ์ พื ช ( DNP 2017) และของ IUCN (2020) แต่ อ ย่ า งใด ซึ่ ง พบชนิ ด ไม้ ห วงห้ า มประเภท ก. (ไม้หวงห้ามธรรมดา) จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก ตะบูนขาว ตะบูนดำ โปรงแดง และส้านใหญ่ โดยชนิด ไม้หรือต้นไม้ดังกล่าวไม่เป็นไม้ที่มีค่าหรือไม้หายาก ทั้งนี้ เนื่องจากในพื้นที่ดำเนินการก่อสร้างปัจจุบันมีไม้หวงห้าม กรมทางหลวงชนบท 6-26 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และต้นไม้ขนาดใหญ่ จึงจำเป็นต้องกำหนดให้มีการจัดทำบัญชีรายชื่อต้นไม้ในเขตทาง เพื่อตรวจสอบจำนวนต้นไม้ และตำแหน่งของต้นไม้ที่จะต้องตัดออกจากบริเวณที่จะทำการก่อสร้าง รวมทั้งการจัดทำแผนการนำไม้ออกเพื่อลด ลผกระทบต่อพืชในระบบนิเวศให้เหลือน้อยที่สุด 2) วัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันและลดผลกระทบต่อพืชในระบบนิเวศจากการพัฒนาโครงการให้น้อยที่สุด 3) พื้นที่ดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง พื้นที่ก่อสร้างโครงการ ช่วง กม.1+958 - กม.2+527 ระยะทางประมาณ 0.569 กิโลเมตร (2) ระยะดำเนินการ พื้ น ที่ ที่ มี ก ารปลู ก ต้ น ไม้ ในเขตทางและพื้ น ที่ ป ลู ก ป่ าทดแทน หรือ พื้ น ที่ ป่ าเสื่ อมโทรมอื่ น ๆ โดยเฉพาะพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A 1B และชั้นที่ 2 ที่อยู่บริเวณพื้นที่โครงการ 4) วิธีดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง - นับจำนวนและชนิดต้นไม้ที่ถูกรื้อย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ - จำนวนและสภาพการเจริญเติบโตของต้นไม้ที่ปลูกทดแทน - จำนวนต้นไม้ที่ตาย - ขนาดพื้นที่ปลูกป่าทดแทน 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง - ติดตามการตัดไม้ออกจากพื้นที่ก่อสร้าง ทุกครั้งที่มีการตัดไม้และชักลากไม้ออกจากพื้นที่ (2) ระยะดำเนินการ - จำนวน 1 ครั้ง/ปี ในปีที่ 1, 3, 5, 10, 15 และ 20 ของระยะดำเนินการ 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง - กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) ภายใต้การกำกับดูแลของกรมทาง หลวงหรือองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) (2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : 10,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 10,000 บาท/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 1 ครั้ง/ปี กรมทางหลวงชนบท 6-27 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ : 10,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 10,000 บาท/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 1 ครั้ง/ปี 8) การประเมินผล บุคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบการนำไม้ออก (ไม้หวงห้าม) เพื่อลดลผกระทบ ต่อพื ชในระบบนิ เวศให้ เหลือน้ อยที่ สุด เพื่ อจัด ทำรายงานและสรุป ผลนำเสนอต่อสำนั กงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6.4.3 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบต่อสัตว์ในระบบนิเวศ 1) หลักการและเหตุผล พื้นที่ดำเนินการของโครงการมีสภาพเป็นพื้นที่ชุมชนสลับกับพื้นที่เกษตรกรรมและป่าชายเลนน้ำตื้น ในลักษณะเปิดโล่งเป็นขอบเขตกว้างและจัดอยู่ในพื้นที่เขตน้ำทะเลขึ้น -ลง ซึ่งผลจากการสำรวจความหลากชนิด สัตว์ป่าตามแนวเริ่มต้นและสิ้นสุดเส้นทางโครงการ บริเวณพื้นที่ขอบเขตแนวเส้นทางโครงการ พบสัตว์ป่าอย่างน้อย 80 ชนิด จำแนกเป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 7 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน 13 ชนิด นก 55 ชนิด และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 5 ชนิด ตามลำดับ ทั้งนี้สัตว์ป่าที่รวบรวมข้อมูลได้ จำนวน 80 ชนิด โดยส่วนใหญ่มีสถานภาพเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง จำนวน 59 ชนิด ของจำนวนชนิดสัตว์ป่าทั้งหมดที่รวบรวมข้อมูลได้และส่วนใหญ่เป็นนก คือ ทั้ง 55 ชนิด ของ จำนวนชนิดสัตว์ป่าทั้งหมดที่รวบรวมข้อมูลได้ โดยสัตว์ป่าอีก 21 ชนิด ของจำนวนชนิดสัตว์ป่าทั้งหมดที่รวบรวม ข้อมู ล ได้ ในปั จจุบั น ไม่ได้รับ การคุ้ ม ครองโดยกฎหมาย พบนากใหญ่ ขนเรียบ มี สถานะการอนุ รักษ์ ต าม IUCN (2020) และสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) พ.ศ. 2560 จัดอยู่ในสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนมที่อยู่ในสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สู ญพันธุ์ และพบลิงแสม มีสถานะการอนุรักษ์ตาม IUCN (2020) และ สผ. พ.ศ. 2560 จัดอยู่ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อยู่ในสถานภาพกลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด ดำรงชีวิตแบบเคลื่อนที่ ปีนป่ายไปตามกิ่งไม้ และเคลื่อนที่หากินอาหารตามพื้นล่าง การดำเนินงานของโครงการมีกิจกรรมการก่อสร้างและ กิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จะส่งผลให้สัตว์ป่าที่เคยอาศัยและหากินอยู่บริเวณพื้นที่โครงการได้ รับผลกระทบทั้ง ทางตรงและทางอ้อม แม้จะได้เสนอแนะมาตรการป้องกันแก้ไขและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสัตว์ป่า แต่กค ็ วรมี การติดตามและตรวจสอบผลกระทบทางลบต่อสัตว์ป่า ไว้ด้วย ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง และ ระยะดำเนินการ เพื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาก่อนการก่อสร้าง เพื่อหาแนวทางในการป้องกัน ปรับปรุง และ มาตรการแก้ไขผลกระทบเพิ่มเติม รวมทั้งพิจารณาแผนปฏิบัติการ หากพบว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ ความหลากหลายของชนิดและความชุกชุมของสัตว์ป่าลดลงและคุณภาพทางลักษณะตามธรรมชาติ (ecological function) ทางวิทยาการนิเวศพฤติกรรม (behavioral ecology) ของสัตว์ป่าด้อยลงหรือไม่ และเพื่อเป็นการเฝ้า ระวังผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จึงเสนอให้มีการติดตามตรวจสอบผลกระทบต่อสัตว์ในระบบนิเวศ 2) วัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาโครงสร้างของชุมชนสัตว์ป่าด้วยการสำรวจความหลากชนิด การแพร่กระจาย และ ปริมาณความชุกชุม (จำนวนประชากร) รวมทั้งสภาพนิเวศของสัตว์ป่ าในพื้น ที่ ระยะ 500 เมตร จากแนวเส้น โครงการ (2) เพื่ อ ศึ ก ษาลั ก ษณะตามธรรมชาติ ข องสั ต ว์ ป่ า (ecological functions of wildlife species) กลุ่มเป้าหมายและแหล่งพื้นที่ที่สำคัญ ได้แก่ กรมทางหลวงชนบท 6-28 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ศึกษาแหล่งรวมฝูงพักผ่อน (roosting site) และแหล่งหากินอาหาร (foraging site) ขณะ น้ำทะเลบริเวณเขตน้ำขึ้น-น้ำลงชายทะเลที่ อยู่ห่างออกไปทั้งขณะหนุนสูงขึ้นและลดลงของนกชายเลน (migratory shorebirds) และนกน้ำในระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ - ศึกษา prey searching methods และ foraging behavior ของนกน้ำและนกชายเลน โดยพิจารณาชนิดนก (species) ที่มีโครงสร้างสัณฐานการหากินอาหารที่แตกต่างกัน และสัมพันธ์กับแหล่งหากิน เช่น หาดเลน หาดทรายกรวดหิน - ศึก ษาการเคลื่ อ นที่ ย้ า ยไปในสภาพแวดล้ อ มของสั ต ว์ ป่ า ทั้ ง ภาคพื้ น ดิ น และในอากาศ เกี่ยวเนื่องกับแนวยาวกีดขวางของเส้นทางโครงการ ในแบบแผนการแพร่กระจาย ทิศทางและรูปแบบการเคลื่อนที่ โดยเน้นสัตว์ป่าที่ผูกพันกับพื้นที่ป่าชายเลน ชายหาด บ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ และที่ลุ่มเปิดโล่งรกร้าง โดยเฉพาะ นากใหญ่ ขนเรียบ นกน้ำและนกชายเลนอพยพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับความสูงการบินของนกน้ำและนกชายเลนอพยพที่ สัม พันธ์กับสภาพแวดล้อม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดตามตรวจสอบการเคลื่อนที่บิ นข้าม/ผ่ านเหนือแนว สะพาน รวมทั้งการบินผ่านใต้ท้องคานสะพาน ทั้งในระยะเตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้างและระยะดำเนินงาน - ศึกษาการแพร่กระจายและพฤติ กรรมการรักษาระยะห่ าง (escape/flight distance) จาก แหล่งกำเนิดกิจกรรมโครงการของนกชายเลน(migratory shorebirds)และนกน้ำที่สัมพันธ์กับผลกระทบทางลบ ด้านภาพ ความสั่นสะเทือน เสียง และแสงทั้งช่วงเวลาหากินอาหาร (foraging) และช่วงพัก (roosting) ทั้งในระยะ เตรียมการก่อสร้าง ระยะก่อสร้างและระยะดำเนินงาน (3) สำรวจ บั น ทึ ก ทำสถิ ติ ก ารถู ก กั ก ติ ด ค้ า ง การได้ รับ บาดเจ็ บ เสี ย ชี วิ ต ของสั ต ว์ ช นิ ด ต่ า งๆ โดยเฉพาะนกชนิดต่างๆ จากปัจจัยต่างๆ ทั้งในระยะก่อสร้างและระยะดำเนินโครงการจากอุบัติเหตุถูกเฉี่ยวชนจาก ยานพาหนะบนถนนและสะพาน ทั้งนี้เพราะในด้านนิเวศวิท ยาถนนนั้นยานพาหนะเปรียบได้ กับเป็นสัตว์ผู้ล่า และสัตว์ป่าเป็นเหยื่อ รวมทั้งการได้ประโยชน์จากถนนและสะพาน 3) พื้นที่ดำเนินการ - พื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ช่วง กม.0+000-กม.2+527 4) วิธีดำเนินการ ดำเนินการสำรวจภาคสนามในบริเวณพื้นที่โครงการ ได้แก่ - ความหลากชนิด - การแพร่กระจาย ความชุกชุม - สถานภาพของสัตว์ป่า - สภาพนิเวศวิทยาพื้นที่อาศัย แหล่งอาหาร การใช้ประโยชน์พื้นที่ - ความเสียหายที่เกิดขึ้น ได้แก่ ชนิด/จำนวนของสัตว์ป่าที่ได้รับอุบัติเหตุในแต่ละครั้ง การบาดเจ็บ หรือการเสียชีวิต บริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง จำนวน 2 ครั้ง/ปี ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้ง ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ จำนวน 2 ครั้ง/ปี ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้ง ในปีที่ 1, 2, 3, 5, 10, 15 และ 20 ของระยะ ดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท 6-29 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง - กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) (2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : 300,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 150,000 บาท/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี (2) ระยะดำเนินการ : 300,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 150,000 บาท/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี 8) การประเมินผล บุคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมและตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการลดผลกระทบจากผลการสำรวจด้านสัตว์ในระบบนิเวศ โดยเฉพาะสัตว์ป่าที่มีสถานภาพเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่ โครงการ เพื่อจัดทำรายงานและสรุปผลนำเสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6.4.4 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบต่อสัตว์หายาก 1) หลักการและเหตุผล (1) สัตว์ทะเลหายาก ผลการตรวจสอบตรวจสอบรายงานประจำปี พ.ศ. 2562 ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และการสัมภาษณ์ชาวประมงบริเวณเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รวมทั้งการสัมภาษณ์หัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่งทะเล ตลอดจนการสำรวจการแพร่กระจายและจำนวนประชากรของสัตว์ทะเลหายากในบริเวณเกาะลันตา พบโลมา หลังโหนก (Sousa chinensis) ซึง ่ จัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมจำพวกหนึ่งที่อาศัยอยู่ในทะเล มีรูปร่างคล้ายปลา คือ มีค รีบ มีห าง แต่โ ลมามิใช่ป ลา เพราะเป็น สัต ว์เลี้ย งลูก ด้ว ยน้ ำ นมที่มีรก จัด อยู่ในอัน ดับ Artiodactyla ในอันดับฐานวาฬและโลมา (Cetacea) มีสถานภาพที่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมายใช้ตามพระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 และเมื่อทำการตรวจสอบ สถานภาพเพื่อการอนุรักษ์ใช้เกณฑ์ ของสำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning) พ.ศ. 2560 จัดอยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ (Endangered-EN) และสถานภาพของสัตว์ป่า ระดับ โลกจาก Red Data List ของ International Union Conservation of Nature; IUCN (2022) จัดอยู่ใน สถานภาพมีแนวโน้ม ใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable-VU) โดยผลการสำรวจและการสอบถามชาวประมงในพื้นที่ เมื่อวันที่ 14-18 มิถุนายน 2564 พบโลมาหลังโหนก 4 ตัว บริเวณท่าเทียบเรือคลองหมาก (ห่างจากแพขนานยนต์ ประมาณ 1.5 กิโลเมตร) และพบโลมาหลังโหนก 5 ตัว บริเวณหน้าเกาะลาปูเล (ห่างจากแพขนานยนต์ประมาณ 1.3 กิโลเมตร) โลมาหลังโหนกเป็นโลมาที่ชอบรวมกลุ่มตั้งแต่ 10-40 ตัว และมักว่ายน้ำช้า ๆ เมื่ออยู่ใกล้ชายฝั่ง กินปลา และปลาหมึกหลายชนิดตามชายฝั่งและแนวปะการั ง ซึ่งโลมาหลังโหนกจะไม่เคลื่อนย้ายจากแหล่งอาศัย มากนักมีอุปนิสัยอาศัยประจำที่หรือมีการย้ายที่อพยพน้อยมากและอาศัยไม่ห่างจากชายฝั่งเกินระยะ 1 กิโลเมตร กรมทางหลวงชนบท 6-30 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) สัตว์บกหายาก การสำรวจสัตว์ในระบบนิเวศในพื้นที่ศึกษาโครงการ ได้ดำเนินการสำรวจภาคสนาม จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ วันที่ 16-20 มกราคม 2564 (ฤดูแล้ง) และวันที่ 23-29 มิถุนายน 2564 (ฤดูฝน) มีขอบเขตครอบคลุมสัตว์ป่า 4 กลุ่ม คือ กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เพื่อรวบรวม ข้อมูลความหลากหลายชนิดสัตว์ป่า บริเวณโดยรอบแนวเส้นทางโครงการฯ ผลการสำรวจภาคสนามพบสัตว์บก หายาก 1 ชนิด คือ นากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspicillata ) พบบริเวณพื้นที่ลุ่มต่ำและแนวป่าชายเลน มีพื้นที่ครอบครองยาวประมาณ 7 – 12 กิโลเมตร ตามความยาวของแนวป่าชายเลน ออกหากินทั้งกลางวันและ กลางคื น มั ก อยู่ รวมกัน เป็ น ฝู ง ซึ่ ง พบร่องรอยและกองมู ล บริเวณป่ า ชายเลนฝั่ ง เกาะกลางช่ ว ง กม.0+400 - กม.0+500 และฝั่งเกาะลันตาน้อย ช่วง กม.2+000-กม.2+200 ระยะห่างจากแนวเส้นทางโครงการประมาณ 400- 500 เมตร นากใหญ่ ขนเรีย บ (Lutrogale perspicillata) มี สถานภาพตามกฎหมายเป็ น สัต ว์ป่ าคุ้ม ครองตาม พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ส่วนสถานภาพตาม IUCN (2022) จัดอยู่ในกลุ่มมีแนวโน้ม ใกล้สูญ พั นธุ์ (Vulnerable : VU) สำหรับสถานภาพตามสำนักงานนโยบายและแผนทรัพ ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (2560) จัดอยู่ในกลุ่มมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable : VU) เช่นเดียวกับสถานภาพตาม IUCN (2022) ทั้งนี้ในการดำเนินกิจกรรมการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาของโครงการ จะมีการก่อสร้าง โครงสร้างทั้งในน้ำ เหนือน้ำ และบนฝั่ง ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อโลมาหลังโหนก (Sousa chinensis) และ นากใหญ่ ขนเรียบ (Lutrogale perspicillata) ซึ่งจัดเป็น สัตว์หายากในบริเวณพื้นที่ โครงการ ดังนั้ น จึงจำเป็ น ต้ อ งมี ก ารติ ด ตามการเข้ า มาและการมี อ ยู่ ข องโลมาหลั ง โหนก (Sousa chinensis) และนากใหญ่ ข นเรี ย บ (Lutrogale perspicillata) ในบริเวณพื้นที่โครงการ ทั้งในระยะก่อสร้างและระยะเปิดดำเนินการ เพื่อนำมาปรับ มาตรการป้องกันผลกระทบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และสามารถป้องกันผลกระทบให้ได้มากที่สุด 2) วัตถุประสงค์ (1) ติ ด ตามเฝ้ า ระวั ง โลมาหลั ง โหนก (Sousa chinensis) และนากใหญ่ ข นเรี ย บ ( Lutrogale perspicillata) ซึ่งจัดเป็นสัตว์หายากในพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียง ที่อาจได้รับผลกระทบจากกิจกรรมการ ก่อสร้างของโครงการ ซึ่งพื้นที่โครงการแม้ไม่ได้เป็นพื้นที่อยู่อาศัยประจำของโลมาหลังโหนก (Sousa chinensis) และนากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspicillata) แต่ก็มีการเข้ามาหากินในพื้นที่บ้าง โดยเฉพาะในช่วงลมมรสุม ของทะเลอันดามัน จะมีโลมาเข้ามาหลบคลื่นลมของทะเลเปิดในบริเวณด้านในของเกาะลันตาน้อย ที่ทะเลมีคลื่น ลมที่สงบกว่า (2) เพื่ อติ ดตามผลกระทบที่ เกิด ขึ้น จากกิจกรรมต่ างๆ ของโครงการในระยะก่ อสร้างและระยะ ดำเนินการให้มีผลกระทบต่อสัตว์หายากให้น้อยที่สุด (3) เพื่อติดตามการเข้ามาใช้ประโยชน์ของสั ตว์ป่ าที่มีสถานภาพเพื่ อการอนุ รักษ์ พื้น ที่ตามแนว เส้นทางโครงการ 3) พื้นที่ดำเนินการ - พื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ช่วง กม.0+000-กม.2+527 โดยเฉพาะ บริเวณด้านทิศเหนือและทิศใต้ของพื้นที่ก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา รวมถึงบริเวณแนวสะพานโครงการ กรมทางหลวงชนบท 6-31 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) วิธีดำเนินการ - ในขณะดำเนินกิจกรรมก่อสร้าง ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องปฏิบัติตามแผนการติดตามผลกระทบต่อ โลมาปากขวดและโลมาหัวโหนก ดังนี้ ▪ ล่องเรือสำรวจและหยุดเรือตามจุดสำรวจ กำหนดระยะ ยาว 500 เมตร กว้ าง 500 เมตร จำนวน 2 แถว ทั้งด้านทิศเหนือและทิศใต้ของสะพานโครงการ ▪ เจ้าหน้าที่ใช้กล้องสำรวจบริเวณผิวน้ำประจำอยู่บนเรือ ▪ หากพบโลมาเข้ามาในพื้นที่เฝ้าระวัง จะทำการแจ้งเตือนให้ฝ่ายก่อสร้างทราบทันที ทั้งทาง โทรศัพท์และการใช้สัญญานเสียงแตรลม เพื่อให้หยุดกิจกรรมก่อสร้างชั่วคราว ▪ เฝ้าสังเกตและจดบันทึก จนกว่าโลมาจะว่ายออกไปจากพื้นที่เฝ้าระวัง - ดำเนินการสำรวจภาคสนามในบริเวณพื้นที่โครงการ ได้แก่ ▪ ความหลากชนิด ▪ การแพร่กระจาย ความชุกชุม ▪ สถานภาพของสัตว์ป่า ▪ สภาพนิเวศวิทยาพื้นที่อาศัย แหล่งอาหาร การใช้ประโยชน์พื้นที่ ▪ ความเสียหายที่เกิดขึ้น ได้แก่ ชนิด/จำนวนของสัตว์ป่าที่ได้รับอุบัติ เหตุในแต่ละครั้ง การ บาดเจ็บหรือการเสียชีวิต บริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ดำเนินการตลอดระยะเวลาก่อสร้างฐานรากสะพาน ทำการเผ้าระวังโดยเจ้าหน้าที่ควบคุมงาน ดำเนินการทุกวัน โดยเฉพาะช่วงฤดูฝน เดือนมิถุนายน-ธันวาคม (2) ระยะดำเนินการ จำนวน 2 ครั้ง/ปี ครอบคลุมฤดูฝนและฤดูแล้ง ในปีที่ 1, 2, 3, 5, 10, 15 และ 20 ของระยะ ดำเนินการ โดยเฉพาะช่วงฤดูฝนเดือนมิถุนายน-ธันวาคม 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง - กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) (2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : 690,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 690,000 บาท/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี (2) ระยะดำเนินการ : 190,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 95,000 บาท/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี กรมทางหลวงชนบท 6-32 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 8) การประเมินผล บุคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมและตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการลดผลกระทบจากผลการสำรวจด้านสัตว์ หายาก โดยเฉพาะสัตว์ป่ าที่มี สถานภาพเพื่อการอนุรักษ์ พื้นที่ โครงการ เพื่อจัดทำรายงานและสรุปผลนำเสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6.5 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 6.5.1 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคมนาคมขนส่ง อุบัติเหตุและความปลอดภัย 1) หลักการและเหตุผล ในช่ วงก่อสร้างโครงการ จะใช้ รถบรรทุ กขนาดใหญ่ ในการขนส่ งวัส ดุ และอุ ป กรณ์ ก่อสร้า งต่ างๆ เข้ามายังพื้นที่โครงการ ตลอดจนการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการในช่ วงที่ตัดผ่านถนนท้องถิ่น ในปัจจุบั น อาจรบกวนความคล่องตัวของกระแสจราจรบนโครงข่ายถนนในปัจจุบัน จึงส่งผลกระทบต่อการสัญจรของผู้ใช้ทาง ได้ และเนื่ องด้ว ยการขนส่ งวัส ดุ และอุป กรณ์ ก่อสร้างมี น้ำหนั กบรรทุ กมาก อาจทำให้ สภาพของถนนเดิม เกิด ความเสียหายหรือทรุดโทรมเร็วกว่าการใช้งานปกติและอาจเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ทาง สำหรับในระยะดำเนินการ ถนนโครงการที่การออกแบบตามมาตรฐานชั้นทางจะช่ วยอำนวยความสะดวกของการเดินทาง แต่อย่างไรก็ตาม หากผู้ขับ ขี่ไม่มีความระมัดระวังหรือขับ รถด้วยความประมาท ไม่ป ฏิบัติต ามกฎหมายที่ กำหนดหรืออุปกรณ์ ที่ อำนวยความสะดวกบนแนวเส้ น ทาง เช่น ไฟส่ องสว่ าง ไฟกระพริบ ป้ ายเตือน เกิด การชำรุด เสีย หาย ปั จจั ย ดังกล่าวจะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ การดำเนินกิจกรรมดังกล่าวจะมีการ นำเครื่องจักรเข้ามายังพื้นที่ก่อสร้าง อาจทำให้เกิดการจราจรชะลอตัวในบริเวณที่มีกิจกรรม และเนื่องจากการกีดขวาง การจราจร ทำให้บริเวณดังกล่าวเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุต่อผู้ใช้ รถ ใช้ถนนและคนเดินเท้าที่สัญจรผ่านได้ ดังนั้น จึงต้องจัดทำแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคมนาคมขนส่ง อุบัติเหตุและความปลอดภัย เพื่อเป็น การติดตามและประเมินมาตรการฯ ที่ได้นำเสนอไว้ และสามารถป้องกันผลกระทบได้มากที่สุด 2) วัตถุประสงค์ (1) เพื่อติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการคมนาคมขนส่งของโครงการ ทั้งในระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ ให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่และผู้ใช้ทางให้น้อยที่สุด (2) เพื่อติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านอุบัติเหตุและความปลอดภัยที่เกิดขึ้นต่อประชาชนและ ผู้ใช้ทางบนถนนโครงการ ้ ที่ดำเนินการ 3) พืน (1) ระยะก่อสร้าง เส้นทางลำเลียงขนส่งวัสดุ 2 เส้นทางหลัก ได้แก่ - ทางหลวงหมายเลข 4206 - ทางหลวงชนบท กบ.5035 (2) ระยะดำเนินการ - ทางหลวงหมายเลข 4206 - หลวงชนบท กบ.5035 - แนวถนนทางโครงการ กรมทางหลวงชนบท 6-33 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) วิธีดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง - ตรวจสอบปริมาณรถที่ใช้ในการขนส่งวัสดุ-อุปกรณ์ก่อสร้างในแต่ละกิจกรรมที่ผ่านเข้า-ออก โครงการ - ตรวจสอบสภาพการชำรุดเสียหายของแนวถนนโครงการ รวมทั้งแนวเส้นทางขนส่งวัสดและ อุปกรณ์ก่อสร้างเข้าสู่พื้นที่โครงการ - รวบรวมข้อมู ลสถิติอุบั ติเหตุ ตำแหน่งเวลาที่เกิดอุบัติเหตุ และสาเหตุของอุ บัติเหตุที่เกิด บริเวณแนวถนนโครงการ ร่วมกับการสำรวจด้านคมนาคมขนส่ง (2) ระยะดำเนินการ - สำรวจปริมาณรถที่ ม าใช้ แนวถนนโครงการว่ามีป ริมาณเพิ่ มขึ้นมากน้อยเพีย งใด เพื่ อดู สภาพความคล่องตัวของการใช้ถนน - ตรวจสอบสภาพการชำรุดเสียหายของแนวถนนโครงการ - รวบรวมข้อมูลสถิติอุบัติ เหตุ ตำแหน่งเวลาที่ เกิดอุบัติเหตุ และสาเหตุของอุบั ติเหตุที่เกิด บริเวณแนวถนนโครงการ 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ดำเนินการ 1 ครั้ง/ปี ตลอดระยะก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ ดำเนินการ 1 ครั้ง/ปี ในปีที่ 1, 2, 3, 5, 10, 15 และ 20 ของระยะดำเนินการ 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท โดยจัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท โดยจัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : 60,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 30,000 บาท/ครั้ง - ความถีข ่ องการตรวจวัด 2 ครัง้ /ปี (2) ระยะดำเนินการ : 30,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 30,000 บาท/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 1 ครัง ้ /ปี 8) การประเมินผล บุคคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบรวบรวมข้อมูลสถิติ สาเหตุ และลักษณะ ความรุนแรงของการเกิดอุบัติเหตุจากการสัญ จรทางบกและทางน้ำ เพื่อจัดทำรายงานและสรุปผลนำเสนอต่อ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง กรมทางหลวงชนบท 6-34 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6.5.2 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านการควบคุมน้ำท่วมและการระบายน้ำ 1) หลักการและเหตุผล การปรับ ปรุง อาคารระบายน้ำ ตามแนวเส้น ทางโครงการ จะดำเนินควบคู่กันไปการก่อสร้างถนน โครงการ โดยในระหว่างการก่อสร้างอาคารระบายน้ ำดังกล่าว จำเป็นต้องเปิดหน้าดิน และปิดกั้นลำน้ำชั่วคราว เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน ซึ่งคาดว่าเป็นอุปสรรคต่อการระบายน้ำในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ประกอบกับการ เปิดหน้าดินเพื่อก่อสร้างถนนในกรณีที่มีฝนตก อาจเกิดการชะล้างพังทลายของดินลงสู่ลำน้ำได้ เกิดการตกตะกอน ทับถมและทำให้ลำน้ำเกิดตื้นเขินจนเป็นอุปสรรคต่อการระบายน้ำหรือกีดขวางทางน้ำ ทำให้น้ำไหลไม่สะดวกและ ระบายน้ำ อาจก่อให้เกิดปัญหาน้ำท่วมขังในบางบริเวณที่อยู่ใกล้เคียงได้ ดังนั้น จึงต้องมีแผนการติดตามตรวจสอบ การระบายน้ำและการควบคุมน้ำท่วม เพื่อป้องกันและลดปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นให้น้อยที่สุด 2) วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามตรวจสอบการระบายน้ำและการควบคุมน้ำท่วมบริเวณพื้นที่ดำเนินโครงการที่ตัดผ่าน พร้อมให้ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาในกรณีที่เกิดผลกระทบ เพื่อป้องกันผลกระทบด้านการระบายน้ำให้ เกิดขึ้นน้อยที่สุด 3) พื้นที่ดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง - พื้นที่โครงการ จุดเริ่มต้นที่ กม.0+000 ในพื้นที่ตำบลเกาะกลาง และจุดสิ้นสุดที่ กม.2+527 ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ (2) ระยะดำเนินการ - 4) วิธีดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง - น้ำท่วมขังบริเวณทั้งสองฝั่งแนวเส้นทางและบริเวณใกล้เคียง - สำรวจประสิทธิภาพอาคารระบายน้ำตลอดแนวเส้นทางโครงการ โดยการตรวจสอบสภาพ การสะสมของตะกอนดินและวัชพืชบริเวณท่อและรางระบายน้ำ (2) ระยะดำเนินการ - 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง จำนวน 2 ครั้ง/ปี ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง หรือหากเกิดกรณี ฝนตกหนักให้มีการตรวจสอบ ภายใน 24 ชั่วโมง (2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท 6-35 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ - 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : 40,000 บาท/ปี - ค่าวิเคราะห์ 20,000 บาท/ครั้ง - ความถี่ของการตรวจวัด 2 ครั้ง/ปี (2) ระยะดำเนินการ - 8) การประเมินผล บุคคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบน้ำท่วมขังบริเวณทั้งสองฝั่งแนวเส้ นทาง และบริเวณใกล้เคียง และสำรวจประสิทธิภาพอาคารระบายน้ำตลอดแนวเส้นทางโครงการ เพื่อจัดทำรายงานและ สรุปผลนำเสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6.5.3 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเศรษฐกิจ-สังคม 1) หลักการและเหตุผล การดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการ อาจมีการปิดกั้นการจราจรบางส่วน อาจส่ง ผลกระทบต่อ ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนฝั่งเกาะกลางและฝั่งเกาะลัน ตาน้อย ก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการเดินทางไป -มาหาสู่ กันระหว่างคนในชุมชน มีผลกระทบต่อโครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมของชุมชนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้ แต่ผลกระทบที่เกิดขึ้น นั้นเป็นเพียงผลกระทบชั่วคราวเฉพาะช่ วงก่อสร้างเท่านั้น ประกอบกับ ในระหว่างการ ก่อสร้าง โครงการได้กำหนดให้มีมาตรการจัดการจราจร เพื่อป้องกันและลดผลกระทบต่อการคมนาคมในพื้นที่ จึง ทำให้ป ระชาชนสามารถเดิน ทางไปมาหา -สู่กัน ได้ต ามปกติ นอกจากนี้ การดำเนิน กิจ กรรมก่อ สร้า งของ โครงการ ต้องใช้แรงงานคนร่วมกับการทำงานของเครื่องจักร จะทำให้มีเจ้าหน้าที่หรืออาจมีการจ้างแรงงานใน พื้นที่ประมาณ 170 คน ใช้ระยะเวลาประมาณ 3 ปี หรือ 900 วันทำงาน (ทำงานเดือนละ 25 วัน) ในกรณีที่มี การใช้จ่ายเฉลี่ยคนละประมาณ 200 บาท/วัน (ร้อยละ 40.00 ของรายได้) จะส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนของ เงินในท้องถิ่น ประมาณ 34,000 บาท/วัน ทำให้เศรษฐกิจ ดีขึ้น มีเงิน หมุน เวีย นในชุมชนเพิ่ม ขึ้น เล็กน้อย ซึ่ง คาดว่าจะมีส่วนช่วยในการส่งเสริมการใช้จ่าย เกิดการหมุนเวียนของเงินในระบบเศรษฐกิจของท้องถิ่น ส่งผลดี ต่อผู้ที่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป สำหรับ ผู้ประกอบอาชีพค้าขายหรือสถานประกอบการที่อยู่บริเ วณใกล้เคียงพื้นที่ ก่อสร้างโครงการคาดว่าจะได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ โดยผลกระทบทางบวกจะเป็นการจำหน่าย สินค้าและบริการให้กับโครงการ ทำให้เศรษฐกิจรายได้ของครัวเรือนเพิ่มขึ้น ส่วนผลกระทบทางลบนั้น คาดว่า จะเกิด ขั้น ในด้า นความไม่ส ะดวกในการเดิน ทางหรือการเข้า -ออกพื้น ที่และอาจจะต้องหยุด ค้า ขายชั่ว คราว โดยเฉพาะช่ว งที ่ม ีกิจ กรรมก่อ สร้า งบริเวณหน้า ร้า น แต่ทั ้ง นี ้โ ครงการได้ม ีก ารกำหนดมาตรการให้เร่ง รัด ดำเนินการก่อสร้างโดยใช้ระยะเวลาให้สั้นที่สุด และในขณะดำเนินการก่อสร้างต้องเว้นพื้นที่ ทางเข้า-ออกพื้นที่ หรือจัดทำทางเข้า -ออกชั่วคราวให้กับทางสถานประกอบการที่คาดว่าได้รับผลกระทบจากการดำเนินกิจกรรม กรมทางหลวงชนบท 6-36 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดังกล่าว ส่วนความวิตกกังวลของผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง เสียงดังจาก เครื่องจักรขนาดใหญ่ในระหว่างก่อสร้าง ความสั่น สะเทือ นจากกิจกรรมก่อสร้า งฐานรากของสะพาน ซึ่งอาจ ก่อให้เกิด ความรู้สึกรำคาญ หงุดหงิด และอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตของผู้รับสัมผัสหรือ ผู้ที่อาศัยอยู่ใกล้ กับพื้นที่ก่อสร้างได้ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการติดตามตรวจสอบผลกระทบและปัญหาด้านเศรษฐกิจ-สังคม เพื่อ เป็นการติดตามและประเมินมาตรการฯ ที่ได้นำเสนอไว้ และสามารถป้องกันผลกระทบได้มากที่สุด 2) วัตถุประสงค์ (1) เพื่อติดตามตรวจสอบผลกระทบและปัญหาด้านเศรษฐกิจ -สังคมที่เกิดขึ้นต่อประชาชนในระยะ ก่อสร้างและระยะดำเนินการ รวมถึงความคิดเห็นของประชาชน ่ ำเนินการ 3) พื้นทีด (1) ระยะก่อสร้าง - พื้นที่ศึกษาโครงการ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะกลางและเกาะลันตาน้อย - มีกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินการ ได้แก่ ครัวเรือน ผู้นำชุมชน สถานประกอบการ และ พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ - พื้นที่ศึกษาโครงการ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะกลางและเกาะลันตาน้ อย - มีกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินการ ได้แก่ ครัวเรือน ผู้นำชุมชน สถานประกอบการ และ พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม 4) วิธีดำเนินการ สำรวจสภาพเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่โครงการ ดังนี้ (1) ระยะก่อสร้าง ก) กลุ่มเป้าหมาย - ครัวเรือน - ผู้นำชุมชน - สถานประกอบการ ่ แวดล้อม - พื้นที่อ่อนไหวด้านสิง ข) ดัชนีตรวจวัด - สำรวจข้ อมู ลสภาพเศรษฐกิ จ-สั งคม วั ฒ นธรรม และการเปลี่ ยนแปลงอั น เนื่ องจาก โครงการ ปัญหาอุปสรรค ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการ ค) วิธีการศึกษา สำรวจด้วยวิธีการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม และภายหลังดำเนินการสำรวจ ความคิดเห็นแล้วเสร็จ จะต้องตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลทั้งหมด โดยนำข้อมูลมาจัด ระเบีย บ หรือจัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามและสร้างคู่มือของรหัสและลงรหัส (Coding) ตามคู่มือลงรหัสที่สร้างขึ้นมา และนำข้อมูลที่ลงรหัสเรียบร้อยแล้วไปวิเคราะห์และประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Spss for Windows สำหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา ( Descriptive Statistic) ได้แก่ จำนวน และร้อยละ โดยทำการวิเคราะห์และอธิบายข้อมูลออกเป็นแต่ละกลุ่ม กรมทางหลวงชนบท 6-37 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2) ระยะดำเนินการ ก) กลุ่มเป้าหมาย - ครัวเรือน - ผู้นำชุมชน - สถานประกอบการ - พื้นที่อ่อนไหวด้านสิง ่ แวดล้อม ข) ดัชนีตรวจวัด - สำรวจข้ อมู ลสภาพเศรษฐกิ จ-สั งคม วั ฒ นธรรม และการเปลี่ ยนแปลงอั น เนื่ องจาก โครงการ ปัญหาอุปสรรค ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการ ค) วิธีการศึกษา สำรวจด้วยวิธีการสัมภาษณ์โดยใช้แ บบสอบถาม และภายหลังดำเนินการ สำรวจความคิดเห็นแล้วเสร็จ จะต้องตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลทั้งหมด โดยนำข้อมูลมาจัดระเบียบ หรือจัดกลุ่มข้อมูลที่ไ ด้จากแบบสอบถามและสร้างคู่ มือของรหัสและลงรหัส (Coding) ตามคู่มือลงรหัสที่สร้าง ขึ้น มาและนำข้อ มู ล ที่ ล งรหั ส เรีย บร้ อยแล้ ว ไปวิ เคราะห์ แ ละประมวลผลโดยใช้ โปรแกรมสำเร็ จ รูป Spss for Windows สำหรับ งานวิ จั ย ทางสั ง คมศาสตร์ และวิ เคราะห์ ข้ อ มู ล โดยใช้ ค่ า สถิ ติ เชิ ง พรรณนา ( Descriptive Statistic) ได้แก่ จำนวน และร้อยละ โดยทำการวิเคราะห์และอธิบายข้อมูลออกเป็นแต่ละกลุ่ม 5) ระยะเวลา (1) ระยะก่อสร้าง จำนวน 1 ครั้ง/ปี ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ จำนวน 1 ครั้ง/ปี ในปีที่ 1, 2, 3, 5, 10, 15 และ 20 ของระยะดำเนินการ 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : 250,000 บาท/ปี - ค่าสำรวจและค่าวิเคราะห์ 1,000 บาท/ตัวอย่าง - จำนวน 250 ตัวอย่าง - ความถี่ของการตรวจวัด 1 ครั้ง/ปี (2) ระยะดำเนินการ : 250,000 บาท/ปี - ค่าสำรวจและค่าวิเคราะห์ 1,000 บาท/ตัวอย่าง - จำนวน 250 ตัวอย่าง - ความถี่ของการตรวจวัด 1 ครั้ง/ปี กรมทางหลวงชนบท 6-38 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 8) การประเมินผล บุคคลที่ 3 (Third Party) ต้องทำการติดตามตรวจสอบผลกระทบและปัญหาที่เกิดขึ้นต่อประชาชน รวมถึ ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชน เพื่ อ จั ด ทำรายงานและสรุ ป ผลนำเสนอต่ อ สำนั กงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6.5.4 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านสาธารณสุขและอาชีวอนามัย 1) หลักการและเหตุผล สภาพทางสังคมของชุมชนบริ เวณพื้นที่โครงการในปัจจุบัน มีรูปแบบความสัมพันธ์ของชุมชนที่มี การเดินทางไป-มาหากันอยู่ตลอดเวลา ในระหว่างการดำเนินกิจกรรมก่อสร้าง อาจทำให้เกิดการกีดขวางการสัญจร หรือเป็นอุปสรรคต่อการสัญจรทำให้เกิดการเดินทางไป-มาหาสู่กัน และยังส่งผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน เป็ นต้น ซึ่งก่อให้เกิดความเดือดร้ อนรำคาญได้ รวมทั้งการก่อสร้างของโครงการต้องใช้ แรงงานต่างถิ่นเข้ามาพักอาศัยและทำงานในพื้นที่โครงการ ซึ่งอาจส่งผลกระทบด้านสังคมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ของชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้ เคียงที่พักคนงานก่อสร้าง นอกจากนี้ ในการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการที่ ก่อให้เกิดฝุ่นละออง เสียงดัง และความสั่นสะเทือนที่มาจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ ซึ่งมลพิษดังกล่าวอาจเป็น สาเหตุของปัญหาสุขภาพอนามัย โดยเฉพาะโรคทางเดินหายใจระบบการได้ยินของประชาชนในชุมชนที่ อยู่อาศัย ใกล้กับพื้นที่ก่อสร้าง รวมทั้งโรคระบาดจากคนงานก่อสร้าง โดยสิ่งคุกคามทางจิตใจที่ส่งผลกระทบ ได้แก่ ความ วิตกกังวล ความรำคาญ ความเดือดร้อน ความเครียด และความกลัว รวมถึงอาจก่อให้ เกิดอุบัติเหตุเนื่องจากการ ก่อสร้างโครงการ จึงทำให้เกิดความรู้สึกที่กระทบต่อสภาพจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบได้ โดยความรู้สึกจะมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึ้น และระยะเวลาในการได้รับผลกระทบนั้นๆ ทั้งนี้ กลุ่มเสี่ยงต่อ การได้รับผลกระทบ ได้แก่ คนงานก่อสร้างและประชาชนที่อยู่ในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง รวมทั้งผู้ที่ใช้ทางที่สัญจรไป-มา และในระหว่างการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการ อาจมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ซึ่งพบว่า โดยทั่วไปอุบัติเหตุ ที่ เกิด ขึ้น จากการทำงานร้อยละ 85.0 เกิด จากตัว บุ คคลด้ วยการขาดความรู้/ความเอาใจใส่ /ความประมาท/ ขาดประสบการณ์ และร้อยละ 15.0 เกิดจากเครื่องจักรชำรุดหรือไม่พร้อมต่อการปฏิบัติงาน ดังนั้ น จึงจำเป็น ต้องมี การติด ตามตรวจสอบผลกระทบด้า นสาธารณสุข และอาชีว อนามัย เพื ่อ เป็น การติด ตามและประเมิ น มาตรการฯ ที่ได้นำเสนอไว้ และสามารถป้องกันผลกระทบได้มากที่สุด 2) วัตถุประสงค์ (2) เพื่อติดตามตรวจสอบผลกระทบและปัญหาด้านสาธารณสุข ที่เกิดขึน ้ ต่อประชาชน รวมถึงความ คิดเห็นของประชาชน (3) เพื่ อติ ด ตามตรวจสอบผลกระทบและปั ญ หาด้ านอาชี ว อนามั ย ที่ เกิด ขึ้น ต่ อคนงานก่ อสร้า ง รวมถึงความคิดเห็นของประชาชน ่ ำเนินการ 3) พื้นทีด (1) ระยะก่อสร้าง - พื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ (2) ระยะดำเนินการ - กรมทางหลวงชนบท 6-39 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 6 แผนการติดตามตรวจสอบ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) วิธีดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ก) กลุ่มเป้าหมาย - คนงานก่อสร้างและประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ศึกษาโครงการ ข) ดัชนีตรวจวัด - ปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของคนงานก่อสร้างและประชาชนในพื้นที่ศึกษาโครงการ รวมทั้งการบริการด้านสาธารณสุข ค) วิธีการศึกษา รวบรวมข้อมูลด้านสาธารณสุขและอาชีวอนามัยจากสถานพยาบาลที่ตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง กับพื้นที่ศึกษาโครงการ และการสำรวจด้วยวิธีการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามร่วมกับการดำเนินงานสำรวจด้าน เศรษฐกิจ-สังคม และภายหลังดำเนินการสำรวจความคิดเห็นแล้ วเสร็จ จะต้องตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของ ข้อมูลทั้งหมด โดยนำข้ อมูล มาจัดระเบี ยบหรือจัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามและสร้างคู่มือของรหัสและลง รหัส (Coding) ตามคู่มือลงรหัสที่สร้างขึ้นมาและนำข้อมูลที่ลงรหัสเรียบร้อยแล้วไปวิเคราะห์และประมวลผลโดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูป Spss for Windows สำหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติเชิง พรรณนา ( Descriptive Statistic) ได้แก่ จำนวน และร้อยละ โดยทำการวิเคราะห์และอธิบายข้อมูลออกเป็น แต่ละกลุ่ม (2) ระยะดำเนินการ - 5) ระยะเวลา (1) ระยะก่อสร้าง จำนวน 1 ครั้ง/ปี ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ - 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่สาม (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ - 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง : - รวมอยู่ในมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเศรษฐกิจ-สังคม (2) ระยะดำเนินการ : 8) การประเมินผล บุคคลที่ 3 ( Third Party) ต้องทำการติด ตามตรวจสอบผลกระทบและปัญ หาด้า นสาธารณสุข และอาชีวอนามัยที่เกิดขึ้นต่อคนงานก่อสร้างและประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ศึกษาโครงการ เพื่อจัดทำรายงาน และสรุปผลนำเสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง กรมทางหลวงชนบท 6-40 บทที่ 7 แผนปฏิบัติการดานสิ่งแวดลอม รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต บทที่ 7 แผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อม 7.1 บทนำ ผลการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พบว่า กิจกรรมการดำเนินโครงการก่อให้ เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในปัจจุบันในบริเวณพื้นที่โครงการ ซึ่งได้มีการกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมถึงมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ทั้งนี้ เพื่อให้มาตรการป้องกันและแก้ไข และผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตาม ตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่นำเสนอไว้มีความสมบูรณ์และเป็นรูปธรรม สามารถปฏิบัติได้จริง จึงนำเสนอ เป็นแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความชัดเจนและสามารถนาไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง โดยแผนปฏิบัติ การด้านสิ่งแวดล้อมดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการพั ฒนาโครงการในอนาคต เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อ ประชาชนในพื้นที่โครงการและสภาพแวดล้อมในปัจจุบันให้น้อยที่สุด หรือไม่เกิดขึ้นเลย ทั้งนี้ ผลการศึกษาในการ จัดทาแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการได้จากขั้นตอนภายหลังจากที่ได้ดำเนินการศึกษามาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการแล้ว 7.2 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง ่ แวดล้อม สำหรับการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ประกอบด้วย 8 แผน ดังนี้ 1) แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน 2) แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเล 3) แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านเสียง 4) แผนการปลูกป่าชายเลนทดแทน 5) แผนการปลูกป่าทดแทน (ป่าสงวนแห่งชาติ) 6) แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อโลมา 7) แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคมนาคมขนส่ง/อุบัติเหตุและความปลอดภัย 8) แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธ์และรับเรื่องร้องเรียนของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 7-1 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต 7.2.1 แผนปฏิบัติการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน 1) หลักการและเหตุผล น้ำ เสีย จากสำนักงานควบคุมโครงการและบ้า นพั กคนงาน ตั้งอยู่ริม ทางหลวงหมายเลข 4206 (ฝั่งซ้ายทาง) รองรับคนงานก่อสร้าง 170 คน ซึ่งการดำเนินกิจกรรมต่างๆ จะมีน้ำเสียที่เกิดขึ้นประมาณ 23.03 ลูกบาศก์เมตร/วัน ได้แก่ น้ำเสียจากห้องน้ำ-ห้องส้วม ห้องอาหาร โรงซ่อมบำรุง และน้ำชะขยะมูลฝอย ซึ่งหากไม่มี การจัดการที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลและมาตรฐานน้ำทิ้งก่อนระบายออกสู่พื้นที่ภายนอก จะก่อให้ผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำหรือพื้นที่รับน้ำที่อยู่ใกล้เคียงและกลายเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคได้ ส่วนน้ำเสีย จากสุขาเคลื่อนที่ เพื่อให้เกิดความสะดวกและห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อม จึงกำหนดให้มีห้องน้ำหรือสุขาเคลื่อนที่ตั้งอยู่ ใกล้บริเวณพื้นที่ก่อสร้างเพื่ อรองรับน้ำเสียที่ เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยในแต่ละช่วงของพื้ นที่ดำเนินการก่อสร้าง โครงการแต่ละจุดจะมีคนงานก่อสร้างประมาณ 50 คน/การพื้นที่เปิดดำเนินการ ซึ่งจะมีน้ำเสียเกิดขึ้น 5 ลิตร/คน/วัน หรือ 0.25 ลูกบาศก์เมตร/วัน โดยน้ำเสียที่เกิดขึ้นจะถูกระบายออกสู่ภายนอกและลงสู่ลำน้ำธรรมชาติบริเวณ ใกล้เคียง ก่อให้เกิดผลกระทบที่เกิดจากมลพิ ษทางน้ำได้ สำหรับ น้ำเสียจากโรงหล่อคอนกรีต กำหนดให้ ที่ตั้ ง โรงหล่อคอนกรีตสำเร็จรูปของโครงการอยู่บริเวณซ้ายทางของทางหลวงหมายเลข 4206 ที่ กม.25+800 ซึ่งในการ ดำเนินกิจกรรมจะมีการระบายน้ำเสียและกากคอนกรีตที่เกิดจากการล้างคอนกรีต ที่ค้างอยู่ในเครื่องผสมและ ที่เหลือในรถขนส่งคอนกรีต ซึ่งจากการศึกษาของ Chini S.A. and Mbwambo W. (1996) พบว่าปริมาณน้ำเสีย ที่เกิดขึ้นในโรงงาน ผลิตคอนกรีตมีปริมาณประมาณ 500 ลิตร/คัน/วัน หรือประมาณ 12-20 ลูกบาศก์เมตร/วัน เนื่องจากมีส่วนของปูนซีเมนต์ผสมอยู่ทำให้น้ำสลัดจ์มีค่าความเป็นด่างสูงเกินกว่าค่ามาตรฐานน้ำทิ้งที่กำหนดไ ว้ จึงจำเป็นต้องมีระบบจัดการน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่แหล่งน้ำสาธารณะ ดังนั้น เพื่อให้มาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบต่ อคุณ ภาพน้ ำผิ วดิน มีความเป็ นรูป ธรรม ชัด เจน สามารถนำไปปฏิบั ติได้จริง จึงได้น ำเสนอในรูป แผนปฏิบัติการขึ้นมา 2) วัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดินอันเนื่องจากการดำเนินกิจกรรมของโครงการ 3) พื้นที่ดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง พื้นที่สำนักงานควบคุมโครงการและบ้านพักคนงาน พื้นที่ตั้งสุขาเคลื่อนที่ และพื้นที่ตั้งโรงหล่อ คอนกรีตของโครงการ (2) ระยะดำเนินการ พื้นที่โครงการบริเวณทางขึ้นจุดชมวิว ฝั่งตำบลเกาะกลาง 4) วิธีการดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท ต้องกำกับผู้รับจ้างก่อสร้างให้ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน ดังนี้ (1) ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง การจัดการน้ำเสียจากสำนักงานควบคุม/บ้านพักคนงาน - ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ -กรองไร้อากาศ (รูปที่ 7.2.1-1) เพื่อรองรับน้ำ เสียจากห้องน้ำ-ห้องส้วม ขนาด 10.0 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง น้ำเสียจากโรงอาหาร ขนาด 10.0 ลบ.ม. จำนวน 2 ถัง และ น้ำเสียจากโรงซ่อมบำรุง 1.50 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง เพื่อบำบัดน้ำเสียให้อยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งก่อนระบายลงสู่ แหล่งน้ำที่อยู่บริเวณใกล้เคียง กรมทางหลวงชนบท 7-2 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.1-1 ตัวอย่างถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ-กรองไร้อากาศ - ติดตั้งถังดั กไขมัน (รูป ที่ 7.2.1-2) เพื่ อรองรับ น้ำเสี ยจากห้องอาหาร ขนาด 0.5 ลบ.ม. จำนวน 4 ถัง และติดตั้งถังดักไขมันที่โรงซ่อมบำรุง ขนาด 0.5 ลบ.ม. จำนวน 1 ถัง รูปที่ 7.2.1-2 ตัวอย่างถังดักไขมัน - ทำการเทพื้นคอนกรีตในบริเวณที่อาจเกิดการรั่วไหลของน้ำมันและไขมัน ในบริเวณที่พัก คนงานและโรงซ่อมบำรุงเครื่องจักรกล โดยทำเป็นพื้นคอนกรีต ที่ยกขอบโดยรอบและต่อท่อระหว่างพื้นคอนกรีต และบ่อดักไขมัน (รูปที่ 7.2.1-3) เพื่อรวบรวมสิ่งรั่วไหลจากพื้นคอนกรีตลงสู่บ่อดักไขมันโดยตรง และระบายน้ำที่ ผ่านการดักไขมันลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสีย - จั ด เตรีย มพื้ น ที่ ส ำหรั บ เครื่อ งจั ก ร รวมทั้ ง โรงบำรุ ง เครื่อ งจั ก ร บริ เวณที่ เก็ บ ถั ง น้ ำ มั น เชื้ อเพลิง ถังน้ ำมัน เครื่อง และถังเก็บน้ ำมั น ที่ ใช้แล้ว บริเวณที่ ทำความสะอาดยานพาหนะและเครื่องจักรกล รวมทั้ งพื้ น ที่ กองวัสดุ ก่อสร้ างให้ อยู่ ห่างจากแหล่ งน้ ำและทางระบายน้ ำอย่างน้ อย 100 เมตร เพื่ อป้ องกันการ ปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้ำ - จัดภาชนะรองรับน้ำมันที่ใช้แล้วไว้ในโรงซ่อมบำรุงเพื่อรวบรวมและนำไปกำจัดให้เหมาะสม - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องจัดให้มีถังขยะแยกประเภทที่มีฝาปิดมิดชิด (รูปที่ 7.2.1-4) น้ำไม่ สามารถจะรั่ว ซึม ได้ (ไม่ควรใช้เข่งในการเก็บ รวบรวมขยะมูลฝอย) มีจ ำนวนและขนาดที่เพีย งพอต่อ ปริมาณ ขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ตั้งวางไว้ตามจุดต่างๆ ภายในพื้นที่หน่วยก่อสร้าง เช่น บ้านพักคนงาน ห้องอาหาร อาคาร และสำนักงาน รวมทั้งโรงซ่อมบำรุง โดยจัดให้มีเจ้าหน้าที่หรือคนงานเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยไปไว้ในจุดรวมขยะ กรมทางหลวงชนบท 7-3 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องประสานงานติดต่อพนักงานเก็บขยะมูลฝอยของ อบต.เกาะกลาง เพื่อ นำรถบรรทุกขยะเข้ามาจัดเก็บและขนส่งต่อไปยังสถานกำจัดขยะมูลฝอย รูปที่ 7.2.1-3 ตัวอย่างการทำพื้นคอนกรีตแบบยกขอบโดยรอบ บริเวณที่อาจเกิดการรั่วไหลของน้ำมันและไขมัน รูปที่ 7.2.1-4 ่ ีฝาปิดมิดชิด ตัวอย่างถังขยะแยกประเภททีม การจัดการน้ำเสียจากสุขาเคลือ ่ นที่ - ติดตั้งสุขาเคลื่อนที่ พร้อมทั้งถังบำบัดน้ ำเสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ -กรองไร้อากาศ (รูปที่ 7.2.1-5) จำนวน 4 ห้อง/ชุด จำนวน 2 ชุด ทำการติดตั้งในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างฝั่งเกาะกลาง 1 ชุด และพื้นที่ฝั่ง เกาะลันตาน้อย 1 ชุด เพื่อสุขอนามัยการขับถ่ายของคนงานก่อสร้างที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน และประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง และ อบต.เกาะลันตาน้อย ให้เข้ามาดำเนินการจัดเก็บและนำของเสียที่เกิดขึ้นไปกำจัดในแต่ละวัน รูปที่ 7.2.1-5 ตัวอย่างสุขาเคลื่อนที่ กรมทางหลวงชนบท 7-4 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต การจัดการน้ำเสียจากโรงหล่อคอนกรีต - ระบบการจั ด การน้ ำ เสี ย ของโรงงานคอนกรี ต ผสมเสร็ จ ใช้ วิ ธี ป ล่ อ ยให้ ต กตะกอน (Coagulation) ในบ่อ ประกอบด้วยบ่อ 2 บ่อ คือ บ่อแรกจะเป็นที่รองรับคอนกรีตส่วนที่ค้างในรถขนส่งคอนกรีต ขนาด 4.0×4.0×1.5 เมตร และบ่อที่สองเป็นบ่อรับน้ำล้นจากบ่อแรก ขนาด 4.0×4.0×1.5 เมตร มาทำการบำบัด น้ำเสียทางเคมี ซึ่งเหมาะสำหรับน้ำเสียที่มีลักษณะที่มีความกรด -ด่าง (pH) สูง โดยการปรับสภาพน้ำที่มีค่าความ เป็นกรด-ด่างหรือค่า pH ให้อยู่ในสภาพที่เป็นกลาง (Neutralization) มีค่า pH อยู่ในช่วง 5-7 น้ำที่มีค่าความเป็น ด่างสูง จะต้องนำกรดมาเติม เพื่อปรับสภาพน้ำให้เป็นกลางมากที่สุด ทั้งนี้กรดที่นิยมนำมาใช้ ได้แก่ กรดกํามะถัน (H2SO4), กรดเกลือ (HCL), หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และน้ำที่ผ่านการตกตะกอนของบ่ อที่สองมักจะ นำไป ใช้ในการทำความสะอาดรถขนส่ง ตลอดจนใช้ในกิจกรรมภายในของโรงงานหรือปล่อยออกไปนอกโรงงาน ส่วนกากตะกอนคอนกรีต เมื่อสะสมจนเต็มบ่อก็จะทำการขุดไปถมที่ หรือฝังกลบ การจัดการในรูปแบบนี้ใช้ค่า ลงทุนที่ไม่สูง โดยระบบบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตคอนกรีต - ก่อสร้างบ่อรวมน้ำขนาด 6.5×6.5×1.5 เมตร และบ่อพักน้ำขนาด 54 ลูกบาศก์เมตร (รูปที่ 7.2.1-6) เพื่อดักกากคอนกรีตให้ตกตะกอนก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำธรรมชาติหรือนำกลับมาให้ล้างทำความสะอาด รถบรรทุก รูปที่ 7.2.1-6 ตัวอย่างบ่อรวมน้ำหรือบ่อพักน้ำ (2) ระยะดำเนินการ - จัดห้องสุขาสำหรับรองรับนักท่องเที่ยวบริ เวณฝั่งเกาะกลาง โดยกำหนดตำแหน่งห้องสุขา บริเวณด้านใต้สะพานโครงการ และประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง ให้เข้ามาดำเนินการดูแลรักษาความสะอาด - ติดตั้งถังขยะขนาด 240 ลิตร มีฝาปิดพร้อมกรงตาข่ายเหล็ก กันลิงคุ้ยขยะ แยกประเภท 4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะอันตราย ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล บริเวณพื้นที่ว่างของลานจอดรถใกล้กับ ทางขึ้น-ลงไปจุดชมวิวโครงการ ฝั่งซ้ายทางและฝั่งขวาทางอย่างละ 1 ชุด - ติดป้ายหรือสัญลักษณ์บนถังขยะตามประเภทของขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะรี ไซเคิล ขยะเปียก และขยะอันตรายให้ชัดเจน - ติ ดตั้ งป้ ายประชาสั มพั นธ์ รณรงค์ ขอความร่ วมมื องดใช้ บรรจุ ภั ณ ฑ์ โฟมและพลาสติ กแก่ ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว กรมทางหลวงชนบท 7-5 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต - กรมทางหลวงชนบทประสานงานกับ อบต.เกาะกลาง ในการเก็บขนขยะมูลฝอยไปกำจัด ตามหลักสุขาภิบาล โดยการเก็บขนขึ้นอยู่กับปริมาณขยะมูลฝอยและช่วงเวลา ช่วงวันหยุดยาวหรือช่วงเทศกาล ท่องเที่ยว (พฤศจิกายน-มีนาคมของทุกปี) จะมีปริมาณขยะมูลฝอยมากให้จัดเก็บขยะทุกวันๆ ละ 3-4 เที่ยว/วัน ในช่วงเวลา 07.00 - 17.00 น. เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขยะตกค้างในพื้นที่ แต่หากเป็นช่วงปกติจะจัดเก็บขยะมูลฝอย 1-2 เที่ยว/วัน ในช่วงเวลา 08.00 – 16.00 น. ขึ้นอยู่กับปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บขน ตามแนวทางการจัดการขยะ มู ล ฝอย เพื่ อ ทำการขนส่ งขยะมู ล ฝอยจากสถานที่ ร วบรวมขยะมู ล ฝอยไปยั ง สถานที่ ก ำจั ด ขยะโดยเตาเผา เพื่อผลิตพลังงาน ณ เทศบาลเมืองกระบี่ 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ต่อเนื่องตลอดระยะก่อสร้างโครงการ (2) ระยะดำเนินการ ต่อเนื่องตลอดระยะดดำเนินการ 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง ผู้รับจ้างก่อสร้าง ภายใต้การกำกับดูแลของกรมทางหลวงชนบท (2) ระยะดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท 7) งบประมาณ (1) ระยะก่อสร้าง งบประมาณในการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน ในระยะก่อสร้างคิดเป็นเงิน รวมทั้ งสิ้น 2,845,749 บาท โดยค่าใช้จ่ายรวมในค่าอำนวยการ (factor F) แสดงดัง ตารางที่ 7.2.1-1 (2) ระยะดำเนินการ งบประมาณในการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน ในระยะดำเนินการคิดเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 605,000 บาท โดยค่าใช้จ่ายรวมในค่าอำนวยการ (factor F) แสดงดังตารางที่ 7.2.1-2 8) การประเมินผล คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานของกรมทางหลวงชนบท ตรวจสอบการปฏิบัติงาน ของผู้รับจ้างก่อสร้างให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด กรมทางหลวงชนบท 7-6 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ตารางที่ 7.2.1-1 งบประมาณตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน ในระยะก่อสร้าง ราคา/หน่วย รวม รายการ ปริมาณ หน่วย หมายเหตุ (บาท) (บาท) 1. การจัดการน้ำเสียจากสำนักงานควบคุมและบ้านพักคนงานก่อสร้าง 1.1 ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปชนิดเกรอะ-กรองไร้อากาศ ค่าใช้จ่าย - ห้องน้ำ-ห้องส้วม ขนาด 10.0 ลบ.ม. 1 ถัง 228,333 228,333 รวมในค่า - น้ำเสียจากโรงอาหาร ขนาด 10.0 ลบ.ม. 2 ถัง 228,333 456,666 อำนวยการ - น้ำเสียจากโรงซ่อมบำรุง ขนาด 1.50 ลบ.ม. 1 ถัง 34,250 34,250 (factor F) 1.2 ติดตั้งถังดักไขมัน - ห้องอาหาร ขนาด 0.5 ลบ.ม. 4 ถัง 13,300 53,200 - โรงซ่อมบำรุง ขนาด 0.5 ลบ.ม. 1 ถัง 13,300 13,300 1.3 เทพื้นคอนกรีต - เทพื้นคอนกรีตยกขอบบริเวณจัดเก็บถังน้ำมันเชื้อเพลิง 1 แห่ง 100,000 100,000 ถังน้ำมันเครื่องและถังน้ำมันที่ใช้แล้ว ขนาด 140 ตร.ม. - เทพื้นคอนกรีตยกขอบลานซ่อมบำรุงเครื่องจักร ขนาด 1 แห่ง 100,000 100,000 140 ตร.ม. - เทพื้นคอนกรีตยกขอบลานล้างรถ ขนาด 240 ตร.ม. 1 แห่ง 500,000 500,000 1.4 ติ ด ตั้ ง สุ ข าเคลื่ อ นที่ ส ำเร็ จ รู ป พร้ อ มทั้ ง ถั ง บำบั ด น้ ำ เสี ย 2 ชุด 100,000 200,000 สำเร็จ รู ป ชนิ ดเกรอะ -กรองไร้อ ากาศ จำนวน 4 ห้ อ ง/ชุ ด จำนวน 170 ชุด ในบริเวณพื้นที่ ก่อสร้างทุก ๆ ระยะ 200 เมตร 2. การจัดการขยะมูลฝอย ถังรองรับขยะขนาด 240 ลิตร แยกประเภท 4 สี/ชุด มีฝา 4 ชุด 15,000 60,000 ปิด แบ่งเป็นถังรองรับขยะรีไซเคิล ขยะเปียก ขยะทั่วไป และ ขยะอันตราย 3. การจัดการน้ำเสียจากโรงหล่อคอนกรีต - บ่อตกตะกอน ขนาด 4.0×4.0×1.5 เมตร 1 บ่อ 300,000 300,000 - บ่อบำบัดน้ำเสียทางเคมี ขนาด 4.0×4.0×1.5 เมตร 1 บ่อ 300,000 300,000 - บ่อรวมน้ำหรือบ่อพักน้ำ ขนาด 6.0×6.0×1.5 เมตร 1 บ่อ 500,000 500,000 ค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมด 2,845,749 ตารางที่ 7.2.1-2 งบประมาณตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน ในระยะดำเนินการ ราคา/หน่วย รวม รายการ ปริมาณ หน่วย หมายเหตุ (บาท) (บาท) 1. จัดห้องสุขาสำหรับรองรับนักท่องเที่ยว 1 ชุด 500,000 500,000 ค่าใช้จ่ายรวม 2. ติดตั้งถังขยะขนาด 240 ลิตร มีฝาปิดพร้อมกรงตาข่าย ในค่า 1 ชุด 25,000 25,000 เหล็กกันลิงคุ้ยขยะ แยกประเภท 4 สี/ชุด อำนวยการ 3. ติดป้ายหรือสัญลักษณ์บนถังขยะตามประเภทของขยะ (factor F) 1 ป้าย 30,000 30,000 4 ประเภท 4. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์ขอความร่วมมืองดใช้บรรจุ 1 ป้าย 50,000 50,000 ภัณฑ์โฟมและพลาสติกแก่ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว ค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมด 605,000 กรมทางหลวงชนบท 7-7 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต 7.2.2 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเล 1) หลักการและเหตุผล (1) กิจกรรมก่อสร้างถนนบนฝั่ง การเปิดหน้าดิน การขุดเจาะ การถมและบดอัดดิน จากกิจกรรม การก่อสร้างเชิงลาดสะพานฝั่งตำบลเกาะกลาง (ช่วง กม.0+000-กม.0+500) และการก่อสร้างเชิงลาดสะพาน ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย (กม.2+000-กม.2+527) ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะทำให้พื้นที่กลายเป็นที่โล่ง มีขนาด พื้นที่ 9.38 และ 4.50 ไร่ ตามลำดับ จากผลการวิเคราะห์อัตราการชะล้างพังทลายของดินตามสมการสูญเสีย ดินสากล (USLE) จะมีโอกาสเกิดการชะล้างพังทลายเท่ากับ 0.256 ตัน/ไร่/ปี มีปริมาณการชะล้างดินเท่ากับ 2.40 และ 1.15 ตัน/ปี ตามลำดับ ซึ่งมีระดับการชะล้างพังทลายของดินอยู่ในระดับน้อย (น้อยกว่า 0-2 ตัน/ไร่/ปี) กรณี ที่ฝนตกปริมาณเศษมวลดิน จะผสมกับน้ำฝนและไหลลงสู่ทะเลที่อยู่ใกล้ เคียงพื้ นที่ ก่อ สร้างได้ การชะล้างเศษ ตะกอนดินลงสู่ลำน้ำจะส่งผลให้คุณภาพน้ำมีปริมาณความขุ่นเพิ่มสูงขึ้น (2) กิจกรรมก่อสร้างฐานรากในทะเล เนื่องจากการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างฐานรากสะพานของ โครงการ จำเป็นต้องก่อสร้างตอม่อสะพานขนาดใหญ่ลงในทะล ซึ่งลักษณะแนวเส้นทางสะพานเชื่อมเกาะลันตา ข้ามทะเลบริเวณคลองช่องลาด มีแนวเส้นทางที่ตัดผ่านร่องน้ำเดินเรือในช่วงระหว่างเสาตอม่อ P17-P18 ซึ่งเป็น เสาสูงของสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) โดยเสาตอม่อของ Main Pier of Extradosed Bridge มีขนาด 12.00x 21.75x3.50 เมตร มีความยาวช่วงสะพาน 200 เมตร มีระยะห่างกันของฐานรากเสาตอม่อเท่ากับ 180 เมตร ส่วนเสาตอม่อสะพานคานยื่น (Balanced Cantilever Bridge) ที่ P19-P32 ช่วง กม.1+016–กม.2+019 ระยะทางประมาณ 1,003 เมตร ออกแบบเป็นสะพานคานยื่น มีความสูงช่องลอดประมาณ 8.0 เมตร โดยฐานราก สะพานใช้ Driven Pile ขนาด 0.6 เมตร ลึก 15 เมตร แสดงดังรูปที่ 7.2.2-1 โดยบริเวณชายฝั่งทะเลที่มีระดับน้ำ อยู่ในช่วง 0-1.5 เมตร ทำการก่อสร้างสะพานท่าเรือขนส่งวัสดุชั่วคราวฝั่งตำบลเกาะกลาง ต่อยื่นออกมาจากตลิ่ง ตามแนวที่จ ะก่อสร้ า งสะพานยื่น ออกไปในทะเล 45 เมตร และสะพานท่ า เรื อขนส่ง วัส ดุชั่ว คราว ฝั่ง ตำบล เกาะลันตาน้อย ต่อยื่นออกมาจากตลิ่งตามแนวที่จะก่อสร้างสะพานยื่นออกไปในทะเล 235 เมตร ทั้ งนี้การก่อสร้าง ฐานรากและเสาตอม่อของสะพาน อาจก่อ ให้เกิดการแพร่กระจายของตะกอนและเศษวัสดุก่อสร้างในขณะที่ ดำเนินการ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่ อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในทะเลทางด้านกายภาพที่มีความขุ่นเพิ่มสูงขึ้น มีผลกระทบต่อเนื่องไปยังนิเวศวิทยาทางน้ำและการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในทะเล ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและลดผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเลและนิเวศวิทยาทางน้ำให้เกิดขึ้น น้อยที่สุด จึงจำเป็นที่จะต้องมีแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเลขึ้นมา 2) วัตถุประสงค์ (1) เพื่อป้องกันผลกระทบต่อการชะล้างเศษมวลดินจากกิจกรรมก่อสร้างลงสู่ทะเล (2) เพื่อป้องกันผลกระทบจากการแพร่กระจายของตะกอนดินในน้ำทะเล ขณะดำเนินการก่อสร้าง ฐานรากสะพานในทะเล (คลองช่องลาด) ต่อนิเวศวิทยาทางน้ำ ปะการัง และหญ้าทะเล ให้น้อยที่สุด กรมทางหลวงชนบท 7-8 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.2-1 ตำแหน่งเสาตอม่อสะพานโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 7-9 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต 3) พื้นที่ดำเนินการ (1) บริเวณพื้นที่ก่อสร้างถนนบนฝั่ง ได้แก่ ฝั่งตำบลเกาะกลาง (ช่วง กม.0+000-กม.0+500) และฝั่ง ตำบลเกาะลันตาน้อย (กม.2+000-กม.2+527) (2) พื้นที่ก่อสร้างท่าเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) เฉพาะพื้นที่ก่อสร้างริมชายฝั่ง โดยพื้นที่ริม ท่าเรือบ้ านหัวหิน ต.เกาะกลาง มีการก่อสร้างท่ าเที ยบเรือชั่วคราว มีความยาวประมาณ 50 เมตร และพื้น ที่ ก่อสร้างริมฝั่งเกาะลันตาน้อย ต.เกาะลันตาน้อย ซึ่งลักษณะเป็นพื้นที่น้ำตื้นมาก จะทำการก่อสร้างท่าเทียบเรือ ชั่วคราว ความยาวประมาณ 200 เมตร (ความยาวท่าเทียบเรือชั่วคราวรวม 2 ชายฝั่ง 250 เมตร) (3) พื้นที่ก่อสร้างตอม่อสะพานในทะเล (คลองช่องลาด) ฐานรากของสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) ฐานรากสะพานคานยื่น (Balanced Cantilever Bridge) เสาตอม่อ P17-P18 และเสาตอม่อที่ P19-P32 4) วิธีดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท ต้องกำกับผู้รับจ้างก่อสร้างให้ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเลดังนี้ (1) กิจกรรมก่อสร้างถนนบนฝั่ง ก่อสร้างทางระบายน้ำชั่วคราวและติดตั้งรั้วดักตะกอนแบบ Temporary Silt Fence ความสูง เหนือพื้นดิน 1.0 เมตร บริเวณพื้นที่ก่อสร้างใกล้แหล่งน้ำ 2 แห่ง ได้แก่ ฝั่งตำบลเกาะกลาง (ช่วง กม.0+000 - กม.0+500) และฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย (กม.2+000 -กม.2+257) เพื่อป้องกันการชะล้างตะกอนดินจากน้ำฝน ลงสู่แหล่งน้ำ (รูปที่ 7.2.2-2 ถึงรูปที่ 7.2.2-4) (2) กิจกรรมก่อสร้างฐานรากในทะเล การป้องกันน้ำปูนรั่วออกจากแบบหล่อคอนกรีต - เลือกใช้ส่วนผสมคอนกรีตที่มีส่วนละเอียดเพียงพอที่จะไปอุดตามช่องว่างระหว่างเม็ดหิน - เลือกใช้คอนกรีตที่มีค่ายุบตัวในขณะเทให้เหมาะสมกับงาน - ตรวจสอบระยะและการหนุนเหล็กเสริมให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดไว้ รวมทั้งควรมีการ ตรวจสอบระยะต่างๆ ในแบบหล่อเพื่อให้คอนกรีตสามารถไหลผ่านเข้าเต็มแบบได้โดยไม่เกิดการแยกตัว - ทำการตรวจสอบความแข็งแรงของแบบและค้ำยัน ก่อนเทคอนกรีต รวมทั้งอุดรูรั่วทั้งหมด รวมถึงรูในแบบที่ต้องมีเหล็กเสริมเสียบทะลุออกมา เพื่อป้องกันน้ำปูนไหลออกจากแบบขณะเทคอนกรีต - ใช้แบบหล่อเหล็กที่กันน้ำและตรวจสอบแบบหล่อก่อนเทคอนกรีตพร้อมทั้งอุดรูรั่วทั้งหมด ตัวอย่างลักษณะแบบหล่อคอนกรีตสำหรับสะพานรูป Box Girder ดังแสดงในรูปที่ 7.2.2-5 ป้องกันไม่ให้สายลายโพลิเมอร์และคอนกรีตรั่วไหลลงทะเลในขณะทำการหล่อเสาเข็มเจาะ ในทะเลด้วยการติดตั้งกระบะป้องกัน การล้น (Extended Casing) อยู่ที่ด้านบนของปลอกเหล็กเสาเข็มเจาะ ดังแสดงในรูปที่ 7.2.2-6 การป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากที่สูง การป้องกันที่ตัวผู้ปฏิบัติงาน - ฝึกอบรมให้กับผู้ที่ต้องขึ้นไปปฏิบัติงานบนที่สูง - มีการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน - สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล - ติดตั้งรั้วตาข่ายและอุปกรณ์ป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเลตลอดระยะเวลาก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 7-10 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.2-2 ตัวอย่างแบบรายละเอียดรั้วดักตะกอนแบบ Temporary Silt Fence กรมทางหลวงชนบท 7-11 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.2-3 ้ รั้วดักตะกอน Temporary Silt Fence ฝั่งตำบลเกาะกลาง ตำแหน่งติดตัง กรมทางหลวงชนบท 7-12 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.2-4 ้ รั้วดักตะกอน Temporary Silt Fence ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ตำแหน่งติดตัง กรมทางหลวงชนบท 7-13 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.2-5 กระบะป้องกันการล้น (Extended Casing) รูปที่ 7.2.2-6 แบบหล่อคอนกรีตชนิดกันน้ำและป้องกันการรั่วของน้ำปูน ออกจากแบบหล่อลงทะเล การป้องกันในสถานที่ทำงาน - จัดระบบงาน เพื่อจำกัดการทำงานบนที่สูง - ติดตั้งรั้วตาข่ายและอุปกรณ์ป้องกันการตก เพื่อลดความเสี่ยง แสดงดังรูปที่ 7.2.2-7 - พื้นที่ทำงานปราศจากปัจจัยที่ทำให้สะดุด ลื่น - กั้นหรือปิดช่องเปิดบนพื้นให้แข็งแรง พร้อมป้ายเตือนอันตราย กรมทางหลวงชนบท 7-14 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.2-7 ตัวอย่างการติดตั้งรั้วตาข่ายป้องกันวัสดุร่วงหล่นลงทะเล และป้องกันคนงานตกจากที่สูง การป้องกันอันตรายจากการร่วงหล่นของวัสดุในพื้นที่ปฏิบัติงาน - อุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก ควรใส่ในภาชนะที่แข็งแรง - วัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดต้องไม่วางกีดขวางทางเดิน - จัดเก็บเศษวัสดุที่เหลือใช้ในภาชนะที่แข็งแรง - จัดเก็บทำความสะอาดอย่างต่อเนื่อง - ใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน - ใช้เชือกผูกรัดเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงาน - ขนย้ายวัสดุอุปกรณ์อย่างถูกวิธี กรมทางหลวงชนบท 7-15 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต การป้องกันอันตรายจากการสะดุดลื่นล้มบนพื้นที่ทำงาน - จัดเก็บเศษวัสดุและอุปกรณ์ ก่อสร้างให้เป็นระเบียบ ไม่วางกีดขวางทางเดิน และมีพนักงาน ทำความสะอาดอย่างต่อเนื่อง - สายไฟ สายยาง ห้ามลากผ่านพื้นทางเดิน - บริเวณช่องทางขึ้น-ลงบันได ต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง - พื้นที่ทำงานต้องมีราวกันตก และแผ่นกันของตก - พื้นที่ทำงานต้องไม่เปียกแฉะ - พื้นที่ทำงานจะต้องไม่มีคราบน้ำมัน จารบี - พื้นทางเดินต้องเรียบเสมอกัน การป้องกันอันตรายจากการตกในการเดิน เคลื่อนย้าย หรือเปลี่ยนพืน ้ ที่ปฏิบัติงาน - มีราวกันตก หรือเชือกนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างโดยรอบ - มีทางเดินชั่วคราวพร้อมราวกันตก - ติดตั้งตาข่ายนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างที่มั่นคงแข็งแรง - ปิดกั้นบริเวณด้านล่างพื้นที่ปฏิบัติงาน - จัดเตรียมนั่งร้าน หรือเครื่องจักรกลที่กำหนดไว้ในแผนงาน - สวมใส่ และใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกตลอดเวลา - ห้ามเคลื่อนย้ายร่างกายบนที่สูง โดยปราศจากการเกาะเกี่ยวเข็มขัดนิรภัย การป้องกันการฟุ้งกระจายของตะกอนดินในทะเลจากกิจกรรมขุดเจาะฐานราก เนื่องจากเสาเข็มเหล็กโครงสร้างที่นำมาก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวเป็นโครงสร้างเหล็กและปริมาณ ตะกอนดินที่ จะทำให้เกิดการฟุ้งกระจายน้อยกว่าชนิดแบบเสาคอนกรีต การก่อสร้างหรือรื้อย้ายเสาเข็มจะใช้ วิธีการสั่น Hydraulic เสาเข็มเพื่อให้ดินคล้ายตัว การก่อสร้างท่าเทียบเรือชั่วคราวจะแบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ ดังนี้ - ท่าเทียบเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) ฝั่งเกาะกลาง รูปแบบท่าเทียบเรือชั่วคราวจะต่อจาก ท่าเรือขนส่งเดิมแล้วต่อยื่นออกไปประมาณ 50 เมตร การก่อสร้างฐานรากในน้ำทะเลจะกำหนดให้ทำการล้อมม่าน ดักตะกอน (Silt Curtain) โดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง และต้องทำการติดตั้งหลักยึดกับท้องน้ำ เพื่อให้ม่านดั กตะกอน คลุมถึงพื้นท้องน้ำ แสดงดังรูปที่ 7.2.2-8 จากนั้นจะกำหนดให้เริ่มทำการก่อสร้า งท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่ง เกาะ กลางและก่อสร้างตอม่อสะพาน F2 type 2 ตัวริมตลิ่ง เมื่อก่อสร้างกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพาน F2 type 2 ตัวที่ 1 แล้ว เสร็จ จึง จะกำหนดให้รื้อ ม่านดักตะกอนออกแล้วใช้งานท่าเทียบเรือชั่วคราวเพื่อก่อสร้าง ตอม่อสะพาน F1 type 1 ต่อไปได้ - ท่าเทียบเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตาน้อย รูปแบบท่าเทียบเรือชั่วคราวจะต่อยื่นออกมาจากตลิ่ง ตามแนวที่จะก่อสร้างสะพาน และยื่นออกไปในทะเลประมาณ 200 เมตร การก่อสร้างท่าเรือชั่วคราวนี้ จะกำหนดให้ ก่อสร้างที่ละชุด จำนวน 3 ชุด แสดงดังรูปที่ 7.2.2-9 การก่อสร้างฐานรากในน้ำทะเลจะกำหนดให้ทำการล้อมม่าน ดักตะกอน (Silt Curtain) โดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง และต้องทำการติดตั้งหลักยึดกับท้องน้ำ เพื่อให้ม่านดักตะกอน คลุมถึงพื้นท้องน้ำ ซึ่งการล้อมม่านดักตะกอนชุดแรกสำหรับกั้นเขตก่อสร้างแท่นก่อสร้าง Platform และการกด เสาเข็มตอม่อสะพานแบบ F3 type 3 ทั้ง 2 ตัว เมื่อทำการกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพานเสร็จแล้ว ก็จะให้ รื้อย้ายม่านดักตะกอนชุดที่ 1 แล้วไปยังชุดก่อสร้างชุดที่ 2 สำหรับกั้นเขตก่อสร้างแท่นก่อสร้าง และการกดเสาเข็ม ตอม่อสะพานตัวที่ 3 เมื่อทำการกดเสาเข็ มและหล่อเสาตอม่อสะพานตัวที่ 3 เสร็จแล้ว ก็จะให้รื้อย้ายม่า นดัก ตะกอนชุดที่ 2 แล้วไปยังชุดก่อสร้างชุดที่ 3 เมื่อทำการกดเสาเข็มและหล่อเสาตอม่อสะพานตัวที่ 4 เสร็จแล้ว ก็จะ ให้รื้อย้ายม่านดักตะกอนออกไป แล้วใช้แท่นก่อสร้างเป็นท่าเทียบเรือชั่วคราวเพื่อใช้ขนส่งวัสดุก่อสร้างเพื่อก่อสร้าง ตอม่อสะพานแบบ F3 type 3 ตัวที่ 5-13 ต่อไป กรมทางหลวงชนบท 7-16 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต - สำหรับการก่อสร้างตอม่อสะพานแบบ F1 type 1, F2 type 2 ตัวที่ 2 และ F3 type 3 ตัวที่ 5-13 การก่อสร้างจะใช้บั้นจั่นกดเสาเข็มทำงานบนเรือตลอดเวลาไม่มี การก่อสร้างแท่นก่อสร้าง Platform ดังนั้น ก่อนจะก่อสร้างตอม่อสะพานเหล่านี้จะกำหนดให้ทำการล้อมม่านดักตะกอน (Silt Curtain) โดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง และต้องทำการติดตั้งหลักยึดกับท้องน้ำ เพื่อให้ม่านดักตะกอนคลุมถึงพื้นท้องน้ำ โดยรูปแบบการล้อมม่านดัก ตะกอน (Silt Curtain) ตอม่อสะพานทั้ง 3 แบบ แสดงดังรูปที่ 7.2.2-10 การติดตั้งม่านดักตะกอน (Silt Curtain) จะกำหนดให้ล้อมม่านโดยรอบห่ างจากแนวเสาเข็มที่ระยะ 5 เมตร หลังจากติดตั้งม่านดักตะกอน (Silt Curtain) แล้วผลกระทบของกระจายของการฟุ้งกระจายของตะกอนอยู่ในระดับต่ำเพราะประสิ ทธิภาพของม่านดักตะกอน (Silt Curtain) นี้จะย่อมให้ตะกอนออกไปได้ 0.2% ของความเข้มข้ นตะกอนสูงสุด โดยความเข้มข้นของตะกอนที่ เกินขึ้นสูงสุดประมาณ 6.3 ppm. (ช่วงการก่อสร้างตอม่อสะพานแบบ F1 type 1) ดังนั้น ตะกอนดินที่สามารถ ออกไปได้จะเหลือเพียง 0.012 ppm. และผลกระทบที่เกิดขึ้นอยู่ในระดับต่ำ โดยคุณสมบัติและการติดตั้งม่านดัก ตะกอน (Silt Curtain) ที่นำมาใช้ในโครงการ แสดงดังรูปที่ 7.2.2-11 ถึงรูปที่ 7.2.2-13 ตามลำดับ 5) ระยะเวลาดำเนินการ - ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องดำเนินการติดตั้งม่านดักตะกอนตลอดระยะเวลาที่ทำการก่อสร้าง 6) หน่วยงานรับผิดชอบ - ผู้รับจ้างก่อสร้างภายใต้การกำกับของกรมทางหลวงชนบท 7) งบประมาณ งบประมาณในการปฏิบัติ ตามแผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบด้ านคุณ ภาพน้ ำทะเล คิดเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 300,000 บาท (1) กิจกรรมก่อสร้างถนนบนฝั่ง งบประมาณในการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเล จากการดำเนิน กิจกรรมก่อสร้างถนนบนฝั่ง คิดเป็นเงินรวม 300,000 บาท โดยค่าใช้จ่ายงบประมาณเพิ่มเติมตาม มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม แสดงดังตารางที่ 7.2.2-1 (2) กิจกรรมก่อสร้างฐานรากในทะเล งบประมาณในการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเล จากการดำเนิ น กิจกรรมก่อสร้ างฐานรากในทะเล คิดเป็น เงิน รวม 3,346,450 บาท โดยค่าใช้จ่ายงบประมาณ เพิ่มเติมตามมาตรการสิ่งแวดล้อม แสดงดังตารางที่ 7.2.2-2 8) การประเมินผล คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานของกรมทางหลวงชนบท ตรวจสอบการปฏิบัติงาน ของผู้รับจ้างก่อสร้างให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด กรมทางหลวงชนบท 7-17 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.2-8 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง รูปที่ 7.2.2-9 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือชั่วคราวฝั่งเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 7-18 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.2-10 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณตอม่อสะพานในแต่ละแบบ กรมทางหลวงชนบท 7-19 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.2-11 คุณสมบัติของม่านดักตะกอน (Silt Curtain) ที่ใช้ในโครงการ รูปที่ 7.2.2-12 วิธีการติดตั้งม่านดักตะกอน (Silt Curtain) ที่ใช้ในโครงการ กรมทางหลวงชนบท 7-20 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.2-13 ตัวอย่างแบบรายละเอียดของม่านดักตะกอนในน้ำ (Silt Curtain) กรมทางหลวงชนบท 7-21 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ตารางที่ 7.2.2-1 งบประมาณตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำทะเล ราคา/หน่วย รวม รายการ ปริมาณ หน่วย หมายเหตุ (บาท) (บาท) ติดตั้งรั้วดักตะกอนแบบ Temporary Silt 30 ตร.ม. 5,000 150,000 งบประมาณเพิ่มเติม Fence ฝั่งตำบลเกาะกลาง ตามมาตรการ ติดตั้งรั้วดักตะกอนแบบ Temporary Silt 30 ตร.ม. 5,000 150,000 ด้านสิ่งแวดล้อม Fence ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย รวม 300,000 ตารางที่ 7.2.2-2 งบประมาณที่ใช้ในการติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบตอม่อสะพานในระยะก่อสร้าง ราคา/ รวม รายการ ปริมาณ หน่วย หน่วย หมายเหตุ (บาท) 1/ (บาท) 1. การติดตั้งม่านดักตะกอนบริเวณท่าเรือขนส่งวัสดุชั่วคราว งบประมาณ 1.1 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือ 165.5 เมตร 2,700 446,850 เพิ่มเติมตาม ชั่วคราวฝั่งเกาะกลาง มาตรการ 1.2 การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณท่าเรือ 198.0 เมตร 2,700 534,600 ด้าน ชั่วคราวฝั่งเกาะลันตา สิ่งแวดล้อม 2. การติดตั้งม่านดักตะกอนล้อมรอบเสาเข็มบริเวณตอม่อสะพาน 2.1 ตอม่อสะพานแบบ F1 type 1 (P16, P17) 107.5 เมตร 5,200 559,000 ลึก 7.0 เมตร 2.2 ตอม่อสะพานแบบ F2 type 2 (P18) ลึก 4.0 เมตร 100.0 เมตร 3,750 375,000 2.3 ตอม่อสะพานแบบ F3 type 3 ตัวที่ (P19-P32) 381.6 เมตร 3,750 1,431,000 ลึก 4.0 เมตร รวม 952.6 3,346,450 หมายเหตุ : 1/ กองมาตรฐานราคากลาง กรมทางหลวงชนบท กรมทางหลวงชนบท 7-22 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต 7.2.3 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านเสียง 1) หลักการและเหตุผล จากผลการคาดการณ์ระดับเสียงในระยะก่อสร้างโครงการ พบว่าการดำเนินกิจกรรมก่อสร้างจะ ก่อให้เกิดเสียงดังเกินมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ซึ่งจัดเป็น ระดับเสียงที่ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะผลกระทบต่อ พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมที่ตั้งอยู่ใกล้กับพื้ นที่ก่อสร้างและคนงานก่อสร้างที่ปฏิบัติงานใกล้แหล่งกำเนิดเสียง ดังนั้น ทางโครงการจึงมีความจำเป็นต้องกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านเสียงให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด และเพือ ่ ให้มาตรการป้องกันและแก้ไขลดผลกระทบด้านเสียงที่กำหนดขึ้นเป็นรูปธรรมชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติ ได้จริง จึงได้นำเสนอในรูปแผนปฏิบัติการด้านเสียงขึ้นมา 2) วัตถุประสงค์ เพื่อป้ องกันและลดผลกระทบด้านเสียงจากกิจ กรรมก่อสร้างและการคมนาคมบนถนนโครงการ ในระยะก่อสร้างและระยะดำเนินการต่อพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวเส้นทางโครงการ 3) พื้นที่ดำเนินการ พื้น ที่อ่อ นไหวด้า นสิ่ งแวดล้อ มที่ตั้ง อยู่บ ริเวณโดยรอบแนวเส้น ทางโครงการ ช่ว ง กม.0+000 - กม.2+527 ที่ได้รับผลกระทบด้านเสียงดังเกินมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป 4) วิธีดำเนินการ ระยะเตรียมการก่อสร้าง/ระยะก่อสร้าง - ขณะก่ อสร้า งถนนโครงการและก่ อสร้า งฐานรากสะพานทำการติ ด ตั้ งรั้ว ทึ บ ชนิ ด เมทั ล ชี ท (Metal Sheet) หนา 0.64 มิ ล ลิ เมตร ( รูป ที่ 7.2.3-1 ) หรือวั ส ดุ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง กว่า ความสู ง 3.0 เมตร บริเวณพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมได้รับผลกระทบด้านเสียงเกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนดมาตรฐานระดับ เสียงโดยทั่วไปที่ 70 เดซิเบล (เอ) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 15 ปี พ.ศ. 2540 จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) และกุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม โดยตำแหน่งติดตั้งกำแพงกันเสียงชั่วคราว แสดงดังรูปที่ 7.2.3-2 และรูปที่ 7.2.3-3 - เมื่ อทำการก่อสร้า งถนนโครงการแล้วเสร็จ ให้ ท ำการติ ดตั้งกำแพงกัน เสียงชนิ ดอะคริลิคใส หนา 15 มิลลิเมตร บริเวณราวสะพานของโครงการ เพื่อป้องกันผลกระทบด้านเสียงต่อกุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม เนื่องจาก พื้นที่ดังกล่าวมีการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอยู่เป็นประจำ (รูปที่ 7.2.3-4 และรูปที่ 7.2.3-5) ระยะดำเนินการ - ติดตั้งป้ายเครื่องหมายสัญญาณห้ามบีบแตรบริเวณราวสะพานโครงการก่อนถึงบริเวณกุโบร์ทุ่ง โต๊ะหยุม เพื่อป้องกันเสียงแตรจากรถที่ใช้เส้นทางโครงการในขณะที่มีการประกอบพิธีที่กุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม - ตรวจสอบและดู แลรักษากำแพงกันเสี ยงชนิ ด อะคริลิคใส (Acrylic) บริเวณราวสะพานของ โครงการ (กม.0+290-กม.0+375) ให้มีสภาพดี เพื่อป้องกันผลกระทบด้านเสียงต่อกุโบร์ทุ่งโต๊ะหยุม 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ดำเนินการต่อเนื่องตลอดระยะก่อสร้างโครงการ (2) ระยะดำเนินการ ตลอดระยะดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท 7-23 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.3-1 แบบรายละเอียดกำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีท กรมทางหลวงชนบท 7-24 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.3-2 ้ กำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีทบริเวณหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) ระยะก่อสร้าง ตำแหน่งติดตัง กรมทางหลวงชนบท 7-25 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.3-3 ้ กำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีทบริเวณกุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ระยะก่อสร้าง ตำแหน่งติดตัง กรมทางหลวงชนบท 7-26 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.3-4 แบบรายละเอียดกำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใส กรมทางหลวงชนบท 7-27 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ่ โต๊ะหยุม ระยะดำเนินการ รูปที่ 7.2.3-5 ตำแหน่งติดตั้งกำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใสบริเวณกุโบร์บ้านทุง กรมทางหลวงชนบท 7-28 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง ผู้รับจ้างก่อสร้าง โดยการกำกับดูแลของกรมทางหลวงชนบท (2) ระยะดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท 7) งบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการปฏิ บัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้า นเสียงในระยะก่อ สร้างและ ระยะดำเนิน การ คิด เป็น เงิน รวมทั้ง สิ้น 2 ,753 ,995 บาท โดยค่า ใช้ จ่า ยงบประมาณเพิ่ม เติม ตามมาตรการ ด้านสิ่งแวดล้อม แสดงดังตารางที่ 7.2.3-1 ตารางที่ 7.2.3-1 งบประมาณตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านเสียง ความสูง ความยาว หน่วยพืน ้ ที่ ราคา/หน่วย รายการ รวม (บาท) หมายเหตุ (เมตร) (เมตร) (ตรม.) (บาท) ระยะก่อสร้าง : กำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีท หนา 0.64 มิลลิเมตร หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน (บ้านท่าเรือ) 3.0 100 300 2,735 820,500 งบประมาณ กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 3.0 85 255 2,735 697,425 เพิ่มเติมตาม รวม (1) 285 855 1,517,925 มาตรการด้าน ระยะดำเนินการ : กำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใส หนา 15 มิลลิเมตร สิ่งแวดล้อม กุโบร์บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 2.0 85 170 7,271 1,236,070 รวม (2) 1,236,070 รวมทั้งหมด (1)+(2) 2,753,995 8) การประเมินผล คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานของกรมทางหลวงชนบท ตรวจสอบการปฏิบัติงานของ ผู้รับจ้างก่อสร้างให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด กรมทางหลวงชนบท 7-29 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต 7.2.4 แผนการปลูกป่าชายเลนทดแทน 1) หลักการและเหตุผล การตรวจสอบพื้นที่ป่าชายเลนในพื้นที่โครงการ พบว่า การก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลั น ตาน้ อย อำเภอเกาะลั น ตา จั งหวั ด กระบี่ ตั ด ผ่ านพื้ น ที่ ป่ าชายเลนตามมติ คณะรัฐมนตรี (2543) ช่วง กม.1+828 - กม.1+957 บริเวณคอสะพานฝั่งเกาะลันตาน้อย ระยะทางประมาณ 0.129 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ 1.2 ไร่ ซึ่งตามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ว่าด้วยการปลูกบำรุง ป่าชายเลนทดแทนเพื่อการอนุรักษ์ หรือรักษาสภาพแวดล้อม กรณีก ารดำเนินการโครงใด ๆ ของหน่วยงานรัฐ ที่มีความจำเป็นต้องเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชายเลน พ.ศ. 2556 “ข้อ 6 หน่วยงานของรัฐที่เข้าใช้ประโยชน์ ในพื้นที่ป่าชายเลนต้องจัดงบประมาณให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปลูกป่า ชายเลนทดแทนไม่น้อยกว่า 20 เท่า ของพื้นที่ป่าชายเลนที่ใช้ประโยชน์ โดยให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการ ดำเนิ น โครงการสำหรับ การพัฒ นาค่าใช้ จ่ ายให้ เป็ นไปตามมาตรฐานที่ สำนักงบประมาณกำหนด รวมทั้ ง เงื่อนไขและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกำหนด” ดังนั้น การป้องกันผลกระทบจึงต้องปฏิบัติ ตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อระบบนิเวศป่าไม้อย่างเคร่งครัด และเพื่อให้มาตรการดังกล่าวมีความ เป็นรูปธรรม ชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง จึงได้นำเสนอในรูปแผนปฏิบัติการฯ ขึน้ มา (รูปที่ 7.2.4-1) 2) วัตถุประสงค์ เพื่อปลูกป่าชายเลนทดแทน ตามแนวทางปฏิบัติตามระเบีย บกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการปลูกป่าและบำรุงรักษาป่าชายเลน พ.ศ. 2564 3) พื้นทีด ่ ำเนินการ ปลูกป่าชายเลนในบริเวณพื้นที่โครงการหรือพื้นที่ใกล้เคียง ตามที่กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พิจารณาว่าเป็นพื้นที่ที่มีปัจจัยสิ่งแวดล้อมเหมาะสมต่อการปลูกป่าชายเลน 4) วิธีดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง - กรมทางหลวงชนบท ต้องจัดตั้งงบประมาณให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ดำเนินการ ปลูกป่าชายเลนทดแทน 20 เท่า (1.2×20 = 24 ไร่) ของพื้นที่ป่าชายเลนที่ต้องสูญเสียไป โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เป็นผู้สำรวจ คัดเลือกพื้นที่และกำหนดชนิดพันธุ์ไม้ที่เหมาะสมในการปลูก และบำรุงรักษา - กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ในการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายปลูกป่าชายเลนทดแทนในปีที่ 1 ระยะดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง (อายุ 2 -6 ปี) เป็นเวลา 5 ปี โดยให้ กรมทรัพ ยากรทางทะเลและชายฝั่ งพิ จ ารณาพื้ น ที่ ที่ เหมาะสมในการปลู ก ป่ าชายเลนทดแทนที่ ต้ องสู ญ เสี ย ไปจากการดำเนินโครงการ - การปลูกและบำรุงป่าชายเลนทดแทนเพื่อการอนุรักษ์หรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้ดำเนินการ ในพื้นที่จังหวัดที่ดำเนินโครงการ หรือในพื้นที่จังหวัดใกล้เคียง ตามลำดับ กรมทางหลวงชนบท 7-30 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ้ ที่โครงการ รูปที่ 7.2.4-1 พื้นที่ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี (2543) และพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติในพืน กรมทางหลวงชนบท 7-31 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต - ดำเนิน การตามระเบีย บกรมทรัพ ยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้ว ยการปลูกบำรุงป่า ชายเลนทดแทนเพื่อการอนุรักษ์หรือรักษาสภาพแวดล้อม กรณี การดำเนินการโครงใดๆ ของหน่วยงานรัฐ ที่มี ความจำเป็นต้องเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชายเลน พ.ศ. 2556 “ข้อ 6 หน่วยงานของรัฐที่เข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่า ชายเลนต้องจัดงบประมาณให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปลูกป่าชายเลนทดแทนไม่ น้อยกว่า 20 เท่า ของพื้นที่ป่าชายเลนที่ใช้ประโยชน์ โดยให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินโครงการสำหรับการ พัฒนาค่าใช้จ่ายให้เป็ นไปตามมาตรฐานที่สำนักงบประมาณกำหนด รวมทั้งเงื่อนไขและหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติกำหนด” - ดำเนินการตามแนวทางปฏิบัติตามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการ ปลูกป่าและบำรุงรักษาป่าชายเลน พ.ศ. 2564 เพื่อให้การปฏิบัติเกี่ยวกับการปลูกป่าและบำรุ งป่าชายเลนเป็นไป ในทางเดียวกัน จึงกำหนดแนวทางปฏิบัติไว้ ดังนี้ การพิจารณาพืน ้ ที่และการสำรวจพื้นที่ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาพื้นที่ เพื่อการปลูกและบำรุงป่าชายเลน - พื้น ที ่ที่ก ำหนดเป็น แปลงปลูก และบำรุง ป่า ชายเลนต้อ งอยู่ในเขตป่า ชายเลนตามมติ คณะรัฐมนตรีหรือเป็นพื้น ที่ที่มีสภาพเป็นป่าชายเลนหรือได้รับอิทธิพลจากการขึ้นลงของน้ำทะเล ซึ่งเป็นป่าตาม ตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ กฎหมายว่าด้วยป่าสงวนแห่งชาติหรือป่ าชายเลนอนุรักษ์ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเท่านั้น - พื้นที่ดำเนินการปลูกป่าชายเลนเป็นพื้นที่ที่ได้รับอิทธิพลจากน้ำทะเล และมีสภาพระบบ นิเวศเป็นป่าชายเลนเสื่อมโทรมที่สามารถฟื้นฟูให้กลับคืนสู่ความอุดมสมบูรณ์ - ดำเนินการสำรวจรายละเอียดพื้นที่ จัดทำแผนที่และกำหนดแผนการดำเนินงาน โดยจัดทำ รายงานการสำรวจพื้ นที่และจัดทำแผนที่ เพื่อดำเนินการปลูกป่าชายเลน ตามแบบ ปบ.1 โดยข้อมูลที่ต้องสำรวจ ประกอบด้วย - พื้น ที่ด ำเนิน การให้ ระบุชื่อ หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จัง หวัด ตลอดจนอยู่ในเขตป่าสงวน แห่งชาติ ป่าชายเลนอนุรักษ์หรือป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรีให้ชัดเจน - ขอบเขตและพื้นที่ให้แสดงรายละเอียดอาณาเขต เขตติดต่อ ขนาดพื้นที่ โดยมีแผนที่มาตรา ส่วน 1:50,000 และ 1:40,000 พร้อมภาพถ่ายและแสดงรายละเอียดค่าพิกัด ประกอบที่ชัดเจน - ลักษณะภูมิป ระเทศ ให้แ สดงรายละเอีย ดว่า เป็น ที่ราบหรือที่ลุ่ม ชนิด ของดิน มีความ ลาดชัน ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลและการขึ้นลงของน้ำทะเล - ลักษณะภูมิอากาศ ให้แสดงรายละเอียดของอุณภูมิ ปริมาณน้ำฝน และความชื้นสัมพันธ์ - ลักษณะทางชีวภาพ ให้แสดงรายละเอียดสภาพพื้นที่ป่าชายเลน ชนิดพันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่ ไม้พื้น ล่าง การสืบพันธุ์ตามธรรมชาตอของพันธุ์ไม้ ชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ สัตว์บก - อันตรายที่จะเกิดกับพันธุ์ไม้ที่ปลูก ให้แสดงรายละเอี ยดความเสี่ยงจากคน สัตว์ แมลง โรค พืช ภัยธรรมชาติ และเหตุผลอื่น ๆ ที่มีพร้อมความเห็นในการป้องกันภัย - ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น จำนวนประชากร หมู่บ้าน สภาพความเป็นอยู่ รายได้ เฉลี่ยอาชีพหลัก อาชีพรอง และคมนาคม - สภาพการใช้ ประโยชน์ที่ ดินในพื้นที่ ให้ระบุ ถึง การใช้ประโยชน์ ในพื้นที่ การอนุญาตให้ใช้ ประโยชน์ในพื้นที่ สถานะคดี การบริหารจัดการและการดูแล ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งหรือหน่วยงาน ของรัฐอื่น ๆ ในพื้นที่เดิม-ปัจจุบัน (ถ้ามี) กรมทางหลวงชนบท 7-32 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต - รายละเอียดอื่น ๆ ที่เห็นควรจะระบุไว้ เช่น หน่วยงานราชการ เอกชน โรงงาน ฯลฯ ที่ตั้ ง อยู่ในพื้นที่และคาดว่าจะมีผลกระทบต่อการดำเนินงาน - วัน เดือน ปี ที่ทำการสำรวจพื้นที่ให้ระบุวัน เดือน ปี ที่เข้าทำการสำรวจป่าและวัน เดือน ปี ที่สำรวจป่าเสร็จสิ้น - ความเห็ นของผู้สำรวจป่า ให้ระบุว่า สภาพพื้ นที่มีความเหมาะสมในการปลูกและบำรุง ป่าชายเลนหรือไม่ อย่างไร มีอุปสรรคในการปลูกและบำรุงป่าชายเลนหรือไม่ อย่างไร และความเห็นในการปลูก และบำรุงป่าชายเลนในพื้นที่ เช่น ชนิดพันธุ์ไม้ที่จะใช้ในการปลูกและบำรุง ความเหมาะสมวิธีการปลูกและบำรุง แหล่งแรงงาน แหล่งเมล็ดพันธุ์ไม้ การคัดเลือกพันธุ์ไม้ที่จะใช้ปลูก - ในกรณีส ภาพพื้ น ที่ส ามารถปลูก ได้ห ลายชนิด ให้ท ำการคัด เลือ กชนิด พัน ธุ์ไ ม้ไม่น้อย กว่า 3 ชนิด ปลูกผสมคละกันไปตามสภาพพื้นที่และความเหมาะสม โดยพิจารณาไม้ท้องถิ่นเป็นอันดับแรก - ในกรณีสภาพพื้นที่ปลูกได้ชนิดพันธุ์เดียว ให้พิจารณาพันธุ์ไม้ที่เหมาะสมกับพื้นที่มากที่สุด - ชนิดพันธุ์ไม้ที่กำหนดให้ปลูกและบำรุงในป่าชายเลน ให้ใช้ชนิดพันธุ์ไม้ดังตารางที่ 7.2.4-1 - ชนิดพันธุ์ไม้นอกเหนือให้ขออนุมัติจากอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งก่อนทุกครั้ง ตารางที่ 7.2.4-1 ชนิดพันธุ์ไม้ที่นำมาปลูกในพื้นที่ป่าชายเลน ชนิดพันธุ์ไม้ชายเลน ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) 1. โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume. 2. โกงกางใบใหญ่ Rhizophora mucronata Lam. 3. คนทีสอทะเล Vitex rotundifolia L.f. 4. แคทะเล Dolichandrone spathacea (L.f.) K.Schum. 5. จาก Nypa fruticans Wurmb. 6. จิกทะเล Barringtonia asiatica (L.) Kurz 7. จิกสวน Barringtonia racemosa (L.) Spreng. 8. แดงน้ำ Aglaia cucullata (Roxb.) Pellegrin. 9. ตะบัน Xylocarpus rumphii (Kostel.) Mabb. 10. ตะบูนขาว Xylocarpus granatum J. Koenig 11. ตะบูนดำ Xylocarpus moluccensis (Lam.) M. Roem. 12. ตาตุ่มทะเล Excoecaria agallocha. L. 13. ตีนเป็ดทราย Cerbera manghas L. 14. ตีนเป็ดทะเล Cerbera odollam Gaertn. 15. เตยทะเล Pandanus odorifer (Forssk.) Kuntze 16. ถั่วขาว Bruguiera cylindrica (L.) Blume. 17. ถั่วดำ Bruguiera parviflora (Roxb.) Wight & AmexGrift. 18. เทียนทะเล Pemphis acidula J.R. & G.Forst. กรมทางหลวงชนบท 7-33 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ตารางที่ 7.2.4-1 ชนิดพันธุ์ไม้ที่นำมาปลูกในพื้นที่ป่าชายเลน (ต่อ) ชนิดพันธุ์ไม้ชายเลน ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) 19. ปอทะเล Hibiscus tilliaceus L. 20. โปรงขาว Ceriops decandra (Griff.) W. Theob. 21. โปรงแดง Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob. 22. ฝาดดอกขาว Lumnitzera racemosa Willd. 23. ฝาดดอกแดง Lumnitzera littorea (Jack) Voigt. 24. พังกา-ถั่วขาว Bruguiera hainesii C.G.Rogers. 25. พังกาหัวสุมดอกขาว Bruguiera sexangula (Lour.) Poir. 26. พังกาหัวสุมดอกแดง Bruguiera gymnorrhiza (L.) Savigny. 27. โพทะเล Thespesia spp. 28. โพรงนก Rapanea porteriana (Wall. & A. DC.) Mez. 29. รักทะเล Scaevola taccada (Gaertn.) Roxb. 30. รังกะแท้ kandelia candel (L.) Druce. 31. รามใหญ่ Ardisia elliptica Thunb. 32. ลำพู Sonneratia caseolaris (L.) Engl. 33. ลำพูทะเล Sonneratia alba Sm. 34. ลำแพน Sonneratia ovata Backer 35. ลำแพนหิน Sonneratia griffithii Kurz. 36. สนทะเล Casuarina equisetifalia J. R. & C. Forst 37. สมอทะเล Shirakiopsis indica (Willd.) Esser 38. สารภีทะเล Calophyllum inophyllum L. 39. เสม็ด Melaleuca spp. 40. แสมขน Avicennia lanata Ridl. 41. แสมขาว Avicennia alba Blume 42. แสมดำ Avicennia officinalis L. 43. แสมทะเล Avicennia marina (Forsk.) Vierh. 44. หงอนไก่ทะเล Heritiera littoralis Aiton 45. หงอนไก่ใบเล็ก Heritiera fomes Buch.-Ham. 46. หมันทะเล Cordia subcordata Lam. 47. หยีทะเล Millettia pirnata (L.) Pierre 48. หลุมพอทะเล Intsia bijuga (Colebr.) Kuntze ที่มา : แนวทางปฏิบัติตามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการปลูกป่าและบำรุงรักษาป่าชายเลน พ.ศ. 2564 การผลิตกล้าไม้ ทำการผลิ ต กล้ าไม้ ให้ พี ย งพอแก่การใช้ งาน ในกรณี ป ลูกเต็ ม พื้ น ที่ ใช้ จ ำนวน 710 กล้ า/ไร่ และในกรณีปลูกเสริมและปรับปรุงสภาพป่าชายเลนให้ปลูก 300 กล้า/ไร่ ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้ นที่ โดยให้ผลิตกล้าไม้สำรองไว้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20 สำหรับการปลูกซ่อม กรมทางหลวงชนบท 7-34 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ้ ที่ การเตรียมพืน - แผ้วถางวัชพืช ปรับสภาพพื้นที่ให้เหมาะสมต่อการปลูก - ให้ ใช้หลักหมายแนวปลูกยาวไม่ต่ำกว่า 1 เมตร โดยหลักหมายแนวปลูกต้อ งใช้วัสดุที่ มี ความแข็งแรงและทนทาน ทาสีแดงที่ส่วนบนของหลักไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร - ปักหลักหมายแนวปลูกสำหรับปลูก ระยะ 1.5×1.5 เมตร เต็มพื้นที่ จำนวน 710 หลัก/ไร่ - ปัก หลักหมายแนวปลูกสำหรับปลู ก เสริม และปรับ ปรุงสภาพป่ าชายเลน จำนวน 300 หลัก/ไร่ การปลูก การปลูกให้ใช้กล้าเพาะชำ ซึ่งมีอายุไม่น้อยกว่า 3 เดือน การรังวัดและหมายแนวเขต พื้นที่ปลูกและบำรุงป่าชายเลน ให้ทำการรังวัดและหมายแนวเขต ดังนี้ - ให้รังวัดและจัดทำแผนที่ขนาดมาตรส่วน 1:50,000 และ 1:40,000 พร้อมระบุรายละเอียด ค่าพิกัด - การหมายแนวเขตแปลงปลูกให้ใช้หลักเขตคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 4×4 นิ้ว ยาวอย่างน้อย 1 เมตร เหนือพื้นดินโดยรอบแปลงปลูก ฐานหลักเขตเป็นแบบฐานแผ่ โดยระบุปี แปลง และเนื้อ ที่ไว้ที่หลักเขต เพื่อเป็นหลักฐานในการตรวจสอบ - ให้ จัดทำป้ ายข้อมูลแปลงปลูกป่ าพอสังเขป โดยมีพื้ น ป้ายสีขาว ข้อความสีเข้ม ระบุชื่ อ หน่วยงานที่รับผิดชอบปลูก ปีที่ปลูก และจำนวนเนื้อที่แปลงปลูกป่า แสดงไว้ในบริเวณพื้นที่แปลงปลูกป่าชายเลน โดยป้ายดังกล่าวให้มีขนาด 1.20×2.40 เมตร ติดตั้งโดยให้มีความสูงจากระดับพื้นดินถึงขอบล่างของป้ายไม่ต่ำกว่า 1.5 เมตร โดยติดตั้งกับเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก จำนวน 2 ต้น ขนาดเสาไม่น้อยกว่า 3×3 นิ้ว ความยาวให้เป็นไป ตามความเหามะสมของสภาพพื้นที่ ซึ่งเมื่ อทำการติดตั้งแล้วต้องมีความมั่นคงแข็งแรง ปลอดภัย ถ้าหากพื้นที่ ต่ำกว่า 30 ไร่ ให้จัดทำป้ายตามความเหมาะสม สำหรับแปลงบำรุงป่าอายุตั้งแต่ปีที่ 2 ถึง 6 ให้ปฎิบัติดังนี้ - ทำการซ่อมแนวเขตรอบแปลงบำรุงป่าให้ชัดเจน - แผ้วถางวัชพืชรอบต้นไม้ที่บำรุงทั้งแปลง ปีละ 2 ครั้ง - ให้ทำการตรวจนับ อัตราการรอดตาย หลังจากที่ท ำการแผ้วถางวัช พืชและทำการปลูก ซ่อมทดแทนโดยทันที สำหรับแปลงปลูกหรือบำรุงป่าให้มีอัตราการรอดตายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80.00 การรายงานผลงาน - เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ ให้จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานการปลู กป่าชายเลนตามแบบ ปบ.2 รายงานผลการปฏิบัติงานการบำรุงแปลงปลูกป่าชายเลน อายุ 2-6 ปี ตามแบบ ปบ.3 และรายการสำรวจ พื้น ที่แปลงปลูกป่ าชายเลน เพื่ อดำเนิ นการของบบำรุงปีที่ 2-6 ตามแบบ ปบ.4 พร้อมแผนที่ ขนาดมาตรส่วน 1:50,000 และ 1 :4,000 ให้ ระบุรายละเอี ยดค่าพิ กัดและภาพถ่า ยสี จัด เก็บ ไว้ที่ หน่ วยงาน จำนวน 1 ชุด และ ให้รายงานกรมทรัพ ยากรทางทะเลและชายฝั่ง ในรูป แบบเอกสารและแผ่น บั นทึ ก ข้อมู ล ที่ มี shape file และ ไฟล์ภ าพถ่ายสีภายในวัน ที่ 15 ตุล าคม ของทุกปี หรือภายใน 15 วั น หลังจากเสร็จสิ้ น โครงการ อนึ่ ง เมื่อได้ ดำเนินการรายงานตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ดำเนินการบันทึกข้อมูลการรายงานลงในระบบโปรแกรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ ตามที่อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งกำหนด กรมทางหลวงชนบท 7-35 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต - กรณี การปลู กหรื อบำรุงป่ าชายเลนในพื้ นที่ พิ เศษที่ มี ความแตกต่ างจากสภาพป่ าชายเลน โดยทั่วไป เช่น นาเกลือ ป่าเชิงทรง เลนงอก ที่งอกหลังแนวป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง สันดอนกลางป่าชายเลน พรุชายฝั่ง พื้นที่สาธารณประโยชน์ของส่วนราชการอื่น วัด โรงเรียน และป่าชายเลนบริเวณชายฝั่งแม่น้ำ ลำคลอง หรืออื่น ๆ ก่อนดำเนิ นโครงการให้ เสนอแนวทางการดำเนิน การ เพื่ อปรับ ปรุงระบบนิเวศให้เหมาะสมต่ อ การ เจริญ เติบ โตของพั น ธุ์พืชตามหลักวิชาการ ทั้ ง ในส่ว นของการเตรีย มพื้น ที่ การเตรีย มกล้าไม้ ฝักพัน ธุ์ไ ม้หรือ เมล็ดพันธุ์ไม้ที่มีขนาด ชนิด จำนวน ตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ การปลูก การบำรุงรักษา รวมทั้งงบประมาณ โดยต้องเสนอโครงการให้อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอนุมัติก่อนดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ - ดูแลและบํารุงรักษาไม้ชายเลนหลังปลูก ต้องทำการแผ้วถางวัชพืชรอบโคนต้นไม่น้อยกว่า ปีละ 1 ครั้ง และกำจัดศัตรูพืชอื่น ตามความจำเป็น ด้วยวิธีการเหมาะสม เพื่อให้กล้าไม้แข็งแรงและมีอัตราการ รอดตายสูง ภายหลังการปลูก - ตรวจนั บ อั ต ราการรอดตายและให้ ป ลู กทดแทนต้ น ที่ ต ายหรือคาดว่ า จะตายโดยทั น ที ภายหลัง จากการทำแผ้วถางวัชพืช หรือกำจัดศัตรูพืชอื่นแล้ว - ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามผลการ ปฏิบัติงานการปลูก และบำรุงป่าชายเลน จำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยองค์ประกอบของคณะกรรมการต้องมี ข้าราชการอย่างน้อย 1 คน ทำหน้าที่เป็นกรรมการ 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง เริ่มตั้งแต่ปีที่ 1 ในระยะก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ ดูแลอย่างต่อเนื่อง (อายุ 2 - 6 ปี) เป็นเวลา 5 ปี โดยต้องดําเนินการทุกปีต่อเนื่องกัน 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท จัดตั้งงบประมาณให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นผู้ดําเนินการ (2) ระยะดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) เป็นผู้ดําเนินการ 7) งบประมาณ สำนักงบประมาณ อัตราราคางานต่อหน่วย (พ.ศ. 2564) ได้กําหนดค่าใช้จ่ายในการปลูกป่าชายเลนไว้ ดังนี้ - ค่าใช้จ่ายในการปลูกป่าชายเลน (อายุ 1 ปี) 6,580 บาท/ไร่ - ค่าใช้จ่ายในการปลูกเสริมและปรับปรุงสภาพป่าชายเลน 3,670 บาท/ไร่ - ค่าใช้จ่ายในการจัดทำแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าชายเลน 2,860 บาท/ไร่ - ค่าบำรุงป่าชายเลน (อายุ 2-6 ปี) 1,190 บาท/ไร่ - ค่าใช้จ่ายในการบำรุงแปลงปลูกเสริมและปรับปรุงสภาพป่าชายเลน 690 บาท/ไร่ - ค่าใช้จ่ายในการบำรุงแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าชายเลน 820 บาท/ไร่ กรมทางหลวงชนบท 7-36 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ดังนั้น การปลูกป่าชายเลนทดแทน 20 เท่า (1.2×20 = 24 ไร่) ของพื้นที่ป่าชายเลนที่ต้องสูญเสียไป ้ หมด 698,640 บาท แสดงดังตารางที่ 7.2.4-2 มีค่าใช้จ่ายรวมทัง 8) การประเมินผล คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ ควบคุมงานของกรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) เป็นผู้ดําเนินการตรวจสอบการปฏิบัติงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งให้เป็นไปตามแผนที่ กําหนด ตารางที่ 7.2.4-2 งบประมาณดําเนินงานปลูกป่าชายเลนทดแทนและดูแลรักษา ปีดำเนินการ รวม กิจกรรม ระยะก่อสร้าง ระยะดำเนินการ (บาท) 1 2 3 4 5 6 ค่าใช้จ่ายในการปลูกป่าชายเลน 24 ไร่ (อายุ 1 ปี) 157,920 - - - - - 157,920 ค่าใช้จ่ายในการปลูกเสริมและปรับปรุงสภาพป่าชายเลน 88,080 - - - - - 88,080 ค่าใช้จ่ายในการจัดทำแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าชายเลน 68,640 - - - - - 68,640 ค่าบำรุงป่าชายเลน (อายุ 2-6 ปี) - 28,560 28,560 28,560 285,60 28,560 142,800 ค่าใช้จ่ายในการบำรุงแปลงปลูกเสริมและปรับปรุงสภาพ - 16,560 16,560 16,560 16,560 16,560 82,800 ป่าชายเลน ค่าใช้จ่ายในการบำรุงแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าชายเลน - 19,680 19,680 19,680 19,680 19,680 98,400 การจัดทำรายงาน 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 60,000 รวม 324,640 74,800 74,800 74,800 74,800 74,800 698,640 7.2.5 แผนการปลูกป่าทดแทน (ป่าสงวนแห่งชาติ) 1) หลักการและเหตุผล การก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จะก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ดำเนิ นการในเขตป่าสงวนแห่งชาติ 1 แห่ง ได้แก่ ป่าสงวนแห่งชาติป่าหลังสอด/ป่าควนบากันเกาะ ช่วง กม.1+958 - กม.2+240 ระยะทางประมาณ 0.282 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่รวมประมาณ 4.0 ไร่ ซึ่งจำเป็นต้องตัดฟันต้นไม้ใหญ่ ออกจากพื้นที่ จำนวน 40 ต้น เช่น สำโรง ส้านใหญ่ กระทุ่มนา เป็นต้น ดังนั้น การป้องกันผลกระทบจึงต้องปฏิ บัติตามมาตรการป้องกัน และแก้ไข ผลกระทบต่อระบบนิเวศป่าไม้อย่างเคร่งครัด และเพื่อให้มาตรการดังกล่าวมีความเป็นรูปธรรม ชัดเจน สามารถ นำไปปฏิบัติได้จริง จึงได้นำเสนอในรูปแผนปฏิบัติการฯ ขึ้นมา 2) วัตถุประสงค์ เพื่อปลูกป่าทดแทนในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่สูญเสียไปจากการดำเนินโครงการ 3) พื้นที่ดำเนินการ ่ เสื่อมโทรม หรือบริเวณที่กรมป่าไม้พิจารณาว่าเป็นพืน ปลูกป่าในพื้นที่ปา ้ ที่ที่เหมาะสม กรมทางหลวงชนบท 7-37 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต 4) วิธีดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง - กรมทางหลวงชนบท ต้องจัดตั้งงบประมาณให้กรมป่าไม้ดำเนินการปลูกป่าทดแทนเป็น 3 เท่า (4×3 = 12 ไร่) ของพื้นที่ป่าไม้ที่ต้องสูญ เสียไป โดยในบริเวณพื้นที่โครงการหรือปลูกในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม อื่น ๆ โดยเฉพาะพื้ น ที่ป่ าสงวนแห่งชาติที่ อยู่ใกล้ เคียงโครงการ และบำรุ งรักษาดูแลกล้าไม้ที่ ปลูกให้รอดตาย พร้อมทั้งปลูกซ่อมแซมในส่วนที่ตาย รวมทั้งป้องกันไฟป่าที่อาจจะเกิดขึ้น - กรมทางหลวงชนบท ประสานงานกับกรมป่ าไม้ ในการสนั บสนุ นค่าใช้ จ่ ายในการปลู กป่ า ทดแทนในปีที่ 1 ในระยะดำเนินการและบำรุงรักษาอย่างต่อเนื่อง (อายุ 2-10 ปี) เป็นเวลา 9 ปี โดยให้กรมป่าไม้ พิจารณาพื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกป่าทดแทนพื้นที่ป่าที่ต้องสูญเสียไปจากการดำเนินโครงการ (2) ระยะดำเนินการ ดูแลและบำรุงรักษาต้นไม้หลังปลูก ต้องมีการรดน้ำในกรณีฝนไม่ตก ดินแห้ง กำจัดวัชพืช และ ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้ ควรให้ปุ๋ยสูตร 15 -30-15 รอบโคนต้นบริเวณตุ้มดิน ทุก 2 -3 สัปดาห์ เป็นระยะเวลา 3 เดือน เพื่อเร่งการเจริญและแผ่ขยายของเรือนราก หากพบว่าต้นไม้ตายหรือเสียหายให้ทำการปลูกซ่อมหรือปลูกทดแทน 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง เริ่มตั้งแต่ปีที่ 1 ในระยะก่อสร้าง (2) ระยะดำเนินการ ดูแลอย่างต่อเนื่อง (อายุ 2-10 ปี) เป็นเวลา 9 ปี โดยต้องดำเนินการทุกปีต่อเนื่องกัน 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท จัดตั้งงบประมาณให้กรมป่าไม้เป็นผู้ดำเนินการ (2) ระยะดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ 7) งบประมาณ สำนักงบประมาณ อัตราราคางานต่อหน่วย (พ.ศ. 2564) ได้กำหนดค่าใช้จ่ายในการปลูกป่า รวมทั้ง ค่าบำรุงรักษาสวนเดิมต่อไร่ไว้ ดังนี้ - ค่าใช้จ่ายในการปลูกป่า (อายุ 1-3 ปี) 4,020 บาท/ไร่ - ค่าก่อสร้างแนวกันไฟ (อายุ 1-3 ปี) 5,320 บาท/กิโลเมตร (ประมาณ 1,064 บาท/ไร่*) (หมายเหตุ : *แนวกันไฟมีขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 8 เมตร ตามสภาพภูมิประเทศ และปริมาณเชื้อเพลิง) - ค่าบำรุงรักษาสวนเดิม (อายุ 2-6 ปี) 1,060 บาท/ไร่/ปี - ค่าบำรุงรักษาสวนเดิม (อายุ 7-10 ปี) 510 บาท/ไร่/ปี ดังนั้น การปลูกป่ าทดแทน (4×3 เท่า = 12 ไร่) มีค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมด 274,624 บาท แสดงดัง ตารางที่ 7.2.5-1 8) การประเมินผล คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานของกรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการตรวจสอบการปฏิบัติงานของกรมป่าไม้ให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด กรมทางหลวงชนบท 7-38 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ตารางที่ 7.2.5-1 งบประมาณดำเนินงานปลูกป่าทดแทนและดูแลรักษา ปีดำเนินการ รวม กิจกรรม ระยะก่อสร้าง ระยะดำเนินการ (บาท) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ค่าใช้จ่ายในการปลูกป่า 12 ไร่ 48,240 - - - - - - - - - 48,240 (อายุ 1-3 ปี) ค่าก่อสร้างแนวกันไฟ 12,768 12,768 12,768 - - - - - - - 38,304 (อายุ 1-3 ปี) ค่าบำรุงรักษาสวนเดิม - 12,720 12,720 12,720 12,720 12,720 - - - - 63,600 (อายุ 2-6 ปี) ค่าบำรุงรักษาสวนเดิม - - - - - - 6,120 6,120 6,120 6,120 24,480 (อายุ 7-10 ปี) การจัดทำรายงาน 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 100,000 รวม 71,008 35,488 35,488 22,720 22,720 22,720 16,120 16,120 16,120 16,120 274,624 7.2.6 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคมนาคมขนส่ง/อุบัติเหตุและความปลอดภัย 1) หลักการและเหตุผล การก่อสร้างโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้ อย อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ในช่วงดำเนินการอาจส่งผลกระทบต่อการกี ดขวางการสัญ จรบนถนนทางหลวงเดิม ทล.4206 และ กบ.5053 เนื่องจากการรุกล้ำผิวจราจรหรือการกองวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง รวมทั้งผลกระทบจาก ปริมาณการจราจรจากการขนส่งวัสดุก่อสร้างที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะรถบรรทุ กหนักที่ใช้ในการขนส่งวัสดุอุ ปกรณ์ ก่อสร้าง ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความไม่สะดวกและความคล่องตัวของการจราจรในระหว่างก่อสร้าง ก่อให้เกิด อุบั ติ เหตุ แก่ผู้ ใช้ เส้ น ทางสั ญ จรได้ ดั งนั้ น จึ งมี ความจำเป็ น ต้องกำหนดมาตรการป้ องกัน และแก้ไขผลกระทบ ต่อการคมนาคมขนส่ ง ส่วนในระยะดำเนินการ การใช้เส้นทางโครงการจะทำให้การคมนาคมมีความคล่องตัว และสามารถใช้ความเร็วได้สูงขึ้น จึงอาจทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเพิ่มมากขึ้น กิจกรรมการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาของโครงการ จะต้องมีการก่อสร้างแท่นก่อสร้างชั่วคราว การก่อสร้างโครงสร้างฐานราก ตลอดจนโครงสร้างตอม่อของสะพาน รวมถึงการก่อสร้างโครงสร้างประกอบอื่นๆ ซึ่งบางส่วนต้องดำเนินการก่อสร้างในน้ำ และบางส่วนจะเป็นโครงสร้างที่อยู่เหนือน้ ำ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการ ป้องกันด้านความปลอดภัยในการขนส่งต่างๆ ทั้งต่อผู้ใช้รถใช้ถนน ซึ่งจะต้องมาใช้แพขนานยนต์ ท่าเรือบ้านหัวหิน ความปลอดภัยต่อชาวประมงในพื้นที่ซึ่งต้องมีการขนส่งสัตว์น้ำที่จับได้ขึ้นบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน และความปลอดภัย ในการเดินเรือผ่านพื้นที่ก่อสร้างโครงการ 2) วัตถุประสงค์ (1) เพื่ อป้ องกัน และแก้ไขผลกระทบด้ านคมนาคมขนส่งและอุบั ติเหตุ ที่ อาจเกิดขึ้นให้ น้ อยที่ สุ ด โดยพิจารณาทั้งการป้องกันและการลดผลกระทบต่อผู้ใช้เส้นทาง และประชาชนที่อาศัยบริเวณเขตทางหลวงโครงการ (2) เพื่อเป็นการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นต่อผู้ใช้รถใช้ถนนที่ ต้องขับรถผ่านพื้นที่ก่อสร้าง และ ผู้ใช้เรือผ่านพื้นที่ก่อสร้างสะพานโครงการ ทั้งเรือประมงพื้นบ้าน และเรือเพื่อการท่องเที่ยว กรมทางหลวงชนบท 7-39 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต 3) พื้นที่ดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง - ตลอดแนวเส้นทางโครงการ กม.0+000-กม.2+527 - พื้นที่ก่อสร้างถนนเชื่อมต่อและเชิงลาดสะพานทั้งฝั่งตำบลเกาะกลางและเกาะลันตาน้อย - บริเวณร่องน้ำระหว่างเกาะกลางกับเกาะลันตาน้อย ซึ่งเป็นบริเวณที่จะก่อสร้างในส่วนของ สะพานโครงการ (2) ระยะดำเนินการ - 4) วิธีการดำเนินการ การคมนาคมทางบก - กำหนดให้ผู้รับจ้างก่อสร้าง เตรียมแผนการจัดการจราจรก่อนเริ่มต้นการก่ อสร้างโครงการ โดย จัดให้มีแผงกั้น กรวย เครื่องหมายจราจรบนผิวทาง และติดตั้งป้ายเตือนเขตก่อสร้าง ตลอดจนติดตั้งสัญญาณไฟ ให้ชัดเจนทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ก่อนถึงเขตก่อสร้างอย่างน้อย 500 เมตร โดยเฉพาะทางแยก/ทางเชื่อม ดำเนินการต่อเนื่องตลอดระยะเวลาก่อสร้าง (รูปที่ 7.2.6-1 และรูปที่ 7.2.6-2) ดังนี้ ▪ ที่ระยะ 1 กิโลเมตร ก่อนถึง เขตพื้น ที่ก่อสร้าง กำหนดให้ติด ตั้งป้า ยเตือนงานก่อสร้า ง เพื่อใช้เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะทราบว่ามีงานก่อสร้างอยู่ข้างหน้า ซึ่งจะทำให้ผู้ขับขี่มีความระมัดระวังมากยิ่งขึ้น ที่ระยะ 500 เมตร ก่อนถึงเขตพื้นที่ก่อสร้าง (กรณีมีการก่อสร้างเข้ามาในถนนและมีการลดช่องจราจร) กำหนดให้ ติดตั้งป้ายเตือนงานก่อสร้างและป้ายเตือนลดช่องจราจร เพื่อใช้เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะทราบว่าข้างหน้ามีการลด ช่องจราจร ▪ ที่ระยะ 150 เมตร ก่อนถึงเขตพื้นที่โครงการ (กรณีมีการก่อสร้างเข้ามาในถนนและมีการ ลดช่องจราจร) กำหนดให้ติดตั้งป้ายเตือน งานก่อสร้าง ป้ายเตือนลดช่องจราจร และป้ายเตือนลดความเร็ว เพื่อใช้ เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะ ทราบว่าข้างหน้ามีพื้นที่ก่อสร้าง มีการลดช่องจราจรและขับขี่ตามความเร็วที่กำหนด ▪ ที่ ระยะ 100 และ 50 เมตร ก่อ นถึง เขตพื้ น ที่ ก่อ สร้า ง กำหนดให้ ติ ด ตั้ ง ป้ า ยเตื อ นลด ความเร็ว ป้ายนำทาง และป้ายระวังคนงาน เพื่อใช้เตือนผู้ขับขี่ยานพาหนะทราบว่าควรขับขี่ด้วยความเร็วที่กำหนด และระมัดระวังคนงานที่กำลังปฏิบัติงานช่องจราจร) กำหนดติดตั้งป้ายนำทางจราจร พร้อมทั้งไฟกระพริบ ซึ่งจัด วางให้ห่างกัน ดวงละ 3 เมตร ตลอดเขตแนวพื้นที่ก่อสร้างและกรวยวางไว้ห่างกัน 1 ถึง 2 เมตร ตลอดแนวลดช่อง จราจร ▪ ที่ ระยะ 20 เมตร ก่อนออกจากพื้ น ที่ ก่ อสร้า ง ติ ด ตั้ งป้ า ยสิ้ น สุ ด เขตก่อสร้า งและกรวย เพื่ อให้ ผู้ขับขี่ทราบว่าสิ้น สุด เขตพื้ น ที่ก่ อสร้างแนวเขตพื้ น ที่ ก่อสร้าง ต้ องติดตั้ งป้ ายเตือนลดความเร็ว กำแพง คอนกรีตหรือแบริเออร์ทล้อมรอบพื้นที่ก่อสร้าง พร้อมทั้งติดตั้งสัญญาณเตือนหรือไฟกระพริบที่ผู้ใช้ทางสามารถ มองได้ในระยะไกลไม่น้อยกว่า 500 เมตร ในทัศนวิสัยปกติ โดยให้เริ่มติดตั้งที่ขอบไหล่ทาง เข้ามาทีละ 50-60 เซนติเมตร ระยะห่างกันไม่เกิน 30 เมตร ซึ่งติดตั้งยาวตลอดแนวเขตพื้นที่ก่อสร้าง - การจัดจราจรระหว่างการก่อสร้างสะพานข้ามลำน้ำ ให้ดำเนินการก่อสร้างทางเบี่ยงโดยจัดให้มี แผงกั้น กรวย เครื่องหมายจราจรบนผิวทาง และติดตั้งป้ายบอกตำแหน่งทางเบี่ยงก่อนถึงพื้นที่ จุดทางเบี่ยงเป็น ระยะทาง 1 กิโลเมตร และติดตั้ งป้ายเตือนเขตก่อสร้าง ตลอดจนติดตั้งสัญญาณไฟให้ชัดเจนทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืนก่อนถึงเขตก่อสร้างอย่างน้อย 500 เมตร ดำเนินการต่อเนื่องตลอดระยะเวลาก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 7-40 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.6-1 ตัวอย่างป้ายเตือนในช่วงดำเนินกิจกรรมก่อสร้างโครงการ กรมทางหลวงชนบท 7-41 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.6-2 การจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ กรมทางหลวงชนบท 7-42 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.6-2 การจัดจราจรช่วงก่อสร้างโครงการ (ต่อ) กรมทางหลวงชนบท 7-43 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต การคมนาคมทางน้ำ - จัดให้มี ที่ จอดเรือประมงหั วโทน เข้ามาผู กเรือและจอดชั่วคราว บริเวณด้ านข้างของท่ าเรือ บ้านหัวหิน จำนวน 20 ลำ โดยมีหลักสำหรับผูกเรือ 20 หลัก ความยาวประมาณ 60 เมตร แสดงดังรูปที่ 7.2.6-3 - ทำแนวรั้วบนสะพานชั่วคราว โดยติดตั้งรั้วตาข่ายพลาสติก HDPE สีสม ้ สูง 1.2 เมตร ความยาว รวม 1,360 เมตร ติดตั้ง เสารั้ว พร้อมติดตั้งไฟกระพริบ LED ความสูงเสารั้ว 1.5 เมตร จำนวน 300 เสา และ ทำการบำรุงรักษาและซ่อมแซม ตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง - ทำการติดตั้งทุ่นกระพริบในทะเล บริเวณร่อ งน้ำเดินเรือ โดยเป็ นทุ่นกระพริบระบบโซล่าเซล จำนวน 2 ชุด และและทำการบำรุงรักษาและซ่อมแซม ตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง (รูปที่ 7.2.6-4) - ทำการติดตั้ง Concrete Safety Barrier ล้อมพื้นที่ก่อสร้างบนบก บริเวณตั้งแต่จุดเริ่มต้นโครงการ ตั้งแต่ กม. 0+150-กม.0+500 ฝั่งตำบลเกาะกลาง และช่วง กม. 2+050-กม. 2+200 ฝั่งตำบลเกาะลันตาน้อย ความยาวรวม 1,000 เมตร พร้อมค่าขนย้ายไปมาระหว่างการก่อสร้าง (รูปที่ 7.2.6-5) - เมื่อก่อสร้างต่อสะพานในทะเลแล้วเสร็จ ให้ติดตั้งแถบสะท้อนแสงเพื่อแสดงตำแหน่งเสา โดยทำ การการติดตั้ง Fender โดยรอบเสาตอม่อสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) และไฟฟ้าส่องสว่าง เพื่อให้เห็น ่ ป้องกันเรือชนตอม่อสะพาน (รูปที่ 7.2.6-6) ตอม่อที่ชัดเจน เพือ 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ดำเนินการต่อเนื่องตลอดระยะก่อสร้างของโครงการ (2) ระยะดำเนินการ - 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง ผู้รับจ้างก่อสร้าง โดยการกำกับดูแลของกรมทางหลวงชนบท (2) ระยะดำเนินการ - 7) งบประมาณ การคมนาคมทางบก งบประมาณในการปฏิบัติต ามมาตรการป้อ งกัน และแก้ ไ ขผลกระทบด้า นการคมนาคมขนส่ ง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ คิดเป็นเงินรวม 1,609,853 บาท รวมอยู่ในงบประมาณงานจัดการด้านความปลอดภัยของ โครงการ การคมนาคมทางน้ำ มีงบประมาณในการดำเนินการ 3,400,000 บาท รวมอยู่ในงบประมาณงานจัดการด้านความปลอดภัย ของโครงการ แสดงดังตารางที่ 7.2.6-1 กรมทางหลวงชนบท 7-44 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.6-3 การจัดหลักผูกเรือชั่วคราวบริเวณท่าเรือบ้านหัวหิน ้ ที่ก่อสร้างตอม่อสะพานและท่าเทียบเรือชั่วคราว รูปที่ 7.2.6-4 ติดตั้งทุ่นไฟกระพริบบริเวณพืน กรมทางหลวงชนบท 7-45 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.6-5 ้ งสะพานในบริเวณร่องน้ำเดินเรือ การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างใต้ทอ และบรรทัดน้ำที่เสาตอม่อสะพาน รูปที่ 7.2.6-6 การติดตั้งแถบสะท้อนแสงเพื่อแสดงตำแหน่งเสาตอม่อ และการติดตัง ้ Fender โดยรอบเสาตอม่อสะพานคานขึง (Extradosed Bridge) กรมทางหลวงชนบท 7-46 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ตารางที่ 7.2.6-1 งบประมาณในการดำเนินการด้านคมนาคมขนส่ง/อุบัติเหตุและความปลอดภัย ค่าใช้จ่าย ลำดับ รายละเอียด (บาท) 1 ค่าหลักผูกเรือชั่วคราว สำหรับเรือประมงพื้นบ้าน จำนวน 20 หลัก รวมค่าก่อสร้าง 50,000 2 ค่าก่อสร้างแนวรั้วบนท่าเรือชั่วคราว (Temporary Jetty) - ติดตั้งรั้วตาข่ายพลาสติก HDPE สีส้ม สูง 1.2 เมตร ความยาวรวม 1,360 เมตร 500,000 - ติดตั้งเสารั้ว พร้อมติดตั้งไฟกระพริบ LED ความสูงเสารั้ว 1.5 เมตร จำนวน 300 เสา 300,000 - ค่าการบำรุงรักษาและซ่อมแซม ตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง 200,000 3 ค่าติดตั้งทุ่นกระพริบในทะเล บริเวณร่องน้ำเดินเรือ - ทุน ่ กระพริบระบบโซล่าเซล จำนวน 2 ชุด 100,000 - ค่าการบำรุงรักษาและซ่อมแซม ตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง 50,000 4 ค่าทำการติดตั้ง Concrete Safety Barrier ล้อมพื้นที่ก่อสร้างบนบก - รั้วล้อมพื้นที่ก่อสร้าง ฝั่งเกาะกลางและเกาะลันตาน้อย รวม 1,000 เมตร 2,000,000 - ค่าขนย้ายไปมา ระหว่างการก่อสร้าง 200,000 รวม 3,400,000 8) การประเมินผล กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม ในฐานะเจ้าของโครงการ เป็นผู้ควบคุมและประเมินผลการ ปฏิบัติงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการที่นำเสนออย่างเคร่งครัด 7.2.7 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อโลมา 1) หลักการและเหตุผล กิจกรรมการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาของโครงการ จะมีการก่อสร้างโครงสร้างทั้งในน้ำและ เหนือน้ำ ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อโลมาและสัตว์หายาก ในทะเลบริเวณพื้นที่โครงการ ดังนั้น จึงจำเป็นต้อง มีการติดตามการเข้ามาและการมีอยู่ของโลมาในบริเวณพื้นที่โครงการ ทั้งในระยะก่อสร้างและระยะดำเนินการ เพื่อนำมาปรับมาตรการป้องกันผลกระทบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และสามารถป้องกันผลกระทบให้ได้มากที่สุด ในการเฝ้าระวังโลมาและสัตว์หายาก 2) วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการติดตามมาตรการเฝ้าระวังโลมาในพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียง ที่อาจได้รับผลกระทบ จากกิจกรรมการก่อสร้างของโครงการ ซึ่งพื้นที่โครงการแม้ไม่ได้เป็นพื้นที่อยู่อาศัยประจำของโลมา แต่ก็มีการเข้ามา หากินในพื้นที่บ้าง หรือช่วงลมมรสุมของทะเลอันดามัน จะมีโลมาเข้ามาหลบคลื่ นลมของทะเลเปิด ในบริเวณ ด้านในของเกาะลันตาน้อย ซึ่งทะเลมีคลื่นลมที่สงบกว่า 3) พื้นที่ดำเนินการ บริเวณด้านทิศเหนือและทิศใต้ของพื้นที่ก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา รวมถึงบริเวณแนวสะพาน โครงการ รายละเอียดตามรูปที่ 7.2.7-1 กรมทางหลวงชนบท 7-47 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.7-1 พื้นที่ติดตามผลกระทบโลมาบริเวณพื้นที่ก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา 4) วิธีดำเนินการ (1) ทำการกำหนดพื้น ที่เฝ้า ระวัง โลมาบริเวณสะพานช่วงหลัก (บริเวณสะพานคานขึง) ซึ่งเป็น แนวน้ำลึกและบริเวณสะพานโครงการช่วงอื่นๆ ซึ่งเป็นบริเวณที่จะมีการก่อสร้างแท่นก่อสร้างชั่วคราวในบริเวณ ดังกล่าว โดยล่องเรือสำรวจและหยุดเรือตามจุดสำรวจ กำหนดระยะ ยาว 500 เมตร กว้าง 500 เมตร จำนวน 2 แถวทั้งด้านทิศเหนือและทิศใต้ของสะพานโครงการ (รูปที่ 7.2.7-1) พร้อมกับเจ้าหน้าที่ใช้กล้องสำรวจบริเวณ ผิวน้ำ ประจำอยู่บนเรือ ซึ่งถ้ามีการสังเกตพบโลมาและสั ตว์หายาก เข้า มาในพื้นที่เฝ้าระวัง จะทำการแจ้งเตือน ให้ฝ่ายก่อสร้างทราบทันทีทั้งทางโทรศัพท์และการใช้สั ญ ญานเสีย งแตรลม เพื่อให้หยุดที่มี ผลกระทบกับผิวน้ำ หรือก่อให้เกิดความสั่นสะเทือน เพื่อเฝ้าสังเกตและจดบันทึก จนกว่า โลมาและสัตว์หายาก จะออกไปจากพื้นที่ เฝ้าระวัง กรมทางหลวงชนบท 7-48 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต (2) มอบหมายหน้าที่ให้กับเจ้าหน้าที่ควบคุมงานก่อสร้างทำการเฝ้าระวังโลมาบริเวณแนวก่อสร้าง สะพานโครงการ โดยมีการติดตามทุกวันทำการ โดยการตรวจสอบด้วยสายตา ในบริเวณก่อสร้างซึ่งถ้ามีการสังเกต พบโลมาและสัตว์หายาก เข้ามาในพื้นที่เฝ้าระวัง จะทำการแจ้ งเตือนให้ฝ่ายก่อสร้างทราบทันที ทั้งทางโทรศัพท์ และการใช้สัญญาณเสียงแตรลม เพื่อให้หยุดที่มีผลกระทบกับ ผิวน้ำหรือก่อให้เกิดความสั่นสะเทือน 5) ระยะเวลาดำเนินการ (1) ระยะก่อสร้าง ดำเนินการต่อเนื่องตลอดระยะก่อสร้างของโครงการและการตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ควบคุ ม งานก่อสร้าง ดำเนินการตลอดระยะเวลาการก่อสร้างโครงการ (2) ระยะดำเนินการ 2 ครั้ง/ปี ในปีที่ 1, 2, 3, 5, 10, 15 และปีที่ 20 6) หน่วยงานรับผิดชอบ (1) ระยะก่อสร้าง ผู้รับจ้างก่อสร้าง โดยการกำกับดูแลของกรมทางหลวงชนบท (2) ระยะดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการ 7) งบประมาณ งบประมาณในการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่ อโลมา เป็นงบประมาณ เพิ่มเติมด้านสิ่งแวดล้อม มีรายละเอียดดังนี้ (1) ระยะก่อสร้าง การประมาณค่าใช้จ่ายของแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง 115,000 บาท/ปี ดังตารางที่ 7.2.7-1 (2) ระยะดำเนินการ การประมาณค่าใช้จ่ายของแผนปฏิบัติ การเฝ้าระวัง 95,000 บาท/ปี ดังตารางที่ 7.2.7-2 ตารางที่ 7.2.7-1 การประมาณค่าใช้จ่ายของแผนปฏิบัติการเฝ้าระวังระยะก่อสร้าง จำนวน จำนวน ราคา/หน่วย รวม* ลำดับ รายละเอียด (วัน) (ครั้ง/ปี) (บาท) (บาท) 1 ค่าใช้จ่ายในการติดตามโลมา ระยะก่อสร้าง - ค่าเช่าเรือพร้อมเชื้อเพลิง 5 2 4,000 40,000 - ค่าเบี้ยเลี้ยง เจ้าหน้าที่ 3 คน 5 2 1,500 15,000 - ค่าดำเนินการและอุปกรณ์ 5 2 20,000 40,000 - ค่าอุปกรณ์เฝ้าระวังของเจ้าหน้าที่ควบคุมงาน - - 20,000 20,000 ก่อสร้าง รวม 115,000 กรมทางหลวงชนบท 7-49 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ตารางที่ 7.2.7-2 การประมาณค่าใช้จ่ายของแผนปฏิบัติการเฝ้าระวังระยะดำเนินการ จำนวน จำนวน ราคา/หน่วย รวม* ลำดับ รายละเอียด (วัน) (ครั้ง/ปี) (บาท) (บาท) 1 ค่าใช้จ่ายในการติดตามโลมา ระยะดำเนินการ - ค่าเช่าเรือพร้อมเชื้อเพลิง 5 2 4,000 40,000 - ค่าเบีย้ เลี้ยงเจ้าหน้าที่ 3 คน 5 2 1,500 15,000 - ค่าดำเนินการและอุปกรณ์ 5 2 20,000 40,000 รวม 95,000 8) การประเมินผล คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานของกรมทางหลวงชนบท จัดจ้างบุคคลที่ 3 (Third Party) เป็นผู้ดำเนินการตรวจสอบการปฏิบัติงานของกรมป่าไม้ให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด 7.2.8 แผนการประชาสัมพันธ์โครงการ 1) หลักการและเหตุผล การประชาสัมพันธ์เป็นการติดต่อสื่อสาร (communication) และความคิดเห็นจากเจ้าของโครงการ กรมทางหลวง ไปสู่ประชาชน รวมทั้งรับฟังความคิดเห็นหรือประชามติ (public opinion) ที่ประชาชนมีต่อองค์กร (ภาครัฐ) โดยมุ่งที่จะสร้างและตอบสนองผลประโยชน์ร่วมกันทั้งสองฝ่ายระหว่า งภาครัฐกับประชาชน ก่อให้เกิด ความรู้และความเข้าใจอันดีแก่ประชาชน เพื่อสร้างสัมพันธภาพความกลมเกลียวราบรื่นระหว่างองค์การกับกลุ่ม ประชาชนที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจ และให้ความสนับสนุนร่วมมือซึ่งกันและกัน อันจะเป็นประโยชน์ให้ กรมทางหลวงสามารถดำเนิน งานไปได้ ผลดีสมความมุ่งหมาย ดั งนั้ น จึงจำเป็น ต้องมีแผนการประชาสั มพั น ธ์ โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการก่อสร้างโครงการอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ก่อนเริ่มกิจกรรม การก่อสร้างโครงการจนถึงระยะสิ้นสุดโครงการ รวมทั้ งรับฟั งปัญ หาและข้อเสนอแนะที่มีต่อการก่อ สร้างของ โครงการ เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานของโครงการให้มีผลกระทบเกิดขึ้นน้อยที่สุด 2) วัตถุประสงค์ (1) เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ชัดเจน เกี่ยวกับโครงการให้ประชาชนในพื้นที่โครงการ ตลอดจน ผู้นำท้องถิ่นและหน่วยงานราชการในพื้นที่ได้รับทราบอย่างต่อเนื่องและมีความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ (2) เพื่อสร้างความเข้าใจที่ดีกับกลุ่ มเป้าหมายในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโครงการ รวมถึงรับฟังปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการ เพื่อนำมาหาวิธีการป้องกันและแก้ไ ขลผกระทบต่อประชาชน ให้มากที่สุด กรมทางหลวงชนบท 7-50 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต 3) พื้นทีด ่ ำเนินการ พื้นที่เป้าหมายด้านการประชาสัมพันธ์ ครอบคลุมพื้นที่ศึกษาโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบล เกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ครอบคลุมพื้นที่ในเขตทางและระยะ 500 เมตร จากแนวเส้น ทางโครงการเป็น อย่างน้ อย หรือมากกว่าขึ้นกับ ประเด็น การศึก ษา โดยมีจุด เริ่ม ต้น โครงการที ่ กม.0+000 เชื่อมต่อกลับทางหลวงหมายเลข 4206 (กม.26+620) บริเวณบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และจุดสิ้นสุดโครงการที่ กม.2+527 เชื่อมต่อกับทางหลวงชนบท กบ.5035 บริเวณ บ้า นทุ ่ง โต๊ะ หยุม ในพื้น ที่ต ำบลเกาะลัน ตาน้อ ย อำเภอเกาะลัน ตา จัง หวัด กระบี ่ ครอบคลุมพื้ นที่ 1 อำเภอ 2 ตำบล 2 หมู่บ้าน แสดงดังตารางที่ 7.2.8-1 ้ ที่ดำเนินการด้านการประชาสัมพันธ์โครงการ ตารางที่ 7.2.8-1 พืน จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน เกาะกลาง หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน กระบี่ เกาะลันตา เกาะลันตาน้อย หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งโต๊ะหยุม 1 จังหวัด 1 อำเภอ 2 ตำบล 2 หมู่บ้าน 4) วิธีดำเนินการ - ดำเนินการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ขอ ้ มูลโครงการให้ประชาชนทราบถึงการดำเนินโครงการ ขั้นต้น ในลัก ษณะของการหารือ สาธารณะ ( Public Consultation) กั บ ชุม ชนล่ว งหน้า อย่า งน้อ ย 3 เดือ น ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ประกอบด้วย ขอบเขตพื้นที่ก่อสร้าง รูปแบบการก่อสร้าง ระยะเวลาการก่อสร้าง เพื่อเป็น การสร้า งความเข้ าใจที่ ถูกต้ อง ดำเนิ น การอย่ างต่ อเนื่ อง เพื่ อให้ ป ระชาชนทราบความก้าวหน้ าของโครงการ นอกจากนี้ควรเพิ่ม ช่องทางประชาสัม พัน ธ์ เช่น ผ่า นเว็บไซต์ของกรมทางหลวงชนบท โดยปรับปรุงข้อมูลให้ ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา มีรายละเอียด แสดงดังตารางที่ 7.2.8-2 - กำหนดขั้นตอนในการดำเนินการแก้ไขปัญหาโครงสร้างความสัมพันธ์ของชุมชน รวมถึงปัญหา เรื่องร้องเรียน ซึ่งได้รับจากช่องทางต่างๆ ดังนี้ ▪ เว็บไซต์กรมทางหลวงชนบท www.drr.go.th ผ่านเมนศูนย์รับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ▪ สายด่วนกรมทางหลวงชนบท 1146 ▪ เดินทางมาด้ วยตนเอง ที่ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมทางหลวงชนบท ถนนพหลโยธิน แขวง อนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 หรือหน่วยงานของกรมทางหลวงชนบทในพื้น ที่ประจำจังหวัดกระบี่ และพื้นที่สำนักงานก่อสร้าง - หากได้รับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนในพื้นที่ก่อสร้าง จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้ที่ได้รับผลกระทบ แสดงความคิดเห็นในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหาและต้องให้ความสำคัญในการแก้ไขโดยด่วน (1) การจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ขนาดใหญ่ เพื่อให้ผู้ใช้ รถใช้ถนนและประชาชนทราบข้อมูลเกี่ยวกับ การก่อสร้างโครงการ โดยมีเนื้อหา ประกอบด้วย ชื่อโครงการ สาระสำคัญของโครงการ สถานที่ดำเนินการ ระยะ ดำเนินการ บริษัทผู้ รับจ้างก่อสร้างและผู้ควบคุมงานก่อสร้าง งบประมาณก่อสร้างและที่ มาของเงินงบประมาณ พร้อมทั้งระบุช่องทางการติ ดต่อ หมายเลขโทรศัพท์ที่ชัดเจน เพื่อสามารถแจ้ งปัญหากับหน่วยงานที่รับผิดชอบ รับทราบและดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยติดตั้ งป้ายประชาสัมพันธ์ก่อนเริ่มการก่อสร้าง 3 เดือน ในจุดที่ เห็ นได้ ชัดเจน จำนวน 2 แห่ ง ได้ แก่ จุด เริ่มต้ นโครงการ กม.0+000 และจุด สิ้น สุดโครงการ กม.2+527 ทั้งนี้ ป้ายดังกล่าวจะต้องดูแลและบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพดีไปจนสิ้นสุดการก่อสร้างโครงการ แสดงดังรูปที่ 7.2.8-1 กรมทางหลวงชนบท 7-51 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ตารางที่ 7.2.8-2 แผนการประชาสัมพันธ์โครงการ ช่วงเวลา แผนการประชาสัมพันธ์ กลุ่มเป้าหมาย วิธีดำเนินการ ดำเนินการ 1. การจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ จัดทำป้ ายประชาสัมพั นธ์ขนาดใหญ่ เพื่อ ให้ ประชาชนใน ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ 2 จุด ได้แก่ ติดตั้งก่อนเริ่มการ ผู้ใช้ท างและประชาชนทราบข้ อ มูลเกี่ ย วกั บ พื้นที่โครงการ - จุดเริ่มต้นโครงการ กม.0+000 ก่อสร้างโครงการ การก่อสร้างโครงการ โดยมีเนื้อหา ประกอบด้วย และผู้ใช้ทาง - จุดสิ้นสุดโครงการ กม.2+527 และดูแลรักษา ชื่อโครงการสาระสำคัญของโครงการ สถานที่ ป้ายตลอดระยะ ดำเนินการ ระยะเวลาดำเนินการ บริษัทผู้รับจ้าง เวลาก่อสร้าง ก่อสร้าง และผู้ควบคุมงานก่อสร้าง งบประมาณ โครงการ และที่มาของเงินงบประมาณ และเบอร์โทรศัพท์ 2. การจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ ผู้รับจ้างก่อสร้างจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ ประชาชนใน แจกจ่ายให้แก่ประชาชนในพื้นที่โครงการ ก่อนเริ่มการ โครงการ โดยแผ่นพับควรมีเนื้อหาประกอบด้วย ้ ที่โครงการ พืน และผู้ใช้ทาง ดังนี้ ก่อสร้างโครงการ - เหตุผลและความจำเป็นและวัตถุประสงค์ และผู้ใช้ทาง - ประชาชนในพื้นที่ 1,000 ชุด ของโครงการ - ผู้ใช้ทาง 1,000 ชุด - สาระสำคัญของโครงการ - ผู้ดำเนินการ - ขั้นตอนและระยะเวลาดำเนินการ - ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ - ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นและมาตรการ ป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบ - ประมาณการค่าใช้จ่ายและที่มาของ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ - ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนของโครงการ 3. การรับเรื่องร้องเรียน จัดให้มีศูนย์รับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ 4 แห่ง ประชาชนใน ภายในศู น ย์ ฯ ประกอบด้ ว ย บอร์ ด ติดตั้งก่อนเริ่มการ ได้ แ ก่ สำนั ก งานควบคุ ม โครงการ เทศบาล พื้นที่โครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการและกล่องรับ ก่ อ สร้ า งโครงการ ตำบลเมื องงาย เทศบาลาตำบลปิ งโค้ง และ และผู้ใช้ทาง เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น โดยทำการรวบรวม และดู แ ลรั ก ษาตู้ องค์การบริหารส่วนตำบลศรีดงเย็น ข้อมูลมาดำเนินการศึกษาปัญหาแล้ว รั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น ทำการแก้ ไขปั ญ หาอย่ างเหมาะสม ตลอดระยะเวลา โดยเร็ว จากนั้ น รายงานปั ญ หาและ ก่อสร้างโครงการ ผลการดำเนิ น การให้กรมทางหลวง ชนบทได้รับทราบ กรมทางหลวงชนบท 7-52 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.8-1 ตัวอย่างป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ (2) การจัดทำแผ่นผับประชาสัมพันธ์ ผู้รับจ้างจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 2,000 ชุด เพื่อแจกจ่ายให้แก่ประชาชน ประกอบด้ วย ประชาชนในบริ เวณพื้ น ที่ โครงการ จำนวน 1,000 ชุ ด และผู้ ใช้ เส้ น ทางหลวงหมายเลข 4206 และ กบ.5035 จำนวน 1,000 ชุด โดยแจกจ่ายในช่วงก่อนการดำเนินงานก่อสร้างโครงการ เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ทราบถึงการดำเนินงานก่อสร้างโครงการ โดยแผ่นพับควรมีเนื้อหา ประกอบด้วย ข้อมูลดังต่อไปนี้ ก) เหตุผลและความจำเป็นและวัตถุประสงค์ของโครงการ ข) สาระสำคัญของโครงการ ค) ผู้ดำเนินการ ง) ขั้นตอนและระยะเวลาดำเนินการ จ) ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ ฉ) ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นและมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดลผกระทบ ช) ประมาณการค่าใช้จ่ายและที่มาของค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ ซ) ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนของโครงการ (3) การรับเรื่องร้องเรียน จัดศูนย์รับเรื่องร้องเรียนของโครงการ พร้อมติดตั้งกล่องรับเรื่องร้องเรียนและบอร์ดประชาสัมพันธ์ โครงการ จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ สำนักงานควบคุมงานของโครงการ อบต.เกาะกลาง และ อบต.เกาะลันตาน้อย โดยมีหมายเลขโทรศัพท์และระบุชื่อผู้ที่สามารถติดต่อได้ ติดตั้งไว้ในบริเวณสถานที่สามารถมองเห็นอย่ างชัดเจน เพื่อรับทราบปัญหาขณะดำเนินการก่อสร้างและเมื่อได้รับเรื่องร้องเรียนถึงผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการแล้ว จะต้องดำเนินการตรวจสอบและทำการแก้ไ ขอย่างเหมาะสม และติดตามผลการดำเนินการ รวมทั้งตอบกลับข้อ ร้องเรียนให้ผู้ได้รับผลกระทบรับทราบโดยเร็ว โดยขั้นตอนการดำเนินงานรับเรื่องร้องเรียนจากผลกระทบของการ ดำเนินโครงการ แสดงดังรูปที่ 7.2.8-2 กรมทางหลวงชนบท 7-53 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต รูปที่ 7.2.8-2 แนวทางการปฏิบัติการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์ ของศูนย์ประสานการแก้ไขตามข้อร้องเรียนของประชาชน ของกรมทางหลวงชนบท (ศปร.ทช.) กรมทางหลวงชนบท 7-54 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต 5) ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดระยะเวลาก่อสร้างโครงการ 6) หน่วยงานที่รับผิดชอบ ผู้รับจ้างก่อสร้างภายใต้การกับกำดูแลของกรมทางหลวงชนบท 7) งบประมาณ การดำเนิ น งานตามแผนการประชาสั ม พั น ธ์ โครงการ มี งบประมาณรวมทั้ งสิ้ น 260,000 บาท ่ นค่าก่อสร้างโครงการ แสดงดังตารางที่ 7.2.8-3 ซึ่งรวมอยูใ 8) การประเมินผล คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานของกรมทางหลวงชนบท ตรวจสอบการปฏิบัติ งาน ของผู้รับจ้างก่อสร้างให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด ตารางที่ 7.2.8-3 รายละเอียดค่าใช้จ่ายด้านการประชาสัมพันธ์โครงการ รายการ ปริมาณ ราคา (บาท/หน่วย) ราคารวม (บาท) 1. ป้ายประชาสัมพันธ์ขนาดใหญ่ 2 ป้าย 20,000 40,000 2. แผ่นพับประชาสัมพันธ์โครงการ 2,000 ชุด 50 100,000 3. ค่าอุปกรณ์ในศูนย์รับเรื่องร้องเรียน ประกอบด้วย 3 ชุด 10,000 30,000 บอร์ดประชาสัมพันธ์โครงการ และกล่องรับเรื่องร้องเรียน 4. ค่าดำเนินการของศูนย์รับเรื่องร้องเรียน 3 ปี 30,000 90,000 ค่าใช้จ่ายรวม* 260,000 หมายเหตุ : * ค่าใช้จ่ายรวมอยู่ในค่าก่อสร้างโครงการ 7.3 สรุปค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการ การประมาณค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ คิดเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 15.603 ล้านบาท สรุปดังตารางที่ 7.3-1 ดังนี้ 1) ค่าใช้จ่ายตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 7.575 ล้านบาท 2) ค่าใช้จ่ายตามแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม 8.028 ล้านบาท รวมค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการ 15.603 ล้านบาท กรมทางหลวงชนบท 7-55 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 7 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ั ิการด้านสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบต ตารางที่ 7.3-1 สรุปค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ค่าลงทุนรายปี ค่าลงทุน ระยะก่อสร้าง ระยะดาเนินการ (พ.ศ.) กิจกรรม (ล้ านบาท) 2568 2569 2570 2571 2572 2573 2574 2575 2576 2577 2578 2579 2580 2581 2582 2583 2584 2585 2586 2587 2588 2589 2590 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 1. แผนปฏิบตั ิการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม 7.575 1.1 แผนปฏิบัตก ิ ารป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้าผิวดิน @ 2.845 - - 0.605 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1.2 แผนปฏิบัตก ิ ารป้องกันแก้ไขและลดผลกระทบด้านคุณภาพน้าทะเล 3.640 3.640 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1.3 แผนปฏิบัตก ิ ารป้องกันแก้ไขและลดผลกระทบด้านเสียง 2.753 1.517 - - 1.236 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1.4 แผนการปลูกป่าชายเลนทดแทน 0.698 0.698 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1.5 แผนการปลูกป่าทดแทน (ป่าสงวนแห่งชาติ) 0.274 0.274 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1.6 แผนปฏิบัตก ิ ารป้องกันแก้ไขและลดผลกระทบต่อโลมา 0.210 0.115 - - 0.095 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1.7 แผนปฏิบัตก ิ ารป้องกันแก้ไขและลดผลกระทบด้านคมนาคมขนส่ง/อุบัตเิ หตุและความปลอดภัย @ 3.400 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1.8 แผนปฏิบัตก ิ ารประชาสัมพันธ์และรับเรื่องร้องเรียนของโครงการ @ 0.260 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 2. แผนปฏิบต ั ิการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม 8.028 2.1 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพน้าผิวดิน 0.060 0.020 0.020 0.020 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 2.2 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพน้าทะเล 0.108 0.036 0.036 0.036 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 2.3 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ 0.750 0.250 0.250 0.250 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 2.4 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเสียง 0.108 0.012 0.012 0.012 0.012 0.012 0.012 - 0.012 - - - - 0.012 - - - - 0.012 - - - - 0.012 2.5 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านความสั่นสะเทือน 0.216 0.072 0.072 0.072 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 2.6 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านนิเวศวิทยาทางน้า 0.351 0.117 0.117 0.117 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 2.7 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านพืชในระบบนิเวศ 0.090 0.010 0.010 0.010 0.010 0.010 0.010 - 0.010 - - - - 0.010 - - - - 0.010 - - - - 0.010 2.8 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านสัตว์ในระบบนิเวศ 2.700 0.300 0.300 0.300 0.300 0.300 0.300 - 0.300 - - - - 0.300 - - - - 0.300 - - - - 0.300 2.9 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านสัตว์หายาก 0.915 0.115 0.115 0.115 0.095 0.095 0.095 - 0.095 - - - - 0.095 - - - - 0.095 - - - - 0.095 2.10 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านคมนาคมขนส่ง อุบัตเิ หตุและความปลอดภัย 0.360 0.060 0.060 0.060 0.030 0.030 0.030 - 0.030 - - - - 0.030 - - - - 0.030 - - - - 0.030 2.11 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านการระบายน้าและการควบคุมน้าท่วม 0.120 0.040 0.040 0.040 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 2.12 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเศรษฐกิจ-สังคม 2.250 0.250 0.250 0.250 0.250 0.250 0.250 - 0.250 - - - - 0.250 - - - - 0.250 - - - - 0.250 2.13 แผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านสาธารณสุขและอาชีวอนามัย © - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - รวมค่าใช้จา ่ย 15.603 14.031 1.282 1.282 2.633 0.697 0.697 0.000 0.697 0.000 0.000 0.000 0.000 0.697 0.000 0.000 0.000 0.000 0.697 0.000 0.000 0.000 0.000 0.697 หมายเหตุ : @ รวมอยู่ในค่าก่อสร้างโครงการ © รวมอยู่ในแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเศรษฐกิจ-สังคม กรมทางหลวงชนบท 7-56 บทที่ 8 งานการมีสวนรวมของประชาชน รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน บทที่ 8 งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.1 บทนำ การดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน จะดำเนินการตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชน ในกระบวนการจัดรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (2562) ซึ่งการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม หมายถึง กระบวนการ ที่จัดให้มีขึ้นในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน ตลอดจนหน่วยงานต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ สามารถเข้าร่วมแสดงความคิดเห็น นำเสนอข้อมูล ข้อโต้แย้ง หรือข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการนั้น อันเป็นการสื่อ สาร สองทาง และแนวทางการจัดทำแผนงานการมีส่วนร่วมของประชาชน ของสำนักงานสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วม ของประชาชน (ปรับปรุงครั้งที่ 4 : พ.ค. 2563) โดยมีวัตถุประสงค์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโครงการ ให้ผู้มีส่วนได้ -ส่วนเสีย ประชาชนในท้องถิ่น องค์กรเอกชน เจ้าหน้าที่ ของรัฐ และประชาชนทั่วไปที่สนใจโครงการได้รับทราบข้อมูลอย่างถูกต้อง ชัดเจน และต่อเนื่อง พร้อมทั้งรับฟัง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนได้ -ส่วนเสีย กลุ่มต่างๆ เพื่อนำมาประกอบการศึกษาในขั้นตอนต่างๆ ของโครงการ โครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการศึกษาประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อลดผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน อันจะนำไปสู่ความขัดแย้งระหว่างประชาชนในพื้นที่ ดังนั้นการดำเนินงาน อย่างต่อเนื่องในการจัดกิจกรรมการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน จึงจัดได้ว่าเป็นภารกิจหนึ่งที่สำคัญที่ใช้เป็น กลไกในการขับเคลื่อนกระบวนการจัดทำโครงการ การรวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลความคิดเห็นจากประชาชน จึงมีความจำเป็นต่อการเสนอแนะ เพื่อใช้เป็นข้อมูลเสริมในการดำเนินงานและประกอบการตัดสินใจของโครงการ ต่อไป 8.2 วัตถุประสงค์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน 1) เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโครงการ คำชี้แจง และเหตุผลความจำเป็นของการ พัฒนาโครงการอย่างถูกต้อง ชัดเจน รวมทั้งเข้าใจขั้นตอนและกระบวนการศึกษาของโครงการอย่างต่อเนื่องให้ ประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน ตลอดจนหน่วยงานต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการได้รับทราบ 2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายและสาธารณะชนได้มีความรู้ ความเข้าใจ และความเชื่อมั่นต่อกระบวนการ ศึกษาเสริมสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในพื้นที่โครงการ ได้เห็นประโยชน์ของโครงการ และพร้อม ที่จะให้การสนับสนุนและความร่วมมือที่ดี 3) เพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวกับการพัฒนาโครงการ โดยเฉพาะ แนวเส้นทางของโครงการที่ตัดผ่านพื้นที่ถือครองของประชาชน ให้ได้ทางเลือกแนวเส้นทางที่เป็นที่ยอมรับและ ส่งผลกระทบน้อยที่สุด กรมทางหลวงชนบท 8-1 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.3 พื้นที่เป้าหมาย แนวเส้นทางโครงการ มีจุดเริ่มต้นที่ กม.0+000 เชื่อมต่อกับทางหลวงหมายเลข 4206 (กม.26+620) บริ เวณบ้ า นหั ว หิ น ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลั น ตา จั ง หวั ด กระบี่ และจุ ด สิ้ น สุ ด โครงการที่ กม.2+527 เชื่อมต่อกับทางหลวงชนบท กบ.5035 บริเวณบ้านทุ่งโต๊ะหยุม ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ในการสำรวจสภาพเศรษฐกิ จ -สัง คมของโครงการ มีพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินงาน ครอบคลุม พื้นที่ในเขตทางและพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งกลางแนวเส้นทางโครงการเป็นอย่างน้อย หรือมากกว่า ขึ้นกับประเด็นการศึกษา แต่ทั้งนี้ จากการสำรวจภาคสนามในพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งกลางแนว เส้นทางโครงการ พบแหล่งชุมชนอาศัยอยู่ น้อยและตั้งบ้านเรือนแบบกระจายตัวห่างๆ ตามแนวถนนที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน ดังนั้น เพื่อให้การศึกษาด้านเศรษฐกิจ -สังคมของโครงการครั้งนี้มีความเหมาะสม จึงพิจารณาครอบคลุม พื้นที่มากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากกึ่งกลางแนวเส้นทางโครงการ ครอบคลุมพื้นที่เกาะลันตา 5 ตำบล ได้ แ ก่ ตำบลเกาะลั นตาน้ อย ตำบลเกาะลั นตาใหญ่ ตำบลศาลาด่ าน ตำบลเกาะกลาง และตำบลคลองยาง เนื่องจากเป็นผู้ได้ประโยชน์จากการดำเนินโครงการ แสดงดังรูปที่ 8.3-1 8.4 กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายของการดำเนินโครงการในการศึกษาครั้งนี้ ได้พิจารณาคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายให้สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์การจัดประชุมที่มุ่งประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนในพื้นที่ได้รับทราบ ข้อมูลโครงการอย่างทั่วถึง และมีบทบาทในการให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินโครงการ โดยในการกำหนดกลุ่มเป้าหมายได้กำหนดให้ครอบคลุมถึงผู้มีส่วนได้ -ส่วนเสีย (Stakeholders) ที่เกี่ยวข้องทุก ภาคส่วน ตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ. 2562) โดยกำหนดกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 7 กลุ่ม ดังนี้ (ตารางที่ 8.4-1) 1) ผู้ได้รับผลกระทบ - ผู้นำชุมชน ประกอบด้วย กำนัน และผู้ใหญ่บ้าน ในพื้นที่โครงการ ซึ่งเป็นผู้ที่มีความเกี่ยวข้อง กับการให้ข้อมูลข้อเท็จจริง สภาพปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหาจากประสบการณ์ในพื้นที่ รวมทั้งภูมิปัญญา ของท้องถิ่น ตลอดจนช่วยเผยแพร่ข้อมูลการศึกษาของโครงการให้ประชาชนในท้องถิ่นได้รับทราบ - ผู้อยู่อาศัยบริเวณพื้นที่โครงการ เป็นตัวแทนที่แสดงความคิดเห็นต่อโครงการ อาจได้รับ ผลประโยชน์หรือได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ โดยร่วมกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา เพื่อให้การ พัฒนาโครงการส่งผลกระทบน้อยที่สุด - ผู้ประกอบธุรกิจบริเวณโครงการ เป็นตัวแทนที่แสดงความคิดเห็นต่อโครงการ อาจได้รับ ผลประโยชน์หรือได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ - พื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สถานศึกษา ศาสนสถาน และสถานพยาบาล ในรัศมี 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญ และเป็นผู้มีความรู้ในพื้นที่ และเป็นที่ยอมรับ ในการนำเสนอความคิดเห็น เนื่องจากได้รับการยอมรับว่ามีความเป็นกลาง และดำเนินการโดยไม่มีส่วนได้-ส่วนเสีย กับโครงการ กรมทางหลวงชนบท 8-2 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน รูปที่ 8.3-1 ที่ตั้งโครงการสะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-3 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-1 กลุ่มเป้าหมายของการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน กลุ่มเป้าหมาย บทบาท ความสำคัญ ผู้รับผลกระทบ 1) ผู้นำชุมชน มีบทบาทสำคัญในการประสานงานและพบปะหารือกับ - มีความสำคัญมากในการประสานงานกับชุมชนและเป็น ประชาชนในพื้นที่และส่งเสริมให้เข้าถึงประชาชนได้ กระบอกเสียงที่ดีทำให้ประชาชนสามารถเข้าใจโครงการ ง่ายขึ้น เนื่องจากผู้นำท้องถิ่นและเป็นบุคคลที่มีหน้าที่ ได้ดี ดูแลประชาชนและได้รับการยอมรับจากชุมชนในพื้นที่ - หากผู้นำชุมชนไม่เข้าใจโครงการหรือไม่ให้ความร่วมมือ รวมทั้งเป็นช่องทางสำคัญให้ข้อมูลสภาพปัจจุบันและ จะเข้า ถึงประชาชนทำได้ย ากขึ้น อาจมีป ัญ หาในการ ปัญหาในพื้นที่ เรื่องร้องเรียนและประเด็นความขัดแย้ง สื่อสารทำให้เกิดการไม่ยอมรับโครงการได้ เกี่ยวกับโครงการ (ถ้ามี) 2) ผู้อยู่อาศัยบริเวณ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - มี ค วามสำคั ญ มากเนื ่ อ งจากเป็น ผู ้ท ี ่ไ ด้ ร ั บ ผลกระทบ พื้นที่โครงการ ที่มีคุณค่า ในพื้นที่ และข้อ มูลที่สำคัญ อื่นๆ รวมทั้ง จากโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งในการสร้างความเข้าใจให้ ความคิดเห็น ข้อห่วงกังวลต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อ ม เกิดขึ้น ของโครงการ ร่วมกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา - หากผู้ที่ได้รับผลกระทบไม่เข้าใจอาจเกิดการต่อต้านและ เพื ่ อ ให้ ก ารพั ฒ นาโครงการส่ ง ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชน ทำให้โครงการหยุดชะงักหรือล่าช้า ในพื้นที่โครงการน้อ ยที่สุด และเกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนสอดคล้อ งกับ ความต้อ งการของประชาชน มากที่สุด 3) ประชาชนผู้ได้รับ เป็นบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ - เป็นกลุ่มที่จะได้รับผลกระทบต่อการสูญเสียทรัพ ย์สิน ผลกระทบ และมีความสนใจในโครงการอย่า งมาก หากมีความ และที่ดิน มีความเดือดร้อนเนื่องจากการพัฒนาโครงการ เข้าใจในโครงการจะช่วยสนับสนุนให้การดำเนินงาน จึงเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในการให้การสนับสนุนโครงการ โครงการเป็นไปอย่า งราบรื่น จึงเป็นกลุ่มเป้า หมาย ซึ่งหากกลุ่มนี้ได้รับรู้เข้าใจและยอมรับในโครงการจะเป็น ที่ควรได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารของโครงการอย่างสม่ำเสมอ การลดความขัดแย้ง/ต่อต้านโครงการ 4) ผู้ประกอบธุรกิจ มีบทบาทสำคัญทางด้านธุรกิจ การค้า การลงทุนของ - มีความสำคัญ มาก เนื่อ งจากผู้ป ระกอบธุรกิจ ในพื้นที่ บริเวณโครงการ ชุมชน และมีบทบาทที่สำคัญและมีอิทธิพลต่อประชาชน โครงการจะได้รับผลกระทบต่อการทำธุรกิจหรือประกอบ ในพื้นที่ อาชีพจากการพัฒนาโครงการะยะก่อสร้าง และร่วมกำหนด แนวทางในการแก้ไขปัญหา เพื่อให้การพัฒนาโครงการ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมน้อยที่สุด และเกิด ประโยชน์สูงสุด - หากไม่เห็นด้วยกับโครงการ อาจทำให้โครงการหยุดชะงัก หรือล่าช้า 5) พื้นที่อ่อนไหว เป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญและเป็นศูนย์กลางของพื้นที่ - มีความสำคัญมากเพราะเป็นแหล่งและมีกลุ่มเสี่ย งที่จะ ทางสิ่งแวดล้อม เนื่องจากเป็นสถานศึกษา ศาสนสถาน สถานพยาบาล ได้รับผลกระทบ ดังนั้นควรให้ความสำคัญในการสื่อสาร สำหรับประชาชนมาใช้บริการจำนวนมากในพื้นที่โครงการ ให้เข้า ใจเกี่ย วกับ การหลีก เลี่ย งผลกระทบ มาตรการ และอาจเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบจากโครงการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม หากเป็นแนว ร่วมจะเป็นแรงสนับสนุนโครงการ สังคมจะยอมรับฟัง และคล้อยตามได้ง่าย - เพราะหากขาดการสื่อสารที่ไม่เพียงพอ อาจทำให้มีความ ขัดแย้ง ประชาชนมีความวิตกกังวล ทำให้ก ารดำเนิน โครงการไม่ราบรื่น มีแรงต้านจากสังคม 6) หน่วยงานที่ดูแล มีบทบาทในการอนุรักษ์และทะนุบำรุงแหล่งโบราณสถาน - เป็นหน่ว ยงานที่มีความสำคัญ มากต่อโครงการในการ รับผิดชอบด้าน ในพื ้ น ที ่ และผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ด้ า นโบราณสถานในพื ้นที่ ให้ข้อมูลข่าวสารด้านโบราณสถาน การประเมินผลกระทบ โบราณสถาน โครงการ ร่วมพิจาณาตรวจสอบรายงานการวิเคราะห์ ต่อโบราณสถานร่วมกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบด้านโบราณสถาน และให้ข้อเสนอแนะใน ผลกระทบด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี และให้ข้อเสนอแนะ การกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อ ต่อโครงการ โบราณสถาน กรมทางหลวงชนบท 8-4 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-1 กลุ่มเป้าหมายของการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กลุ่มเป้าหมาย บทบาท ความสำคัญ 2. หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1) หน่วยงานเจ้าของ มีบ ทบาทในการจัดเตรียมข้อ มูลโครงการ เพื่อ ใช้ใน - เป็นหน่ว ยงานที่มีความสำคัญ มากต่อโครงการในการ โครงการ การศึก ษาและจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบ ให้ข้อมูลข่าวสารรายละเอียดของโครงการต่อการพัฒนา สิ่งแวดล้อมให้กับที่ปรึกษาที่ได้รับอนุญาตเป็นผู้จัดทำ ทางหลวงชนบทและกำกับการศึกษา เพื่อให้สอดคล้อง รายงาน และทำหน้าที่กำกับการทำงานของที่ปรึกษา กับ รายละเอียดข้อ กำหนดการศึกษา ( TOR) และร่วม ร่ ว มทำงานประเมิ น ผลกระทบสิ ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง ชี้แจงข้อมูลในการดำเนินการมีส่วนร่วมของประชาชน กำหนดมาตรป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่ งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่เจ้าของโครงการต้องนำไปปฏิบัติ หลังจากที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว 2) บริษัทที่ปรึกษา ประสานงานกับเจ้าของโครงการ เพื่อให้ได้ข้อมูลในการ - เป็นหน่วยงานที่มีความสำคัญมากในการจัดทำรายงาน จัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดย ประเมิ น ผลกระทบสิ ่ ง แวดล้ อ ม และการดำเนิ น การ จะต้ อ งกำหนดขอบเขตการศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล มีส่วนร่วมของประชาชนในขั้นตอนการศึกษา เพราะเป็น รายละเอียดโครงการ สภาพสิ่งแวดล้อมโครงการประเมิน ผู้จัดทำเนื้อหา ออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ของโครงการ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ กำหนดมาตรป้องกัน ให้ประชาชนเกิดความเข้าใจในโครงการได้ชัดเจน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตาม - ดังนั้น ที่ปรึกษาผู้ที่มีความสำคัญในการสื่อสารให้ ผู ้มี ตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้งต้องให้ข ้อมูล ส่วนได้-ส่วนเสียของโครงการ ได้จะส่งผลให้กิจกรรมการ เกี่ยวกับโครงการ ผลกระทบที่เกิดขึ้น และรับฟังความ มีส่วนร่วมฯ เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ คิดเห็นและข้อห่วงกังวลจากประชาชนที่เกี่ยวข้องร่วมกับ เจ้าของโครงการ เพื่อนำมาพิจารณาประกอบการทำรายงาน 3. หน่วยงานที่ทำ เป็ น หน่ ว ยงานในการกำหนดแนวทางการประเมิ น - ในรายงานนี้หมายถึง คณะกรรมการชำนาญการพิ จารณา หน้าที่พิจารณา ผลกระทบสิ ่ ง แวดล้ อ ม และตรวจสอบรายงานและ รายงานประเมินผลกระทบ (คชก.) เป็นผู้พิจารณาให้ รายงานการ เสนอความเห็ น เบื ้ อ งต้ น ต่ อ รายงานการประเมิ น ความเห็นต่อรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อ ม ในฐานะฝ่า ยเลขานุก ารของ รวมทั้งมีอำนาจสั่งให้ผู้จัดทำรายงานหรือเจ้าของโครงการ ผลกระทบ คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานประเมิน แก้ ไ ขเพิ ่ ม เติ ม หรื อ จั ด ทำรายงานใหม่ ต ามแนวทาง สิ่งแวดล้อม ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (คชก.) โดยปฏิบัติตามขั้นตอน รายละเอียดประเด็นหรือหัวข้อที่กำหนดไว้ และระยะเวลาตามที่กฎหมายกำหนด - ในกรณีที่ผู้ได้รับผลกระทบหรือประชาชนที่เกี่ยวข้อง เสนอข้อคิดเห็นในระหว่างการพิจารณารายงานฯ คชก. จะนำความเห็นดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาด้วย 4. หน่วยงานราชการในระดับต่างๆ และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง 1) หน่วยงาน เป็นหน่วยงานที่ให้ข้อมูลการพัฒนาโครงการในภูมิภาค/ - มีความสำคัญปานกลางเนื่องจากเป็นหน่วยงานที่ต ้อ ง ราชการระดับ จังหวัด รวมทั้งมีบ ทบาทร่ว มในการเผยแพร่ ข ้ อ มู ล ทำหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานงานราชการอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง จังหวัด โครงการให้กับผู้นำชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ และให้บริการประชาชนในพื้นที่ ทำให้เกิดการประสานงาน ประชาชนในท้องถิ่นทราบและเกิดความเข้าใจในโครงการ และสื่อสารได้กว้างขวางและครอบคลุมในพื้นที่ และเป็น พัฒนาทางหลวง หน่ ว ยสำคั ญ ที ่ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ของจั ง หวั ด หากสนั บ สนุ น โครงการ จะทำให้การประชาสัมพันธ์ราบรื่น หน่วยงาน ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีความเข้าใจในโครงการที่ถูกต้อง 2) หน่วยงาน เป็นตัวแทนของหน่วยงานจากอำเภอ ทำหน้าที่ดูแ ล - มีความสำคัญปานกลาง เนื่องจากเป็นหน่วยงานที่ต้องทำ ราชการระดับ รับผิดชอบในด้านการบริหารและบริการพื้นที่ให้เกิด หน้าที่ร่วมกับหน่วยงานงานราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องใน อำเภอ การพัฒนาอย่างเหมาะสม ซึ่งจะมีบทบาทสำคัญในการ ระดับอำเภอและให้บริการประชาชนในพื้นที่ ทำให้เกิด ให้ข้อมูลและถ่ายทอดความรู้งานพัฒนาต่อหน่วยงาน การประสานงานและสื่อสารได้กว้างขวางและครอบคลุม ในสังกัด เนื่อ งจากทราบปัญ หาในพื้นที่แ ละยั ง เป็ น ในพื ้ น ที่ และเป็ น หน่ว ยสำคัญ ที ่ ให้ข ้อ มูล การพัฒนา สื่อกลางระหว่างภาครัฐต่างๆ และประชาชนในพื้นที่ โครงการในพื้นที่ - หากสนับสนุนโครงการ จะทำให้การประชาสัมพันธ์ราบรื่น หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีความเข้าใจในโครงการที่ถูกต้อง กรมทางหลวงชนบท 8-5 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-1 กลุ่มเป้าหมายของการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กลุ่มเป้าหมาย บทบาท ความสำคัญ 3) องค์กรปกครอง เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลประชาชนและได้รับการ - มีความสำคัญปานกลาง เนื่องจากเป็นหน่วยงานที่ต้อง ส่วนท้องถิ่น ยอมรับจากชุมชนในระดับท้องถิ่น รวมทั้งเป็นช่องทาง ทำหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานงานราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สำคั ญ ที ่ท ำให้เ ข้ า ถึ ง ประชาชนได้ง ่ า ยขึ้ น รวมทั้งมี ในระดับท้องถิ่น เทศบาล ตำบล หมู่บ้านและให้บริการ บทบาทร่วมในการเผยแพร่ข้อมูลโครงการให้กับผู้นำ ประชาชนในพื้นที่ ทำให้เกิดการประสานงานและสื่อสาร ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชนในท้อ งถิ่น ได้กว้างขวางและครอบคลุมในพื้ นที่ และเป็นหน่วยงาน ทราบและเกิดความเข้าใจในโครงการพัฒนาทางหลวง สำคัญที่ให้ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น ในท้องถิ่น หากสนับสนุนโครงการจะทำให้การประชาสัมพันธ์ ราบรื่น หน่ว ยงานที่มีส่ว นเกี่ย วข้อ งมี ความเข้า ใจใน โครงการที่ถูกต้อง 4) หน่วยงาน เป็นหน่วยงานให้บริการและดูแลด้านสาธารณูปโภค- - เป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญ เนื่องจากเป็นหน่วยงานที่ รัฐวิสาหกิจ สาธารณูปการในการให้บริการแก่ป ระชาชนในพื้ นที่ สำคัญในการดำเนินกิจกรรมของโครงการและต้องมีการ รวมทั ้ ง มี บ ทบาทสำคั ญ ในการแสดงความคิ ด เห็ น ประสานงานกันอย่า งใกล้ชิดในขั้นตอนการออกแบบ และข้อ เสนอแนะต่อ มาตรการป้อ งกันและแก้ ไ ขลด ระยะก่อสร้าง และระยะดำเนินการ ผลกระทบด้านสาธารณูปโภคในพื้นที่โครงการ - ทั ้ ง นี ้ เ พื ่ อ ให้ ก ารบริ ก ารด้ า นสาธารณู ป โภคสามารถ ให้ดำเนินการได้ตามปกติ ส่งผลกระทบต่อการใช้ ชีวิต ของประชาชนในพื้นที่ในน้อยที่สุด หากไม่ได้ รับทราบ ข้อมูลโครงการที่ชัดเจนอาจทำให้การดำเนินการพัฒนา โครงการล่าช้าและมีอุปสรรค 5. องค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม องค์กรพัฒนาเอกชน องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ สถาบันการศึกษาภายในท้องถิ่นและในระดับอุดมศึกษา และนักวิชาการอิสระ 1) องค์การเอกชน ในฐานะของผู้มีบทบาทในการพัฒนาทางสังคม เนื่องจาก - มีความสำคัญมากเนื่องจากมีเครือข่ายกว้างขวางมีอิทธิพล ด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจุบัน NGO ได้รับการยอมรับและมีบทบาทสำคัญใน ต่ อ ความคิ ดของคนในสั ง คม หากไม่ เ ห็น ด้ว ยกับ การ (ENGO)/องค์กร การสนับสนุนหรือคัดค้านโครงการพัฒนาที่มีผลกระทบ พัฒนาอาจจะส่งผลต่อการพัฒนาโครงการได้ พัฒนาเอกชน ต่ อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั ้ ง มี - หากเป็นแนวร่วม จะเป็นแรงสนับสนุนโครงการ สังคม (NGO) บทบาทชี้นำสังคมสภาพปัญหาต่างๆ เพื่อให้ข้อเสนอแนะ จะยอมรับฟัง และคล้อยตามได้ง่าย หากมีความขัดแย้ง ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของโครงการ จะทำให้โครงการดำเนินการไม่ราบรื่ น และมีแรงต้า น จากสังคม อาจส่งผลกระทบต่อโครงการ 2) องค์กรเอกชน เป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและ - หากเป็นแนวร่วม จะเป็นแรงสนับสนุนโครงการ สังคม เป็นที่ยอมรับในการนำเสนอความคิดเห็น เนื่องจาก จะยอมรับฟัง และคล้อยตามได้ง่าย ได้รับการยอมรับว่ามีความเป็นกลาง และดำเนินการ - หากมีความขัดแย้ง จะทำให้โครงการดำเนินการไม่ราบรื่น โดยไม่มีส่วนได้-ส่วนเสียกับโครงการ และมีแรงต้านจากสังคม อาจส่งผลกระทบต่อโครงการ 3) สถาบันการศึกษา เป็ น ผู ้ ม ี ค วามรู ้ ใ นพื ้น ที ่ และได้ ร ั บ ยอมรั บ ในสังคม - เป็นผู้ที่มีความสำคัญในการให้ความรู้ที่เกี่ยวกับโครงการ /นักวิชาการ สำหรับการนำเสนอความคิดเห็นในสาธารณะ ให้กับสังคมพื้นที่ได้เข้าใจ อิสระ - หากมีความคิดเห็นแตกต่างหรือขัดแย้ง จะทำให้โครงการ ได้ ร ั บ การตอบรั บ จากหลากหลายมุ มมอง เพื ่ อ นำมา ปรับปรุงการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ 6. สื่อมวลชน เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ และเป็น - หากสื่อมวลชนมีความเข้าใจในโครงการ จะสามารถสื่อสาร สื่อ กลางที่มีอ ิทธิพ ลในทางความคิดต่อ สาธารณชน ความได้อย่างถูกต้องเป็นไปในเชิงบวก และเกิดภาพลักษณ์ ในวงกว้า ง ซึ่งสามารถสร้า งกระแสในการสนับ สนุน ที่ดีต่อโครงการ หรือคัดค้านโครงการได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง - หากไม่มีความเข้าใจในโครงการ อาจจะมีการโจมตี และ เกิดกระแสในเชิงลบไปสู่สาธารณะได้อย่างรวดเร็วเช่นกัน 7. ประชาชนทั่วไป ผู้ที่สนใจโครงการ และมีความต้องการเข้ามามีส่วนร่วม - มีความสำคัญน้อย แต่ควรให้ประชาสัมพันธ์ให้กว้างขวาง ในโครงการ หากประชาชนมีความเข้าใจในโครงการ จะช่วยสนับสนุน โครงการและทำให้โครงการอย่างดำเนินไปอย่างราบรื่น กรมทางหลวงชนบท 8-6 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน - ผู ้ ไ ด้ รั บผลกระทบจากการโยกย้ า ยเวนคื น เป็ น ตั วแทนที ่ แสดงความคิ ดเห็น ต่ อโครงการ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการโยกย้ายเวนคืน โดยร่วมกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา เพื่อให้การพัฒนาโครงการ ส่งผลกระทบต่อผู้ได้รับผลกระทบจากการโยกย้ายเวนคืนโครงการน้อยที่สุด และเกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจน สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนมากที่สุด 2) ผู้ที่รับผิดชอบจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม คือ กรมทางหลวงชนบท ซึ่ง เป็นหน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรง และให้การสนับสนุนในการดำเนินการศึกษาโครงการ รวมทั้งบริษัทที่ ปรึกษาซึ่งเป็นผู้มีสิทธิทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 3) ผู้ที่ทำหน้าที่พิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม หน่วยงานที่ทำหน้าที่พิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม คือ สำนักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่พิจารณารายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมของโครงการ 4) หน่วยงานราชการในระดับต่างๆ - หน่วยงานราชการระดับจังหวัด ครอบคลุมหน่วยงานในจังหวัด กระบี่ ซึ่งเป็นจังหวัดที่ตั้งของ โครงการ เป็นหน่วยงานที่ต้องรับทราบว่าจะมีโครงการอะไรเกิดขึ้นในท้องถิ่นของตน และมีความรู้ความเข้าใจใน โครงการที่ถูกต้อง เพื่อมีส่วนในการให้ค วามคิดเห็นร่วมกันต่อโครงการที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น รวมทั้งบทบาทร่วม ในการเผยแพร่ข้อมูลข้อเท็จจริงให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบและเข้าใจ - หน่วยงานราชการระดับอำเภอ ประกอบด้วย หน่วยงานในอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ต้องรับทราบว่าจะมีโครงการอะไรเกิดขึ้นในท้องถิ่นของตน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจใน โครงการพัฒนาที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะและแสดงความคิดเห็นต่อโครงการ ตลอดทั้งบทบาทในการ เผยแพร่ข้อมูลข้อเท็จจริงให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบ และเข้าใจอย่างถูกต้องชัดเจน - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด สมาชิกองค์การ บริหารส่วนจังหวัด และนายกเทศมนตรี/นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งเป็นผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับการ ให้ข้อมูลข้อเท็จจริง สภาพปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหาจากประสบการณ์ในพื้นที่ รวมทั้งภูมิปัญญาของท้องถิ่น ตลอดจนช่วยเผยแพร่ข้อมูลการศึกษาของโครงการให้ประชาชนในท้องถิ่นได้รับทราบ - หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค บริษัท ทีโอที จำกัด และบริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นตัวแทนภาค รัฐวิสาหกิจที่อาจมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เพื่อให้รับทราบแนวทางการพัฒนาโครงการ รวมทั้งแสดง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของโครงการ 5) องค์ ก รเอกชนด้ า นการคุ ้ มครองสิ ่ ง แวดล้ อม องค์ ก รพั ฒ นาเอกชน สถาบั นการศึ ก ษา และ นักวิชาการอิสระ - องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ( NGOs)/องค์กรพัฒนาเอกชน ในฐานะของผู้มี บทบาทในการพัฒนาทางสังคม รวมทั้งการชี้นำสังคมถึงสภาพปัญหาต่างๆ เพื่อให้ข้อเสนอแนะที่ เกี่ยวข้องกับ การศึกษาของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 8-7 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน - องค์กรเอกชน ได้แก่ สภาหอการค้าจังหวัด เป็นต้น เป็นตัวแทนภาคเอกชนในการแสดงความ คิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของโครงการ - สถาบันการศึกษา/นักวิชาการอิสระ หมายถึง สถาบันการศึกษาในพื้นที่โครงการ หรือสถาบัน การศึกษาในระดับอุดมศึกษา รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านและนักวิชาการจากภายนอก ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ในพื้นที่ และเป็นที่ยอมรับในการนำเสนอความคิดเห็น 6) สื่อมวลชน สื่อมวลชน ประกอบด้วย สถานีวิทยุ สถานีโทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีบทบาทในการ นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับข่าวสารโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานของโครงการเป็นไปอย่างโปร่งใส และเปิดโอกาส ให้ประชาชนทั่วไปได้รับทราบข้อมูล จึงต้องอาศัยกลไกการเผยแพร่ข่าวสารผ่านสื่อมวลชนที่มีอยู่แ ล้ว ทั้งในระดับ ส่วนกลาง และสื่อมวลชนในท้องถิ่น ตลอดจนสื่อมวลชนของภาครัฐ เช่น ประชาสัมพันธ์จังหวัด และสื่อมวลชน เอกชน เช่น หนังสือพิมพ์ สถานีโทรทัศน์ หรือเคเบิลทีวีท้องถิ่น ผู้จัดรายการวิทยุชุมชน เป็นต้น 7) ประชาชนทั่วไป ประชาชนทั่วไปเป็นกลุ่มประชาชนทั่วไปและกลุ่มประชาชนที่ใช้เส้นทางบริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการ ในการเดินทาง ซึ่งมีสิทธิในการรับทราบข้อมูลข่าวสารของการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาต่างๆ ของหน่วยงาน ภาครัฐ และมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาของโครงการ ทั้งนี้ เนื่องจากการสำรวจภาคสนามในพื้นที่ศึกษาโครงการ พบแหล่งชุมชนอาศัยอยู่ไม่มาก กระจายตัว แบบห่างๆ ตามแนวถนนที่มีอยู่ในปัจจุบัน ดังนั้นเพื่อให้การศึกษาด้านเศรษฐกิจ -สังคมของโครงการครั้งนี้มีความ เหมาะสม จึงพิจารณาครอบคลุมพื้นที่มากกว่าพื้นที่ศึกษาระยะ 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ครอบคลุม พื้นที่เกาะลันตา 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลศาลาด่าน ตำบลเกาะกลาง และตำบลคลองยาง เนื่องจากเป็นผู้ได้ประโยชน์จากการดำเนินโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุม รับฟังความคิดเห็น แสดงดังตารางที่ 8.4-2 และตารางที่ 8.4-3 กรมทางหลวงชนบท 8-8 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-2 พื้นที่เป้าหมายการสำรวจสภาพเศรษฐกิจ-สังคม จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน 1. หมู่ที่ 1 บ้านร่าปู 2. หมู่ที่ 2 บ้านร่าหมาด 3. หมู่ที่ 3 บ้านปากคลอง 4. หมู่ที่ 4 บ้านคลองย่าหนัด 1. ตำบลเกาะกลาง 5. หมู่ที่ 5 บ้านลิกี 6. หมู่ที่ 6 บ้านนาทุ่งกลาง 7. หมู่ที่ 7 บ้านอ่าวทองหลาง 8. หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 9. หมู่ที่ 9 บ้านท่าคลอง 10. หมู่ที่ 10 บ้านขุนสมุทร 1. หมู่ที่ 1 บ้านหลังสอด 2. หมู่ที่ 2 บ้านคลองหมาก 2. ตำบลเกาะลันตาน้อย 3. หมู่ที่ 3 บ้านนาทุ่ง 4. หมู่ที่ 4 บ้านโละใหญ่ 5. หมู่ที่ 5 บ้านคลองโตนด 6. หมู่ที่ 6 บ้านทอนลิบง กระบี่ เกาะลันตา 1. หมู่ที่ 1 บ้านพระแอะ 2. หมู่ที่ 2 บ้านศาลาด่าน 3. ตำบลศาลาด่าน 3. หมู่ที่ 3 บ้านทุ่งยุง (โล๊ะบาหรา) 4. หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งหยีเพ็ง 5. หมู่ที่ 5 บ้านโล๊ะดุหยง 1. หมู่ที่ 1 บ้านหัวแหลม 2. หมู่ที่ 2 บ้านศรีราชา 3. หมู่ที่ 3 บ้านเจ๊ะหลี 4. ตำบลลันตาใหญ่ 4. หมู่ที่ 4 บ้านเกาะปอ 5. หมู่ที่ 5 บ้านคลองหิน 6. หมู่ที่ 6 บ้านคลองนิน 7. หมู่ที่ 7 บ้านสังกาอู้ 8. หมู่ที่ 8 บ้านคลองโตบ 1. หมู่ที่ 1 บ้านเขาฝาก 2. หมู่ที่ 2 บ้านคลองยาง 3. หมู่ที่ 3 บ้านโคกยูง 5. ตำบลคลองยาง 4. หมู่ที่ 4 บ้านไท 5. หมู่ที่ 5 บ้านหลังโสด 6. หมู่ที่ 6 บ้านท่าควน 7. หมู่ที่ 7 บ้านต้นทัง 1 จังหวัด 1 อำเภอ 5 ตำบล 36 หมู่บ้าน ่ รึกษา, 2564 ที่มา : ทีป กรมทางหลวงชนบท 8-9 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มย่อย รายละเอียดกลุ่มย่อย 1. ผู้ได้รับผลกระทบ 1.1 ผู้นำชุมชน กลุ ่ ม ผู ้ น ำชุ ม ชนในพื ้ น ที ่ศ ึ ก ษาโครงการ 1) นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง เป็นกลุ่ม ที่ ส ามารถนำข้อ มู ล ต่ างๆ ของ 2) ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง โครงการไปประชาสัมพันธ์หรือบอกกล่าว 3) สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง ให้ ก ั บ ชุ ม ชนในพื ้ น ที ่ ไ ด้ เ ป็ น อย่ า งดี ซึ่ ง 4) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านร่าปู ชุมชนดังกล่าวอาจได้รับผลกระทบและ 5) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านร่าหมาด ผลประโยชน์จากการพัฒนาโครงการอย่าง 6) กำนันตำบลเกาะกลาง (หมู่ที่ 3) บ้านปากคลอง มีนัยสำคัญ 7) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านคลองย่าหนัด 8) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านลิกี 9) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านนาทุ่งกลาง 10) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านอ่าวทองหลาง 11) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 12) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 9 บ้านท่าคลอง 13) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 10 บ้านขุนสมุทร 14) นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย 15) ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย 16) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านหลังสอด 17) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านคลองหมาก 18) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านนาทุ่ง 19) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านโละใหญ่ 20) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านคลองโตนด 21) กำนันตำบลเกาะลันตาน้อย (หมู่ที่ 6 บ้านทอนลิบง) 22) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านเขาฝาก 23) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านคลองยาง 24) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านโคกยาง 25) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านไท 26) กำนันตำบลคลองยาง (หมู่ที่ 5) บ้านหลังโสด 27) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านท่าควน 28) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านต้นทัง 29) กำนันตำบลศาลาด่าน (หมู่ที่ 1) บ้านศาลาด่าน 30) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านพระแอะ 31) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านทุ่งยุง (โล๊ะบาหรา) 32) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านทุ่งหยีเพ็ง 33) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านโล๊ะดุหยง 34) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านหัวแหลม 35) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านศรีราชา 36) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านเจ๊ะหลี 37) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านเกาะปอ 38) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านคลองหิน 39) กำนันตำบลเกาะลันตาใหญ่ (หมู่ที่ 6) บ้านคลองนิน กรมทางหลวงชนบท 8-10 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มย่อย รายละเอียดกลุ่มย่อย 40) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านคลองนิน 41) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านสังกาอู้ 42) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 บ้านคลองโตบ 43) นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาใหญ่ 44) ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาใหญ่ 45) สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาใหญ่ 46) นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองยาง 47) ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองยาง 48) สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองยาง 1.2 ผู้อยู่อาศัยบริเวณพื้นที่ ผู้อยู่อาศัยบริเวณพื้นที่โครงการ อาจได้รับ ประชาชนตำบลเกาะลันตาน้อย โครงการระยะ 500 ผลประโยชน์หรือได้รับผลกระทบจากการ 1) เมตร พัฒนาโครงการ 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 กรมทางหลวงชนบท 8-11 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มย่อย รายละเอียดกลุ่มย่อย 31) 32) 33) ประชาชนตำบลเกาะลันตาใหญ่ 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19) 20) 21) 22) 23) 24) 25) 26) 27) 28) 29) 30) 31) 32) 33) 34) 35) กรมทางหลวงชนบท 8-12 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มย่อย รายละเอียดกลุ่มย่อย ประชาชนตำบลศาลาด่าน 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19) 20) 21) 22) 23) 24) ประชาชนตำบลเกาะกลาง 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) กรมทางหลวงชนบท 8-13 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มย่อย รายละเอียดกลุ่มย่อย 16) 17) 18) 19) 20) 21) 1.3 พื้นที่อ่อนไหวด้าน ผู้มีความรู้ในพื้นที่ ซึ่งเป็นที่ยอมรับในการ สถาบันการศึกษา สิ่งแวดล้อม นำเสนอความคิดเห็น เนื่องจากได้รับการ 1) ยอมรับว่ามีความเป็นกลาง และดำเนินการ 2) โดยไม่มีส่วนได้-ส่วนเสียกับโครงการ 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) ศาสนสถาน 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19) 20) กรมทางหลวงชนบท 8-14 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มย่อย รายละเอียดกลุ่มย่อย 21) 22) 23) 24) 25) สถานพยาบาล 1) 2) 3) 4) 5) 1.4 ประชาชนผู้ได้รับ เป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง อันเนื่อง 1) ผลกระทบจากการ จากการพัฒนาโครงการ ต้องสูญเสียที่ดิน โยกย้ายเวนคืน และสิ่งปลูกสร้างไปอย่างถาวร 1.5 ผู้ประกอบธุรกิจบริเวณ 1) เป็นผู้ประกอบธุรกิจบริเวณโครงการ อาจ โครงการ/สถาน 2) ได้รับผลประโยชน์หรือได้รับผลกระทบจาก ประกอบการ การพัฒนาโครงการ 3) 4) 5) 6) 2. หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2.1 หน่วยงานเจ้าของ หน่วยงานที่ศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม 1) ผู้แทนกรมทางหลวงชนบท โครงการ และหน่วยงานที่ศึกษาด้านสุขภาพ 2) ผู้อำนวยการสำนักงานทางหลวงชนบทที่ 14 3) ผู้อำนวยการแขวงทางหลวงชนบท จังหวัดกระบี่ 2.2 บริษัทที่ปรึกษา หน่วยงานที่รายงานข้อเท็จจริงในรายงาน 1) (ผู้จัดการโครงการ/ ตามหลักวิชาการ ผู้ชำนาญการสิ่งแวดล้อม) 2) (วิศวกรงานทาง) 3) (วิศวกรงานทาง) 4) ผชช.ด้านประชาสัมพัน์ และการมีส่วนร่วม) 5) (นักวิชาการสิ่งแวดล้อม) 6) นักวิชาการสิ่งแวดล้อม) 3. หน่วยงานที่ทำหน้าที่ หน่วยงานราชการส่วนกลาง 1) สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ พิจารณารายงานการ และสิ่งแวดล้อม (สผ.) วิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม กรมทางหลวงชนบท 8-15 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มย่อย รายละเอียดกลุ่มย่อย 4. หน่วยงานราชการในระดับต่างๆ และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง 4.1 หน่วยงานราชการ หน่วยงานราชการส่วนกลาง/ 1) ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ ระดับจังหวัด ส่วนภูมิภาค/ท้องถิ่น 2) ปลัดจังหวัดกระบี่ 3) สส. พรรคภูมิใจไทย จังหวัดกระบี่ 4) สส. พรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดกระบี่ 5) หัวหน้าสำนักงานจังหวัดกระบี่ 6) ท้องถิ่นจังหวัดกระบี่ 7) พาณิชย์จังหวัดกระบี่ 8) หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดกระบี่ 9) ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 15 (ภูเก็ต, พังงา, กระบี่, ตรัง, สตูล) 10) ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ 11) สาธารณสุขจังหวัดกระบี่ 12) เกษตรจังหวัดกระบี่ 13) เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดกระบี่ 14) โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ 15) พัฒนาการจังหวัดกระบี่ 16) ประชาสัมพันธ์จังหวัดกระบี่ 17) ขนส่งจังหวัดกระบี่ 18) พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกระบี่ 19) ปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่ 20) เกษตรและสหกรณ์จังหวัดกระบี่ 21) ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดกระบี่ 22) ผู้อำนวยการโครงการชลประทานกระบี่ 23) ผู้อำนวยการสำนักงานทางหลวงที่ 17 24) ผู้อำนวยการแขวงการทางกระบี่ 25) ผู้อำนวยการสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาค สาขากระบี่ 26) ผู้อำนวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานกระบี่ 27) นายกองค์การบริการส่วนจังหวัดกระบี่ 28) ธนารักษ์พื้นที่กระบี่ 29) หัวหน้าสถานีอุตุนิยมวิทยากระบี่ (กลุ่มงานเกาะลันตา) 30) ผู้อำนวยการหน่วยงานอนุรักษ์ทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่งจังหวัดกระบี่ 31) ผูอ้ ำนวยการสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 12 สาขากระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-16 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มย่อย รายละเอียดกลุ่มย่อย 32) หัวหน้าโครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าทุ่งทะเล อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 33) หัวหน้าอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา 34) หัวหน้าสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 29 (เกาะลันตา) 35) หัวหน้าหน่วยงานป้องกันรักษาป่าที่ กบ.9 (เกาะกลาง) 36) ผู้อำนวยการแขวงทางหลวงกระบี่ 37) หัวหน้าศูนย์ศึกษาการพัฒนาและอนุรักษ์พันธุ์ปู ป่าทุ่งทะเล อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 38) สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ เขตอำเภอลันตา 4.2 หน่วยงานระดับ ตัวแทนของหน่วยงานจากอำเภอทำหน้าที่ 1) นายอำเภอเกาะลันตา อำเภอ ดูแลรับผิดชอบในพื้นที่ ซึ่งจะมีบทบาท 2) ปลัดอาวุโส อำเภอเกาะลันตา สำคัญในการถ่ายทอดหรือแนะนำแนว 3) ท้องถิ่นอำเภอเกาะลันตา ทางการพัฒนาต่อหน่วยงานต้นสังกัด 4) พัฒนาการอำเภอเกาะลันตา เนื่องจากทราบปัญหาในพื้นที่และยังเป็น 5) สำนักงานที่ดินอำเภอเกาะลันตา สื่อกลางระหว่างภาครัฐและประชาชน 6) หัวหน้าสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเกาะลันตา 7) ผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรเกาะลันตา 4.3 องค์กรปกครอง หน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลประชาชนและ 1) นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง ส่วนท้องถิ่น/ผู้นำ ได้รับการยอมรับจากชุมชนในพื้นที่ 2) ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง ชุมชน รวมทั้งเป็นช่องทางสำคัญที่ทำให้เข้าถึง 3) สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง ประชาชนได้ง่ายขึ้น 4) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านร่าปู 5) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านร่าหมาด 6) กำนันตำบลเกาะกลาง (หมู่ที่ 3) บ้านปากคลอง 7) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านคลองย่าหนัด 8) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านลิกี 9) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านนาทุ่งกลาง 10) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านอ่าวทองหลาง 11) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน 12) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 9 บ้านท่าคลอง 13) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 10 บ้านขุนสมุทร 14) นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย 15) ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย 16) สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย 17) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านหลังสอด 18) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านคลองหมาก 19) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านนาทุ่ง 20) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านโละใหญ่ 21) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านคลองโตนด 22) กำนันตำบลเกาะลันตาน้อย (หมู่ที่ 6) บ้านทอนลิบง กรมทางหลวงชนบท 8-17 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มย่อย รายละเอียดกลุ่มย่อย 23) นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาใหญ่ 24) ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาใหญ่ 25) สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาใหญ่ 26) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านหัวแหลม 27) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านศรีราชา 28) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านเจ๊ะหลี 29) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านเกาะปอ 30) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านคลองหิน 31) กำนันตำบลเกาะลันตาใหญ่ (หมู่ที่ 6) บ้านคลองนิน 32) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านสังกาอู้ 33) กำนันตำบลเกาะลันตาใหญ่ (หมู่ที่ 6) บ้านคลองนิน 34) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านสังกาอู้ 35) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 บ้านคลองโตบ 36) นายกเทศมนตรีตำบลเกาะลันตาใหญ่ 37) นายกเทศมนตรีตำบลศาลาด่าน 38) กำนันตำบลศาลาด่าน (หมู่ที่ 1) บ้านศาลาด่าน 39) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านพระแอะ 40) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านทุ่งยุง (โล๊ะบาหรา) 41) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านทุ่งหยีเพ็ง 42) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านโล๊ะดุหยง 4.4 หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ตัวแทนภาครัฐวิสาหกิจ ที่อาจมีก ิจ กรรม 1) ผูจ้ ัดการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อำเภอเกาะลันตา ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เพื่อให้รับทราบ 2) ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม แนวทางการพัฒนาโครงการ รวมทั้งแสดง 3) ผู้จัดการศูนย์บริการลูกค้า TOT สาขากระบี่ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้อง 4) หัวหน้าไปรษณีย์เกาะลันตา กับการศึกษาของโครงการ พร้อมทั้งเป็น หน่ วยงานทางด้ านสาธารณ ู ปโภค - สาธารณูปการในการให้บริการแก่ประชาชน ในพื้นที่ 5. องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ สถาบันการศึกษาภายในท้องถิ่นและในระดับอุดมศึกษา และนักวิชาการอิสระ 5.1 องค์กรเอกชนด้าน องค์ ก รเอกชนด้ า นสิ ่ ง แวดล้ อ ม องค์ ก ร องค์กรพัฒนาเอกชน สิ่งแวดล้อม/ พัฒนาเอกชน องค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อม 1) สมาคมคนรักเลกระบี่ องค์กรพัฒนาเอกชน และสุขภาพ สถาบันการศึกษาภายในท้องถิ่น องค์กรเอกชน สถาบันการศึกษา และในระดับอุดมศึก ษา และนัก วิชาการ 1) ประธานหอการค้าจังหวัดกระบี่ นักวิชาการอิสระ อิสระที่อยู่ในเขตพื้นที่ศึกษา ซึ่งจัดตั้งขึ้น 2) นายกสมาคมธุรกิจท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่ เพื่อให้ความเห็นกับรายงานการวิเคราะห์ 3) ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) นายกสมาคมโรงแรมจังหวัดกระบี่ 5) นายกสมาคมมัคคุเทศก์อาชีพจังหวัดกระบี่ 6) นายกสมาคมท่องเที่ยวเกาะลันตา 7) บริษัท ส่งเสริมทรานเซอร์วิส จำกัด กรมทางหลวงชนบท 8-18 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.4-3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มย่อย รายละเอียดกลุ่มย่อย สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา 1) ผู้อำนวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกระบี่ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ 2) รองอธิการบดีสถาบันพละศึกษา ประจำวิทยาเขต กระบี่ 3) ผู้อำนวยการศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จังหวัดกระบี่ 6. สื่อมวลชน สื่อมวลชนในแขนงต่างๆ ทั้งระดับท้องถิ่น 1) ผู้สื่อข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 จังหวัดกระบี่ และส่วนกลาง ที่มีบทบาทในการนำเสนอ 2) ผู้สื่อข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 จังหวัดกระบี่ ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับโครงการ 3) ผู้สื่อข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 7 จังหวัดกระบี่ 4) ผู้สื่อข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 จังหวัดกระบี่ 5) หัวหน้าสถานีวิทยุ อ.ส.ม.ท. จังหวัดกระบี่ 6) ผู้อำนวยการสถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อ การศึกษา จังหวัดกระบี่ 7) ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 8) ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ 9) ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์กระบี่นิวส์ 10) ประธานชมรมสื่อมวลชนจังหวัดกระบี่ 7. ประชาชนทั่วไป ประชาชนที่สนใจโครงการ กรมทางหลวงชนบท 8-19 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.5 แนวทางการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน กิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน ดำเนินการให้มีความสอดคล้องกับแนวทางการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในขบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และให้เป็นไปตามแนวทางการจัดทำแผนงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ของสำนักงาน สิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมทางหลวงชนบท โดยมีกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน จำนวน 8 กิจกรรม รายละเอียดดังตารางที่ 8.5-1 ตารางที่ 8.5-1 แนวทางการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน กิจกรรม เทคนิค สื่อ การประเมินผลสำเร็จ 1) การประชาสัมพันธ์ - Web site ของโครงการ - จากการตอบแบบสอบถาม โครงการ - ป้ายประชาสัมพันธ์ ของการประชุมแต่ละครั้งว่า - เสียงตามสายในท้องถิ่น รับทราบข่าวสารโครงการ - เอกสารประกอบการประชุม จากแหล่งใด - แผ่นพับประชาสัมพันธ์ - บอร์ดนิทรรศการ 2) การเตรียมความพร้อม ใช้เทคนิค Focus Group และ - เอกสารประกอบการประชุม - ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบ ชุมชน วิธีการ Nice Welcome - สื่อนำเสนอ Power Point รายละเอียดเบื้องต้นของโครงการ Characteristics Smiling Face Presentation และมีการให้ขอ ้ เสนอข้อคิดเห็น ที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการ 3) การประชุมปฐมนิเทศ ใช้เทคนิคการประชุมสัมมนา - เอกสารประกอบการประชุม - ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่ม- โครงการ (การประชุม ี าร Nice Welcome และวิธก ชุดที่ 1 เป้าหมายเข้าร่วมการประชุม ใหญ่ ครั้งที่ 1) Characteristics Smiling Face - บอร์ดนิทรรศการ ชุดที่ 1 - ความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่ - แผ่นพับประชาสัมพันธ์โครงการ นำเสนอ ชุดที่ 1 - ความเหมาะสมของเอกสาร - วีดีทัศน์ ชุดที่ 1 ประกอบการประชุม - สื่อนำเสนอ Power Point Presentation 4) การประชุมกลุ่มย่อย ใช้เทคนิค Focus Group และ - เอกสารประกอบการประชุม - ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่ม ครั้งที่ 1 วิธีการ Nice Welcome ชุดที่ 2 เป้าหมายเข้าร่วมการประชุม Characteristics Smiling Face - บอร์ดนิทรรศการ ชุดที่ 2 - ความเข้าใจข้อมูลข่าวสาร - แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ที่นำเสนอ โครงการ ชุดที่ 2 - ความเหมาะสมของเอกสาร - วีดีทัศน์ ชุดที่ 1 ประกอบการประชุม - สื่อนำเสนอ Power Point Presentation 5) การหารือกับหน่วยงาน ใช้เทคนิค Focus Group และ - เอกสารประกอบการประชุม - ความเข้าใจข้อมูลข่าวสาร สาธารณูปโภคและ วิธีการ Nice Welcome ชุดที่ 2 ที่นำเสนอ ระบบพลังงาน Characteristics Smiling Face - แผ่นพับประชาสัมพันธ์ - ให้ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น โครงการ ชุดที่ 2 ที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการ - สื่อนำเสนอ Power Point Presentation กรมทางหลวงชนบท 8-20 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.5-1 แนวทางการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม เทคนิค สื่อ การประเมินผลสำเร็จ 6) การประชุมสรุปแนว ใช้เทคนิคการประชุมสัมมนา - เอกสารประกอบการประชุม - ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่ม ทางเลือกที่เหมาะสม และวิธีการ Nice Welcome ชุดที่ 3 เป้าหมายเข้าร่วมการประชุม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) Characteristics Smiling Face - บอร์ดนิทรรศการ ชุดที่ 3 - ความเข้าใจข้อมูลข่าวสาร - แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ที่นำเสนอ โครงการ ชุดที่ 3 - ความเหมาะสมของเอกสาร - วีดีทัศน์ ชุดที่ 2 ประกอบการประชุม - สื่อนำเสนอ Power Point Presentation 7) การประชุมกลุ่มย่อย ใช้เทคนิค Focus Group และ - เอกสารประกอบการประชุม - ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่ม ครั้งที่ 2 วิธีการ Nice Welcome ชุดที่ 4 เป้าหมายเข้าร่วมการประชุม Characteristics Smiling Face - บอร์ดนิทรรศการ ชุดที่ 4 - ความเข้าใจข้อมูลข่าวสาร - แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ที่นำเสนอ โครงการ ชุดที่ 4 - ความเหมาะสมของเอกสาร - วีดีทัศน์ ชุดที่ 2 ประกอบการประชุม - สื่อนำเสนอ Power Point Presentation 8) การประชุมปัจฉิมนิเทศ ใช้เทคนิคการประชุมสัมมนา - เอกสารประกอบการประชุม - ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่ม โครงการ (ประชุมใหญ่ และวิธีการ Nice Welcome ชุดที่ 5 เป้าหมายเข้าร่วมการประชุม ครั้งที่ 3) Characteristics Smiling Face - บอร์ดนิทรรศการ ชุดที่ 5 - ความเข้าใจข้อมูลข่าวสาร - แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ที่นำเสนอ โครงการ ชุดที่ 5 - ความเหมาะสมของเอกสาร - วีดีทัศน์ ชุดที่ 3 ประกอบการประชุม - สื่อนำเสนอ Power Point Presentation 9) การประชุมเพิ่มเติม ใช้เทคนิคการประชุมสัมมนา - เอกสารประกอบการประชุม - ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่ม เกี่ยวกับรายละเอียด และวิธีการ Nice Welcome ชุดที่ 5 เป้าหมายเข้าร่วมการประชุม โครงการและมาตรการ Characteristics Smiling Face - บอร์ดนิทรรศการ ชุดที่ 5 - ความเข้าใจข้อมูลข่าวสาร ด้านสิ่งแวดล้อม - แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ที่นำเสนอ โครงการ ชุดที่ 5 - ความเหมาะสมของเอกสาร - วีดีทัศน์ ชุดที่ 3 ประกอบการประชุม - สื่อนำเสนอ Power Point Presentation กรมทางหลวงชนบท 8-21 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.6 แผนการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์โครงการ การดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ของโครงการให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบข้อมูลอย่างถูกต้องเกี่ยวกับการดำเนินงานของโครงการ ตลอดระยะเวลา การศึกษา และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน องค์กรท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ร่วมแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะตลอดจนความต้องการของประชาชนผ่านช่องทางต่างๆ โดยกลุ่มเป้าหมายได้กำหนดให้ครอบคลุมถึง ผู้มีส่วนได้-ส่วนเสีย (Stakeholders) ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน โดยมีกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน จำนวน 9 กิจกรรม ได้แก่ 1) การประชาสัมพันธ์โครงการ 2) การเตรียมความพร้อมชุมชน 3) การประชุมปฐมนิเทศโครงการ (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 1) 4) การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 5) การหารือกับหน่วยงานสาธารณูปโภคและระบบ พลังงาน 6) การประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) 7) การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 8) การประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3) และ 9) การประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียด โครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีแผนการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์ แสดงดังตารางที่ 8.6-1 และรูปที่ 8.6-1 การประชุมแต่ละครั้ง ได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์และทำสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ได้แก่ เอกสารประกอบ การประชุม บอร์ด แผ่นพับ วีดีทัศน์ สื่อนำเสนอ Power Point Presentation และแบบสอบถามความคิดเห็น นำเสนอ และซักซ้อมการนำเสนอต่อกรมทางหลวง เพื่อให้ความเห็นชอบก่อนที่จะนำไปเสนอจริงต่อประชาชน อย่างน้อย 1 สัปดาห์ ก่อนวันประชุม และในกรณีที่จะต้องมีการเชิญประชาชนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมาหารือหรือ ร่วมประชุม เพื่อชี้แจงหรือรับฟังข้อคิดเห็น พร้อมส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องให้แก่กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวทราบล่วงหน้า ก่อนวันนัดไม่น้อยกว่า 15 วัน ตารางที่ 8.6-1 แผนการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์โครงการ พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 ลำดับ กิจกรรม ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. 1 การประชาสัมพันธ์โครงการ 2 การเตรียมความพร้อมชุมชน 3 การประชุมปฐมนิเทศโครงการ (การประชุมใหญ่ ครัง ้ ที่ 1) 4 การประชุมกลุม่ ย่อย ครัง้ ที่ 1 5 การหารือกับหน่วยงานสาธารณูปโภคและระบบพลังงาน 5.1 การประชุมหารือการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม 5.2 การประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดกระบี่ 5.3 การประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สานักงานใหญ่ 6 การประชุมสรุปแนวทางเลือกทีเ่ หมาะสม (ประชุมใหญ่ ครัง ้ ที่ 2) 7 การประชุมกลุม ่ ย่อย ครัง้ ที่ 2 8 การประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการ (ประชุมใหญ่ ครัง ้ ที่ 3) 9 ่ เติมเกีย การประชุมเพิม ่ วกับรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิง ่ แวดล้อม หมายเหตุ : การดำเนินงาน กรมทางหลวงชนบท 8-22 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน แผนการมีส่วนร่วมของประชาชน แผนการประชาสัมพันธ์โครงการ การออกอากาศวิทยุชุมชนในท้องถิ่น ชุดที่ 1 ่ วกับ รายละเอียดในด้านต่างๆ ของโครงการ เช่น การนำเสนอข้อมูลผ่าน Web site ของโครงการ การเสนอข้อมูลผ่าน Web site ของสำนักนายกรัฐมนตรี และการจัดทำบทความเผยแพร่ผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ในระดับพื้นที่ - เอกสารประกอบการ การประชุมปฐมนิเทศโครงการ (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 1) ประชุม ชุดที่ 1 เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโครงการ - Presentation และขอบเขตการศึกษา ให้กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องได้มีโอกาส - ป้ายประชาสัมพันธ์ ชุดที่ 1 รับทราบข้อมูลของโครงการ เพื่อนำมาใช้พิจารณาประกอบ - บอร์ด ชุดที่ 1 - แผ่นพับ ชุดที่ 1 การศึกษาโครงการ - แบบสอบถาม การจัดทำบทความเผยแพร่ทางหนังสือพิมพ์ ชุดที่ 1 การออกอากาศวิทยุชุมชนในท้องถิ่น ชุดที่ 2 - เอกสารประกอบการ ประชุม ชุดที่ 2 การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 - Presentation เพื่อนำเสนอหลักเกณฑ์และรูปแบบทางเลือกให้กลุ่มเป้าหมาย - ป้ายประชาสัมพันธ์ ชุดที่ 2 - บอร์ด ชุดที่ 2 การประชาสัมพันธ์โครงการ ได้รับทราบ ตลอดจนรับฟังข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ - แผ่นพับ ชุดที่ 2 เพื่อนำมาใช้ประกอบการศึกษาโครงการ - แบบสอบถาม การออกอากาศวิทยุชุมชนในท้องถิ่น ชุดที่ 3 จัดกิจกรรมการประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลเกีย - เอกสารประกอบการ การประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) ประชุม ชุดที่ 3 นำเสนอสรุปผลการคัดเลือกแนวและรูปแบบโครงการ - Presentation - ป้ายประชาสัมพันธ์ ชุดที่ 3 ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ ตลอดจนรับฟังข้อคิดเห็น และ - บอร์ด ชุดที่ 3 ข้อเสนอแนะ เพื่อนำมาใช้พิจารณาประกอบการศึกษาของโครงการ - แผ่นพับ ชุดที่ 3 - แบบสอบถาม การจัดทำบทความเผยแพร่ทางหนังสือพิมพ์ ชุดที่ 2 การออกอากาศวิทยุชุมชนในท้องถิ่น ชุดที่ 4 - เอกสารประกอบการ การประชุมหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศโครงการ ประชุม ชุดที่ 4 เพื่อนำเสนอมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม - Presentation - ป้ายประชาสัมพันธ์ ชุดที่ 4 เสนอมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม - บอร์ด ชุดที่ 4 และนำเสนอผลการศึกษาของโครงการทุกด้าน - แผ่นพับ ชุดที่ 4 เพื่อนำมาใช้พิจารณาประกอบการศึกษาของโครงการ - แบบสอบถาม รูปที่ 8.6-1 แผนการดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมทางหลวงชนบท 8-23 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.7 การดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์ 8.7.1 การประชาสัมพันธ์โครงการ ดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการตลอดระยะเวลาการศึกษาโครงการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารของโครงการให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ รวมทั้งสร้างความเข้าใจที่ดีและถูกต้องชัดเจนเกี่ยวกับ ข้อมูลโครงการให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ นอกจากนี้ยังเป็นช่องทางสื่อสาร และเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมาย ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอแนะข้อคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ต่อโครงการ มีรายละเอียดการดำเนินงานการ ประชาสัมพันธ์โครงการ แสดงดังตารางที่ 8.7.1-1 8.7.2 การมีส่วนร่วมของประชาชนของโครงการ การดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ผ่านมา ได้จัดให้มีการประชุมการหารือในระดับต่างๆ ของโครงการ จำนวน 9 ครั้ง ได้แก่ 1) การประชาสัมพันธ์โครงการ 2) การเตรียมความพร้อมชุมชน 3) การประชุมปฐมนิเทศโครงการ (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 1) 4) การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 5) การหารือกับหน่วยงานสาธารณูปโภคและระบบพลังงาน 6) การประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) 7) การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 8) การประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3) 9) การประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งผลการดำเนินงานการประชุมการมีส่วนร่วมของประชาชน (ตารางที่ 8.7.2-1) มีรายละเอียดดังนี้ กรมทางหลวงชนบท 8-24 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.1-1 สรุปผลการดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์โครงการ สื่อประชาสัมพันธ์โครงการ ภาพประกอบ 1. Website และ Facebook โครงการ ทำการ Upload ข้ อ มู ล เข้ า Website ของ โครงการ ก่อ นการประชุมประมาณ 10 วัน และหลังการจัดประชุมของโครงการในแต่ละ ครั้งประมาณ 15 วัน หรือเมื่อมีความก้าวหน้า ในการพัฒนาโครงการ Website โครงการ www.เส้นทางเชื่อมเกาะลันตา.com 2. การติดประกาศเชิญเข้าร่วมการประชุม ดำเนินการประชาสัมพันธ์เรีย นเชิญ เข้า ร่ว ม ➢ ประชุมผ่า นทางสถานที่ราชการและองค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น ที ่ อ ยู ่ ใ นพื ้ น ที ่ ศ ึ ก ษา โครงการต่างๆ ก่อนการจัดประชุมอย่างน้อย 15 วัน ประกาศ ชุดที่ 1 ประกาศ ชุดที่ 2 ประกาศ ชุดที่ 3 ประกาศ ชุดที่ 4 3. ป้ า ยประชาสั ม พั น ธ์ โ ครงการ ดำเนินการ ติดประกาศประชาสัมพันธ์ในพื้นที่โครงการ ก่อนการจัดประชุมแต่ละครั้งประมาณ 15 วัน กรมทางหลวงชนบท 8-25 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.1-1 สรุปผลการดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์โครงการ (ต่อ) สื่อประชาสัมพันธ์โครงการ ภาพประกอบ 4. เอกสารประชาสัมพันธ์ (แผ่นพับ) แผ่นพับที่แจกให้กับผู้ที่เข้าร่วมการประชุม ของโครงการแต่ละครั้ง แผ่นพับ ชุดที่ 1 แผ่นพับ ชุดที่ 2 แผ่นพับ ชุดที่ 3 แผ่นพับ ชุดที่ 4 5. เอกสารประกอบการประชุม เอกสารประกอบการประชุมที่แจกให้กบ ั ผู้ที่ เข้าร่วมการประชุมของโครงการในแต่ละครั้ง เอกสารประกอบ เอกสารประกอบ เอกสารประกอบ เอกสารประกอบ การประชุม ชุดที่ 1 การประชุม ชุดที่ 2 การประชุม ชุดที่ 3 การประชุม ชุดที่ 4 กรมทางหลวงชนบท 8-26 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.1-1 สรุปผลการดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์โครงการ (ต่อ) สื่อประชาสัมพันธ์โครงการ ภาพประกอบ 6. บอร์ดนิทรรศการ ดำเนินการจัดแสดงบอร์ดนิทรรศการ ในวัน และสถานที่ที่มีการจัดประชุมแต่ละครั้งของ โครงการ บอร์ดนิทรรศการ บอร์ดนิทรรศการ บอร์ดนิทรรศการ บอร์ดนิทรรศการ ชุดที่ 4 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 1 7. วีดีทัศน์ นำเสนอข้อมูลผลการศึกษาในขั้นตอนต่างๆ ของโครงการ ประกอบการประชุม 8. โปสเตอร์สรุปผลการประชุม สรุปผลการประชุมในแต่ละครั้ง ผ่านทาง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานที่ ราชการต่างๆ ภายหลังจากการจัดประชุม แต่ละครั้ง ประมาณ 15 วัน กรมทางหลวงชนบท 8-27 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ การเตรียมความพร้อมของชุมชน เพื่อเผยแพร่ และ วันที่ 13 – 15 จำนวน 11 กลุ่มเป้าหมาย ใช้เทคนิค Focus Group ประชาสัมพันธ์ กรกฎาคม 2563 - องค์การบริหารส่วนตำบล ี าร Nice และวิธก โครงการผู้นำ เกาะกลาง Welcome ชุมชนได้รับทราบ - ทีมงานกำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน Characteristics Smiling รายละเอียด - ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา Face เบื้องต้นของ - องค์การบริหารส่วนตำบล โครงการ เกาะลันตาน้อย - รร.บ้านทุ่งวิทยาพัฒน์ - เทศบาลตำบลศาลาด่าน - รร.ชุมชนบ้านศาลาด่าน - รร.บ้านพระแอะ - องค์การบริหารส่วนตำบล เกาะลันตาใหญ่ - อบต.เกาะลันตาใหญ่ - โรงพยาบาลเกาะลันตา กรมทางหลวงชนบท 8-28 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 1. การประชุมปฐมนิเทศโครงการ (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 1) 1.1 การติด จัดส่งหนังสือขอติด 1. หน่วยงานราชการ ติดประกาศก่อนการ ประกาศเชิญ ประกาศเมื่อวันที่ 5 2. หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ประชุม 15 วันเป็น เข้าร่วมการ สิงหาคม 2563 3. เจ้าของโครงการ อย่างน้อย จำนวน ประชุม 1. แขวงทางหลวงชนบท 4. กลุ่มผู้นำชุมชน 8 แห่ง ได้แก่ กระบี่ 5. องค์กรพัฒนาภาคเอกชน 1. แขวงทางหลวง 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด 6. สื่อมวลชน ชนบทกระบี่ กระบี่ 7. ประชาชนในพื้นที่โครงการ 2. ประชาสัมพันธ์ 3. ที่ว่าการอำเภอ จังหวัดกระบี่ เกาะลันตา 3. ที่ว่าการอำเภอ 4. องค์การบริหารส่วน เกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง 4. องค์การบริหาร 5. องค์การบริหารส่วน ส่วนตำบลเกาะกลาง ตำบลเกาะลันตาน้อย 5. องค์การบริหาร 6. เทศบาลตำบลศาลา ส่วนตำบลเกาะ ด่าน ลันตาน้อย 7. เทศบาลเกาะลันตา 6. เทศบาลตำบล ใหญ่ ศาลาด่าน 8. องค์การบริหารส่วน 7. เทศบาลเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ใหญ่ 8. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 8-29 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 1.2 การประชุม โดยดำเนินการจัด 1. หน่วยงานที่รับผิดชอบ จัดประชุมการมีส่วน ปฐมนิเทศ ประชุม จำนวน 2 กลุ่ม จัดทำรายงานการ ร่วมของประชาชน โครงการ เวลา 09.00 – 12.30 ประเมินผลกระทบ - เอกสารประกอบ (การสัมมนา และเวลา 13.30 – สิ่งแวดล้อม การประชุม ชุดที่ 1 ครั้งที่ 1) 16.30 ในช่วงระหว่าง 2. หน่วยงานที่ทำหน้าที่ - Presentation เพื่อเผยแพร่ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. พิจารณารายงานการ - ป้ายประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุม ประเมินผลกระทบ ชุดที่ 1 ข้อมูลข่าวสารของ เซาท์เทิร์น โรงแรมเซาท์ สิ่งแวดล้อม - บอร์ด ชุดที่ 1 โครงการ และ เทิร์น ลันตา รีสอร์ท 3. หน่วยงานราชการระดับ - แผ่นพับ ชุดที่ 1 ขอบเขตการศึกษา แอนด์ สปา ตำบลศาลา ต่างๆ - วีดีทัศน์ ชุดที่ 1 กลุ่มที่ 1 เวลา 09.00 – 12.30 น. ให้กลุ่มเป้าหมายที่ ด่าน อำเภอเกาะลันตา 4. องค์กรเอกชน/องค์กร - แบบสอบถาม เกี่ยวข้องได้มี จังหวัดกระบี่ พัฒนาเอกชน โอกาสรับทราบ สถาบันการศึกษา ข้อมูลของโครงการ นักวิชาการอิสระ เพื่อนำมาใช้ 5. ผู้ได้รับผลกระทบ พิจารณาประกอบ 6. สือ่ มวลชน การศึกษาโครงการ 7. ประชาชนในพื้นที่โครงการ รายชื่อเชิญประชุม 257 คน มาเข้าร่วมประชุม 244 คน กลุ่มที่ 2 เวลา 13.30 – 16.30 น. กรมทางหลวงชนบท 8-30 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 1.3 การติด จัดส่งหนังสือขอติด 1. หน่วยงานราชการ ติดประกาศ ภายหลัง ประกาศ ประกาศสรุปผลการ 2. หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ จากการประชุมภายใน สรุปผลการ ประชุมจำนวน 8 แห่ง 3. เจ้าของโครงการ 15 วัน จำนวน 8 แห่ง ประชุม ได้แก่ 4. กลุ่มผู้นำชุมชน ได้แก่ 1. แขวงทางหลวงชนบท 5. องค์กรพัฒนาภาคเอกชน 1. แขวงทางหลวง กระบี่ 6. สื่อมวลชน ชนบทกระบี่ 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด 7. ประชาชนในพื้นที่โครงการ 2. ประชาสัมพันธ์ กระบี่ จังหวัดกระบี่ 3. ที่ว่าการอำเภอเกาะ 3. ที่ว่าการอำเภอเกาะ ลันตา ลันตา 4. องค์การบริหารส่วน 4. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะกลาง ตำบลเกาะกลาง 5. องค์การบริหารส่วน 5. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาน้อย 6. เทศบาลตำบลศาลา 6. เทศบาลตำบลศาลา ด่าน ด่าน 7. เทศบาลเกาะลันตา 7. เทศบาลเกาะลันตา ใหญ่ ใหญ่ 8. องค์การบริหารส่วน 8. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 8-31 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 2. การประชุมการรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชน (การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) จัดส่งหนังสือขอติด 1. หน่วยงานเจ้าของโครงการ ติดประกาศก่อนการ ประกาศ เมื่อวันที่ 27 2. หน่วยงานราชการระดับ ประชุม 15 วัน เป็น สิงหาคม 2563 อำเภอ อย่างน้อย จำนวน 1. แขวงทางหลวงชนบท 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8 แห่ง ได้แก่ กระบี่ 4. กลุ่มผู้นำชุมชน 1. แขวงทางหลวง 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด 5. พื้นที่อ่อนไหว ชนบทกระบี่ กระบี่ 6. สื่อมวลชน 2. ประชาสัมพันธ์ 3. ที่ว่าการอำเภอเกาะ 7. ประชาชนทั่วไปที่สนใจ จังหวัดกระบี่ ลันตา โครงการ 3. ที่ว่าการอำเภอเกาะ 4. องค์การบริหารส่วน ลันตา ตำบลเกาะกลาง 4. องค์การบริหารส่วน 5. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะกลาง ตำบลเกาะลันตาน้อย 5. องค์การบริหารส่วน 6. เทศบาลตำบลศาลา ตำบลเกาะลันตาน้อย ด่าน 6. เทศบาลตำบลศาลา 7. เทศบาลเกาะลันตา ด่าน ใหญ่ 7. เทศบาลเกาะลันตา 8. องค์การบริหารส่วน ใหญ่ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 8. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 8-32 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 2.2 การประชุม ดำเนินการจัดประชุม 1. หน่วยงานระดับอำเภอ จัดประชุมการมีส่วนร่วม กลุ่มย่อย ระหว่างวันที่ 19-20 2. องค์กรปกครองส่วน ของประชาชน ครั้งที่ 1 กันยายน 2563 ท้องถิ่น - เอกสารประกอบการ เพื่อนำเสนอ ณ อาคารกลุ่มสตรี 3. หน่วยงานภาคเอกชน/ ประชุม ชุดที่ 2 หลักเกณฑ์และ โรงเรียนบ้านทุ่งวิทยพัฒน์ องค์กรพัฒนาเอกชน - ป้ายประชาสัมพันธ์ รูปแบบทางเลือก ตำบลเกาะลันตาน้อย 4. กลุ่มผู้นำชุมชน ชุดที่ 2 ให้กลุ่มเป้าหมาย อำเภอเกาะลันตา จังหวัด 5. สถานการศึกษา - บอร์ด ชุดที่ 2 ได้รับทราบ กระบี่ 6. ศาสนสถาน - แผ่นพับ ชุดที่ 2 ตลอดจนรับฟัง 7. สถานพยาบาล - แบบสอบถาม (วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2563 เวลา 08.30 – 12.00 น.) ข้อคิดเห็นและ 8. ประชาชนในพื้นที่ ข้อเสนอแนะ โครงการ เพื่อนำมาใช้ รายชื่อเชิญประชุม 207 คน ประกอบการศึกษา มาเข้าร่วมประชุม 259 คน โครงการ (วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน 2563 เวลา 08.30 – 12.00 น.) กรมทางหลวงชนบท 8-33 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 2.3 การติดประกาศ จัดส่งหนังสือขอติด 1. หน่วยงานเจ้าของ ติดประกาศ ภายหลังจาก สรุปผลการ ประกาศสรุปผลการ โครงการ การประชุมภายใน 15 วัน ประชุม ประชุมจำนวน 8 แห่ง 2. หน่วยงานราชการ จำนวน แห่ง 8 ได้แก่ ได้แก่ ระดับอำเภอ 1. แขวงทางหลวงชนบท 1. แขวงทางหลวงชนบท 3. องค์กรปกครอง กระบี่ กระบี่ ส่วนท้องถิ่น 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด 4. กลุ่มผู้นำชุมชน กระบี่ กระบี่ 5. พื้นที่อ่อนไหว 3. ที่ว่าการอำเภอ 3. ที่ว่าการอำเภอ 6. สื่อมวลชน เกาะลันตา เกาะลันตา 7. ประชาชนทั่วไปที่ 4. องค์การบริหารส่วน 4. องค์การบริหารส่วน สนใจโครงการ ตำบลเกาะกลาง ตำบลเกาะกลาง 5. องค์การบริหารส่วน 5. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาน้อย 6. เทศบาลตำบลศาลาด่าน 6. เทศบาลตำบลศาลาด่าน 7. เทศบาลเกาะลันตาใหญ่ 7. เทศบาลเกาะลันตาใหญ่ 8. องค์การบริหารส่วน 8. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ กรมทางหลวงชนบท 8-34 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 3. การประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2 ) 3.1 การติดประกาศ จัดส่งหนังสือขอติด 1. หน่วยงานราชการ ติดประกาศก่อนการประชุม เชิญเข้าร่วมการ ประกาศ เมื่อวันที่ 3 ระดับต่างๆ 15 วันเป็นอย่างน้อย ประชุม กันยายน 2563 2. หน่วยงาน จำนวน 9 แห่ง 1. แขวงทางหลวงชนบท รัฐวิสาหกิจ 1. แขวงทางหลวงชนบท กระบี่ 3. หน่วยงานเจ้าของ กระบี่ 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด โครงการ 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด กระบี่ 4. หน่วยงาน กระบี่ 3. ที่ว่าการอำเภอ ภาคเอกชน 3. ที่ว่าการอำเภอเกาะลัน เกาะลันตา 5. พื้นที่อ่อนไหว ตา 4. องค์การบริหารส่วน 6. สื่อมวลชน 4. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะกลาง 7. ประชาชนทั่วไปที่ ตำบลเกาะกลาง 5. องค์การบริหารส่วน สนใจโครงการ 5. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาน้อย 6. เทศบาลตำบลศาลา 6. เทศบาลตำบลศาลา ด่าน ด่าน 7. เทศบาลเกาะลันตาใหญ่ 7. เทศบาลเกาะลันตาใหญ่ 8. องค์การบริหารส่วน 8. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 9. องค์การบริหารส่วน 9. องค์การบริหารส่วน ตำบลคลองยาง ตำบลคลองยาง กรมทางหลวงชนบท 8-35 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 3.2 การประชุมสรุป ดำเนินการจัดประชุใน 1. หน่วยงาน จัดประชุมการมีส่วน แนวทางเลือกที่ ระหว่างวันที่ 21-22 ราชการระดับ ร่วมของประชาชน เหมาะสม (การ ตุลาคม 2563 ณ อาคาร ต่างๆ - เอกสารประกอบการ ประชุมใหญ่ เอนกประสงค์ ที่ว่าการ 2. หน่วยงาน ประชุม ชุดที่ 3 ครั้งที่ 2) อำเภอเกาะลันตา รัฐวิสาหกิจ - Presentation นำเสนอสรุปผล ตำบลเกาะลันตาน้อย 3. หน่วยงาน - ป้ายประชาสัมพันธ์ การคัดเลือก อำเภอเกาะลันตา เจ้าของโครงการ ชุดที่ 3 แนวและรูปแบบ จังหวัดกระบี่ และ 4. หน่วยงาน - บอร์ด ชุดที่ 3 วันที่ 21 ตุลาคม 2563 (เวลา 09.00 – 12.30 น.) ณ อาคารเอนกประสงค์ โครงการให้ ณ อาคารโรงยิม ภาคเอกชน - แผ่นพับ ชุดที่ 3 ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา กลุ่มเป้าหมาย เอนกประสงค์ 5. พื้นที่อ่อนไหว - วีดีทัศน์ ชุดที่ 2 ได้รับทราบ องค์การบริหารส่วน 6. สื่อมวลชน - แบบสอบถาม ตลอดจนรับฟัง ตำบลเกาะกลาง ตำบล 7. ประชาชนทั่วไป ข้อคิดเห็น และ เกาะกลาง อำเภอเกาะ ที่สนใจโครงการ ข้อเสนอแนะ ลันตา จังหวัดกระบี่ เพื่อนำมาใช้ พิจารณา ประกอบ วันที่ 22 ตุลาคม 2563 (เวลา 08.30 – 12.00 น.) ณ อาคารโรงยิมเอนกประสงค์ การศึกษาของ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง โครงการ กรมทางหลวงชนบท 8-36 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 3.3 การติด จัดส่งหนังสือขอติด 1. หน่วยงาน ติดประกาศ ภายหลัง ประกาศ ประกาศสรุปผลการ ราชการระดับ จากการประชุมภายใน สรุปผลการ ประชุมจำนวน 9 แห่ง ต่างๆ 15 วัน จำนวน 9 แห่ง ประชุม ได้แก่ 2. หน่วยงาน ได้แก่ 1. แขวงทางหลวง รัฐวิสาหกิจ 1. แขวงทางหลวง ชนบทกระบี่ 3. หน่วยงาน ชนบทกระบี่ 2. ประชาสัมพันธ์ เจ้าของโครงการ 2. ประชาสัมพันธ์ จังหวัดกระบี่ 4. หน่วยงาน จังหวัดกระบี่ 3. ที่ว่าการอำเภอ ภาคเอกชน 3. ที่ว่าการอำเภอ เกาะลันตา 5. พื้นที่อ่อนไหว เกาะลันตา 4. องค์การบริหารส่วน 6. สื่อมวลชน 4. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะกลาง 7. ประชาชนทั่วไป ตำบลเกาะกลาง 5. องค์การบริหารส่วน ที่สนใจโครงการ 5. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาน้อย 6. เทศบาลตำบลศาลา 6. เทศบาลตำบล ด่าน ศาลาด่าน 7. เทศบาลเกาะลันตา 7. เทศบาลเกาะลันตา ใหญ่ ใหญ่ 8. องค์การบริหารส่วน 8. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 9. องค์การบริหารส่วน 9. องค์การบริหารส่วน ตำบลคลองยาง ตำบลคลองยาง กรมทางหลวงชนบท 8-37 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 4. การประชุมหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศโครงการ 4.1 การติดประกาศ จัดส่งหนังสือขอติด 1. หน่วยงานที่ ติดประกาศก่อนการ เชิญเข้าร่วม ประกาศ เมื่อวันที่ 8 รับผิดชอบจัดทำ ประชุม 15 วันเป็นอย่าง การประชุม มกราคม 2564 รายงานการ น้อย จำนวน 9 แห่ง 1. แขวงทางหลวงชนบท ประเมินผลกระทบ ได้แก่ กระบี่ สิ่งแวดล้อม 1. แขวงทางหลวงชนบท 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด 2. หน่วยงานราชการ กระบี่ กระบี่ ระดับต่างๆ 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด 3. ที่ว่าการอำเภอ 3. หน่วยงาน กระบี่ เกาะลันตา ภาคเอกชน 3. ที่ว่าการอำเภอ 4. องค์การบริหารส่วน 4. หน่วยงาน เกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง รัฐวิสาหกิจ 4. องค์การบริหารส่วน 5. องค์การบริหารส่วน 5. พื้นที่อ่อนไหว ตำบลเกาะกลาง ตำบลเกาะลันตาน้อย 6. สื่อมวลชน 5. องค์การบริหารส่วน 6. เทศบาลตำบลศาลา 7. ประชาชนทั่วไปที่ ตำบลเกาะลันตาน้อย ด่าน สนใจโครงการ 6. เทศบาลตำบลศาลา 7. เทศบาลเกาะลันตาใหญ่ ด่าน 8. องค์การบริหารส่วน 7. เทศบาลเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ใหญ่ 9. องค์การบริหารส่วน 8. องค์การบริหารส่วน ตำบลคลองยาง ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 9.องค์การบริหารส่วน ตำบลคลองยาง กรมทางหลวงชนบท 8-38 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 4.2 การประชุม ดำเนินการจัดประชุม 1. หน่วยงาน จัดประชุมการมีส่วน หารือมาตรการ ระหว่างวันที่ 27-28 เจ้าของโครงการ ร่วมของประชาชน และปัจฉิมนิเทศ มกราคม 2564 2. หน่วยงาน - เอกสารประกอบการ โครงการ ณ อาคารเอนกประสงค์ ราชการระดับ ประชุม ชุดที่ 4 เพื่อนำเสนอแนว ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ต่างๆ - Presentation วันที่ 27 มกราคม 2564 เวลา 09.00-12.30 น. สายทางและ ตำบลเกาะลันตาน้อย 3. หน่วยงาน - ป้ายประชาสัมพันธ์ รูปแบบโครงการ อำเภอเกาะลันตา ภาคเอกชน ชุดที่ 4 พร้อมผล จังหวัดกระบี่ 4. หน่วยงาน - บอร์ด ชุดที่ 4 การศึกษาด้าน รัฐวิสาหกิจ - แผ่นพับ ชุดที่ 4 สิ่งแวดล้อม และ 5. พื้นที่อ่อนไหว - วีดีทัศน์ ชุดที่ 2 มาตรการป้องกัน 6. สื่อมวลชน - แบบสอบถาม วันที่ 27 มกราคม 2564 เวลา 13.00-16.30 น. แก้ไข และลด 7. ผู้ที่ได้รับ ผลกระทบ ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมและ 8. ประชาชนทั่วไป ผลการศึกษาของ ที่สนใจโครงการ โครงการในทุก ประเด็น ให้ วันที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 09.00-12.30 น. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับทราบ วันที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 13.00-16.30 น. กรมทางหลวงชนบท 8-39 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.7.2-1 สรุปผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ) กิจกรรม วัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการมีส่วนร่วม ภาพประกอบ 4.3 การติด ดำเนินการเมื่อวันที่ 2 1. หน่วยงาน ติดประกาศ ภายหลัง ประกาศ กุมภาพันธ์ 2564 เจ้าของโครงการ จากการประชุมภายใน สรุปผลการ 1. แขวงทางหลวง 2. หน่วยงาน 15 วัน จำนวน 9แห่ง ประชุม ชนบทกระบี่ ราชการระดับ 1. แขวงทางหลวง 2. ประชาสัมพันธ์ ต่างๆ ชนบทกระบี่ จังหวัดกระบี่ 3. หน่วยงาน 2. ประชาสัมพันธ์ 3. ที่ว่าการอำเภอ ภาคเอกชน จังหวัดกระบี่ เกาะลันตา 4. หน่วยงาน 3. ที่ว่าการอำเภอ 4. องค์การบริหารส่วน รัฐวิสาหกิจ เกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง 5. พื้นที่อ่อนไหว 4. องค์การบริหารส่วน 5. องค์การบริหารส่วน 6. สื่อมวลชน ตำบลเกาะกลาง ตำบลเกาะลันตา 7. ประชาชนทั่วไป 5. องค์การบริหารส่วน น้อย ที่สนใจโครงการ ตำบลเกาะลันตา 6. เทศบาลตำบลศาลา น้อย ด่าน 6. เทศบาลตำบลศาลา 7. เทศบาลเกาะลันตา ด่าน ใหญ่ 7. เทศบาลเกาะลันตา 8. องค์การบริหารส่วน ใหญ่ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 8. องค์การบริหารส่วน 9. องค์การบริหารส่วน ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ตำบลคลองยาง 9. องค์การบริหารส่วน ตำบลคลองยาง กรมทางหลวงชนบท 8-40 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน การประเมินผลสำเร็จ ทำการประเมินผลสำเร็จของการประชุมในหลายมิติ ได้แก่ 1) ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการประชุม เป็นการพิจารณาจำนวนของผู้เข้าร่วมการประชุมต่อจำนวนของกลุ่มเป้าหมายที่เชิญ โดยคิดเป็นค่า ร้อยละ (จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม/จำนวนผู้เชิญประชุม x 100) แบ่งผลการประเมินเป็นระดับ 3 ระดับ ได้แก่ - ประสบผลสำเร็จ ระดับน้อย คือ มีร้อยละผู้เข้าร่วมประชุมน้อยกว่า ร้อยละ 50 - ประสบผลสำเร็จ ระดับปานกลาง คือ มีร้อยละผู้เข้าร่วมประชุมระหว่าง ร้อยละ 50-70 - ประสบผลสำเร็จ ระดับมาก คือ มีร้อยละผู้เข้าร่วมประชุมมากกว่า ร้อยละ 70 2) ผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอ เป็นการพิจารณาถึงความเข้าใจในข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอต่อผู้เข้าร่วมการประชุม โดยผู้เข้าร่วม การประชุมจะให้คะแนนในแบบสอบถามตั้งแต่เข้าใจมาก (5 คะแนน) เข้าใจปานกลาง (3 คะแนน) และเข้าใจน้อย (1 คะแนน) โดยคิดเป็นค่าคะแนนเฉลี่ยที่โครงการได้รับจากสูตรคำนวณ ่ = คะแนนเฉลีย (จำนวนผู้ตอบเข้าใจมากx5) + (จำนวนผู้ตอบเข้าใจปานกลางx3) + (จำนวนผู้ตอบเข้าใจน้อยx1) จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม แบ่งผลการประเมินเป็น 3 ระดับ ได้แก่ - ประสบผลสำเร็จ ระดับน้อย คือ มีคะแนนเฉลี่ย น้อยกว่า 2.5 คะแนน - ประสบผลสำเร็จ ระดับปานกลาง คือ มีคะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2.5-3.5 คะแนน - ประสบผลสำเร็จ ระดับมาก คือ มีคะแนนเฉลี่ย มากกว่า 3.5 คะแนน 3) ผลสำเร็จในด้านเอกสารประกอบการประชุม เป็นการพิจารณาถึงความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมที่ให้ผู้เข้าร่วมการประชุม โดย ผู้เข้าร่วมการประชุมจะให้คะแนนในแบบสอบถามตั้งแต่เอกสารมีความเหมาะสมมาก (5 คะแนน) เอกสารมีความ เหมาะสมปานกลาง (3 คะแนน) และเอกสารมีความเหมาะสมน้อย (1 คะแนน) โดยคิดเป็นค่าคะแนนเฉลี่ยที่ โครงการได้รับจากสูตรคำนวณ ่ = (จำนวนผู้ตอบเหมาะสมมากx5)+(จำนวนผูต คะแนนเฉลีย ้ อบเหมาะสมปานกลางx3)+(จำนวนผู้ตอบเหมาะสมน้อยx1) จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม แบ่งผลการประเมินเป็น 3 ระดับ ได้แก่ - ประสบผลสำเร็จ ระดับน้อย คือ มีคะแนนเฉลี่ย น้อยกว่า 2.5 คะแนน - ประสบผลสำเร็จ ระดับปานกลาง คือ มีคะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2.5-3.5 คะแนน - ประสบผลสำเร็จ ระดับมาก คือ มีคะแนนเฉลี่ย มากกว่า 3.5 คะแนน กรมทางหลวงชนบท 8-41 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.8 ผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชนของโครงการ การดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ผ่านมา ได้จัดให้มีการประชุมการหารือในระดับต่างๆ ของโครงการ จำนวน 9 ครั้ง ได้แก่ 1) การประชาสัมพันธ์โครงการ 2) การเตรียมความพร้อมชุมชน 3) การประชุม ปฐมนิเทศโครงการ (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 1) 4) การประชุมกลุ่มย่อย ครั้ งที่ 1 5) การหารือกับหน่วยงาน สาธารณูปโภคและระบบพลังงาน 6) การประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) 7) การประชุม กลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 8) การประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3) และ 9) การประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับ รายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งผลการดำเนินงานการประชุมการมีส่วนร่วมของประชาชน (ภาคผนวก ญ) ซึง ่ สรุปผลการดำเนินงานการประชุมการมีส่วนร่วมของประชาชนของโครงการ มีรายละเอียดดังนี้ 8.8.1 การเตรียมความพร้อมของชุมชน ขั้นตอนการเตรียมการ 1) รวบรวมข้อมูลขอบเขตการปกครองในพื้นที่เพื่อทราบชุมชนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของการเตรียม ความพร้อมชุมชน จากนั้นติดต่อประสานงานกับผู้นำชุมชนในพื้นที่กลุ่มเป้าหมายเพื่อนัดวันเวลาและสถานที่ ในการเข้าพบ 2) จัดเตรียมข้อมูลรายละเอียดโครงการเบื้องต้น แผนการศึกษาโครงการและแผนการดำเนินงานการมี ส่วนร่วมของประชาชน โดยจัดทำเป็นสื่อประกอบการหารือที่เข้าใจง่าย เช่น แผ่นพับ เอกสารสรุปรายละเอียด โครงการ สื่อวีดีทัศน์รายละเอียดโครงการ เป็นต้น 3) ชี้แจงกับผู้นำชุมชนถึงวัตถุประสงค์ของการลงพื้นที่ในครั้งนี้ ได้ดำเนินการเข้าพบผู้นำชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย วันที่ 13 – 15 กรกฎาคม 2563 ประกอบด้วย ตัวแทน ทั้งหมด 11 กลุ่มเป้าหมาย ดังตารางที่ 8.8.1-1 โดยมีผลการดำเนินงานแสดงดังตารางที่ 8.8.1-2 ตารางที่ 8.8.1-1 กลุ่มเป้าหมายในการเตรียมความพร้อมชุมชนก่อนจัดประชุมภาคประชาชน อำเภอ ตำบล หน่วยงาน องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง เกาะกลาง ทีมงานกำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา เกาะลันตาน้อย องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย รร.บ้านทุ่งวิทยาพัฒน์ เกาะลันตา เทศบาลตำบลศาลาด่าน ศาลาด่าน รร.ชุมชนบ้านศาลาด่าน รร.บ้านพระแอะ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตาใหญ่ อบต.เกาะลันตาใหญ่ โรงพยาบาลเกาะลันตา 1 อำเภอ 4 ตำบล 11 หน่วยงาน ที่มา : ที่ปรึกษา ก.ค. 2563 กรมทางหลวงชนบท 8-42 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.1-2 ผลการดำเนินงานการเตรียมความพร้อมของชุมชน 1) กลุ่มที่ 1 ตำบลเกาะกลาง ผลกระทบที่คาดว่าจะ ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น ความ ลักษณะการเชื่อมฝั่งเกาะ ความคิดเห็น ผู้เข้ารวมประชุม เกิดขึ้นจากการพัฒนา กังวลใจที่ให้ความสำคัญเป็นพิเศษที่ กลางและเกาะลันตาน้อยที่ รูปภาพประกอบ ต่อโครงการ โครงการ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงการ ต้องการ ผู้เข้าร่วมการหารือของพื้นที่ตำบล - ผลกระทบต่อแรงงานที่ - เห็นด้วยกับ - มีความกังวลว่าโครงการจะไม่ - สะพานข้ามเนื่องจาก เกาะกลาง 2 ครั้ง ประกอบไปด้วย ทำงานในบริษัทท่าเรือ โครงการ เกิดขึ้น และได้รับการต่อต้านจาก สามารถใช้เป็นแหล่ง 1) ขนานยนต์เนื่องจากมีการ NGO นอกพื้นที่ ชมวิว และตกปลาได้ ตำแหน่งหัวหน้าสำนักปลัด จ้างงานประชาชนในพื้นที่ 2) ตำแหน่ง ทำงานในบริษัท สารวัตรกำนัน หมู่ 7 - ผลกระทบจากขยะที่ 3 เพิ่มขึ้นจากนักท่องเที่ยวที่ ตำแหน่งที่ปรึกษาผู้ใหญ่บ้าน เพิ่มขึ้น หมู่ 8 และทีมงานที่ปรึกษา - สามารถลดปัญหาด้าน 5 คน รวม 8 คน การคมนาคมที่แออัด (รูปที่ 9.6.2-1) โดยมีประเด็น บริเวณท่าเรือขนานยนต์ สรุปจากผลการหารือดังนี้ เชื่อมต่อเกาะกลางและ เกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 8-43 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.1-2 ผลการดำเนินงานการเตรียมความพร้อมของชุมชน (ต่อ) 2) กลุ่มที่ 2 ตำบลศาลาด่าน ผลกระทบที่คาดว่าจะ ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น ความ ลักษณะการเชื่อมฝั่งเกาะ ความคิดเห็น ผู้เข้ารวมประชุม เกิดขึ้นจากการพัฒนา กังวลใจที่ให้ความสำคัญเป็นพิเศษ กลางและเกาะลันตาน้อย รูปภาพประกอบ ต่อโครงการ โครงการ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงการ ที่ต้องการ ผู้เข้าร่วมการหารือของพื้นที่ - ผลกระทบจากขยะที่ - เห็นด้วยกับ - ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้น การจัดการ - สะพานข้าม ตำบลศาลาด่าน ประกอบไปด้วย เพิ่มขึ้นจากนักท่องเที่ยว โครงการ ขยะ และการซ่อมแซมขยายถนน 1) ที่เพิ่มมากขึ้น การเพิ่มขึ้น ภายในเกาะ ตำแหน่งกำนันหมู่ 13 ของคนต่างถิ่นเข้ามาใน - การซ่อมแซมขยายถนนภายในเกาะ 2) พื้นที่ส่งผลให้อาจเกิดการ - มีความกังวลว่าโครงการจะไม่ ตำแหน่งรองปลัดเทศบาล เพิ่มขึ้นของอาชญากรรม เกิดขึ้น และทีมงานที่ปรึกษา 5 คน เช่น ชิงทรัพย์หรือลัก รวม 7 คน ขโมย - ทำให้มีนักท่องเที่ยวเข้า มาท่องเที่ยวในพื้นที่มาก ขึ้นเนื่องจากการคมนาคม ที่สะดวกขึ้น ชาวบ้าน เดินทางสะดวกมากขึ้น และลดค่าใช้จ่ายจากการ เดินทางด้วยเรือขนานยนต์ กรมทางหลวงชนบท 8-44 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.1-2 ผลการดำเนินงานการเตรียมความพร้อมของชุมชน (ต่อ) 3) กลุ่มที่ 3 ตำบลเกาะลันตาน้อย ผลกระทบที่คาดว่าจะ ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น ความ ลักษณะการเชื่อมฝั่งเกาะ ความคิดเห็น ผู้เข้ารวมประชุม เกิดขึ้นจากการพัฒนา กังวลใจที่ให้ความสำคัญเป็นพิเศษ กลางและเกาะลันตาน้อย รูปภาพประกอบ ต่อโครงการ โครงการ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงการ ที่ต้องการ ผู้เข้าร่วมการหารือของพื้นที่ - ส่งผลดีต่อชาวบ้าน - เห็นด้วยกับ - กังวลในเรื่องของสถานประกอบการ - สะพานข้าม ตำบลเกาะลันตาน้อย ประกอบ เดินทางได้สะดวกมากขึ้น โครงการ โรงแรมซึ่งมีแนวโน้มไม่เห็นด้วย ไปด้วย และลดค่าใช้จ่ายจากการ เนื่องจากปัจจุบัน กับโครงการบางกลุ่มเนื่องจาก มี 1) เดินทางด้วยเรือขนานยนต์ มีการเสียชีวิต ความกังวลเรื่องการลดลงของ ตำแหน่งนายอำเภอ - ส่งผลดีเนื่องจากมี ของผู้ป่วยทำให้ นักท่องเที่ยวที่พักอาศัยอยู่บน เกาะลันตา กฎหมายควบคุม เช่น เกิดการล่าช้า เกาะแบบค้างคืน สาเหตุมาจาก 2 พรบ.สิ่งแวดล้อม พรบ. ของการส่งตัว ความสะดวกสบายในการเดินทาง ตำแหน่งปลัด ผังเมือง ผู้ป่วย และมี ที่มากขึ้น อำเภอเกาะลันตา - ผลกระทบในเรื่องของน้ำ ความต้องการ - อยากให้งดประชุมวันศุกร์ 3) อาจจะไม่พอใช้ในการ จากภาค เนื่องจากเป็นวันละหมาด ตำแหน่งกำนัน หมู่ 6 อุปโภค-บริโภคเนื่องจาก ประชาชนสูง - อยากให้คำนึงถึงความปลอดภัย 4) การเพิ่มขึ้นของ ในการออกแบบสะพาน ตำแหน่งนายช่างอาวุโส นักท่องเที่ยว ปัจจุบันใน 5) พื้นที่เกาะลันตาน้อยและ ตำแหน่งรองนายก อบต. เกาะลันตาใหญ่ใช้น้ำจาก และทีมงานที่ปรึกษา 5 คน แหล่งน้ำบาดาล ดังนั้น รวม 10 คน ควรมีการเดินระบบ ประปาควบคู่กับสะพาน ทางเชื่อม กรมทางหลวงชนบท 8-45 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.1-2 ผลการดำเนินงานการเตรียมความพร้อมของชุมชน (ต่อ) 4) กลุ่มที่ 4 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ ผลกระทบที่คาดว่าจะ ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น ความ ลักษณะการเชื่อมฝั่งเกาะ ความคิดเห็น ผู้เข้ารวมประชุม เกิดขึ้นจากการพัฒนา กังวลใจที่ให้ความสำคัญเป็นพิเศษ กลางและเกาะลันตาน้อย รูปภาพประกอบ ต่อโครงการ โครงการ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงการ ที่ต้องการ ผู้เข้าร่วมการหารือของพื้นที่ - ส่งผลกระทบสำหรับการ - เห็นด้วยกับ - ไม่มีความคิดเห็น - สะพานข้าม และอุโมงค์ ตำบลลันตาใหญ่ ประกอบไปด้วย เปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิต โครงการ ลอด 1) ของประชาชนในชุมชน ตำแหน่งกำนัน หมู่ 6 2) ตำแหน่งนักบริหารงานช่าง ระดับต้น และทีมงาน ที่ปรึกษา 5 คน รวม 7 คน กรมทางหลวงชนบท 8-46 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.1-2 ผลการดำเนินงานการเตรียมความพร้อมของชุมชน (ต่อ) 5) กลุ่มที่ 5 ตัวแทนโรงเรียนและโรงพยาบาล ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น ผลกระทบที่คาดว่าจะ ลักษณะการเชื่อมฝั่ง ในการเดินทางของ การศึกษาต่อของ ความคิดเห็น ความกังวลใจที่ให้ความสำคัญ ผู้เข้ารวมประชุม เกิดขึ้นจากการพัฒนา เกาะกลางและเกาะลัน นักเรียนและ นักเรียนหลังจากจบ ต่อโครงการ เป็นพิเศษที่เกี่ยวข้องกับการ โครงการ ตาน้อยที่ต้องการ บุคลากรในพื้นที่ การศึกษาจากโรงเรียน พัฒนาโครงการ ผู้เข้าร่วมการหารือของตัวแทน - ทำให้การเดินทางสะดวก - เห็นด้วยอย่างยิ่ง - อยากให้โครงการให้ - สะพานข้ามและมี - ใช้เวลานานในการ - รร.สอนศาสนาใน โรงเรียนและโรงพยาบาล มากขึ้นและค่าครองชีพ และขอให้เร่ง ความสำคัญกับประชาชน เอกลักษณ์ความเป็น เดินทาง 2-3 บริเวณเกาะ 40% ประกอบไปด้วย ถูกลง ดำเนินการให้เกิด ส่วนรวมให้ได้ประโยชน์ เกาะลันตา ชั่วโมง เพื่อ - รร.สอนศาสนาต่างพื้นที่ 1) - ส่งผลดีต่อค่าก่อสร้าง โครงการโดยเร็ว มากที่สุด เดินทางข้ามเกาะ 80% ตำแหน่ง ผอ. โรงเรียน โครงสร้างพื้นฐานของ เนื่องจากประชน - อยากให้คำนึงถึงความ และในการเดินทาง - รร.มัธยม 5% บ้านทุ่งวิทยพัฒน์ โรงเรียนราคาถูกลง ชนในอำเภอเกาะ ปลอดภัยและคุณภาพ ไปรักษาพยาบาล - เทคนิคในกระบี่ 20% 2) - ผลกระทบต่อเรื่องการ กลาง คลองยาว มาตรฐานในช่วงก่อสร้าง ในกรณีที่เจ็บป่วย - โรงเรียนสามัญ 30% 3) ลดลงของจำนวนนักเรียน สามารถเดินทาง - กังวลในเรื่องของการเพิม่ ขึ้น ตำแหน่งครูโรงเรียนชุมชน - ผลกระทบในเรื่องของ มารักษาที่ ของมิจฉาชีพที่อาจสูงขึ้น บ้านศาลาด่าน ฝุ่นละออง โรงพยาบาล 4) - ผลกระทบในเรื่องความ ได้สะดวกขึ้น ตำแหน่ง ผอ. โรงเรียน ปลอดภัย อาจทำให้มี ไม่ต้องเดินทางไกล บ้านพระแอะ บุคคลภายนอกเข้ามา เพื่อไปรักษา 5) ในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น ที่โรงพยาบาล ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ธุรการ คลองท่อมซึ่งอยู่ โรงพยาบาลเกาะลันตาใหญ่ ต่างอำเภอกัน และทีมงานที่ปรึกษา 5 คน รวม 10 คน กรมทางหลวงชนบท 8-47 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.8.2 การประชุมปฐมนิเทศโครงการ (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 1) 1) ผลการจัดประชุมโครงการ ในการประชุมปฐมนิเทศโครงการ (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 1) เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโครงการ ให้ผู้มีส่วนได้-ส่วนเสียจากโครงการได้รับทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงการ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ ระยะเวลาการศึกษาโครงการ พื้นที่ศึกษา และขอบเขตการศึกษาของ โครงการ พร้อมทั้งรับฟังข้อมูล สภาพปัญหา และข้อวิตกกังวลในพื้นที่ และรับฟัง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับโครงการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นห่วงกังวลในด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยดำเนินการจัดประชุม จำนวน 2 กลุ่ม เวลา 09.00-12.30 น. และเวลา 13.30-16.30 น. ในช่วงระหว่างวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ณ ห้องประชุมเซาท์เทิร์น โรงแรมเซาท์เ ทิร์น ลันตา รีสอร์ท แอนด์ สปา ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยได้รับเกียรติจาก ผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพเฉพาะด้านวิศวกรรมโยธา (ด้านก่อสร้างสะพานโครงสร้างพิเศษ) (วิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ) สกส. เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุม และกล่าว รายงาน ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมเวทีที่ 1 รวมทั้งสิ้น 159 คน คิดเป็นร้อยละ 98.76 จากจำนวนที่เชิญเข้าร่วมประชุม ทั้งหมด 161 คน แสดงดังตารางที่ 8.8.2-1 และจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมเวทีที่ 2 รวมทั้งสิ้น 85 คน คิดเป็นร้อยละ 88.54 จากจำนวนที่เชิญเข้าร่วมประชุมทั้ งหมด 96 คน แสดงดังตารางที่ 8.8.2-2 และมีบรรยากาศการประชุม แสดงดังรูปที่ 8.8.2-1 ถึง รูปที่ 8.8.2-2 มีผู้เข้าร่วมประชุมแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ แสดงดังตารางที่ 8.8.2-3 ความคิดเห็นส่วนใหญ่ของผู้ตอบแบบสอบถามมีปัญหาเกี่ยวกับการเดินทางสัญจรเชื่อมต่อระหว่าง เกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย คิดเป็นร้อยละ 94.83 ปัญหาส่วนใหญ่ คือ ระยะเวลาในการ เดินทางนาน ร้อยละ 87.35 รองลงมา คือ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางสูง ร้อยละ 81.33 และอันดับสาม คือ ความ สะดวกในการเดินทางต่ ำ ร้อยละ 65.06 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการก่อให้เกิดประโยชน์ต่อด้าน คมนาคมของ จังหวัดกระบี่ หรือไม่ ความคิดเห็นส่วนใหญ่ คือ มีประโยชน์ ร้อยละ 99.43 ความคิดเห็นว่ามี ประโยชน์อย่างไรส่วนใหญ่ คือ ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทาง ร้อยละ 90.17 รองลงมา คือ อำนวย ความสะดวกในการเดินทาง และเพิ่มความปลอดภัย ร้อยละ 88.44 และอันดับสาม คือ ส่งเสริมการพัฒนาด้าน การขนส่ง และด้านเศรษฐกิจ ร้อยละ 81.5 ความคิดเห็นเกี่ยวกับมีสิ่งที่จะต้องระมัดระวังหรือให้ความสำคัญพิเศษ ส่วนใหญ่ คือ ร้อยละ 62.86 ความคิดเห็นส่วนใหญ่เกี่ยวกับมีสิ่งที่จะต้องระมัดระวัง คือ ด้านผลกระทบช่วงก่อสร้าง ต่อปัญหาการจราจรติดขัด และอุบัติเหตุในช่วงก่อสร้าง ร้อยละ 62.39 รองลงมา คือ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ด้านป่าไม้/สัตว์ป่า ร้อยละ 56.88 และอันดับสาม คือ ผลกระทบต่อพื้นที่คุ้มครองทางสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 40.37 2) การประเมินผลสำเร็จของการประชุม (1) ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการประชุม ในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการ ประชุมปฐมนิเทศโครงการ มีจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เชิญเข้าร่วมการประชุม 257 คน มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 244 คน ดังนั้น จึงมีจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมต่อจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เชิญประชุม คิดเป็นร้อยละ 94.54 โดยมี ระดับผลสำเร็จในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมอยู่ในระดับมาก (มีร้อยละผู้เข้าร่วมประชุมมากกว่า 70) (2) ผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอ มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 175 ตัวอย่าง โดยให้ความคิดเห็นด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในระดับมาก (5 คะแนน) จำนวน 100 ตัวอย่าง ในระดับปานกลาง (3 คะแนน) จำนวน 73 ตัวอย่าง และในระดับน้อย (1 คะแนน) จำนวน 2 ตัวอย่าง ดังนั้นจึงมี ผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอเฉลี่ยเท่ากับ 4.0 ถือว่าประสบผลสำเร็จในด้านข้อมูลข่าวสาร ที่นำเสนอในระดับมาก (มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า 3.5 คะแนน) กรมทางหลวงชนบท 8-48 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน (3) ผลสำเร็จในด้านเอกสารประกอบการประชุม มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 175 ตัวอย่าง โดยให้ความคิดเห็นด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมในระดับมาก ( 5 คะแนน) จำนวน 97 ตัวอย่าง ในระดับปานกลาง ( 3 คะแนน) จำนวน 76ตัวอย่าง และในระดับน้อย ( 1 คะแนน) จำนวน 2 ตัวอย่าง ดังนั้น จึงมีผลสำเร็จในด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมที่นำเสนอเฉลี่ยเท่ากับ 4.0 ถือว่า ประสบผลสำเร็จในด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมที่นำเสนอในระดับมาก (มีคะแนนเฉลี่ย มากกว่า 3.5 คะแนน) ตารางที่ 8.8.2-1 จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมปฐมนิเทศโครงการ กลุ่มที่ 1 เวลา 09.00 – 12.30 น. (วันที่ 25 สิงหาคม 2563) จำนวน จำนวน กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงาน ที่เชิญประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม ร้อยละ (คน) (คน) 1) ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ผู้นำชุมชนในพื้นที่ - ตำบลเกาะลันตาน้อย 6 9 100.00 - ตำบลเกาะกลาง 10 12 100.00 สถาบันการศึกษา 2 3 100.00 ศาสนสถาน 10 6 60.00 สถานพยาบาล 2 - 0.00 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ - ประชาชนตำบลเกาะลันตาน้อย 20 5 25.00 - ประชาชนตำบลเกาะกลาง 21 26 100.00 3) หน่วยงานที่ทำหน้าที่พิจารณารายงาน สำนัก งานนโยบายและแผนทรัพ ยากร- 1 - 0.00 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) 4) หน่วยงานราชการระดับต่างๆ หน่วยงานราชการระดับจังหวัด 38 40 100.00 และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานระดับอำเภอ 7 8 100.00 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6 - 0.00 หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ 4 2 50.00 5) องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม องค์กรพัฒนาเอกชน องค์การอิสระ ด้านสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ 11 11 100.00 สถาบันการศึกษาภายในท้องถิ่น และในระดับอุดม ศึกษา และ นักวิชาการอิสระ 6) สื่อมวลชน สื่อมวลชน 10 1 10.00 7) ประชาชนทั่วไป ประชาชนผู้สนใจในโครงการ 10 19 100.00 รวม 158 142 89.87 2) หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำ หน่วยงานเจ้าของโครงการ 3 7 100.00 รายงานการประเมินผลกระทบ บริษัทที่ปรึกษา - 10 100.00 สิ่งแวดล้อม รวม 161 159* 98.76 ที่มา : ที่ปรึกษา 2564 หมายเหตุ : * คือ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 159 คน นับรวมหน่วยงานเจ้าของโครงการ และบริษัทที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 8-49 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.2-2 จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมปฐมนิเทศโครงการ กลุ่มที่ 2 เวลา 13.30 – 16.30 น. (วันที่ 25 สิงหาคม 2563) จำนวนที่เชิญ จำนวนผู้เข้าร่วม กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงาน ร้อยละ ประชุม (คน) ประชุม (คน) 1) ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ผู้นำชุมชนในพื้นที่ - ตำบลศาลาด่าน 5 7 100.00 - ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 9 16 100.00 สถาบันการศึกษา 4 2 50.00 ศาสนสถาน 15 4 26.67 สถานพยาบาล 3 - 0.00 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ - ประชาชนตำบลเกาะลันตาใหญ่ 17 21 100.00 - ประชาชนตำบลศาลาด่าน 15 13 86.67 3) หน่วยงานที่ทำหน้าทีพ ่ ิจารณา สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร- - - 0.00 รายงานการประเมินผลกระทบ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) สิ่งแวดล้อม 4) หน่วยงานราชการระดับต่างๆ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 6 100.00 และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง 5) องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม องค์กรพัฒนาเอกชน องค์การอิสระ ด้านสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ - - - สถาบันการศึกษาภายในท้องถิ่น และในระดับอุดมศึกษา และ นักวิชาการอิสระ 6) สื่อมวลชน สื่อมวลชน 10 - 0.00 7) ประชาชนทั่วไป ประชาชนผู้สนใจในโครงการ 10 - 0.00 รวม 93 69 74.19 2) หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำรายงาน หน่วยงานเจ้าของโครงการ 3 7 100.00 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม บริษัทที่ปรึกษา - 9 0.00 รวม 96 85* 88.54 ที่มา : ที่ปรึกษา 2564 หมายเหตุ : * คือ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 85 คน นับรวมหน่วยงานเจ้าของโครงการ และบริษัทที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 8-50 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้เข้าร่วมประชุมศึกษาบอร์ดนิทรรศการ ผู้อำนวยการแขวงทางหลวงชนบทกระบี่ กล่าวรายงาน ผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพเฉพาะด้านวิศวกรรมโยธา ผู้อำนวยการแขวงทางหลวงชนบทกระบี่ (ด้านก่อสร้างสะพานโครงสร้างพิเศษ) ร่วมตอบข้อซักถาม (วิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ) สกส. กล่าวเปิดการประชุม ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น รูปที่ 8.8.2-1 บรรยากาศการประชุมปฐมนิเทศโครงการ กลุ่มที่ 1 เวลา 09.00 – 12.30 น. กรมทางหลวงชนบท 8-51 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้เข้าร่วมประชุมศึกษาบอร์ดนิทรรศการ วิศวกรโยธาชำนาญการ สกส. กล่าวเปิดการประชุม ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น รูปที่ 8.8.2-2 บรรยากาศการประชุมปฐมนิเทศโครงการ กลุ่มที่ 2 เวลา 13.30 – 16.30 น. กรมทางหลวงชนบท 8-52 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.2-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมปฐมนิเทศโครงการ ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา ด้านวิศวกรรม - เห็นด้วยกับรูปแบบทางเลือกโครงสร้างสะพานทางเลือกที่ 1 - ที่ปรึกษาขอรับขอเสนอแนะเพื่อนำไปพิจารณาการออกแบบ เนื่องจากมีความมั่นคง แข็งแรงและมีลัก ษณะเหมือนกับ สะพานสิริลันตา ทั้งนี้ขอทราบความสูงของรูปแบบทางเลือก ที่ 1 (สะพานคานยื่นเสริมคานขึงสายเคเบิล) - ขอให้ ข ยายช่ อ งจราจรทางหลวงหมายเลข 4206 (ถนน - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะและประสานงานกับกรมทางหลวง เพชรเกษม) เนื่องจากถนนค่อนข้างแคบเพราะในอนาคต ชนบทและกรมทางหลวงต่อไป คาดว่าปริมาณการจราจรสูงขึ้น - ประชาชนในพื้นที่เกาะลันตามีความต้องการสะพาน จึงเห็น - กรมทางหลวงชนบท เล็งเห็นความจำเป็นของการก่อสร้าง ด้วยกับการพัฒนาโครงการนี้ เนื่องจากปัจจุบันประชาชน เส้นทางคมนาคมขนส่ง ทางบกเชื ่อมระหว่ างบ้ า นหั ว หิ น บนเกาะลันตามความลำบากในการเดินทาง โดยเฉพาะการ ตำบลเกาะกลางกับเกาะลันตาน้อย ตำบลเกาะลันตาน้อย ส่ ง ตั ว ผู ้ ป ่ ว ยไปรั ก ษาต่ อ และมี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยในการเดิ น ทาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ดังกล่าว จึงได้ดำเนินการ ค่อนข้างสูง ซึ่งการให้บริการแพขนานยนต์มีช่วงเวลาจำกัด จัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อให้บริก ารงานศึกษาความเหมาะสม เมื่อหมดเวลาการเดินแพขนานยนต์ต้องเหมาเท่านั้น เมื่อมี ทางด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์การลงทุน และการประเมิน สะพานเชื่อมเกาะลันตาส่งผลให้ประชาชนได้รับความสะดวก ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) เส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบล ในการเดินทาง การขนส่งสินค้า และระยะเวลาในการเดินทาง เกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัด และลดค่าใช้จ ่ายในการเดินทาง ทั้งนี้ก ารก่อสร้างสะพาน กระบี่ เป็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง เป็นการเชื่อมภาคประชาชนกับ หน่วยงานของรัฐและเป็น ทางบก และสนับสนุนการแข่งขันภาคการท่องเที่ย วของ การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ประเทศอีกด้วย - ขอเสนอแนะเส้นทางในการสร้างสะพานที่ส่งผลกระทบต่อ - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ได้แก่ เส้นที่ 1 จากบ้านคลองหมาก – ทั้งนี้ประเด็นผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางที่ปรึกษาต้องปฏิบัติ ห้องจำหน่ายตั๋วบริเวณบ่อกุ้งร้าง ซึ่งส่งผลกระทบต่อป่าชายเลน ตามกฎหมาย และสำหรับการพัฒนาโครงการจะต้องศึกษา ประมาณ 100 เมตร และเส้นที่ 2 จากบ้านหัวหิน – ผ่าน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด เกาะปลิง - บ้านทุ่งโต๊ะหยุม ซึ่งส่งผลกระทบต่อป่าชายเลน ประมาณ 100 เมตร - ขอเสนอแนะให้แขวงทางหลวงชนบทกระบี่จัดตั้งสำนักงาน - แขวงทางหลวงชนบทกระบี่ได้มีแผนงานจะสร้างศูนย์บำรุง ทางหลวงชนบทในพื้นที่อำเภอเกาะลันตา ย่อยเพื่อดูแลถนนโครงข่ายในพื้นที่เกาะลันตา - ขอเสนอแนะรูปแบบโครงสร้างสะพานให้มีความโดดเด่น - โครงการจะดำเนินการออกแบบรูปแบบโครงสร้างสะพาน เป็นเอกลักษณ์ เพื่อเป็น Landmark ของเกาะลันตา และมี ให้มีความเป็นอัตลักษณ์และโดดเด่น ทั้งนี้ในการออกแบบ จุดพักรถบนสะพานสำหรับประชาชน นักท่องเที่ยวได้ชม รูปแบบจุดชมวิวให้เป็น Landmark สามารถเสนอแนะมา วิวของเกาะลันตา ได้ โดยเสนอแนะผ่านแบบประเมิน หรือผ่านทางเว็บไซต์ โครงการและLine official เพื่อนำข้อเสนอแนะไปพิจารณา การออกแบบต่อไป - มีความกังวลว่าโครงการอาจจะไม่ได้ก ่อสร้างจริง จึงขอ - โครงการนี้ปัจ จุบันอยู่ระหว่างการศึก ษาความเหมาะสม เสนอให้เร่งรัดในการก่อสร้างโครงการ โดยให้คำนึ งถึงการ ในขั้นรายละเอียดเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการสำรวจ ลงทุนและค่าบำรุงรักษาโครงการ และออกแบบ เมื่อดำเนินการเสร็จจะขึ้นอยู่กับนโยบาย ของรัฐบาลในการพิจารณาอนุมัติก่อสร้างโครงการต่อไป กรมทางหลวงชนบท 8-53 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.2-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมปฐมนิเทศโครงการ (ต่อ) ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา - ขอให้ออกแบบรูปแบบโครงสร้างสะพานให้มีความแข็งแรง - ที ่ ป รึ ก ษาขอรั บ ข้ อ เสนอแนะไปพิ จ ารณาประกอบการ และมั่นคง ออกแบบ - ขอให้มีการปรับปรุงผิวถนนของสะพานสิริลันตา ปัจจุบัน - แขวงทางหลวงชนบทกระบี่มี แผนที่จะปรับปรุงถนนของ ผิวถนนไม่เรีย บ ขรุขระผิวหน้าคอนกรีตหลุดล่อน ทำให้ สะพานสิริลันตา และขอให้ประชาชนขับขี่บนเส้นทางด้วย การสัญจรไป-มาไม่สะดวก ความระมัดระวังและเคารพกฎจราจร - มีความต้องการให้มีการวางผังเมือง เพื่อให้เกาะลันตามีการ - ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ และกรมโยธาธิการจังหวัดกระบี่ พัฒนาอย่างมีทิศทางสมบูรณ์และเกิดความสมดุล ได้มีการจัดประชุมเพื่อวางแผนแม่บทในการพัฒนาพื้ น ที่ ต่างๆ ในจังหวัด และพื้นที่เกาะลันตา ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบาย ของรัฐบาลในการพิจารณาอนุมัติเดินตามแผนต่อไป - ขอให้รูปแบบทางเลือกโครงสร้างสะพานมีตอม่อ อยู่ในน้ำ - ที ่ ป รึ ก ษา ขอรั บ ข้ อ เสนอแนะไปพิ จ ารณาประกอบการ น้อยที่สุด หรือรูปแบบทางเลือกโครงสร้างสะพานทางเลือก ออกแบบ ที่มีตอม่อ 3 ต้น เนื่องจากบริเวณพื้นที่โครงการเป็นเส้นทาง การเดินเรือของชาวประมง ถ้ามีตอม่อมากจะกีดขวางการ เดินเรือ - ขอให้ ร ู ป แบบทางเลื อ กโครงสร้ า งสะพานมี ต อม่ อ มาก - ที ่ ป รึ ก ษาขอรั บ ข้ อ เสนอแนะไปพิ จ ารณาประกอบการ เพราะจะทำให้สะพานมีความแข็งแรงและมั่นคง จึงเห็น ออกแบบ ด้วยกับรูปแบบทางเลือกโครงสร้างสะพานทางเลือกที่ 1 (สะพานคานยื่นเสริมการขึงสายเคเบิล) ซึ่งเป็นโครงสร้าง สะพานเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ด้านสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาโครงการอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แต่ - โครงการมีมาตรการในการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ ปัจจุบันแพขนานยนต์ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจาก สิ่งแวดล้อม ทั้งในระหว่างก่อสร้างและระยะดำเนินการ น้ำมันเครื่องจากแพขนานยนต์ ไหลลงน้ำ ทะเล ทำให้ ไม่ รวมทั้งมีมาตรการในการกำหนด ให้มีศูนย์รับเรื่องร้องเรียน สามารถบริโภคหอยบริเวณนั้นได้และแพขนานยนต์ปล่อย เพื่อรับเรื่องร้องเรียนจากประชาชน เมื่อได้รับเรื่องร้องเรียน ควันทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ แล้วจะดำเนินการตรวจสอบ เพื่อดำเนินการแก้ไขต่อไป - ขอทราบขอบเขตรัศมีในการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม - โครงการได้ทำการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมครอบคลุม ของพื้นที่ศึกษาโครงการ พื้นที่ระยะ 500 เมตร จากกึ่งกลางแนวเส้นทางโครงการ เป็นอย่างน้อยหรือมากกว่าในกรณที่มีผลกระทบในวงกว้าง เพื ่ อ ศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ผลกระทบที่เกิ ดจากการดำเนิ น กิจกรรมการดำเนินโครงการฯ ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ของประชาชนบริเวณโครงการและพื้นที่ใกล้เคียงโครงการ ซึ่งอาจได้รับผลกระทบทั้งทางตรงทางอ้อม - ขอให้เห็นความสำคัญปัญหาของประชาชนมากกว่าความ - โครงการพร้อมรับฟังและให้ความสำคัญกับความคิดเห็ น เสียหายของทรัพยากรธรรมชาติ ของประชาชนอยู่แล้ว แต่ในส่วนของผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากการพัฒนาโครงการจะต้องมีมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป - หากมีการพัฒนาโครงการขอให้มีการบูรณาการหรือปลูกป่า - โครงการมีมาตรการในการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ ชายเลนทดแทนเพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนในอนาคต สิ่งแวดล้อม ในการใช้พื้นที่ป่าชายเลนจะต้องมีการปลูกป่า ชายเลนทดแทนจะถูกกำหนดเป็นมาตรการทางสิ่งแวดล้อม กรมทางหลวงชนบท 8-54 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.2-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมปฐมนิเทศโครงการ (ต่อ) ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา ด้านการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน - หากมีการพัฒนาโครงการขอให้คำนึงถึงที่อยู่อาศัย ร้านค้า - กรมทางหลวงชนบทมีนโยบายให้มีผลกระทบต่อประชาชน หรือที่ทำมาหากินของประชาชนในพื้นที่เกาะลันตา ให้น้อยที่สุดโดยจะใช้เส้นทางเดิมที่มีอยู่แล้วเป็นหลัก ส่วน สำหรับการเวนคืนที่ดิน การเวนคืนจะดำเนินการเวนคื น พื้นที่เพื่อนำมาใช้เฉพาะเพื่อการพัฒนาโครงการเท่านั้น ทั้งนี้การประเมินราคาค่าชดเชยกรณีแปลงที่ตั้งอยู่ในทำเล ที่แตกต่างกัน การประเมินราคาจะขึ้นอยู่กับขนาดที่ดิน รูปร่างของแปลงที่ดิน ที่ตั้งหรือทำเล ซึ่งแปลงที่ดินที่ ตั้ง อยู่ในทำเลที่ติดถนนย่อมได้ราคาค่าชดเชยที่สูงกว่าที่ดิ น ที่ไม่ติดถนน หรือที่ดินที่ตั้งอยู่ติดถนนใหญ่ย ่อมได้ราคา ค่าชดเชยที่สูงกว่าที่ดินที่อยู่ติดถนนในซอย เป็นต้น ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน - การเชิญเข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศโครงการ ขอให้มีการเชิญ - การประชุมปฐมนิเทศโครงการจะเน้นการเชิญผู้แทนหน่วยงาน ประชาชนในชุมชนต่างๆ ที่อยู่ในพื้นที่ศึกษาโครงการเข้า ที่เกี่ยวข้องและผู้นำชุมชนเป็นหลัก ส่วนประชาชนที่ได้รับ ร่วมรับฟังข้อมูลโครงการและเสนอข้อคิดเห็นด้วย ผลกระทบจากการพัฒนาโครงการเป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะ เชิญเข้าร่วมประชุมกลุ่มย่ อยในครั้งต่อไป ในระดับพื้น ที่ ทั้งนี้ปัจจุบันมีการระบาดของโรคติดต่อ Covid-19 ต้องทำ ตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค Covid-19 อย่างเคร่งครัด จึงต้องเว้นระยะห่างทางสั ง คม ( Social Distancing) นอกจากนี้การมีส่วนร่วมของประชาชนสามารถ เข้ามาแสดงความคิ ดเห็ นและติ ดตามความคื บ หน้า ของ โครงการ ผ่านทางเว็บไซต์โครงการ line official เว็บสำนัก นายกรัฐมนตรี และบอร์ดประชาสัมพันธ์ที่หน่วยงานในพื้นที่ 8.8.3 การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 1) ผลการจัดประชุมโครงการ การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโครงการ โดยเฉพาะ แนวคิดในการคัดเลือกแนวสายทางและรูปแบบของเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา (ตำบลเกาะกลาง - ต.เกาะลันตาน้อย) และหลักเกณฑ์การคัดเลือกแนวสายทางและรูปแบบของเส้นทางเชื่อมเกาะลันตาที่เหมาะสมให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับทราบและเพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ จากกลุ่มเป้าหมายและนำความเห็นรวม รวมทั้งข้อเสนอแนะที่ได้ไปใช้ในการพิจารณาประกอบในการศึกษาของโครงการ ในการประชุมดังกล่าวได้แบ่งย่อย เป็น 2 กลุ่ม โดยม นายอำเภอเกาะลันตา เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุม ซึ่งมีผู้เข้าร่วม ประชุมเวทีที่ 1 รวมทั้งสิ้น 160 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 จากจำนวนที่เชิญเข้าร่วมประชุมทั้งหมด 107 คน และเวทีที่ 2 รวมทั้งสิ้น 99 คน คิดเป็นร้อยละ 99.0 จากจำนวนที่เชิญเข้าร่วมประชุมทั้งหมด 100 คน แสดงดัง ตารางที่ 8.8.3-1 ถึงตารางที่ 8.8.3-2 และรูปที่ 8.8.3-1 ถึงรูปที่ 8.8.3-2 การประชุมได้มีผู้เข้าร่วมประชุมแสดง ความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ สามารถสรุปได้ ดังตารางที่ 8.8.3-3 กรมทางหลวงชนบท 8-55 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน การประชุมรับฟังความคิดเห็นเพื่อนำเสนอหลักเกณฑ์และรูปแบบทางเลือกเบื้องต้นแก่ผู้เข้าร่วม ประชุม (ผู้มีส่วนได้เสียและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) ได้รับทราบ รวมทั้งรับฟังความคิดเห็น ข้อมูลของชุมชน ประเด็น ที่กังวล ข้อคิดเห็นเบื้องต้นต่อโครงการ และข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินโครงการ ซึ่งในการประชุม ผู้ตอบความคิดเห็นส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อผลการคัดเลือกแนวเส้นทางที่เหมาะสมของโครงการ ซึ่งแนวทาง เลือกที่ 3 มีความเหมาะสม จำนวน 146 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 77.66 และไม่แสดงความคิดเห็น 42 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 22.34 จากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 188 ตัวอย่าง และความคิดเห็นต่อรูปแบบทางเลือก การพัฒนาโครงการ รูปแบบใดมีความเหมาะสมต่อการพัฒนาโครงการ ส่วนใหญ่เห็นว่ารู ปแบบสะพานคานขึง ( Extradosed Bridge with double plane cable) เหมาะสม จำนวน 73 ตั ว อย่ า ง คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 38. 02 อันดับสอง คือ รูปแบบสะพานคานยื่น (Balance Cantilever Bridge) จำนวน 58 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 30.21 อันดับสาม คือ รูปแบบสะพานแขวน ( Suspension Bridge) จำนวน 10 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 5. 21 อันดับสี่ คือ รูปแบบสะพานขึง ( Cable Stayed Bridge) จำนวน 4 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 2.08 อันดับสุดท้าย คือ รูปแบบอุโมงค์ท่อใต้น้ำ ( Immersed Tube Tunnel) จำนวน 1 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 0.52 อันดับสุดท้าย โดยมีผู้ไม่แสดงความคิดเห็น จำนวน 46 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 23.96 2) การประเมินผลสำเร็จของการประชุม (1) ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการประชุม ในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการ ประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 มีจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เชิญเข้าร่วมการประชุม 207 คน มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 259 คน ดังนั้น จึงมีจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมต่อจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เชิญประชุม คิดเป็นร้อยละ 100.0 โดยมี ระดับผลสำเร็จในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมอยู่ในระดับมาก (มีร้อยละผู้เข้าร่วมประชุมระหว่าง 70) (2) ผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอ มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 188 ตัวอย่าง โดยให้ความคิดเห็นด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในระดับมาก (5 คะแนน) จำนวน 91 ตัวอย่าง ในระดับปานกลาง (3 คะแนน) จำนวน 96 ตัวอย่าง และในระดับน้อย ( 1 คะแนน) จำนวน 1 ตัวอย่าง ดังนั้น จึงมีผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอเฉลี่ยเท่ากับ 3.91 ถือว่าประสบผลสำเร็จในด้าน ข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในระดับมาก (มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า 3.5 คะแนน) (3) ผลสำเร็จในด้านเอกสารประกอบการประชุม มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 188 ตัวอย่าง โดยให้ความคิดเห็นด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมในระดับมาก ( 5 คะแนน) จำนวน 117 ตัวอย่าง ในระดับปานกลาง ( 3 คะแนน) จำนวน 66 ตัวอย่าง และในระดับน้อย ( 1 คะแนน) จำนวน 2 ตัวอย่าง ดังนั้น จึงมีผลสำเร็จในด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมที่นำเสนอเฉลี่ยเท่ากับ 4.1 ถือว่า ประสบผลสำเร็จในด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมที่นำเสนอในระดับมาก (มีคะแนนเฉลี่ย มากกว่า 3.5 คะแนน) กรมทางหลวงชนบท 8-56 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.3-1 จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชน (การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2563 เวลา 08.30 – 12.00 น. ณ อาคารกลุ่มสตรี โรงเรียนบ้านทุ่งวิทยพัฒน์ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จำนวนที่เชิญ จำนวนผู้เข้าร่วม กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงาน ร้อยละ ประชุม (คน) ประชุม (คน) 1) ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ผู้นำชุมชนในพื้นที่ - ตำบลเกาะกลาง 10 4 40.00 - ตำบลเกาะลันตาน้อย 6 14 100.00 - ตำบลคลองยาง 7 - 0.00 - ตำบลศาลาด่าน - - - - ตำบลเกาะลันตาใหญ่ - - - สถาบันการศึกษา 2 7 100.00 ศาสนสถาน 10 8 80.00 สถานพยาบาล 2 7 100.00 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ - ประชาชนตำบลเกาะกลาง 21 9* 42.86 - ประชาชนตำบลเกาะลันตาน้อย 33 13* 39.40 3) หน่วยงานที่ทำหน้าที่พิจารณา สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร- - - - รายงานการประเมินผลกระทบ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) สิ่งแวดล้อม 4) หน่วยงานราชการระดับต่างๆ หน่วยงานราชการระดับอำเภอ 7 5 71.43 และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 9 6 66.67 5) องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม หน่วยงานภาคเอกชน - - - องค์กรพัฒนาเอกชน องค์การ องค์กรพัฒนาเอกชน - - - อิสระด้านสิ่งแวดล้อม และ สุขภาพ สถาบันการศึกษา ภายในท้องถิ่นและในระดับ อุดมศึกษา และนักวิชาการอิสระ 6) สื่อมวลชน - สื่อมวลชน - 1 100.00 7) ประชาชนทั่วไป - ประชาชนผู้สนใจในโครงการ - 74 100.00 รวม 107 148 100.00 2) หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำ หน่วยงานเจ้าของโครงการ 100.00 รายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม - 4 บริษัทที่ปรึกษา - 8 100.00 รวม 107 160** 100.00 ที่มา : ที่ปรึกษา 2564 * เนื่องจากเป็นการประชุมกลุ่มย่อยจึงไม่ได้เชิญกลุ่ม (NGO, ENGO) หมายเหตุ : * กลุ่มประชาชนเดินทางเข้าร่วมประชุมน้อย เนื่องจากวันประชุมมีพายุฝนฟ้าคะนองทำให้เดินทางไม่สะดวก ** คือ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 160 คน นับรวมหน่วยงานเจ้าของโครงการ และบริษัทที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 8-57 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.3-2 จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชน (การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน 2563 เวลา 08.30 – 12.00 น. ณ อาคารกลุ่มสตรี โรงเรียนบ้านทุ่งวิทยพัฒน์ ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จำนวน จำนวน กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงาน ที่เชิญประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม ร้อยละ (คน) (คน) 1) ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ผู้นำชุมชนในพื้นที่ - ตำบลเกาะกลาง - - - - ตำบลเกาะลันตาน้อย - - - - ตำบลคลองยาง - - - - ตำบลศาลาด่าน 5 2 40.00 - ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 10 13 100.00 สถาบันการศึกษา 4 3 75.00 ศาสนสถาน 15 2 13.33 สถานพยาบาล 3 1 33.33 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ - ประชาชนตำบลเกาะกลาง - - - - ประชาชนตำบลเกาะลันตาน้อย - - - - ประชาชนตำบลศาลาด่าน 24 7* 29.17 - ประชาชนตำบลเกาะลันตาใหญ่ 34 3* 8.82 3) หน่วยงานที่ทำหน้าที่พิจ ารณา สำนัก งานนโยบายและแผนทรั พยากร- - - - รายงานการประเมินผลกระทบ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) สิ่งแวดล้อม 4) หน่วยงานราชการระดับต่างๆ หน่วยงานราชการระดับอำเภอ - 1 100.00 และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 4 80.00 5) องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม หน่วยงานภาคเอกชน - - - องค์ กรพั ฒนาเอกชน องค์ การ องค์กรพัฒนาเอกชน - - - อิ ส ระด้ า นสิ ่ ง แวดล้ อ ม และ สุขภาพ สถาบันการศึกษาภายใน ท้องถิ่นและในระดับ อุดมศึกษา และนักวิชาการอิสระ 6) สื่อมวลชน - สื่อมวลชน - - - 7) ประชาชนทั่วไป - ประชาชนผู้สนใจในโครงการ - 50 100.00 รวม 100 86 86.00 2) หน่วยงานที่รั บ ผิ ดชอบจั ด ทำ หน่วยงานเจ้าของโครงการ - 4 100.00 รายงานการประเมินผลกระทบ บริษัทที่ปรึกษา - 9 100.00 สิ่งแวดล้อม รวม 100 99** 99.00 ที่มา : ที่ปรึกษา 2564 * เนื่องจากเป็นการประชุมกลุ่มย่อยจึงไม่ได้เชิญกลุ่ม (NGO, ENGO) หมายเหตุ : * กลุ่มประชาชนเดินทางเข้าร่วมประชุมน้อย เนื่องจากวันประชุมมีพายุฝนฟ้าคะนองทำให้เดินทางไม่สะดวก ** คือ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 99 คน นับรวมหน่วยงานเจ้าของโครงการ และบริษัทที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 8-58 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้เข้าร่วมประชุมศึกษาบอร์ดนิทรรศการ ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น รูปที่ 8.8.3-1 บรรยากาศการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 (วันที่ 19 กันยายน 2563 เวลา 08.30 – 12.00 น.) กรมทางหลวงชนบท 8-59 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้เข้าร่วมประชุมศึกษาบอร์ดนิทรรศการ วิศวกรโยธาชำนาญการ สกส. กล่าวรายงาน ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม นายอำเภอเกาะลันตา กล่าวเปิดการประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น รูปที่ 8.8.3-2 บรรยากาศการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 (วันที่ 20 กันยายน 2563 เวลา 08.30 – 12.00 น.) กรมทางหลวงชนบท 8-60 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.3-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา ด้านวิศวกรรม - เห็นด้วยกับผลการคัดเลือกแนวเส้นทางในแนวทางเลือกที่ 3 - ในการกำหนดแนวเส้นทางจะใช้หลัก เกณฑ์ก ารพิจ ารณา เนื่องจากแนวเส้นทางผ่านเกาะปลิง สามารถสร้างตอม่อ คัดเลือกแนวเส้นทาง ได้ก ำหนดปัจ จัย ในการคัดเลือกให้ ได้ง่ายและมีตอม่อในลำน้ำน้อย ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ครอบคลุมปัจ จัย ต่างๆ คือ ด้านวิศวกรรมและการจราจร ชุมชนและการจราจรน้อยที่สุด นอกจากนี้ช่วยส่งเสริมการ ด้านเศรษฐกิจและการลงทุน และด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม ท่องเที่ยวในตำบลเกาะลันตาน้อยให้มากขึ้นด้วย โดยหลั ก เกณฑ์ ในการพิจ ารณาเปรี ย บเที ย บจะพิจ ารณา วิเคราะห์ประเมินผลจากคะแนนทุกด้านรวมกัน เพื่อคัดเลือก แนวเส้นทางที่เหมาะสม - เห็นด้วยกับรูปแบบการพัฒนาโครงการในรูปแบบที่ 3 แบบ - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ สะพานคานขึง (Extradosed Bridge with double plane cable) เนื่องจากมีความแข็งแรง มั่นคงและเป็นรูปแบบที่มี ความแปลกใหม่ สวยงาม สามารถเป็นเอกลักษณ์ของเกาะ ลันตาได้อีกด้วย - ขอทราบหลักเกณฑ์หรือตัวชี้วัดความคุ้มค่าของโครงการ - การวิเคราะห์ความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจของโครงการ ซึ่งมีการนำค่าเสียเวลาและค่าน้ำมันระหว่างรอข้า มแพ- จะเป็นการนำต้นทุนโครงการและค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งหมดกับ ขนานยนต์ด้วยหรือไม่ ผลประโยชน์ตอบแทนที่ได้รับจากโครงการตลอดช่วงอายุ การใช้งานหรือวิเคราะห์โ ครงการมาเปรีย บเทียบกัน โดย ผลการวิเคราะห์จะแสดงด้วยค่าดัชนีชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ มู ล ค่ า เงิ น ปั จ จุ บ ั น สุ ท ธิ ( NPV) อั ต ราผลตอบแทน ทางด้านเศรษฐกิจ ( EIRR) และอัตราส่วนผลประโยชน์ต่อ ต้นทุน (Benefit/Cost Ratio: B/C) - มีความกังวลด้านความปลอดภัย บนท้องถนน เนื่องจาก - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ ในอนาคตจะมีปริมาณการจราจรเพิ่มมากขึ้น ทำให้ถนน ไม่สามารถรองรับปริมาณรถที่เพิ่มขึ้นอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุ ได้ - ขอให้ออกแบบรูปแบบสะพานมีจุดพักรถบนสะพาน เพื่อให้ - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ นักท่องเที่ยวชมวิว แต่อย่างไรก็ดีในการออกแบบรูปแบบสะพานให้มีจุดพักรถ จะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน - ประชาชนในพื้นที่เกาะลันตามีความต้องการสะพานเชื่อม - กรมทางหลวงชนบท เล็งเห็นความจำเป็นของการก่อสร้าง เกาะลันตาเป็นอย่างมาก และขอให้มีการก่อสร้างสะพาน เส้ น ทางคมนาคมขนส่ ง ทางบกที ่ เ ชื ่ อ มระหว่ า งตำบล ให้เร็วที่สุด เพื่อความสะดวกในการเดินทาง เกาะกลางไปยั ง ตำบลเกาะลั น ตาน้ อ ย จึ ง ได้ ด ำเนิ น การ จัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อให้บริการศึกษาความเหมาะสมทางด้าน วิศวกรรม เศรษฐศาสตร์การลงทุน และการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม (EIA) ของโครงการฯ - ขอทราบระยะเวลาในการเริ่มก่อสร้างสะพาน - โครงการนี้ปัจ จุบั นอยู่ระหว่ างการศึก ษาความเหมาะสม ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขั้นรายละเอียด ( EIA) เพื่อเตรียม ความพร้อมสำหรับการสำรวจและออกแบบ เมื่อดำเนินการ เสร็จจะขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาลในการพิจารณาอนุมัติ ก่อสร้างโครงการ ซึ่งคาดว่าเริ่มก่อสร้างสะพานได้เร็วที่สุด ในปี พ.ศ. 2565 กรมทางหลวงชนบท 8-61 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.3-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 (ต่อ) ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา - แนะนำให้จ ำกัดความเร็วรถทุก ชนิดที่ขึ้นสะพาน และขอ - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ เสนอแนวคิดให้สะพานมีเสียงดนตรี - เห็นด้วยกับผลการคัดเลือกแนวเส้นทางในแนวทางเลือกที่ 3 - ในการกำหนดแนวเส้นทางจะใช้หลัก เกณฑ์ก ารพิจ ารณา ที่มีความเหมาะสม และขอให้ออกแบบหลีกเลี่ยงกุโบร์และ คัดเลือกแนวเส้นทาง เพื่อคัดเลือกแนวเส้นทางที่เหมาะสม มัสยิดบริเวณพื้นที่จุดสิ้นสุดโครงการ ตำบลเกาะลันตาน้อย และมีการออกแบบจุดสิ้นสุดโครงการเพื่อหลีกเลี่ยงพื้ น ที่ อ่อนไหว อย่างเช่น กุโบร์ มัสยิด และขยายเขตทางให้น้อย ที่สุดเพื่อลดผลกระทบต่อชุมชน - เห็นด้วยกับรูปแบบการพัฒนาโครงการในรูปแบบที่ 3 แบบ - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ สะพานคานขึง (Extradosed Bridge with double plane cable) สามารถเป็นเอกลักษณ์ของเกาะลันตาได้ - กังวลเกี่ยวกับถนนในพื้นที่เกาะลันตา เนื่องจากในอนาคตจะ - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ มีปริมาณการจราจรเพิ่มมากขึ้นหลังจากการก่อสร้างสะพาน และประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป แล้วเสร็จ จะทำให้มีนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นถนนไม่สามารถ รองรับปริมาณรถที่เพิ่มขึ้นได้ - เมื่อมีการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาแล้วเสร็จ จำนวน - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ คนในพื้นที่จะเพิ่มมากขึ้นอาจส่งผลให้เกิดอาชญากรรมใน และประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป พื้นที่เพิ่มขึ้น จึงขอเสนอให้มีจุดตรวจคัดกรองหากลุ่มเสี่ยง COVID-19 และการป้องกันอาชญากรรม - ประชาชนในพื้นที่เกาะลันตามีความต้องการสะพานเชื่อม - กรมทางหลวงชนบท เล็งเห็นความจำเป็นของการก่อสร้าง เกาะลันนตาเป็นอย่างมาก และขอให้มีการก่อสร้างสะพาน เส้นทางคมนาคมขนส่งทางบกที่เชื่อมระหว่างตำบลเกาะ ให้เร็วที่สุด เพื่อความสะดวกในการเดินทาง กลางไปยังตำบลเกาะลันตาน้อย จึงได้ดำเนินการจัดจ้าง ที่ปรึกษาเพื่อให้บริการศึกษาความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์การลงทุน และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ของโครงการฯ - ขอให้ออกแบบรูปแบบสะพานมีจุดพักรถบนสะพาน เพื่อให้ - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ นักท่องเที่ยวชมวิว แต่อย่างไรก็ดีในการออกแบบรูปแบบสะพานให้มีจุดพักรถ จะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน - ขอทราบระยะเวลาในการเริ่มก่อสร้างสะพาน - โครงการนี้ปัจ จุบั นอยู่ระหว่ างการศึก ษาความเหมาะสม ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขั้นรายละเอียด ( EIA) เพื่อเตรียม ความพร้อมสำหรับการสำรวจและออกแบบ เมื่อดำเนินการ เสร็จจะขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาลในการพิจารณาอนุมัติ ก่อสร้างโครงการ ซึ่งคาดว่าเริ่มก่อสร้างสะพานได้เร็วที่สุดใน ปี พ.ศ. 2565 ด้านสิ่งแวดล้อม - การเข้าสำรวจพื้นที่โครงการที่อยู่ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุ่ง - เขตห้ามล่า สัต ว์ ป่ า ทุ ่ง ทะเลอยู่ ใ นพื้ น ที่ ภ ายใต้ก ารกำกั บ ทะเล สามารถเข้าสำรวจได้หรือไม่ เนื่องจากมีความกังวลว่า ดูแล ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช จึงได้ จะส่งผลต่อการพัฒนาโครงการล่าช้า ดำเนินการขออนุญาตเข้าทำการศึกษาและวิจัยทางวิชาการ ในพื ้ น ที ่ ป ่ า อนุร ัก ษ์ ที ่ ก รมอุ ท ยานแห่ งชาติ สั ต ว์ ป ่ าและ พันธุ์พืชกำหนด ซึ่งปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนพิจารณาให้ความ เห็นชอบต่อโครงการ กรมทางหลวงชนบท 8-62 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.3-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 (ต่อ) ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา - ขอให้หน่วยงานหรื อองค์ก รการท่อ งท่อ งเที ่ย วต่า งๆ มา - ที ่ ป รึ ก ษาขอรั บ ข้ อ เสนอแนะเพื ่ อ ประสานกั บ หน่ ว ยงาน ช่วยเหลือสนับสนุนการท่องเที่ยวในตำบลเกาะลันตาน้อยให้ ที่เกี่ยวข้องต่อไป ควบคู่ไปกับตำบลเกาะลันตาใหญ่ - ควรให้ความสำคัญทรัพยากรธรรมชาติควบคู่กับความเป็นอยู่ - โครงการพร้อมรับฟังและให้ความสำคัญกับความคิดเห็นของ ของประชาชน ประชาชน แต่อย่างไรก็ตามผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ เ กิ ด จากการพัฒนาโครงการจะต้องมีมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป - ขอให้ผู้นำชุ มชนในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการ - สามารถเข้าร่วมประชุมการมีส่วนร่วมภาคประชาชน ชี้แจง ตรวจรับสะพานด้วย รายละเอียดก่อนการก่อสร้าง พร้อมลงนาม MOU เพื่อให้ ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารรายละเอียดโครงการ รวมถึงการรับฟังข้อเสนอแนะจากประชาชน เพื่อทำให้การ ก่ อ สร้ า งเป็ น ไปอย่า งรวดเร็ ว มีค ุ ณ ภาพตามนโยบายของ กรมทางหลวงชนบท - กังวลการจัดการขยะในพื้นที่เกาะลันตา เมื่อมีนักท่องเที่ยว - ที ่ ป รึ ก ษาขอรั บ ข้ อ เสนอแนะเพื ่ อ ประสานกั บ หน่ ว ยงาน เพิ่มมากขึ้น ที่เกี่ยวข้องต่อไป แต่อย่างไรก็ดีการจัดการขยะที่เกิดจาก การพัฒนาโครงการจะต้ องมี ม าตรการป้องกัน และแก้ ไ ข ผลกระทบสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน - ขอให้เพิ่มตำบลคลองยาง และตำบลเกาะกลางซึ่งเป็นตำบล - ที่ปรึก ษาขอรับข้อเสนอแนะไปดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ที่อยู่ในอำเภอเกาะลันตา และแก้ไขที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอ ต่อไป เกาะลันตาให้เป็นปัจจุบัน ของหัวข้อความเป็นมาโครงการ ในเอกสารประกอบการประชุม - ขอให้ส่งแบบสอบถามให้แก่ประชาชนที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุม - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปดำเนินการต่อไป แต่อย่างไร ได้มีส่วนในการแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนาโครงการ ก็ตาม ทางที่ปรึกษาจะมีการลงสำรวจด้านเศรษฐกิจ -สังคม ซึ่งทางผู้นำชุมชนเป็นผู้รวบรวมส่งให้แก่ที่ปรึกษาในการ เป็นการสำรวจความคิดเห็นทางสังคมเชิงลึก โดยเป็นการ ประชุมครั้งต่อไป สุ่มตัวอย่างจากจำนวนครัวเรือนในแต่ละหมู่บ้านและตำบล - ขอเสนอแนะให้ติดป้ายประชาสัมพันธ์เชิญเข้าร่วมประชุม - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปดำเนินการในการจัดประชุม ของโครงการ บริเวณทางแยกหรือสถานที่ที่สามารถมองเห็น ครั้งต่อไป ได้ชัดเจน - ขอเสนอแนะให้จัดประชุมแยกตามพื้นที่ เนื่องจากประชาชน - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปดำเนินการในการจัดประชุม ไม่ ต ้ อ งเสีย ค่า เวลาและค่ า ใช้ จ ่า ยในการเดิน ทางข้ ามแพ ครั้งต่อไป ขนานยนต์ กรมทางหลวงชนบท 8-63 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.8.4 การประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) 1) ผลการจัดประชุมโครงการ การประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโครงการ ให้ผู้มีส่วนได้ -ส่วนเสียจากโครงการได้รับทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงการ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งสรุปผลการคัดเลือกแนวและรูปแบบ ทั้งนี้เส้นทางเชื่อมเกาะลันตา (ต.เกาะกลาง - ต.เกาะลันตาน้อย) ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบพร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ เกี่ยวกับโคร งการเพื่อ นำไปใช้ประกอบการศึกษาให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้นโดยดำเนินการในวันที่ 21 ตุลาคม 2563 เวลา 09.00 - 12.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ ซึ่งมีผู้เข้าร่วม ประชุมรวมทั้งสิ้น 223 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 จากจำนวนเชิญเข้าร่วมประชุมทั้งหมด 208 คน และวันที่ 22 ตุลาคม 2563 เวลา 08.30 -12.00 น. ณ โรงยิมเอนกประสงค์ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง จังหวัดกระบี่ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 94 คน คิดเป็นร้อยละ 94.94 จากจำนวนที่เชิญเข้าร่วมประชุมทั้งหมด 99 คน แสดงดังตารางที่ 8.10-1 ถึงตารางที่ 8.10-2 และรูปที่ 8.10-1 ถึงรูปที่ 8.10-2 ในการประชุมได้มีผู้เข้าร่วม ประชุมแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ สามารถสรุปได้ดังตารางที่ 8.10-3 การดำเนินงานรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) ในวันที่ 21 ตุลาคม 2563 เวลา 09.00 – 12.30 ณ ห้องอาคารเอนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 206 คน โดยผู้ตอบความคิดเห็นส่วนใหญ่มีปัญหาเกี่ยวกับการเดินทาง สัญจรเชื่อมต่อระหว่างเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย คิดเป็นร้อยละ 97.40 ปัญหาส่วนใหญ่ คือ ระยะเวลาในการเดินทางนาน ร้อยละ 93.33 รองลงมา คือ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางสูง ร้อยละ 78.67 และ อันดับสาม คือ ความสะดวกในการเดินทางต่ำ ร้อยละ 69.33 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อด้านคมนาคมของ จ.กระบี่ หรือไม่ ความคิดเห็นส่วนใหญ่ คือ มีประโยชน์ ร้อยละ 100.00 ความ คิดเห็นว่ามีประโยชน์อย่างไรส่วนใหญ่ คือ อำนวยความสะดวกในการเดินทาง ร้อยละ 89.61 รองลงมา คือ ส่งเสริมการพัฒนาด้านขนส่ง และด้านเศรษฐกิจ ร้อยละ 88.31 และอันดับสาม คือ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการ เดินทาง ร้อยละ 87.01 ความคิดเห็นต่อผลการคัดเลือกแนวเส้นทางที่เหมาะสมของโครงการ ซึ่งแนวทางเลือกที่ 3 ร้อยละ 100.00 เห็นว่ามีความเหมาะสมและความคิดเห็นต่อรูปแบบทางเลือกที่เหมาะสมของโครงการ ซึ่งรูปแบบสะพาน คานขึง (Extradosed Bridge) เห็นว่ามีความเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 97.40 และไม่เหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 2.60 สำหรับการดำเนินงานรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (การประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) ในวันที่ 22 ตุลาคม 2563 เวลา 08.30 - 12.00 น. ณ ห้อง อาคารโรงยิมเอนกประสงค์ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง ตำบล เกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 90 คน โดยผู้ตอบความคิดเห็นส่วนใหญ่ มีปัญหาเกี่ยวกับการเดินทางสัญจรเชื่อมต่อระหว่างเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย คิดเป็น ร้อยละ 93.79 ปัญหาส่วนใหญ่ คือ ระยะเวลาในการเดินทางนาน ร้อยละ 89.40 รองลงมา คือ ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางสูง ร้อยละ 81.46 และอันดับสาม คือ ความสะดวกในการเดินทางต่ำ ร้อยละ 64.23 ความคิดเห็นเกี่ยวกับ การพั ฒ นาโครงการก่ อให้ เกิ ด ประโยชน์ ต ่ อด้ า นคมนาคมของ จ.กระบี ่ หรื อไม่ ความคิ ด เห็ น ส่ ว นใหญ่ คื อ มีประโยชน์ ร้อยละ 100.00 ความคิดเห็นว่ามีประโยชน์อย่างไรส่วนใหญ่ คือ ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการ เดินทาง ร้อยละ 85.09 รองลงมา คือ อำนวยความสะดวกในการเดินทาง และเพิ่มความปลอดภัย ร้อยละ 81.99 และอันดับสาม คือ รองรับปริมาณจราจรที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต ร้อยละ 78.26 โดยผู้ตอบความคิดเห็นส่วนใหญ่ มีความคิดเห็นต่อผลการคัดเลือกแนวเส้นทางที่เหมาะสมของโครงการ ซึ่งแนวทางเลือกที่ 3 มีความเหมาะสม จำนวน 124 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 77.02 และไม่แสดงความคิดเห็น 36 ตั วอย่าง คิดเป็นร้อยละ 22.36 จาก กรมทางหลวงชนบท 8-64 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 161 ตัวอย่าง และความคิดเห็นต่อรูปแบบทางเลือกที่เหมาะสมของโครงการ ซึ่งรูปแบบสะพานคานขึง ( Extradosed Bridge) เห็นว่าเหมาะสม จำนวน 121 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 75.16 และไม่แสดงความคิดเห็น 38 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 23.60 2) การประเมินผลสำเร็จของการประชุม (วันที่ 21 ตุลาคม 2563 เวลา 09.00 – 12.30 น.) (1) ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการประชุม ในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการ ประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม มีจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เชิญเข้าร่วมการประชุม 307 คน มีผู้เข้าร่วมประชุม ทั้งหมด 317 คน ดังนั้น จึงมีจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมต่อจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เชิญประชุม คิดเป็นร้อยละ 100.0 โดยมีระดับผลสำเร็จในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมอยู่ในระดับมาก (มีร้อยละผู้เข้าร่วมประชุมระหว่าง 70) (2) ผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอ มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 166 ตัวอย่าง โดยให้ความคิดเห็นด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในระดับมาก (5 คะแนน) จำนวน 121 ตัวอย่าง ในระดับปานกลาง (3 คะแนน) จำนวน 49 ตัวอย่าง ดังนั้นจึงมีผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสาร ที่นำเสนอเฉลี่ยเท่ากับ 4.53 ถือว่าประสบผลสำเร็จในด้านข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในระดับมาก (มีคะแนนเฉลี่ย มากกว่า 3.5 คะแนน) (3) ผลสำเร็จในด้านเอกสารประกอบการประชุม มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 166 ตัวอย่าง โดยให้ความคิดเห็นด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมในระดับมาก ( 5 คะแนน) จำนวน 100 ตัวอย่าง ในระดับปานกลาง ( 3 คะแนน) จำนวน 60 ตัวอย่าง และในระดับน้อย ( 1 คะแนน) จำนวน 1 ตัวอย่าง ดังนั้น จึงมีผลสำเร็ จในด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมที่นำเสนอเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 ถือว่า ประสบผลสำเร็จในด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมที่นำเสนอในระดับมาก (มีคะแนนเฉลี่ย มากกว่า 3.5 คะแนน) 3) การประเมินผลสำเร็จของการประชุม (วันที่ 22 ตุลาคม 2563 เวลา 08.30 – 12.30 น.) (1) ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการประชุม ในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการ ประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม มีจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เชิญเข้าร่วมการประชุม 99 คน มีผู้เข้าร่วมประชุม ทั้งหมด 94 คน ดังนั้น จึงมีจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมต่อจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เชิญประชุม คิดเป็นร้อยละ 94.94 โดยมี ระดั บ ผลสำเร็ จ ในการเชิ ญ กลุ่ ม เป้ า หมายเข้ า ร่ ว มประชุ ม อยู่ ในระดั บ มาก (มี ร้ อยละผู้ เข้ า ร่ ว มประชุ ม ระหว่าง 70) 2) ผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอ มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 77 ตัวอย่าง โดยให้ความคิด เห็นด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในระดับมาก (5 คะแนน) จำนวน 53 ตัวอย่าง ในระดับปานกลาง (3 คะแนน) จำนวน 23 ตัวอย่าง และในระดับน้อย ( 1 คะแนน) จำนวน 1 ตัวอย่าง ดังนั้นจึงมีผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอเฉลี่ยเท่ากับ 4.35 ถือว่าประสบผลสำ เร็จในด้าน ข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในระดับมาก (มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า 3.5 คะแนน) (3) ผลสำเร็จในด้านเอกสารประกอบการประชุม มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 77 ตัวอย่าง โดยให้ความคิดเห็นด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมในระดับมาก ( 5 คะแนน) จำนวน 57 ตัวอย่าง ในระดับปานกลาง ( 3 คะแนน) จำนวน 20 ตัวอย่าง ดังนั้น จึงมีผลสำเร็จในด้านความเหมาะสมของ เอกสารประกอบการประชุมที่นำเสนอเฉลี่ยเท่ากับ 4.48 ถือว่าประสบผลสำเร็จในด้านความเหมาะสมของเอกสาร ประกอบการประชุมที่นำเสนอในระดับมาก (มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า 3.5 คะแนน) กรมทางหลวงชนบท 8-65 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.4-1 จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) วันพุธที่ 21 ตุลาคม 2563 เวลา 09.00 – 12.30 น. จำนวน จำนวน กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงาน ที่เชิญประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม ร้อยละ (คน) (คน) 1) ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ผู้นำชุมชนในพื้นที่ - ตำบลเกาะลันตาน้อย 11 10 90.91 - ตำบลศาลาด่าน 5 3 60.00 - ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 8 10 100.00 สถาบันการศึกษา 5 6 100.00 ศาสนสถาน 22 4 18.18 สถานพยาบาล 6 1 16.67 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ - ประชาชนตำบลเกาะลันตาน้อย 20 40 100.00 - ประชาชนตำบลเกาะลันตาใหญ่ 20 17 85.00 - ประชาชนตำบลศาลาด่าน 20 9 45.00 3) หน่วยงานที่ทำหน้าที่ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ 1 - 0.00 พิจารณารายงานการประเมิน และสิ่งแวดล้อม (สผ.) ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) หน่วยงานราชการระดับต่างๆ หน่วยงานราชการระดับต่างๆ 38 29 76.32 และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง - หน่วยงานระดับอำเภอ 7 12 100.00 - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10 18 100.00 - หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ 4 10 100.00 5) องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม องค์กรพัฒนาเอกชน องค์การ อิสระด้านสิ่งแวดล้อม และ สุขภาพ สถาบันการศึกษา 13 3 37.50 ภายในท้องถิ่นและในระดับ อุดมศึกษา และนักวิชาการ อิสระ 6) สื่อมวลชน สื่อมวลชน 10 1 10.00 7) ประชาชนทั่วไป ประชาชนผู้สนใจในโครงการ 10 33 100.00 รวม 202 206 100.00 2) หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานเจ้าของโครงการ 3 7 100.00 จัดทำรายงานการประเมิน - บริษัทที่ปรึกษา 100.00 3 10 ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวม 208 223* 100.00 ที่มา : ที่ปรึกษา 2564 หมายเหตุ : * คือ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 223 คน นับรวมหน่วยงานเจ้าของโครงการ และบริษัทที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 8-66 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.4-2 จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม 2563 เวลา 08.30 – 12.30 น. จำนวน จำนวน กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงาน ที่เชิญประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม ร้อยละ (คน) (คน) 1) ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ผู้นำชุมชนในพื้นที่ - ตำบลเกาะกลาง 10 5 50.00 - ตำบลคลองยาง 7 6 85.71 สถาบันการศึกษา 12 7 58.33 ศาสนสถาน 6 4 66.67 สถานพยาบาล 3 2 66.67 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ - ประชาชนตำบลเกาะกลาง 21 16 76.19 - ประชาชนตำบลคลองยาง 20 2 10.00 3) หน่วยงานที่ทำหน้าที่ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร- 1 - 0.00 พิจารณารายงานการประเมิน ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) หน่วยงานราชการระดับต่างๆ หน่วยงานราชการระดับต่างๆ - - - และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6 40 100.00 - หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ - - - 5) องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม หน่วยงานภาคเอกชน - - - องค์กรพัฒนาเอกชน องค์การ - องค์กรพัฒนาเอกชน - - - อิสระด้านสิ่งแวดล้อม และ สุขภาพ สถาบันการศึกษา ภายในท้องถิ่นและในระดับ อุดมศึกษา และนักวิชาการอิสระ 6) สื่อมวลชน สื่อมวลชน 10 - 0.00 7) ประชาชนทั่วไป ประชาชนผู้สนใจในโครงการ - 6 60.00 รวม 96 88 91.66 2) หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำ หน่วยงานเจ้าของโครงการ 3 6 100.00 รายงานการประเมินผลกระทบ - บริษัทที่ปรึกษา - - - สิ่งแวดล้อม รวม 99 94* 94.94 ที่มา : ที่ปรึกษา 2564 หมายเหตุ : * คือ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 94 คน นับรวมหน่วยงานเจ้าของโครงการ และบริษัทที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 8-67 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้เข้าร่วมประชุมศึกษาบอร์ดนิทรรศการ บรรยากาศตอนลงทะเบียน ผู้อำนวยการแขวงทางหลวงชนบทกระบี่ นายอำเภอเกาะลันตากล่าวเปิดการประชุม กล่าวรายงาน ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น รูปที่ 8.8.4-1 บรรยากาศการประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม วันที่ 21 ตุลาคม 2563 (เวลา 09.00 – 12.30 น.) ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา กรมทางหลวงชนบท 8-68 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้เข้าร่วมประชุมศึกษาบอร์ดนิทรรศการ บรรยากาศตอนลงทะเบียน ตรวจวัดอุณภูมิผู้เข้าร่วมประชุมตามมาตรการ ผู้อำนวยการกลุ่มโครงสร้างพิเศษ สำนักก่อสร้างสะพาน กล่าวเปิดการประชุม ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น วิศวกรโยธาชำนาญการ สกส. ร่วมตอบข้อซักถาม รูปที่ 8.8.4-2 บรรยากาศการประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2) วันที่ 22 ตุลาคม 2563 (เวลา 08.30 – 12.00 น.) ณ อาคารโรงยิมเอนกประสงค์ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะกลาง จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-69 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.4-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา ด้านวิศวกรรม - ต้องการให้สะพานเป็นจุดชมวิว เพื่อสามารถเป็นจุดถ่ายรูป - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ สำหรับประชาชน เน้นความเป็นอัตลักษณ์ของเกาะลันตา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของเกาะลันตา - มีความกังวลกับปริมาณตอม่อของสะพานในน้ำที่มีปริมาณ - ที่ปรึก ษาออกแบบระยะห่างของเสาตอม่ อ โดยคำนึงถึง มาก หลักการกีดขวางการจราจรทางน้ำ โดยแนวเส้นทางเลือก ที่ 3 มีจำนวนเสาตอม่อในน้ำทั้งหมด 15 เสา ประกอบไป ด้วย 4 เสา ในบริเวณร่องน้ำลึก (ความยาวช่วงสะพาน 200 เมตร) และ 11 เสา ในบริเวณร่องน้ำตื้น (ความยาวช่วง สะพาน 75 เมตร) - ต้องการให้สร้างจุดพักรถบนสะพานสำหรับนัก ท่องเที่ย ว - ที ่ ป รึ ก ษาขอรั บ ข้ อ เสนอแนะไปพิ จ ารณาประกอบการ เพื่อใช้ในการชมวิว ออกแบบ แต่อย่างไรก็ดีในการออกแบบรูปแบบสะพานให้มี จุดพักรถจะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน - ในการออกแบบแนวเส้นทางต้องการให้ที่ปรึกษาระมัดระวัง - ในการกำหนดแนวเส้นทางจะใช้หลักเกณฑ์ก ารพิจ ารณา กูโบร์บริเวณบ้านทุ่งโต๊ะหยุม คัดเลือกแนวเส้นทาง เพื่อคัดเลือกแนวเส้นทางที่เหมาะสม และมีการออกแบบจุดสิ้นสุดโครงการเพื่อหลีกเลี่ยงพื้นที่ อ่อนไหว อย่างเช่น กุโบร์ มัสยิดและขยายเขตทางให้น้อย ที่สุดเพื่อลดผลกระทบต่อชุมชน - การไฟฟ้ า ส่ ว นภู ม ิ ภ าคต้ อ งการให้ อ อกแบบโครงสร้ า ง - กรมทางหลวงชนบทได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความเดื อ นร้ อ นของ สะพานสำหรับสายไฟแรงสูงและการประปาส่วนภูมิภ าค ประชาชนในอำเภอเกาะลันตา จึงได้มีการหารือร่วมกับการ ต้ อ งการให้ อ อกแบบโครงสร้ า งสะพานสำหรั บ เดิ น ท่ อ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและการประปาส่วนภูมิภาค เพื่อพัฒนา ประปา เพื่อเดินระบบควบคู่ไปกับสะพาน ระบบสาธารณูปโภคควบคู่ไปกับการพัฒนาเส้นทางเชื่อม เกาะลันตา เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงที่สุด - ต้องการทราบกำหนดการในการสร้างสะพาน - โครงการนี้ปัจ จุบันอยู่ระหว่างการศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขั้นรายละเอียด ( EIA) เพื่อเตรียม ความพร้อมสำหรับการสำรวจและออกแบบ เมื่อดำเนินการ เสร็จจะขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาลในการพิจารณาอนุมัติ ก่อสร้างโครงการ ซึ่งคาดว่าเริ่มก่อสร้างสะพานได้เร็วที่สุด ในปี พ.ศ. 2565 - ต้องการให้มีก ารจัดสรรพื้นที่เพื่อจอดรถบริเวณทางขึ้ น - ที ่ ป รึ ก ษาขอรั บ ข้ อ เสนอแนะไปพิ จ ารณาประกอบการ สะพานทั้ง 2 ฝั่ง และมีการส่งเสริมรายได้ของประชาชน ออกแบบ จากการขายของฝาก ด้านสิ่งแวดล้อม - ต้องการให้ที่ปรึก ษาเข้าร่วมพูดคุย หาแนวทางแก้ปัญหา - ที่ปรึกษาได้มีการหารือในการกำหนดมาตรการลดผลกระทบ และกำหนดมาตรการลดผลกระทบสำหรั บชาวบ้ า นที ่ มี ร่วมกับองค์ก ารบริหารส่ว นจังหวัดกระบี่ นอกจากนี้ ใ น เรือหัวโทงในพื้นที่หมู่ 8 ตำบลเกาะกลาง ขั้นตอนการศึก ษาความเหมาะสมผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในขั้นรายละเอีย ด ( EIA) จะมีก ารลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์ ประชาชนอย่างละเอียดอีกครั้ง เพื่อประเมินผลกระทบและ กำหนดมาตรการลดผลกระทบ กรมทางหลวงชนบท 8-70 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.4-3 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม (ต่อ) ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา - ต้องการให้ที่ปรึกษานำรายงาน EIA ของสะพานสิริลันตา - กรมทางหลวงชนบทให้ความสำคัญกับการศึกษาผลกระทบ มาเป็นบรรทัดฐานในการทำงาน สิ่งแวดล้อม จึงได้ว่าจ้างกลุ่มที่ปรึก ษาที่มีประสบการณ์ ในการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA เพื่อให้ผลการศึกษามีความถูกต้องและครบถ้วน - ต้องการให้ที่ปรึกษาให้ความสำคัญกับประเด็นการกัดเซาะ - ที่ปรึกษาให้ความสำคัญเกี่ยวกับประเด็นสิ่งแวดล้อม โดย ชายฝั่ง การเกิ ดตะกอน การเกิดดินงอกแนวปะการัง และ ที่ปรึกษามีกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมที่มีประสบการณ์ ระบบนิเวศป่าชายเลน ในการวิเคราะห์ผลกระทบ และกำหนดมาตรการเพื ่อลด ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการ ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน - เสนอแนะให้มีการประชาสัมพันธ์การจัดประชุมครั้งถัดไป - ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปดำเนินการในการจัดประชุม ด้วยรถแห่ให้ทั่วพื้นที่ ครั้งถัดไป 8.8.5 การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 และการประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3) 1) ผลการจัดประชุมโครงการ การประชุ ม กลุ ่ ม ย่ อย ครั ้ ง ที ่ 2 และการประชุ ม ปั จ ฉิ ม นิ เทศโครงการ (ประชุ ม ใหญ่ ครั ้ ง ที ่ 3) เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโครงการ โดยเฉพาะสรุปผลการคัดเลือกแนวสายทางและรูปแบบ โครงการ และมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ เพื่อนำเสนอ มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเสนอมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อนำเสนอผลการศึกษาของโครงการทุกด้าน (ด้านวิศวกรรม จราจร เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และการมี ส่วนร่วมและประชาสัมพันธ์) แก่ผู้เข้าร่วมประชุม (ผู้มีส่วนได้ -ส่วนเสียและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) ได้รับทราบ รวมทั้งรับฟังความคิดเห็น ข้อคิดเห็นต่อโครงการ และเพื่อนำเสนอสรุปผลการ ศึกษาทั้งหมดของโครงการ ในทุกประเด็น ทั้งทางด้านวิศวกรรม ด้านการจราจรและขนส่ง ด้านการศึกษาผลกระทบสิ ่ง แวดล้ อม และ ด้านเศรษฐศาสตร์รวมถึงผลการดำเนินงาน ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ผ่านมาให้กลุ่มเป้าหมายของ โครงการได้รับทราบ โดยม นายอำเภอเกาะลันตา เป็นประธานในการเปิดพิธี การประชุมหารือมาตรและปัจ ฉิ มนิ เทศ ดำเนินการในวันที่ 27 – 28 มกราคม 2564 ช่วงเช้า เวลา 09.00 – 12.30 น. และช่วงบ่ายเวลา 13.00 – 16.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ ดำเนินการภายใต้มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด -19 มีการ เว้ น ระยะห่ าง การตรวจวั ดอุ ณหภู ม ิ และการกำหนดจำนวนผุ้ เข้าร่ว มประชุม ให้ มี ความสอดคล้ องกับพื้นที่ ห้องประชุม โดยแบ่งกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 4 กลุ่ม รายละเอียดดังนี้ - วั น ที ่ 27 มกราคม 2564 เวลา 0 9.00 – 12.30 น. กลุ ่ ม เป้ า หมายผู ้ ไ ด้ ร ั บ ผลกระทบและ หน่วยงานต่างๆ ในตำบลเกาะลันตาน้อย - วันที่ 27 มกราคม 2564 เวลา 13.00 – 16.30 น. กลุ่มเป้าหมายได้รับผลกระทบและหน่วยงาน ต่างๆ ในตำบลลันตาใหญ่และศาลาด่าน - วันที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 09.00 – 12.30 น. กลุ่มเป้าหมายหน่วยงานราชการระดับต่างๆ ทั้งส่วนกลาง ระดับจังหวัด และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ - วันที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 13.00 – 16.30 น. กลุ่มเป้าหมายได้รับผลกระทบและหน่วยงาน ต่างๆ ในตำบลคลองยางและตำบลเกาะกลาง และสื่อมวลชนในพื้นที่จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-71 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน การจัดประชุมครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 263 คน คิดเป็นร้อยละ 76.67 จากจำนวนเชิญ เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 343 คน แสดงดังตารางที่ 8.8.5-1 (รูปที่ 8.8.5-1 ถึงรูปที่ 8.8.5-4) การประชุมได้มี ผู้เข้าร่วมประชุมแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ สามารถสรุปได้ ดังตารางที่ 8.8.5-2 การประชุมหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโครงการ โดยเฉพาะสรุปผลการคัดเลือกแนวสายทางและรูปแบบโครงการ และมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบ สิ่งแวดล้อมให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ เพื่อนำเสนอมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเสนอ มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อนำเสนอผลการศึกษาของโครงการทุกด้าน (ด้านวิศวกรรม จราจร เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมและประชาสัมพันธ์) แก่ผู้เข้าร่วมประชุม (ผู้มีส่วนได้-ส่วนเสีย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) ได้รับทราบ รวมทั้งรับฟังความคิดเห็น ข้อคิดเห็นต่อโครงการ ดังนี้ การดำเนินงานหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศ ในวันที่ 27 – 28 มกราคม 2564 เวลา 09.00 – 16.30 ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 208 คน ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการระดับจังหวัด อำเภอ ระดับ ท้องถิ่น สถาบันการศึกษา ผู้ นำชุมชน สื่อมวลชน ประชาชนในพื้นที่ศึกษาโครงการ และประชาชนทั่วไปผู้สนใจ โครงการ ร่วมแสดงความคิดเห็น ข้อห่วงกังวล และข้อเสนอแนะ สามารถสรุปประเด็นความคิดเห็นจากการ ประชุ ม ผ่านแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมการประชุม จำนวน 208 ตัวอย่างจากจำนวนผู้เข้าร่วมการประชุ ม ทั้ ง หมด 263 คน ไม่รวมบริษัทที่ปรึกษา คิดเป็นร้อยละ 79.08 ของผู้เข้าร่วมการประชุมทั้งหมด โดยผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ ประชาชนทั่วไป ร้อยละ 33.65 รองลงมา คือ ผู้นำชุมชน ร้อยละ 25.96 อันดับสาม คือ หน่วยงานราชการระดับอำเภอ ร้อยละ 9.62 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น เพศชาย ร้อยละ 72.60 และเป็นเพศหญิง ร้อยละ 27.40 ซึ่งส่วนใหญ่มี ระดับการศึกษา ปริญญาตรีและประถมศึ กษา (ป.1 - ป.6) มีอัตราส่วนในร้อยละที่เท่ากัน ร้อยละ 28.37 รองลงมา มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6) คือ ร้อยละ 16.35 และอันดับสาม คือ สูงกว่าปริญญาตรีและมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - ม.3) มีอัตราส่วนในร้อยละที่เท่ากัน ร้อยละ 11.06 โดยผู้ตอบความคิดเห็นมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาเส้นทางเชื่อมเกาะลันตาหากมีการก่อสร้าง เส้นทางเชื่อมเกาะลันตาจะก่อให้เกิดผลดี ส่วนใหญ่ คือ เพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง ร้อยละ 94.71 รองลงมา คือ ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทาง ร้อยละ 88.46 และอันดับสาม คือ สร้างความเจริญ ในชุมชน ร้อยละ 81.25 ความคิดเห็นต่อการพัฒนาเส้นทางเชื่อมเกาะลันตาหากมีการก่อสร้างเส้นทางเชื่ อม เกาะลันตาจะก่อให้เกิดผลเสีย ส่วนใหญ่ คือ ไม่มีผลเสีย/ผลกระทบ ร้อยละ 56.25 รองลงมา คือ มีปริมาณรถยนต์ บนเกาะลันตาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 36.06 และอันดับสาม คือ อุบัติเหตุเพิ่มขึ้นจากรถยนต์ที่มาใช้เส้นทางโครงการ ร้อยละ 18.75 นอกจากนี้ผู้ตอบความคิดเห็นส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อแนวเส้นทางและรูปแบบสะพานของ โครงการ มีความเหมาะสม จำนวน 197 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 94.71 และไม่แสดงความคิดเห็น จำนวน 7 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 3.37 สำหรับในด้านความคิดเห็นต่อมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ ประกอบด้วย หัวข้อ สภาพภูมิประเทศ คุณภาพอากาศ ระดับเสียง ความสั่นสะเทือน คุณภาพน้ำทะเล สมุทรศาสตร์และการ กัดเซาะ การโยกย้ายและการเวนคืน สุนทรียภาพและการท่องเที่ยว ระบบนิเวศวิทยาทางน้ำ ทรัพยาก รป่าไม้ ทรัพยากรสัตว์ป่า การคมนาคมขนส่ง การระบายน้ำและการควบคุมน้ำท่วม ระบบสาธารณูปโภค และการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ผู้เข้าร่วมประชุมส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสม ร้อยละ 67.31 – 80.77 กรมทางหลวงชนบท 8-72 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบลเกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 2) การประเมินผลสำเร็จของการประชุม (1) ผลสำเร็จในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการประชุม ในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการ ประชุมหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศมีจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เชิญเข้าร่วมการประชุม 263 คน มีผู้เข้าร่วม ประชุมทั้งหมด 343 คน ดังนั้น จึงมีจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมต่อจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ เชิญประชุม คิดเป็นร้อยละ 100.0 โดยมีระดับผลสำเร็จในการเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมอยู่ในระดับมาก (มีร้อยละผู้เข้าร่วมประชุม ระหว่าง 70) (2) ผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอ มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 208 ตัวอย่าง โดยให้ความคิดเห็นด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในระดับมาก (5 คะแนน) จำนวน 124 ตัวอย่าง ในระดับปานกลาง (3 คะแนน) จำนวน 80 ตัวอย่าง และในระดับน้อย ( 1 คะแนน) จำนวน 4 ตัวอย่าง ดังนั้นจึงมีผลสำเร็จในด้านความเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอเฉลี่ยเท่ากับ 4.15 ถือว่าประสบผลสำเร็จในด้าน ข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในระดับมาก (มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า 3.5 คะแนน (3) ผลสำเร็จในด้านเอกสารประกอบการประชุม มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 208 ตัวอย่าง โดยให้ความคิดเห็นด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมในระดับมาก ( 5 คะแนน) จำนวน 133 ตัวอย่าง ในระดับปานกลาง (3 คะแนน) จำนวน 73 ตัวอย่าง และในระดับน้อย ( 1 คะแนน) จำนวน 2 ตัวอย่าง ดังนั้น จึงมีผลสำเร็จในด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมที่นำเสนอเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 ถือว่า ประสบผลสำเร็จในด้านความเหมาะสมของเอกสารประกอบการประชุมที่นำเสนอในระดับมาก (มีคะแนนเฉลี่ย มากกว่า 3.5 คะแนน) กรมทางหลวงชนบท 8-73 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.5-1 การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 และการประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3) วันที่ 27 มกราคม 2564 วันที่ 27 มกราคม 2564 วันที่ 28 มกราคม 2564 วันที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 09.00 -12.30 น. เวลา 13.00-16.30 น. เวลา 09.00 -12.30 น. เวลา 13.00-16.30 น. กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงาน จำนวนที่ จำนวนผู้เข้า จำนวนที่ จำนวนผู้เข้า จำนวนที่ จำนวนผู้เข้า จำนวนที่ จำนวนผู้เข้า เชิญประชุม ร่วมประชุม ร้อยละ เชิญประชุม ร่วมประชุม ร้อยละ เชิญประชุม ร่วมประชุม ร้อยละ เชิญประชุม ร่วมประชุม ร้อยละ (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) 1) ผู้ได้รับผลกระทบ - ผู้นำชุมชนในพื้นที่ 6 7 100.00 11 6 54.55 0 2 100.00 17 19 100.00 - สถาบันการศึกษา 1 0 0.00 4 3 75.00 3 0 0.00 12 6 50.00 - ศาสนสถาน 6 5 83.33 14 1 7.14 - - - 6 1 16.67 - สถานพยาบาล 2 23 100.00 2 2 100.00 - - - 3 0 0.00 - ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ 30 43 100.00 33 22 66.67 - - - 24 24 100.00 จากโครงการ 3) หน่วยงานที่ทำหน้าที่พิจารณารายงานการ - สำนักงานนโยบายและแผน 1 0 0.00 1 0 0.00 1 0 0.00 1 0 0.00 ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) 4) หน่วยงานราชการในระดับต่างๆ - หน่วยงานราชการระดับต่างๆ 1 8 100.00 - - - 46 33 71.74 - - - และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 16 100.00 4 3 75.00 - - - 6 4 66.67 - หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ - - - - - - 4 1 25.00 - - - 5) องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม องค์กร - หน่วยงานภาคเอกชน - - - - - - 7 3 42.86 - - - พัฒนาเอกชน องค์การอิสระด้าน - องค์กรพัฒนาเอกชน - - - - - - 2 0 0.00 - - - สิ่งแวดล้อม และสุขภาพสถาบันการ ศึกษาภายในท้องถิ่นและในระดับ อุดมศึกษา และนักวิชาการอิสระ 6) สื่อมวลชน - สื่อมวลชน - - - - - - - - - 10 8 80.00 7) ประชาชนทั่วไป - ประชาชนผู้สนใจโครงการ 10 4 40.00 10 3 30.00 10 0 0.00 10 0 0.00 รวม 70 106 100.00 89 40 44.94 83 34 40.96 88 62 70.45 2) หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำรายงาน - หน่วยงานเจ้าของโครงการ 3 7 100.00 3 2 66.67 3 2 66.67 3 0 0.00 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - บริษัทที่ปรึกษา - 5 100.00 - 5 100.00 - 5 100.00 - 5 100.00 รวม 73 118 100.00 92 47 51.08 86 41 47.67 92 67 72.83 จำนวนเชิญผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด (คน) 343 จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมรวมทั้งหมด (คน) 273* ร้อยละของผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 76.67 ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : * คือ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 263 คน นับรวมหน่วยงานเจ้าของโครงการ และบริษัทที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 8-74 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้เข้าร่วมประชุมศึกษาบอร์ดนิทรรศการ บรรยากาศตอนลงทะเบียน ตรวจวัดอุณภูมิผู้เข้าร่วมประชุมตามมาตรการ นายอำเภอเกาะลันตากล่าวเปิดการประชุม ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น รูปที่ 8.8.5-1 บรรยากาศการประชุม วันที่ 27 มกราคม 2564 เวลา 09.00-12.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-75 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้เข้าร่วมประชุมศึกษาบอร์ดนิทรรศการ บรรยากาศตอนลงทะเบียน ตรวจวัดอุณภูมิผู้เข้าร่วมประชุมตามมาตรการ ผู้อำนวยการแขวงทางหลวงชนบทนราธิวาส กล่าวเปิดการประชุม ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น รูปที่ 8.8.5-2 บรรยากาศการประชุม วันที่ 27 มกราคม 2564 เวลา 13.00-16.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-76 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้เข้าร่วมประชุมศึกษาบอร์ดนิทรรศการ บรรยากาศตอนลงทะเบียน ตรวจวัดอุณภูมิผู้เข้าร่วมประชุมตามมาตรการ ผู้อำนวยการกลุ่มวิชาการแขวงทางหลวงชนบทกระบี่ กล่าวเปิดการประชุม ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น รูปที่ 8.8.5-3 บรรยากาศการประชุม วันที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 09.00-12.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-77 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้เข้าร่วมประชุมศึกษาบอร์ดนิทรรศการ บรรยากาศตอนลงทะเบียน ตรวจวัดอุณภูมิผู้เข้าร่วมประชุมตามมาตรการ ผู้อำนวยการกลุ่มวิชาการแขวงทางหลวงชนบทกระบี่ กล่าวเปิดการประชุม ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น รูปที่ 8.8.5-4 บรรยากาศการประชุม วันที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 13.00-16.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-78 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.5-2 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศ สรุปประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการ คำชี้แจงในการนำไปพิจารณาประกอบการศึกษาโครงการ ด้านวิศวกรรม 1. ต้องการให้รูปแบบสะพานเป็นสะพานคานขึงตลอด 1. หากมีการออกแบบสะพานเป็นแบบสะพานคานขึ้นตลอดเส้นทาง จะ ความยาวสะพาน จะได้มีความสวยงามมากกว่าเดิม ส่งผลให้งบประมาณการก่อสร้างสะพานสูงขึ้น และมีผลกระทบต่อ ความคุ้มค่าในการก่อสร้างสะพานที่ลดต่ำลง 2. Jetty (สะพานท่าเรือ ชั่ ว คราว)มีล ัก ษณะอย่ า งไร 2. สะพานท่าเรือชั่วคราวที่ใช้ในการก่อสร้างในช่วงน้ำตื้นจะมีความยาว และชาวประมงสามารถสัญจรในพื้นที่ดังกล่ า วได้ ประมาณ 800 เมตร โดยมีระยะห่างระหว่างเสา 15 เมตร และมีความสูง หรือไม่ จากระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุด 1 เมตร เพื่อให้สามารถใช้งานในกิจกรรม การก่อสร้างได้อย่างมีประสิทธิภาพแม้ในยามที่น้ำทะเลขึ้นสูงสุด 3. ความทนทานของสะพานเป็นอย่างไร เนื่องจากมี 3. สายเคเบิลของสะพานถูกออกแบบให้สามารถป้อ งกันการเกิดสนิม สายเคเบิลที่เป็นเหล็ก ลักษณะการป้องกันสนิมที่สายเคเบิ้ล 4 ชั้น ดังนี้ - ป้องกันด้วยท่อพลาสติกหุ้มอยู่ภายนอก ป้องกันไอน้ำทะเล และ แสง UV - ภายในท่ อ พลาสติ ก ดั ง กล่ า ว มี ก ารอั ด น้ ำ ปู น -ทราย ( Mortar) หุ้มสายเคเบิ ้ล ไว้ อี ก ชั้ น หนึ ่ง ทำให้ไม่ ช่ องว่ างที่ อากาศชื ้ น ที ่ มี ความเค็มของไอทะเล จะเข้าไปอยู่ภายในท่อพลาสติกได้ - ป้ อ งกั นสนิ มที ่ ตั วสายเคเบิ ้ ลเอง โดยที ่ ตั วสายเคเบิ ้ ลเอง มี สาร ป้องกันสนิม เคลือบป้องกันสนิมที่ตัวสายเคเบิ้ลโดยตรง ตาม มาตรฐานสากล - มี ร ะบบตรวจสอบสภาพการเกิ ด สนิ ม และใช้ ร ะบบไฟฟ้ า สถิ ต เหนี่ยวนำการเกิดสนิม มิให้ไปเกิดที่สายเคเบิ้ล แต่ให้มาเกิดที่บ่อ ดัก สนิมด้ วยกระแสไฟฟ้า สถิต แทน การป้องกันสนิม ด้วยวิ ธ ี นี้ เรียกว่าระบบแคโทดิก เป็นการใช้ไฟฟ้ากระแสตรงจากแหล่งกำเนิด ภายนอกเพื่อยับยั้งการเกิดสนิมของโลหะ 4. หลังจากได้สะพานแล้ว ต้องการให้มีการปรับปรุง 4. ทล.4206 เป็ น ถนนของกรมทางหลวง ซึ ่ ง กรมทางหลวงมี แ ผน ถนน ทล.4206 และถนน กบ.5035 เนื ่ อ งจาก ดำเนินการขยายเป็น 4 ช่องจราจร อย่างต่อเนื่องจากห้วยน้ำขาว ปัจจุบันมีลักษณะคดเคี้ยว อาจเกิดอันตรายแก่ผู้ (แยกคลองท่ อ ม) ถึ ง เกาะกลาง ระยะทาง 26.18 กม. โดยมี แ ผน ดำเนินการในปี 2568 โดยเพิ่มมาตรฐานทางหลวง ชั้น 4 เป็นชั้น 1 ซึ่งจะมีความปลอดภัยที่สูงขึ้น และในส่วนถนน กบ.5035 เป็นถนน ของกรมทางหลวงชนบท ซึ่งจะมีแผนดำเนิ นการปรั บ ปรุงถนนใน อนาคตเช่นกัน 5. ต้องการให้ไฟส่องสว่างบนสะพานใช้แหล่งพลังงาน 5. ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาประกอบการออกแบบ จาก Solar cell 6. เห็นด้วยกับแนวเส้นทางเลือกที่ 1 เนื่องจากเป็น 6. จากการประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม เมื่อวันที่ 21-22 ตุลาคม เส้นทางที่สั้นที่สุด ประหยัดค่าเดินทางที่สุด 2563 สรุปว่าแนวทางเลือกที่ 3 ทีความเหมาะสมที่สุดเนื่องจากเป็น แนวเส้นทางที่ง่ายต่อการก่อสร้าง มีราคาค่าก่อสร้างและการบำรุงรักษา ที่ต่ำกว่าแนวเส้นทางอื่น และมีผลกระทบต่อป่าชายเลนและระบบ นิเวศน้อยที่สุด ซึ่งตรงข้ามกับแนวทางเลือกที่ 1 ที่มีผลกระทบต่อ ป่าชายเลนและระบบนิเวศสูงที่สุด กรมทางหลวงชนบท 8-79 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.5-2 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศ (ต่อ) สรุปประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการ คำชี้แจงในการนำไปพิจารณาประกอบการศึกษาโครงการ 7. ต้องการทราบเส้นทางการขนส่งวัสดุก่อสร้างของ 7. วัสดุที่มีขนาดใหญ่มากและมีน้ำหนักมาในการก่อสร้างโครงการฯ คือ โครงการ เนื่องจากมีความกังวลว่าสะพานคลองยาง เสาเข็มหล่อสำเร็จและเหล็กเสริม ซึ่งสามารถขนส่งทางบกมายังท่าเรือ จะสามารถรับน้ำหนักได้หรือไม่ กระบี่ แล้วจึงใช้เรือท้องแบน ขนส่งมายังพื้นที่คลองบริเวณพื ้ น ที่ ก่อสร้าง และส่วนวัสดุการก่อสร้างต่างๆ ที่จะขนส่งผ่าน ทล.4206 จะใช้ร ถบรรทุก ที่บรรทุก น้ำหนักตามกฎหมาย ซึ่งในปัจ จุบันมีการ ขนวัสดุก่อสร้างมายังงานก่อสร้างในเกาะลันตาเป็นประจำอยู่แล้ว และ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาแก่สะพานข้ามคลองยางแต่อย่างใด ทั้งนี้รถขนวัสดุ ก่อสร้างทุกคันต้องมีการชั่งน้ำหนัก ที่สถานีซื้อตั๋วแพขนานยนต์ ท่าเรือ บ้านหัวหิน ทั้งนี้ทางบริษัทที่ปรึกษาได้ตรวจสอบสภาพของสะพาน ข้ามคลองยาง พบว่าโครงสร้างสะพานส่วนล่าง โครงสร้างสะพาน ส่วนบน การป้องกันการกัดเซาะคอสะพานอยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรง ไม่มีลักษณะของรอยร้าวที่เป็นสัญญาณการสูญเสียความมั่นคงแข็งแรง แต่อย่างใด ด้านสิ่งแวดล้อม 1. การปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณกูโบร์ทุ่งหยุมมีลักษณะ 1. ที่ปรึกษามีการออกแบบการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณกูโ บร์ทุ่ง หยุม อย่างไร และจะดำเนินการให้ในช่วงก่อสร้างสะพาน โดยการปลูกต้นไม้บริเวณหน้ากูโบร์ และจัดทำที่จอดรถใต้สะพาน เลยหรือไม่ พร้อมทั้งติดตั้งระบบไฟส่องสว่างใต้สะพาน 2. ต้องการให้ปรับปรุงเกาะปลิงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว 2 เกาะปลิงมีลักษณะเป็นป่าและมีต้นไม้อยู่จำนวนมาก หากมีการจัดทำ หรือสวนหย่อม เส้นทางลงไปบริเวณดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศได้ 3. มาตรการลดผลกระทบชาวประมงบริเวณท่าจอดเรือ 3. ที่ปรึกษาได้มีการไปหารือมาตรการลดผลกระทบต่อชาวประมงบริเวณ บ้านหัวหินเป็นอย่างไร ท่าจอดเรือบ้านหัวหิน โดยเสนอแนะให้ย ้ายจุดจอดเรือไปบริเวณ ท่าเรือหินโตน และท่าเรือบ้านควนชั่วคราวเพื่อความปลอดภัย กับ กลุ่มชาวประมงบริเวณดังกล่าว 4. ชาวเกาะลันตา เห็นด้วยกับการก่อสร้างสะพาน 4. กรมทางหลวงชนบท เล็งเห็นความจำเป็นของการก่อสร้างเส้นทาง ต้องการสะพานให้ก่อสร้างเร็วที่สุด คมนาคมขนส่งทางบกที่เชื่อมระหว่างตำบลเกาะกลางไปยังตำบล เกาะลันตาน้อย จึงได้ดำเนินการจัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อให้บริการศึกษา ความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์การลงทุน และการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ของโครงการฯ 5. มีข้อกังวลแนวปะการังในเขตพื้น ที่แ นวเส้ น ทาง 5. บริษัทที่ปรึกษาได้ทำการสำรวจแนวปะการังและหญ้าทะเลในเขต โครงการ พื้นที่แนวเส้นทางโครงการ โดยถ้าหากพบจะต้องมีมาตรการป้องกัน และลดผลกระทบ 6. ต้องการให้มีมาตรการเยียวยาให้กับบริษัท ส่งเสริม 6. กรมทางหลวงชนบทจะทำการหารือกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด ทรานเซอร์วิส จำกัด และพนักงานภายในบริษัท เพื่อหามาตรการเยียวยาให้กับบริษัทในอนาคต 7. ต้องการให้มีการจัดตั้งหน่วยพิทักษ์ป่า 1 หน่วย 7. ในช่วงก่อสร้างจะมีมาตรการจัดตั้งหน่วยพิทักษ์ป่า 1 หน่วยเพื่อป้องกัน รักษาป่าและสัตว์ป่าบริเวณเกาะลันตาน้อย กรมทางหลวงชนบท 8-80 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.5-2 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศ (ต่อ) สรุปประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการ คำชี้แจงในการนำไปพิจารณาประกอบการศึกษาโครงการ 8. มีความกังวลกับปัญหาการจราจรบริเวณท่ า เรื อ 8. ส่วนที่มีผลกระทบการจราจรมากที่สุดคือ บริเวณจุดคอขวด (จุดสุด บ้านหัวหินในระยะก่อสร้างเนื่องจากมีการจราจร เขตทาง ทล.4206 ถึงบริเวณท่าเรือบ้านหิวหิน) เนื่องจากบริเวณ หนาแน่นในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว ดังกล่าวมีเขตทางระยะ 15 เมตร มีระยะทางประมาณ 200 เมตร โดยการก่อสร้างโครงการจะต้องมีมาตรการจัดระบบการจราจร เพื่อ ลดผลกระทบจากกิจกรรมการก่อสร้างโครงการ ด้วยวิธีการจัดจราจร จากอาสาจราจร และดำเนินการก่อสร้างนอกฤดูกาลท่องเที่ยวเท่านั้น (6-8 เดือน) 9. ในช่วงที่ก่อสร้างสะพานและเปิดดำเนินการ ผู้อยู่ 9. บริษัทที่ปรึกษาได้กำหนดมาตรการลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม อาศัยบริเวณสะพานมีความกังวลด้านมลพิษ ทาง ดังนี้ เสียง มลพิษทางอากาศและฝุ่นละออง ปัญหาขยะ - มลพิษด้านเสีย ง : ที่ปรึก ษาได้ก ำหนดวิธีก่อสร้างฐานรากด้วยวิธี มูลฝอย ภูมิทัศน์บริเวณหน้าบ้าน และอันตรายจาก เสาเข็มเจาะเพื่อลดผลกระทบทางด้านเสียงและสั่นสะเทือน และ การขับขี่ด้วยความเร็ว ในช่วงสะพานเปิดดำเนินการ ในกรณีที่ค่าเสียงเกินมาตรฐาน ที่ปรึกษา สามารถกำหนดมาตรการติดตั้งกำแพงกันเสียงเพื่อลดผลกระทบ - มลพิษทางอากาศ : จากการศึกษาสถานภาพปัจจุบันพบว่ามลพิ ษ ทางอากาศจากควันรถที่จอดติดเครื่องอยู่บริเวณท่าเรือจะมีมลพิษ สูงกว่าเมื่อเทียบกับสภาพอากาศเมื่อสะพานเปิดดำเนินการ - ปัญหาขยะมูลฝอย : มาตรการติดตั้งตะแกรงดักขยะบริเวณสะพาน - ภูมิทัศน์บริเวณหน้าบ้าน : มาตรการปลูกต้นไม้ หรือการปรับปรุง ภูมิทัศน์ตลอดแนวโครงการ - อันตรายจากการขับขี่ ด้ วยความเร็ว : ติดตั้งป้ายกำหนดควบคุ ม ความเร็วของยานพาหนะ 10. ต้องการให้ก่อสร้างสะพานให้เร็วที่สุด 10. ขั้นตอนกระบวนการหลังจากประชุมปัจ ฉิมนิเทศ คือ ส่งรายงาน ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA เข้าสู่สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) โดยจะใช้เวลาพิจารณา รายงานประมาณ 6-7 เดือน จากนั้นจะเข้าสู่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ โดยจะใช้เวลาพิจารณารายงานฯ ประมาณ 1-2 เดือน และ ขั้นตอนสุดท้ายจึงเข้าสู่คณะรัฐมนตรีเพื่อขอความเห็นชอบ กรมทางหลวงชนบท 8-81 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.8.6 การประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม 1) ผลการจัดประชุมโครงการ การประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม โครงการศึกษา ความเหมาะสม ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขั้นรายละเอียด ( EIA) เส้นทางเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง - ตำบล เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ เพื่อนำเสนอรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติม เนื่องจากมีผลการสำรวจพบปะการังและหญ้าทะเล บริเวณช่องคลองลาด และมีการปรับปรุงรายละเอียดบริเวณ จุดบรรจบทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 เชื่อมเกาะลันตาน้อย โดยลดผลกระทบด้านที่ดินที่ถูกเขตทาง พร้อมทั้ง นำเสนอสรุปผลการศึกษาทั้งหมดของโครงการในทุกประเด็น โดยสรุปประเด็นข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ โดยดำเนินการในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ อาคารอเนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอ เกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 60 คน คิดเป็น ร้อยละ 74.07 จากจำนวนเชิญเข้าร่วมประชุมทั้งหมด 81 คน แสดงดังตารางที่ 8.8.6-1 และรูปที่ 8.8.6-1 การประชุมได้มีผู้เข้าร่วมประชุมแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ สามารถสรุปได้ ดัง ตารางที่ 8.8.6-2 สรุปผลที่ได้จากแบบสอบถามความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการประชุมเพิ่มเติม เกี่ยวกับ รายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งสามารถสรุปข้อมูลได้ดังนี้ การประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอีย ดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้ อม เพื่อนำเสนอ รายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติม เนื่องจากมีผลการสำรวจพบปะการังและหญ้าทะเล บริเวณช่องคลองลาด และมีการปรับปรุงรายละเอียดบริเวณจุดบรรจบทางหลวงชนบทสาย กบ.5035 เชื่อมเกาะ ลันตาน้อย โดยลดผลกระทบด้านที่ดินที่ถูกเขตทาง พร้อมทั้งนำเสนอสรุปผลการศึกษาทั้งหมดของโครงการ ในทุ กประเด็ น แก่ผู้เข้าร่วมประชุ ม (ผู้มีส่วนได้ -ส่วนเสียและหน่วยงานที่ เกี ่ยวข้ อง) ได้รับทราบ รวมทั้งรับฟั ง ความคิดเห็น ข้อคิดเห็นต่อโครงการ ดังนี้ การดำเนิ น งานประชุ ม เพิ ่ ม เติ ม เกี ่ ย วกั บ รายละเอี ย ดโครงการและมาตรการด้ า นสิ ่ ง แวดล้ อ ม ในวันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09.00 – 12.30 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอเกาะลั นตา ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 34 คน ได้รับความร่วมมือ จากหน่วยงานราชการระดับจังหวัด อำเภอ ระดับท้องถิ่น สถาบันการศึกษา ผู้นำชุมชน สื่อมวลชน ประชาชน ในพื ้ น ที ่ ศ ึ ก ษาโครงการ และประชาชนทั ่ ว ไปผู ้ ส นใจโครงการ ร่ ว มแสดงความคิ ด เห็ น ข้ อ ห่ ว งกั ง วล และ ข้อเสนอแนะ สามารถสรุปประเด็นความคิดเห็นจากการประชุม ผ่านแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมการประชุม จำนวน 34 ตัวอย่าง จากจำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมทั้งหมด 60 คน ไม่รวมบริษัทที่ปรึกษา คิดเป็นร้อยละ 74.07 ของผู้เข้าร่วมการประชุมทั้งหมด โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ร้อยละ 50 รองลงมา คื อ สถานศึกษา/ศาสนสถาน/สถานพยาบาล คิดเป็นรอยละ 17.65 และอั นดั บสาม คื อ ประชาชน ทั่ ว ไปที่ สนใจโครงการ คิ ด เป็ น ร้อยละ 11.76 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 94.12 และเป็น เพศหญิ ง ร้ อยละ 5.88 ส่ วนใหญ่ ม ี อายุ 60 ปี ขึ ้ น ไป ร้ อยละ 41.18 รองลงมา คื อ 50-59 ปี ร้ อยละ 35.29 และอันดับสาม คือ 40-49 ปี ร้อยละ 14.71 ซึ่งส่วนใหญ่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 4 - ม.6) ร้อยละ 26.47 รองลงมา คือ สูงกว่าปริญญาตรีและประถมศึกษา (ป.1 - ป.6) มีอัตราส่วนในร้อยละที่เท่ากัน ร้อยละ 20.59 และอันดับสาม คือ ปริญญาตรี ร้อยละ 17.65 กรมทางหลวงชนบท 8-82 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยผู้ตอบความคิดเห็นมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาเส้นทางเชื่อมเกาะลันตาเกิดผลดี/ผลประโยชน์ ส่วนใหญ่ คือ เพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง ร้อยละ 97.06 รองลงมา คือ ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาใน การเดินทาง ร้อยละ 94.12 และอันดับสาม คือ ช่วยให้การติดต่อราชการที่อำเภอ/จังหวัดสะดวกขึ้น ความคิดเห็น ต่อการพัฒนาเส้นทางเชื่อมเกาะลันตาเกิดผลเสีย/ผลกระทบ ส่วนใหญ่ คือ ไม่มีผลเสีย/ผลกระทบ ร้อยละ 47.06 รองลงมา คือ มีปริมาณรถยนต์บนเกาะลันตาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 41.18 และอันดับสาม คือ อุบัติเหตุเพิ่มขึ้นจาก รถยนต์ที่มาใช้เส้นทางโครงการ นอกจากนี้ผู้ตอบความคิดเห็นส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อแนวเส้นทางและรูปแบบ สะพานของโครงการมีความเหมาะสม ร้อยละ 73.53 ส่วนในด้านความคิดเห็นต่อมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบ ประกอบด้วย หัวข้อปะการัง และหญ้าทะเล ผู้เข้าร่วมประชุมส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสม ร้อยละ 97.06-100 การนำข้อคิดเห็น ข้อวิตกกังวลของชุมชนประกอบการกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ สิ่งแวดล้อมรองรับให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับที่ได้นำเสนอต่อประชาชน แสดงดังตารางที่ 8.8.6-3 ตารางที่ 8.8.6-1 จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน จำนวน กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงาน ที่เชิญประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม ร้อยละ (คน) (คน) 1) ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ผู้นำชุมชนในพื้นที่ - ตำบลเกาะลันตาน้อย 7 10 100.00 - ตำบลเกาะลันตาใหญ่ 7 3 42.86 - ตำบลเกาะกลาง 11 6 54.55 - ตำบลคลองยาง 8 4 50.00 - ตำบลศาลาด่าน 7 3 42.86 ศาสนสถาน - ตำบลลันตาน้อย 7 2 28.57 - ตำบลศาลาด่าน 5 1 20.00 - ตำบลลันตาใหญ่ 9 - 0.00 - ตำบลเกาะกลาง 5 1 20.00 - ตำบลคลองยาง 11 4 36.36 3) หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำรายงาน - หน่วยงานเจ้าของโครงการ 3 6 100.00 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - บริษัทที่ปรึกษา - 5 100.00 4) หน่วยงานราชการระดับต่างๆ - หน่วยงานราชการระดับต่างๆ 1 8 100.00 และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง 5) ประชาชนทั่วไป - ประชาชนผู้สนใจในโครงการ - 9 100.00 รวม 78 49 62.82 2) หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำรายงาน - หน่วยงานเจ้าของโครงการ 3 6 100.00 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ั ที่ปรึกษา - บริษท - 5 100.00 รวม 81 60* 74.07 ที่มา : ที่ปรึกษา, 2564 หมายเหตุ : * คือ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 60 คน นับรวมหน่วยงานเจ้าของโครงการ และบริษัทที่ปรึกษา กรมทางหลวงชนบท 8-83 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน นายอำเภอเกาะลันตา กล่าวเปิดการประชุม ผู้อำนวยการแขวงทางหลวงชนบทกระบี่ กล่าวรายงาน ตรวจวัดอุณหภูมิผู้เข้าร่วมประชุมตามมาตรการ บรรยากาศตอนลงทะเบียน ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมซักถามและให้ความคิดเห็น รูปที่ 8.8.6-1 บรรยากาศการประชุม วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา ตำบลเกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-84 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.6-2 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ และมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา ด้านวิศวกรรมและการลงทุน 1. การปรั บ ปรุ ง วิ ธ ี ก ารก่ อ สร้ า งโครงการเพื ่ อ หลี ก เลี ่ ย ง การปรับปรุงวิธีการก่อสร้างโดยใช้เสาเข็มเจาะในทะเล ปรับปรุง ผลกระทบต่อระบบนิเวศในทะเล เช่น ปะการังและหญ้า แนวเส้นทางเลี่ย งผลกระทบต่อปะการังและหญ้าทะเล และ ทะเล จะมีผลต่องบประมาณการลงทุนก่อสร้างหรือไม่ ในขณะเดีย วกันสามารถหลีก เลี่ย งผลกระทบต่อการรื้อย้ า ย สายไฟฟ้าขนาด 33 KV. ที่เป็นสายไฟฟ้าอากาศพาดผ่านคลอง ช่องลาดด้วย ทำให้เมื่อนำมาประเมินมูลค่าการลงทุนโครงการ โดยรวม ยังคงมีมูลค่าการลงทุนรวมอยู่ในงบประมาณ 1,600 ล้านบาท ด้านสิ่งแวดล้อม 1. การเชื่อมบรรจบแนวเส้ น ทางโครงการฯ กับทางหลวง กรมทางหลวงชนบท (ทช.) ขอบคุณเอกชนเจ้าของที่ดินที่แสดง ชนบท กบ.5035 ที่เกาะลันตาน้อย ซึ่งพบว่ามีพื้นที่เขต ความประสงค์อุทิศที่ดินเพื่อสนับสนุนการพัฒนาโครงการฯ ทางเพิ่มเติมผ่านที่ดินของเอกชน เจ้าของที่ดินที่ถูก เขต และ ทช. จะประสานงานกับเอกชนเจ้าของที่ดินในการรับมอบ ทางเพิ่มเติมดังกล่าว ได้แสดงความประสงค์ยินดีใ นการ พื้นที่ ที่ดินของเอกชนที่ถูกเขตทางเพิ่มเติม และ ทช. สามารถ อุทิศที่ดินให้เพื่อนำไปพัฒนาโครงการฯ จึงเสนอแนะให้ ออกหนังสือเชิดชูเกียรติคุณแก่ผู้อุทิศที่ดินในการพัฒนาโครงการฯ กรมทางหลวงชนบทพิจารณาการออกหนังสือเชิดชูเกียรติ ซึ ่ งเป็ นประโยชน์ ต ่ อทางราชการและประโยชน์ ต ่ อประชาชน คุณของเอกชนผู้ยินดีอุทิศที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการฯ ส่ วนใหญ่ ในพื ้ นที ่ ศ ึ กษาฯ ในการพั ฒนาระบบสาธารณู ปโภค พื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง 2. เห็นด้วยกับการปรับปรุงรูปแบบโครงการฯ เพื่อลดผลกระทบ กรมทางหลวงชนบท (ทช.) จะเร่งดำเนินการจัดส่งรายงาน EIA สิ่งแวดล้อม และขอให้เร่งดำเนินการลงทุนก่อสร้างโครงการ ให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเร็ว เนื่องจากประชาชนมีความยากลำบากเป็นระยะเวลา (สผ.) พิจารณา โดยเมื่อได้รับความเห็นชอบรายงาน EIA จาก อันยาวนานในการเดินทางด้วยแพขนานยนต์ โดยประชาชน คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กก.วล.) แล้ว ทช. จะเร่ง สนับสนุนให้ ทช. เร่งดำเนินการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะ ดำเนินการก่อสร้างโครงการ พร้อมทั้งดำเนินการตามมาตรการ ลันตาโดยเร็ว ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัดต่อไป 3. เสนอแนะให้มีการส่งเสริมและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม กรมทางหลวงชนบท รับข้อเสนอแนะไปพิจารณาดำเนินการ ของระบบนิเวศในบริเวณคลองช่องลาด ภายหลังจากการ ก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาแล้วเสร็จ เช่น การฟื้นฟู ปะการังให้มีความสวยงาม การปลูกหญ้าทะเลเพิ่มขึ้น 4. แม้แนวเส้นทางโครงการฯ จะมีผลกระทบสิ่งแวดล้อมน้อย - กรมทางหลวงชนบท ได้ พ ิ จ ารณาแนวเส้ น ทางเลื อ กที่ ที่สุด แต่เป็นเส้นทางที่อ้อมไกลกว่าแนวเส้นทางเลือก ที่ 1 เหมาะสมต่อการพัฒนาโครงการฯ จากปัจจัย 3 ด้าน คือ ปัจจัยด้านวิศวกรรม ปัจจั ยด้านการลงทุน และปัจจัยด้าน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งผลกระศึกษา พบว่า แนวเส้นทาง เลือกที่ 3 เป็นแนวเส้นทางที่มีความเหมาะสมมากที่สุด - ในส่วนของแนวเส้นทางเลือกที่ 1 นั้น พบว่า เป็นแนว เส้นทางที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากมีผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม รุนแรงที่สุด กรมทางหลวงชนบท 8-85 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.6-2 สรุปข้อซักถามและข้อเสนอแนะจากการประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ และมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม (ต่อ) ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา 5. การปรับปรุงรูปแบบแนวเส้นทางโครงการฯ ทำให้พื ้น ที่ ในการประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ก่อสร้างอยู่ห่างจากตำแหน่งจุดจอดเรือหัวโทง ของกลุ่ม กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง กรณีกลุ่มชาวประมงพื้น บ้ าน ชาวประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง ได้มีก ารประชุมหารือการก่อสร้างในพื้นที่ใกล้เขตที่ จ อดเรือ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ อย่างไรก็ตามในขั้นตอน หัวโทง ใกล้ท่าเรือหัวหิน ตำบลเกาะกลาง เวลา 12.30-16.00 น. ดำเนิ น งานก่ อ สร้ า งให้ ค ำนึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ในการ วันที่ 23 พ.ย. 63 ณ ห้องประชุมตำบลเกาะกลาง สรุปสาระสำคัญ ประกอบอาชีพของชาวประมงพื้นบ้าน ที่ต้องออกเรือใน ของการประชุม ดังนี้ เวลากลางคืนและจำเป็นต้องมีการนำเรือกลับเข้าฝั่งมายัง 1. ประชาชนเห็นด้วยกับแนวเส้นทางที่จ ะก่อสร้าง โดยมี พื้นที่จอดเรือ ทำให้การเข้า-ออกของเรือหัวโทงจำเป็นต้อง มาตรการความปลอดภัย ในการเข้าจอดเรือของประมง ผ่านพื้นที่ก่อสร้าง ทั้งนี้ขอให้กรมทางหลวงชนบทจัดให้มี พื้นบ้าน การประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงกับกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน 2. ทำทางขึ้นจากจุดจอดเรือบริเวณข้างท่าเรือหัวหิน ที่อาจได้ รับผลกระทบได้รับทราบแผนการก่อสร้างและ 3. กรณีที่ใช้งานท่าเรือบริเวณท่าเรือหัวหินไม่ได้ ให้ไปใช้ มาตรการความปลอดภัยต่อเรือหัวโทงอย่างทั่วถึง ก่อนการ บริเวณท่าเรือทางเลือก ซึ่งชาวประมงใช้ท่าเรือบริเวณนี้ ก่อสร้างจริง อยู่แล้วโดยเฉพาะในช่วงมรสุม ได้แก่ ท่าเรือบ้านควน และ ท่าเรือหินโตน 4. ชาวบ้านเห็นด้วยกับการติดตั้งทุ่นไฟกระพริบบริเวณพื้นที่ ก่อสร้างกลางทะเล เพื่อความปลอดภัยในการสัญจรเรือใน เวลากลางคืน สำหรับเรื่องข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่ม ชาวประมงพื้นบ้านที่อาจได้รับผลกระทบได้รับทราบแผนการ ก่อสร้างและมาตรการความปลอดภัยต่อเรือหัวโทงอย่างทั่วถึง ก่อนการก่อสร้างจริง นั้น กรมทางหลวงชนบทรับข้อเสนอแนะ ไปพิจารณาดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท 8-86 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.6-3 ข้อวิตกกังวลของชุมชนประกอบมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น/ มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ข้อเสนอแนะ การประชุมปฐมนิเทศโครงการ หากมีการพัฒนาโครงการขอให้มีการ กรมทางหลวงชนบท จัดตั้งงบประมาณให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง บูรณาการหรือปลูกป่าชายเลนทดแทน ดำเนินการปลูกป่าชายเลนทดแทน และบำรุงรักษาป่าชายเลนหลังปลูกแล้วเสร็จ เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนในอนาคต จำนวน 20 เท่าของพื้นที่ป่าชายเลนที่ได้รับผลกระทบอันเนื่องจากโครงการ (1×20 = 20 ไร่) การประชุมกลุ่มย่อย กังวลการจัดการขยะในพื้นที่เกาะลันตา จัดการระบบรวบรวมมูลฝอยในเกาะลัน ตา เพื่อนำไปจัดการขยะบนพื ้ น ที่ เมื่อมีนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น บนแผ่นดินใหญ่ผ่านสะพานโครงการ เนื่องจากพื้นที่บนเกาะลันตาส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ และพื้นที่ประกอบการด้านการท่องเที่ยว การประชุมสรุปแนวทางเลือกที่เหมาะสม ต้องการให้ที่ปรึกษาเข้าร่วมพูดคุยหาแนวทาง จัดให้มีที่จอดเรือประมงหัวโทน เข้ามาผูกเรือและจอดชั่วคราว บริเวณด้านข้าง แก้ปัญหา และกำหนดมาตรการลดผลกระทบ ของท่าเรือบ้านหัวหินจำนวน 20 ลำ โดยมีหลักสำหรับผูกเรือ 20 หลัก ความยาว สำหรับชาวบ้านที่มีเรือหัวโทงในพื้นที่หมู่ 8 ประมาณ 60 เมตร ตำบลเกาะกลาง การประชุมหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศ การปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณกูโบร์ทุ่งหยุม ออกแบบการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณกูโบร์ทุ่งหยุม โดยการปลูกต้นไม้บริเวณ มีลักษณะอย่างไร และจะดำเนินการให้ หน้ากูโบร์ และจัดทำที่จอดรถใต้สะพาน พร้อมทั้งติดตั้งระบบไฟส่องสว่าง ในช่วงก่อสร้างสะพานเลยหรือไม่ ใต้สะพาน มีความกังวลกับปัญหาการจราจรบริเวณ - ประชาสัมพันธ์แผนงานโครงการ ให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบตั้งแต่ในช่วง ท่าเรือบ้านหัวหินในระยะก่อสร้าง เนื่องจาก ก่อนการเตรียมพื้นที่เพื่อก่อสร้าง ต่อเนื่องจนการก่อสร้างแล้วเสร็จ มีการจราจรหนาแน่นในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว - จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ขนาดใหญ่ โดยมีเนื้อหา ประกอบด้วย แผนที่ พื้นที่ดำเนินการ กำหนดการก่อสร้าง ระยะเวลาดำเนินการก่อสร้าง และ บริษัทผู้รับจ้างก่อสร้าง งบประมาณ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ผู้รับจ้างก่อสร้าง และเจ้าของงาน (กรมทางหลวงชนบท) สามารถเห็นได้ชัดเจน ติดตั้งก่อน การก่อสร้าง 2 เดือน จำนวน 2 แห่ง ที่บริเวณจุดเริ่มต้นก่อสร้างโครงการ (กม.0+000) และจุดสิ้นสุดการก่อสร้างโครงการ (กม.2+240) - เตรียมแผนการจัดจราจรให้แล้วเสร็จก่อนเริ่มการก่อสร้างโครงการ โดย จัดให้มีแผงกั้น กรวย เครื่องหมายจราจรบนผิวทางและติดตั้งป้ายเตือน เขตก่อสร้าง ตลอดจนติดตั้งสัญญาณไฟให้ชัดเจน ทั้งในเวลากลางวันและ กลางคืน ตามคู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง เพื่อป้องกัน อันตรายต่อการใช้ทาง กรมทางหลวงชนบท 8-87 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.8.7 การสัมภาษณ์กับหัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่า เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2564 ทางทีมงานได้ลงพื้นที่สม ั ภาษณ์เกี่ยวโลมาปากขวดและโลมาหัวทุย แสดงดัง รูปที่ 8.8.7-1 ซึ่งพบว่า มีโลมาปากขวดและโลมาหัวทุย ฝูงประมาณ 6-7 ตัว ส่วนฤดูกาลที่พบ คือ ช่วงเดือน พฤษภาคม - กันยายน ในฤดูมรสุม สำหรับช่วงเวลาที่พบ คือ ช่วง 6.00-12.00 น. สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง ปลา ที่เป็นอาหาร คือ ปลาหลังเขียว แสดงดังรูปที่ 8.8.7-2 และมีเส้นทางที่โลมาว่ายผ่านโดยว่ายผ่านทั้งแนว แต่ ทางที่ใกล้แพท่าเรือหัวหินจะว่ายผ่านเมื่อไม่มีแพแล่นหรือแล่นผ่านน้อย โลมาไม่เปลี่ยนเส้นทางว่ายน้ำ แสดงดัง รูปที่ 8.8.7-3 สำหรับกิจกรรมก่อสร้างที่ส่งผลกระทบต่อโลมาในช่วงก่อสร้าง คือ น้ำมันเครื่องเรือ คลื่นแรง และ เสียงดังจากแตร ในกิจกรรมการขุดเจาะ เสาเข็ม หากมีตะกอนไม่ส่งผลกระทบต่อโลมา ตะกอนดินจากการขุด เจาะไม่ส่งผลกระทบจากการว่ายน้ำผ่านของโลมาเพราะโลมาอยู่ไม่ประจำที่ ข้อเสนอแนะจากหัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1) ในช่วงก่อสร้าง ป้องกันน้ำมันเครื่องเรือ เสียงดังจากแตรเรือ เครื่องยนต์เรือ 2) ช่วงดำเนินการ ป้องกันรถบีบแตรบนสะพานและการทิ้งขยะ ก้นบุหรี่จากสะพานและต้องการให้ตั้ง หน่วยพิทักษ์เขตห้ามล่าที่บริเวณบ้านคลองหมาก ใกล้ท่าแพเดิม 1 แห่ง 3) เมื่อสะพานแล้วเสร็จเสนอให้มีจุดชมวิวบนสะพาน ตลอดทั้งเส้น และทำแผนโปรโมทการท่องเที่ยว และไม่มีข้อห่วงกังวลเกี่ยวกับโลมาจากการก่อสร้างของหัวหน้าเขตห้ามล่า ่ วันที่ 27 มกราคม 2564 รูปที่ 8.8.7-1 ลงพื้นที่สัมภาษณ์กับหัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ปา รูปที่ 8.8.7-2 แหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหาร รูปที่ 8.8.7-3 แหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหาร กรมทางหลวงชนบท 8-88 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.8.8 การประชุมหารือเพิ่มเติมมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมกับกลุ่มประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน ดำเนินการจักการการประชุมหารือเพิ่มเติมมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมกับกลุ่มประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน เมื่อวันจันทร์ที่ 1 มีนาคม 2564 เวลา 14.00 – 16.00 น. ณ มัสยิดดารุสซุนนะส์ หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ทางทีมงานได้ลงไปชีแ ้ จงเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียด โครงการให้ทางกลุ่มประมงพื้นบ้านหมู่ที่ 8 บ้านหัวหินได้รับทราบ กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้นำชุมชน และกลุ่ม ชาวประมงพื้นบ้านหมู่ที่ 8 เชิญประชุมจำนวน 40 ท่าน มีผู้เข้าร่วมประชุม 30 ท่าน แสดงดังรูปที่ 8.8.8-1 และ สรุปผลการประชุม ดังตารางที่ 8.8.8-1 ถึงตารางที่ 8.8.8-3 บรรยากาศตอนลงทะเบียน บรรยากาศตอนลงทะเบียน ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังรายละเอียดโครงการ ที่ปรึกษานำเสนอข้อมูลโครงการและตอบข้อซักถาม รูปที่ 8.8.8-1 ลงพื้นที่ชี้แจงเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการให้ทางกลุ่มประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน วันจันทร์ที่ 1 มีนาคม 2564 เวลา 13.30 น. ณ อาคารอเนกประสงค์มัสยิดบ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-89 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.8-1 สรุปผลการประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ วันที่ 1 มีนาคม 2564 ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อม 1. การระยะก่อสร้างโครงการฯ จะสามารถจัดหาที่จ อดเรือ - ในระยะก่อสร้าง มีมาตรการจัดให้ม ีห ลัก ผูก เรือ ชั่ ว คราว ให้แก่ชาวประมงพื้นบ้าน เรือหัวโทง ได้หรือไม่ และในระยะ ในพื้นที่ริมชายฝั่งระหว่างพื้นที่จ อดเรือปัจจุบันกับท่า เรือ ดำเนินการเปิดใช้สะพานแล้ว จะสามารถหาที่จอดเรือให้แก่ พิมาลัย นอกจากนั้น ในการหารือกับกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน ประมงพื้นบ้านในบริเวณใกล้ท่าเรือบ้านหัวหินเช่นการใช้ ทราบว่า กรณีที่ใช้งานท่าเรือบริเวณท่าเรือหัวหินไม่ได้ ให้ไป บางส่วนของท่าแพขนานยนต์ บ้านหัวหิน ซึ่งอาจไม่ได้ใช้ ใช้บริเวณท่าเรือทางเลือก ซึ่งชาวประมงใช้ท่าเรือบริเวณนี้ ประโยชน์ ใ นการข้ า มฟากไปเกาะลั น ตาน้ อ ยในอนาคต อยู่แล้ว โดยเฉพาะในช่วงมรสุม ได้แก่ ท่าเรือบ้านควน และ แล้วพิจารณาให้เป็นที่จอดเรือหัวโทงได้หรือไม่ ท่าเรือหินโตน - ในระยะเปิดให้บริการสะพานนั้น การพัฒนาท่าแพขนานยนต์ เป็นพื้นที่ในการกำกับดูแลขององค์การบริหารส่วนจังหวัด กระบี ่ (อบจ.กระบี ่ ) ที ่ จ ะพั ฒ นาการใช้ ป ระโยชน์ ท ่ า เรือ บ้านหัวหินเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาพื้นที่ต่อไปในอนาคต ซึ่งสามารถพิจารณาการพัฒนาร่วมกันกับการใช้ประโยชน์ ของกลุ่มประมงพื้นบ้าน เรือหัวโทง บ้านหัวหิน ให้เกิดบูรณา การร่วมกันได้ ทั้งนี้ ในการประชุมวันนี้ ได้มีสมาชิก สภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ เขต 1 ได้ร่วมประชุมและ รับทราบข้อคิดเห็นของกลุ่มชาวประมง บ้านหัวหิน และ จะได้มีการนำข้อเสนอแนะเพื่อไปหารือกับองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดกระบี่ ต่อไป 2. การก่อสร้างเสาตอม่อสะพานในบริเวณพื้นที่คอขวด ที่ปากทาง แผนการก่อสร้างในพื้นที่คอขวด ปากทางเข้าท่าแพขนานยนต์ เข้าท่าแพขนานยนต์ บ้านหัวหิน มีแผนดำเนินงานก่อสร้าง บ้านหัวหิน ซึ่งมีระยะทางประมาณ 200 ม. นั้น มีแผนดำเนินการ อย่างไร ให้หลีกเลี่ยงการเกิดผลกระทบ ด้านจราจรในการ ดังนี้ เดินทางที่ท่าแพขนานยนต์ 1. การก่อสร้างในพื้นที่คอขวดดังกล่าว จะดำเนินการก่อสร้าง ในช่วงนอกฤดูการท่องเที่ยวของเกาะลันตา ซึ่งมีระยะเวลา 8 เดือน ระหว่างเดือนพฤษภาคม – ธันวาคม 2. การก่อสร้างจะดำเนินการในช่วงระหว่างเวลา 22.00 น. ถึง 06.00 น. อันเป็นช่วงเวลาที่แพขนานยนต์หยุดให้บริการแล้ว 3. เมื่อก่อสร้างฐานรากและเสาตอม่อแล้วเสร็จ จะคืนพื้ น ที่ ผิวจราจรให้ทันที เพื่อใช้ประโยชน์ในการสัญจรของประชาชน และนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการแพขนานยนต์ต่อไป 3. การขนส่งวัสดุก่อสร้างของโครงการฯ ส่วนใหญ่จำเป็นต้อง การขนส่งวัสดุก่อสร้างของโครงการจะใช้ทางหลวงหมายเลข 4206 ใช้เส้นทาง ทล.4206 ในการขนส่ง ซึ่งเป็นเส้นทางที่มีชุมชน เป็ นเส้ นทางหลั ก โดยมี มาตรการลดผลกระทบด้ านสิ่ งแวดล้อม อยู่ 2 ฝั่งถนน ขอให้มีมาตรการความปลอดภัยในการขนส่ง และมาตรการความปลอดภัยในการขนส่ง ดังนี้ วัสดุ หลีกเลี่ยงการขนส่งในช่วงชั่วโมงเร่งด่วน ในเวลาก่อน 1. การขนส่งวัสดุก่อสร้างนอกเวลาเร่งด่วน ก่อนเข้าโรงเรียน เข้าและหลังเลิก เรีย นของเด็กนัก เรียน นอกจากนั้ นแล้ว และหลังเลิกเรียนของนักเรียน มัสยิดดารุสซุนนะ ตั้งอยู่ริม ทล.4206 ซึ่งจะมีประชาชน 2. มีมาตรการควบคุมน้ำหนักรถบบรรทุกอย่างเคร่งครัดตามที่ ในชุมชน หมู่ 8 บ้านหัวหิน มาร่วมกันประกอบพิธีละหมาด กฎหมายกำหนดไว้ เป็นประจำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันศุก ร์ จึงขอให้มีก าร 3. มีมาตรการควบคุมความเร็ว ในการขนส่งผ่านพื้นที่ชุ มชน กำหนดมาตรการความปลอดภัยในการขนส่งวัสดุก่อสร้าง โรงเรียน มัสยิด ให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนน้อยที่สุด กรมทางหลวงชนบท 8-90 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.8-1 สรุปผลการประชุมเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม หมู่ที่ 8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ วันที่ 1 มีนาคม 2564 (ต่อ) ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา 4. มีมาตรการติดตั้งป้ายจราจร ในระยะก่อสร้าง ตามมาตรฐาน ของกรมทางหลวงชนบท 5. มีมาตรการประชาสัมพันธ์ แผนงานการก่อสร้าง ให้ประชาชน ชุมชนในพื้นที่ได้รับทราบล่วงหน้าก่อนการก่อสร้าง 6. มีมาตรการรับเรื่องร้องเรียน และดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ผลกระทบดังกล่าว 4. ทางหลวงหมายเลข 4206 ในบางพื้นที่ ยังมีไฟฟ้าแสงสว่าง กรมทางหลวงชนบท รับข้อเสนอแนะไปแจ้งให้กับแขวงทางหลวง ส่องทาง ยังไม่ทั่วถึงทุกพื้นที่ซึ่งมีชุมชนริมทางหลวง ขอให้ กระบี่ กรมทางหลวง ได้รับทราบความต้องการของประชาชน กรมทางหลวงชนบท ช่วยประสานกับแขวงทางหลวงกระบี่ ต่อไป ในการติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างส่องทาง เพื่อเพิ่มความ ปลอดภัยให้กับพื้นที่ชุมชนด้วย 5. การก่ อ สร้ า งในบริ เ วณปากทางเข้ า ท่ า แพขนานยนต์ กรมทางหลวงชนบท รับข้อเสนอแนะดังกล่าว ไปกำหนดเป็น บ้านหัวหิน มีอาคารหลายหลังที่อยู่ใกล้เขตพื้นที่ก่อสร้าง มาตรการในระยะก่อสร้างโครงการฯต่อไป ขอให้มีมาตรการป้องกันผลผลกระทบทางด้าน เสีย งดัง ความสั่นสะเทือนจากกิจกรรมการก่อสร้าง โดยให้มีก าร สำรวจสภาพอาคารต่างๆ ดังกล่าวก่อนการก่อสร้าง หาก เกิดความเสียหายในระยะก่อสร้าง ให้มีผู้รับผิดชอบความ เสียหายดังกล่าวในทุกกรณี และมีมาตรการซ่อมแซมแก้ไข อาคารให้มั่นคงแข็งแรง และอยู่ในสภาพที่ไม่ด้อยกว่าก่อน การก่อสร้าง กรมทางหลวงชนบท 8-91 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ่ ครงการสามารถดำเนินการได้ ตารางที่ 8.8.8-2 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการประชุมทีโ ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา ด้านวิศวกรรม - ต้องการให้ สะพานเป็ น จุ ด ชมวิว เพื่อสามารถเป็ น จุ ด - การออกแบบได้เสนอแนวคิดประติมากรรมบริเวณจุดชมวิวทั้ง 4 ถ่ายรูปสำหรับประชาชน เน้นความเป็นอัตลักษณ์ของ จุด ในตำแหน่งเสาสูงของสะพานคานขึง เกาะลันตา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของเกาะลันตา - มี ค วามกั ง วลกั บ ปริ ม าณตอม่ อ ของสะพานในน้ ำ ที ่ มี - การออกแบบระยะห่า งของเสาตอม่ อ โดยคำนึ ง ถึ ง หลั ก การ ปริมาณมาก กีดขวางการจราจรทางน้ำ มีจำนวนเสาตอม่อในน้ำทั้งหมด 15 เสา ประกอบไปด้วย 4 เสา ในบริเวณร่องน้ำลึก (ความยาวช่วง สะพาน 130 และ 200 เมตร) และ 11 เสา ในบริเวณร่องน้ำตื้น (ความยาวช่วงสะพาน 75 เมตร) - ในการออกแบบแนวเส้นทางต้องการให้ที่ปรึกษาระมัด - การออกแบบโครงการไม่มีผลกระทบเข้าในพื้นที่กุโบร์บ้านทุ่ ง ระวังกูโบร์บริเวณบ้านทุ่งโต๊ะหยุม โต๊ะหยุม และได้มีการประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับโต๊ะอีหม่าน กรรมการมัสยิดทุ่งโต๊ะหยุม ผู้ใหญ่บ้านทุ่มโต๊ะหยุม และกำนัน เกาะลันตาน้อย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 - การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคต้องการให้ออกแบบโครงสร้ า ง - กรมทางหลวงชนบทได้เล็งเห็นถึงความเดือนร้อนของประชาชน สะพานสำหรับสายไฟแรงสูงและการประปาส่วนภูมิภาค ในอำเภอเกาะลั น ตา จึ ง ได้ ม ี ก ารหารื อ ร่ ว มกั บ การไฟฟ้ า ต้องการให้ออกแบบโครงสร้างสะพานสำหรั บเดิ น ท่ อ ส่ ว นภู ม ิ ภ าคและการประปาส่ ว นภู ม ิ ภ าค เพื ่ อ พั ฒ นาระบบ ประปา เพื่อเดินระบบควบคู่ไปกับสะพาน สาธารณูปโภคควบคู่ไปกับการพัฒนาเส้นทางเชื่อมเกาะลันตา เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงที่สุด - ประชาชนเห็ น ด้ ว ยกั บ โครงการ เพราะลำบากในการ - กรมทางหลวงชนบท เล็ ง เห็ น ความจำเป็ น ของการก่ อ สร้ า ง เดิ น ทาง การส่ ง ตั ว ผู ้ ป ่ ว ย มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยสู ง มี ช ่ ว งเวลา จึงทำการศึกษาความเหมาะสมเส้นทางโครงการอย่างเร่งด่วน เดินทางจำกัด และเมื่อหมดเวลาการเดินต้องเหมาเท่านั้น และนำผลการศึกษาอนุมัติต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิด เมื่อมีสะพานจะเดินทางขนส่งได้สะดวก ลดค่าใช้จ่าย การก่อสร้างสะพาน โดยเร็วที่สุด - ต้ อ งการทราบกำหนดการในการสร้ า งสะพานเชื ่ อ ม - ปี 2563 การศึกษาความเหมาะสมผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขั้น เกาะลันตา โดยประมาณ รายละเอียด (EIA) ปี 2564 การสำรวจและออกแบบรายละเอียด เมื่อดำเนิ นการเสร็จ จะขึ ้ นอยู่ก ั บ นโยบายของรั ฐ บาลในการ พิจารณาอนุมัติก่อสร้างโครงการ ซึ่งคาดว่าได้เร็วที่สุดในปี พ.ศ. 2565 - เมื่อมีการก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตาแล้วเสร็จ จำนวน - กรมทางหลวงชนบท ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดตั้งด่าน คนในพื้นที่จะเพิ่มมากขึ้นอาจส่งผลให้เกิดอาชญากรรม จุดตรวจคัดกรองประชาชน นักท่องเที่ยวและนักเดินทางที่เข้าสู่ ในพื ้ น ที ่ เ พิ ่ม ขึ้ น จึ ง ขอเสนอให้ ม ี จ ุด ตรวจคัด กรองหา พื้นที่เกาะลันตา บริเวณตำบลเกาะลันตาน้อย กลุ่มเสี่ยง COVID-19 และการป้องกันอาชญากรรม ด้านสิ่งแวดล้อม - ขอให้ที่ปรึกษาเข้าร่วมพูดคุยหาแนวทางแก้ปัญหา และ - ที่ปรึกษาได้มีก ารลงพื้นที่เพื่อหารือชาวบ้านที่มีเรือหัวโทงใน กำหนดมาตรการลดผลกระทบสำหรับชาวบ้านที่มี เรือ พื้นที่หมู่ 8 ตำบลเกาะกลาง เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 หัวโทงในพื้นที่หมู่ 8 ตำบลเกาะกลาง และได้มีการกำหนดมาตรการจัดหาสถานที่จอดเรือให้ชาวบ้าน ในช่วงระยะเวลาก่อสร้าง - ขอให้ที่ปรึกษานำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม - กรมทางหลวงชนบท ให้ความสำคัญกับการศึก ษาผลกระทบ (EIA) ของสะพานสิริลันตามาเป็นบรรทัดฐานในการทำงาน สิ่งแวดล้อม จึงได้ว่าจ้างกลุ่มที่ปรึกษาที่มีประสบการณ์ในการ จัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ( EIA) เพื่อให้ผล การศึกษามีความถูกต้องและครบถ้วน กรมทางหลวงชนบท 8-92 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ่ ครงการสามารถดำเนินการได้ (ต่อ) ตารางที่ 8.8.8-2 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการประชุมทีโ ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา - ขอให้ที่ปรึก ษาให้ความสำคัญกับประเด็นการกัดเซาะ - ที่ปรึก ษาให้ ค วามสำคั ญเกี่ย วกั บ ประเด็ นสิ่ง แวดล้ อม โดยที่ ชายฝั่ง การเกิดตะกอน การเกิดดินงอก แนวปะการัง ปรึกษามีกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมที่มีประสบการณ์ในการ และระบบนิเวศป่าชายเลน ประเมินผลกระทบและกำหนดมาตรการเพื่อลดผลกระทบที่จะ เกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการ - ขอทราบขอบเขตรัศมีในการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม - การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม มีพื้นที่ศึกษาอย่างน้อยในระยะ ของโครงการ 500 เมตร จากกึ่งกลางแนวเส้นทาง โดยศึก ษาทุก ประเด็นที่ กระทบตามแนวทางของ สผ. - กังวลการจัดการขยะในพื้นที่เกาะลันตา เมื่อมีนักท่องเที่ยว - ผลการประสานงานกับ อบจ.กระบี่ ทราบว่ามีแนวทางการจัดการ เพิ่มมากขึ้น ขยะในพื ้ น ที่ เกาะลั น ตาน้ อย-ลั น ตาใหญ่ โดยนำไปกำจั ดบน แผ่นดินใหญ่ ในสถานที่ออกแบบมาเฉพาะ ที่อำเภอคลองท่อม ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน - เสนอแนะให้มีการประชาสัมพันธ์การจัดประชุมครั้งถัดไป - การจัดประชุมหารือมาตรการและปัจฉิมนิเทศโครงการ ได้จัดรถ ด้วยรถแห่ให้ทั่วพื้นที่ ขยายเสียงเคลื่อนที่ เพื่อประชาสัมพันธ์การประชุมให้ประชาชน ในพื้นที่โครงการได้รับทราบ ่ ครงการไม่สามารถดำเนินการได้ ตารางที่ 8.8.8-3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการประชุมทีโ ประเด็นคำถามและข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ การชี้แจง / การนำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา ด้านวิศวกรรม - ขอให้มีการจัดสรรพื้นที่เพื่อจอดรถบริเวณทางขึ้นสะพาน - การออกแบบของโครงการ ถนนเชิงลาดสะพานจะอยู่ใ นแนว ทั้ง 2 ฝั่ง และมีการส่งเสริมรายได้ของประชาชนจากการ ถนนเดิม เพื่อลดผลกระทบต่อเจ้าของที่ดินให้มากที่สุด จึงใช้ ขายของฝาก พื้นที่เท่าที่จำเป็นให้เกิดประโยชน์สูงสุด สามารถจอดรถใต้เชิง ลาดของโครงสร้างสะพานโครงการ แต่ไม่มีการออกแบบที่จอด รถและร้านค้าในโครงการ - ขอให้สร้างจุดพักรถบนสะพานสำหรับนักท่องเที่ยวเพื่อใช้ - การออกแบบสะพานโครงการที่มีความยาว 2.2 กิโลเมตร ได้ ในการชมวิวบนสะทาน คำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้รถใช้สะพานอย่างสูงสุด การ ออกแบบจุดจอดรถชมวิวบนสะพาน เป็นการก่อให้เกิดความไม่ ปลอดภัยในการเข้าออกของรถบริเวณจุดชมวิว แต่ได้ออกแบบ เป็นทางเท้าฝั่งเกาะกลางเพื่อเดินไปชมวิวและประติมากรรม บริเวณสะพาน กรมทางหลวงชนบท 8-93 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 8.8.9 การสัมภาษณ์เชิงลึกกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ดำเนินการสั มภาษณ์ เชิ งลึ กกั บหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้ อง ระหว่างวั นที ่ 16-20 กรกฎาคม 2564 โดยใช้ แบบสอบถามกับผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6 หน่วยงาน ได้ แก่ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ , สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดกระบี่ , สำนักงานทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่งที่ 10, แขวงทางหลวงกระบี่ , ศูนย์อนุรักษ์ทรั พยากรป่าชายเลนที่ 19 (ลันตา กระบี่) และสมาคม คนรักเลกระบี่โดย มีรายละเอียดดังนี้ ( ภาคผนวก ฐ) 1) สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ - ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ คือ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง เป็นผู้อำนวยการส่วนสิ่งแวดล้อมมากกว่า 10 ปี จบการศึกษาสูงกว่าระดับปริญญาตรี - ความคิดเห็นต่อโครงการ จากการสอบถามถึงการรับรู้ข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาโครงการ พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์รับรู้ข่าวสารจากสื่อการประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ และวิทยุ และคิดว่าช่อง ทางการประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพที่ทำให้ผู้คนเข้าถึงข้อมูลมากที่สุด คือ การแจ้งข้อ มูลข่าวสารต่อ ผู้นำชุมชน และการจัดประชุมในพื้นที่โดยตรง เมื่อถามความคิดเห็นต่อการพัฒนาโครงการ ผู้ให้สัมภาษณ์ให้ ความเห็นว่าการพัฒนาโครงการจะส่งผลดีหรือมีผลประโยชน์ในด้านการสร้างความเจริญในชุมชน มีการกระจาย รายได้สู่ท้องถิ่น ช่วยอำนวยความสะดวกในการติดต่อราชการ รวมถึงทำให้สินค้าอุปโภค-บริโภคบนเกาะถูกลง เนื่องจากมีการขนส่งที่สะดวกกว่าเดิม อย่างไรก็ตามการพัฒนาโครงการอาจมีผลเสียในด้านการเกิดความขัดแย้ง ในชุมชนเนื่องจากมีการอพยพของคนต่างถิ่นหรือคนงานก่อสร้างเข้ามา - ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ ทั้ ง นี้ ผู้ ให้ สั ม ภาษณ์มีข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนา โครงการซึ่ ง ในระยะก่ อสร้ า งมี ข้ อวิ ต กกั ง วลจาก “การดำเนิ น การก่ อสร้ า งที่ อาจมี ผ ลกระทบต่ อชุ ม ชนและ ประชาชนในพื้นที่ ตลอดจนผู้ที่เดินทางระหว่างบนฝั่งและเกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตาน้อย รวมถึงการ เดินเรือ บริเวณพื้นที่ก่อสร้าง” จึงแนะนำว่าโครงการควรกำหนดมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบที่เกิดขึ้นให้ ชัดเจน เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ ส่วนในระยะดำเนินการ “การใช้เส้นทางอาจเกิดอุบัติเหตุกับผู้ใช้ทาง ได้” จึงแนะนำว่าโครงการควรใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด - ความคิดเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ โดยภาพรวมแล้วผู้ให้สัมภาษณ์เห็นด้วยต่อการ พัฒนาโครงการ เนื่องจากเป็นโครงการที่สนับสนุนการพัฒนาหลายด้าน ขณะเดียวกันการพัฒนาโครงการต้องมี มาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ของชุมชนท้องถิ่นให้สามารถปรับตัวได้ โดยดำเนินการผ่านองค์กรส่ วนท้องถิ่น ต่อไป 2) สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดกระบี่ - ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ คือ ปัจจุบันดำรง ตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดกระบี่ ประมาณ 4 ปี จบการศึกษาสูงกว่าระดับปริญญาตรี - ความคิดเห็นต่อโครงการ การสอบถามถึงการรับรู้ข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาโครงการ พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์รับรู้ข่าวสารจากแขวงทางหลวงกระบี่ หน่วยราชการอื่นๆ และสื่อการประชาสัมพันธ์ทาง หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ และวิทยุ และคิดว่าช่องทางการประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่มี ประสิทธิภาพที่ทำให้ผู้คนเข้าถึง ข้อมูลมากที่สุด คือ การแจ้งข้อมูลข่าวสารต่อผู้นำชุมชน วิทยุชุมชน/หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น และการจัดประชุมใน พื้นที่โดยตรง เมื่อถามความคิดเห็นต่อการพัฒนาโครงการ ผู้ให้สัมภาษณ์ให้ความเห็นว่าการพัฒนาโครงการจะ ส่งผลดีหรือมีผลประโยชน์ในด้านการเพิ่มความสะดวกสบาย ประหยัดค่าใช้จ่าย และระยะเวลาในการเดินทาง กรมทางหลวงชนบท 8-94 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ทำให้มีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ช่วยอำนวยความสะดวกในการติดต่อราชการ รวมถึงทำให้สินค้าอุปโภค-บริโภคบน เกาะถูกลง อย่างไรก็ตามการพัฒนาโครงการอาจมีผลเสียในด้านการเกิดเสียงดังและฝุ่นละอองที่เพิ่มขึ้ นจาก กิจกรรมการก่อสร้าง รวมถึงปริมาณรถยนต์ที่เพิ่มขึ้นจากการเปิดใช้สะพาน และอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้น จากปริมาณรถยนต์ที่มาใช้โครงการ - ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ ทั้งนี้ ผู้ให้สัมภาษณ์มีข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ ในระยะก่อสร้างจาก “ปริมาณรถยนต์จำนวนมากจากการใช้โครงการ ซึ่งอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุมากขึ้น ” “พื้นที่ ชุมชนที่อยู่อาศัยไม่มีการกันที่จอดรถยนต์ อาจทำให้รถยนต์มาจอดริมถนนที่มีความคับแคบ” จึงแนะนำว่าโครงการ ควรจำกัดความเร็ว มีการจัดจราจรที่ชัดเจน และอาจขยายถนนให้กว้างขึ้น ทำเครื่องหมายห้ามจอดในพื้นที่คับแคบ หรือจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ - ความคิดเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ โดยภาพรวมแล้วผู้ให้สัมภาษณ์เห็นด้วยต่อการ พัฒนาโครงการ 3) สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 10 - ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ คือ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็น ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 10 ประมาณ 1 ปี จบการศึกษาสูงกว่าระดับปริญญาตรี - ความคิ ด เห็ นต่ อโครงการ จากการสอบถามถึง การรับ รู้ ข่า วสารข้ อมูล เกี่ ยวกับ การศึ ก ษา โครงการ พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์รับรู้ข่าวสารจากหน่วยงานในสังกัด และคิดว่าช่องทางการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ที่มีประสิทธิภาพที่ทำให้ผู้คนเข้าถึงข้อมูลมากที่สุด คือ การแจ้งข้อมูลข่าวสารต่อผู้นำชุมชน และการจัดประ ชุม ในพื้นที่โดยตรง เมื่อถามความคิดเห็นต่อการพัฒนาโครงการ ผู้ให้สัมภาษณ์ให้ความเห็นว่าการพัฒนาโครงการ จะส่งผลดีหรือมีผลประโยชน์ในด้านสร้างความเจริญในชุมชน เพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง ช่วยอำนวย ความสะดวกในการติดต่อราชการ รวมถึงทำให้สินค้าอุปโภค-บริโภคบนเกาะถูกลง อย่างไรก็ตามการพัฒนา โครงการอาจมีผลเสียในด้านการเกิดเสียงดังและฝุ่นละอองที่เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมการก่อสร้าง - ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ ทั้ ง นี้ ผู้ ให้ สัม ภาษณ์มีข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนา โครงการในระยะก่อสร้าง“เนื่องจากกิจกรรมการก่อสร้างอาจทำให้ทรัพยากรธรรมชาติบางส่วนถูกทำลายไป ส่งผลให้ ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง” จึงแนะนำว่าการศึกษารูปแบบการพัฒนาโครงการควรส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ ให้น้อยที่สุด - ความคิดเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ โดยภาพรวมแล้วผู้ให้สัมภาษณ์เห็นด้วยต่อการ พัฒนาโครงการ และมีข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมต่อการพัฒนาโครงการดังนี้ • การพัฒนาโครงการต้องปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • อยากให้มีการทำประชาคม รวมถึงการวิพากษ์จากชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ไ ด้ ข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่เป็นรูปธรรม เพื่อนำไปสู่การบริหารจัดการโครงการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อลดความขัดแย้ง ที่อาจเกิดขึ้นภายหลังได้ • สำหรับพื้นที่ป่าชายเลนเห็นควรขออนุมัติ ยกเว้นการใช้ประโยชน์ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2530 และวันที่ 22 สิงหาคม 2543 และวันที่ 17 ตุลาคม 2543 ก่อนดำเนินการ กรมทางหลวงชนบท 8-95 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 4) แขวงทางหลวงกระบี่ - ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ คือ ิ์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง เป็นผู้อำนวยการแขวงทางหลวงกระบี่ ประมาณ 10 ปี จบการศึกษาสูงกว่าระดับปริญญาตรี - ความคิ ด เห็ นต่ อโครงการ จากการสอบถามถึง การรับ รู้ ข่า วสารข้ อมูล เกี่ ยวกับ การศึ ก ษา โครงการ พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์รับรู้ข่าวสารจากหน่วยราชการอื่นๆ และคิดว่าช่องทางการประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่มี ประสิทธิภาพที่ทำให้ผู้คนเข้าถึงข้อมูลมากที่สุด คือ การแจ้งข้อมูลข่าวสารต่อผู้นำชุมชน วิทยุชุมชน/หนั งสือพิมพ์ ท้องถิ่น และการจัดประชุมในพื้นที่โดยตรง เมื่อถามความคิดเห็นต่อการพัฒนาโครงการ ผู้ให้สัมภาษณ์ให้ความเห็น ว่าการพัฒนาโครงการจะส่งผลดีหรือมีผลประโยชน์ในด้านการเพิ่มความสะดวกสบาย ประหยัดค่าใช้จ่าย และ ระยะเวลาในการเดินทาง ทำให้มีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น มีการกระจายรายได้เข้าสู่ท้องถิ่น ช่วยอำนวยความสะดวก ในการติดต่อราชการ รวมถึงทำให้สินค้าอุปโภค-บริโภคบนเกาะถูกลง อย่างไรก็ตามการพัฒนาโครงการอาจมี ผลเสียในด้านปริมาณรถยนต์ที่เพิ่มขึ้น และการเกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นจากกิจกรรมการก่อสร้าง - ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ โดยภาพรวมแล้วผู้ให้สัมภาษณ์เห็นด้วยและไม่มี ข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ 5) ศูนย์อนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนที่ 19 (ลันตา กระบี่) - ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ คือ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง เป็นเจ้าพนักงานป่าไม้ชำนาญการ ประมาณ 27 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี - ความคิดเห็นต่อโครงการ จากการสอบถามถึงการรับรู้ข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาโครงการ พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์รับรู้ข่าวสารจากแขวงทางหลวงกระบี่ บริษัทที่ปรึกษา ผู้นำชุมชน เพื่อนบ้าน/ญาติ และเคย เข้าร่วมการประชุมโครงการ และคิดว่าช่องทางการประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพที่ทำให้ผู้ค นเข้าถึงข้อมูล มากที่สุด คือ การแจ้งข้อมูลข่าวสารต่อผู้นำชุมชน และการจัดประชุมในพื้นที่โดยตรง เมื่อถามความคิดเห็นต่อการ พัฒนาโครงการ ผู้ให้สัมภาษณ์ให้ความเห็นว่าการพัฒนาโครงการจะส่งผลดีหรือมีผลประโยชน์ในด้านสร้างความ เจริญในชุมชน เพิ่มความสะดวกสบาย ประหยัดค่าใช้จ่าย และระยะเวลาในการเดินทาง ทำให้มีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น มีการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น ช่วยอำนวยความสะดวกในการติดต่อราชการ รวมถึงทำให้สินค้าอุปโภค -บริโภค บนเกาะถูกลง - ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ ทั้งนี้ ผู้ให้สัมภาษณ์มีข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ ในระยะก่อสร้างจาก “ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรป่าชายเลน จะถูกรบกวน ” จึงแนะนำว่าโครงการควรกันแนวพื้นที่ ก่อสร้างให้ชัดเจน เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อทรัพยากรต่างๆ - ความคิดเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ โดยภาพรวมแล้วผู้ให้สัมภาษณ์เห็นด้วยต่อการ พัฒนาโครงการเป็นอย่างมาก เนื่องจากการพัฒนาโครงการจะช่วยลดค่าใช้จ่าย ลดระยะเวลาในการเดินทาง เพิ่ม จำนวนนักท่องเที่ยวซึ่งเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชนให้ดีขึ้น 6) สมาคมคนรักเลกระบี่ - ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ คือ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง เป็นนายกสมาคมคนรักเลกระบี่ ประมาณ 4 ปี จบการศึกษาระดับ กรมทางหลวงชนบท 8-96 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน - ความคิ ด เห็ นต่ อโครงการ จากการสอบถามถึง การรับ รู้ ข่า วสารข้ อมูล เกี่ ยวกับ การศึ ก ษา โครงการ พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์รับรู้ข่าวสารจากผู้นำชุมชน บริษัทที่ปรึกษา และคิดว่าช่องทางการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลที่มีอยู่ประสิทธิภาพที่ทำให้ผู้คนเข้าถึงข้อมูลมากที่สุด คือ ทำจดหมาย/เอกสาร แจ้งต่อประชาชนโดย ตรง แจ้งข้อมูลข่าวสารผ่านผู้นำชุมชน และจัดประชุมในพื้นที่โดยตรง เมื่อถามต่อการพัฒนาโครงการ ผู้ให้สัมภาษณ์ ให้ความเห็นว่าการพัฒนาโครงการจะส่งผลดีหรือมีผลประโยชน์ในด้านการเพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทาง สร้างความเจริญในชุมชน ทำให้มีนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทาง และช่วย ช่วยให้การติดต่อราชการที่อำเภอสะดวกขึ้น อย่างไรก็ตามการพัฒนาโครงการอาจมีผลเสียในด้านความสวยงาม ของสภาพแวดล้อม/ทัศนียภาพที่ลดลงและปริมาณรถยนต์ที่เพิ่มขึ้นจากการเปิดใช้สะพาน - ความวิตกกังวลต่อการพัฒนาโครงการ ทั้งนี้ ผู้ให้สัมภาษณ์มีข้อวิตกกังวลต่อการพัฒนา โครงการในระยะเปิดใช้งาน “เนื่องจากเมื่อมีการเปิดใช้สะพานแล้ว ความเป็นธรรมชาติของเกาะลันตาอาจจะ หายไป” จึงแนะนำโครงการว่าขอให้โครงการทำตามมาตรการที่ได้ศึกษาไว้ - ความคิดเห็นโดยรวมของท่านต่อโครงการ โดยภาพรวมแล้วผู้ ให้สัมภาษณ์เห็นด้วยต่อการ พัฒนาโครงการ 8.8.10 การประสานงานหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1) การประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดกระบี่ (รูปที่ 8.8.10-1) ที่ปรึกษาได้ดำเนินการประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดกระบี่ เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุมแขวงทางหลวงชนบทกระบี่ ซึ่งผลจากการประชุมหารือในครั้งนี้สรุปได้ว่าการไฟฟ้าภูมิภาค จังหวัดกระบี่ มีความประสงค์ที่จะขอฝากสายส่งขนาด 33 kv. จำนวน 4 วงจรกับโครงสร้างสะพาน สำหรับแนว สายไฟฟ้าที่มีอยู่ในปัจจุบันทั้งสายเดิน อากาศและฝังใต้ทะเลที่วางอยู่ใกล้กับแนวก่อสร้างสะพานนั้น ทางโครงการ จะต้องมีการประชุมหารือร่วมกัน เพื่อกำหนดแนวสายไฟฟ้าชั่วคราวระหว่างการรื้อย้ายและวางแนวสายไฟฟ้าใหม่ นอกจากนี้ ทางบริษัท TOT ยังมีความประสงค์จะขอฝากสายเคเบิ้ลใยแก้วกับโครงสร้างสะพานในครั้งนี้ เนื่องจาก ปัจจุบันไม่มีแนวสายสื่อสารเข้ามาพื้นที่มาเกาะลันตา รูปที่ 8.8.10-1 บรรยาการการประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-97 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน 2) การประชุมหารือการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม (รูปที่ 8.8.10-2) ที่ปรึกษาได้ดำเนินการการประชุมหารือกับการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม เมื่อวันที่ 13 สิ ง หาคม พ.ศ. 2563 ณ ห้ องประชุ ม สภาองค์ การบริ หารส่ วนตำบลเกาะลั นตาน้อย โดยผู ้ แทนการประปา ส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม นำโดย ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม พร้อมด้วย น ์ ต่อติด หัวหน้างานบริการและควบคุมน้ำสูญเสีย เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริ หาร ส่วนตำบลเกาะลันตาน้อย เพื่อชี้แจงรายละเอียดการขอใช้ที่ดินสำหรับดำเนินการตามแผนงานของการประปา ส่วนภูมิภาค แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม อำเภอคลองท่อม - เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (โครงการเพื่อพัฒนาปี 2565 งบประมาณประจำปี 2566) ณ องค์การบริหารส่วนตำบล เกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่ งที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้ การประปาส่วนภูมิภาคสาขา คลองท่อมใช้ที่ดินสำหรับโครงการดังกล่าว จำนวน 2 ไร่ รูปที่ 8.8.10-2 บรรยาการการประชุมหารือการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม ต่อมา เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เวลา 09.00 น. การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม ภายใต้การบริหารงานโดย ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม ในการนี้ ผู้อำนวยการกองแผนงานโครงการ 1 พร้อมด้วย ผู้จัดการการ ประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อมและคณะ ได้เข้าร่วมการประชุมเพื่อชี้แจงพิจารณาจัดทำประชาคมเรื่องการใช้ น้ำประปาของ กปภ. ในพื้นที่ตำบลเกาะลันตาใหญ่ หมู่ที่ 5 , 6 และ 8 สำหรับดำเนินการตามแผนงานของการ ประปาส่วนภูมิภาค แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายการประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม อำเภอ คลองท่อม - เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ (โครงการเพื่อพัฒนาปี 2565 งบประมาณประจำปี 2566) ณ โรงแรม เซาเทิร์น ลันตารีสอร์ท อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้ การประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อมสามารถดำเนินงานตามแผนงานโครงการก่อสร้างดังกล่าวได้ (รูปที่ 8.8.10-3) กรมทางหลวงชนบท 8-98 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ที่มา : ข่าวภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค รูปที่ 8.8.10-3 การประชุมเพื่อชี้แจงพิจารณาจัดทำประชาคมเรื่องการใช้น้ำประปา ่ ำบลเกาะลันตาใหญ่ ของการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ในพื้นทีต การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) เดินหน้าเร่งก่อสร้างระบบผลิตน้ำประปาจากผิวดินและจากน้ำทะเล ขนาดกำลังผลิตวันละ 2,400 ลบ.ม. เพื่อส่งจ่ายน้ำประปาให้บริการแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยวบนเกาะลันตา จั ง หวัดกระบี่ ภายหลังได้ รับการสนับสนุนจากประชาชนในพื้นที่ เนื่ องจากบนเกาะใช้ น้ำประปาจากท้องถิ่น ซึ่ ง มีปริมาณไม่ เพียงพอต่อความต้องการใช้น้ำประปาที่เพิ่มขึ้นมาก กปภ.เขต 4 และ กปภ.สาขาคลองท่อม จึ ง สำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการจัดทำโครงการก่ อสร้างระบบผลิ ตน้ำประปาในพื้นที่ หมู่ 5 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผลปรากฏว่าประชาชนให้ก ารสนับสนุนอย่างเต็มที่ กปภ. จึงขออนุมัติใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์คลองจาก ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่หมู่ 5 ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เนื้อที่ประมาณ 15 ไร่ 60 ตารางวา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาคลองท่อม มีแผนดำเนินการโครงการปรับปรุงขยายประปาส่วนภูมิภาค สาขาคลองท่อม มายังเกาะลันตา ซึ่งเป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ของการประปาภูมิภาค โดยในกรณีที่มีการ ก่อสร้างสะพานเชื่อมเกาะลันตา การประปาภูมิภาคจะประสานงานกับกรมทางหลวงชนบทในการขอติดตั้งระบบ ท่อประปาภายในโครงสร้าง Segmental Box Girder ของสะพานเชื่อมเกาะลันตาต่อไป 3) การประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สำนักงานใหญ่ (รูปที่ 8.8.10-4) ที่ปรึกษาได้ดำเนินการการประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สำนักงานใหญ่ เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2564 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 12 อาคาร 1 กรมทางหลวงชนบท ซึ่งมีประเด็นการรื้อย้ายสายไฟฟ้าแรงสูง ชั่วคราว ขนาด 33 KV. ขั้นตอนการรื้อย้ายสายไฟฟ้าบริเวณเชิงลาดสะพานและการรื้อย้ายสายไฟฟ้าแรงสูง เป็นการชั่วคราว ขนาด 33 KV. รวมทั้งหารือเกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาโครงการ เพื่อการออกแบบร่วมกัน และ จัดเตรียมแผนฯ เพื่อนำแนวสายไฟฟ้าแรงสูงขนาด 110 KV. เกาะไปกับโครงสร้างสะพานของโครงการ กรมทางหลวงชนบท 8-99 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน รูปที่ 8.8.10-4 บรรยากาศการประชุมหารือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) สำนักงานใหญ่ 4) การประชุมหารือโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ ที่ปรึกษาได้เข้าหารือโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2563 เพื่อขอทราบ แนวทางการใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่ -เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ ซึ่งม โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ เป็นประธานการประชุม ( รูปที่ 8.8.10-5) สรุปได้ว่าผังเมืองรวมชุมชน เกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 ได้ประกาศใช้บังคับเป็นกฎกระทรวงในราชกิจจา- นุ เบกษา เล่ ม ที ่ 133 ตอนที ่ 112 ก เมื ่ อวั น ที ่ 29 ธั น วาคม 2559 ครอบคลุ ม พื ้ น ที ่ ต ำบลเกาะลั น ตาใหญ่ ประกอบด้วย 8 หมู่บ้าน และพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน มีพื้นที่ประมาณ 181.139 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 113,211 ไร่ มีบทบาทเป็นชุมชนศูนย์กลางที่ให้บริการด้านเศรษฐกิจ สังคม สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ เป็นประธานการประชุม รูปที่ 8.8.10-5 บรรยากาศการประชุมเข้าหารือกับโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ กรมทางหลวงชนบท 8-100 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน (1) การใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่ -เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ การใช้บังคับ ผังเมืองรวมฯ จะมีการประเมินผลผังเมืองรวมทุกๆ 4 ปี ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณา ด้ า นการผั ง เมื อง ครั้ ง ที่ 6/2564 เมื่ อวั น พุ ธ ที่ 24 มี น าคม 2564 ณ ห้ องประชุ ม 41 501 อาคาร 4 ชั้ น 15 กรมโยธาธิการและผังเมือง ถนนพระราม 9 กรุงเทพฯ โดยมี อธิบดี กรมโยธาธิการและ ผั ง เมื อง เป็ น ประธานการประชุ ม ซึ่ ง ผลจากการประชุ ม ในครั้ ง นี้ พบว่ า ผั ง เมื องรวมชุ ม ชนเ กาะลันตาใหญ่- เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 ได้กำหนดเป้าหมายการวางผัง ปี พ.ศ. 2571 โดยใช้อัต ราการเพิ่ม ร้อยละ 3.33 ต่อปี ให้สามารถรองรับประชากรได้ 47,300 คน และจากการศึกษาสภาพการณ์ และสิ่งแวดล้อม การใช้บังคับผังเมืองรวมฯ มีการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมไปไม่มาก โดยผลจากการประเมินปัจจัย ในด้านต่างๆ ได้แก่ ความหนาแน่นของประชากร การใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพเศรษฐกิจและสังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ ่ ง แวดล้ อม การคมนาคมและการขนส่ ง และนโยบายหรื อโครงการรั ฐ พบว่ า พื ้ น ที ่ ย ั ง สามารถรองรับ การขยายตั ว ของชุ ม ชนได้ ในอนาคตและยั ง มี ความเพี ย งพอต่ อการให้ บ ริ ก าร โดยมติ ที่ ป ระชุ ม จึ ง เห็ น ชอบ การประเมินผลกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่-เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 โดยไม่ปรับปรุงฯ (2) ขั้นตอนการขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรมในพื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ การจดทะเบียน ประกอบธุรกิจโรงแรมต้องดำเนินการตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยสิ่งแวดล้อม กฎหมายว่า ด้วยควบคุมอาคาร กฎหมายว่าดัวยผังเมือง และกฎหมายอื่น ๆ โดยมีขั้นตอนการขออนุญาตก่อสร้างฯ ดังนี้ ก) ผู้ขออนุญาตนำโฉนดที่ดิน มาขอตรวจสอบข้อกำหนดต่างๆ ตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับ สำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่ ได้แก่ - กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะลันตาใหญ่ - เกาะลันตาน้อย จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 และใช้อยู่ถึงปัจจุบัน - กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 - กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในพื้นที่บางส่วนในท้องที่อำเภอเกาะลันตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง และอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 ตาม พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 - กฎกระทรวงกำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในพื้นที่บางส่วนในท้องที่อำเภอเกาะลันตา อำเภอคลองท่อม อำเภอเมืองกระบี่ พ.ศ. 2557 ตาม พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 - ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และ มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2559 - ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (วันที่ 4 มกราคม 2562) ตาม พรบ. ส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ดังเอกสารท้ายประกาศ 6 ขั้นตอนในการเสนอรายงานการประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดังแสดงในตารางที่ 8.8.10-1 กรมทางหลวงชนบท 8-101 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ตารางที่ 8.8.10-1 ประเภทโครงการหรือกิจการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลำดับ ประเภทโครงการ กิจการ หรือการดําเนินการ ขนาด ขั้นตอนในการเสนอรายงาน 27 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษตามกฎหมาย ที ่ ม ี ค วามสู ง ตั ้ ง แต่ 23 ในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหาก ว่าด้วยการควบคุมอาคารซึ่งมีลักษณะที่ตั้งหรือการ เมตร ขึ้นไปหรือมี พ ื ้ นที่ ใช้ ว ิ ธ ี ก ารแจ้ ง ต่ อ เจ้ า พนั ก งาน ใช้ประโยชน์ในอาคารอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ รวมกั น ทุ ก ชั ้ น หรื อ ชั้ น ท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการ 2.7.1 อาคารที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำตามเอกสารท้ายประกาศ หนึ ่ งชั ้ นใดในหลั งเดี ย ว ควบคุ ม อาคาร โดยไม่ ย ื ่ น ขอรั บ 2 ฝั่งทะเล หรือทะเลสาบ หรือชายหาด หรือ กันตั้งแต่ 10,000 ตาราง ใบอนุญาต ให้เสนอในขั้นการแจ้ ง ที่ตั้งอยู่ใกล้ หรืออยู่ในอุทยานแห่งชาติห รื อ เมตรขึ้นไป ต่ อเจ้ าพนั ก งานท้ อ งถิ ่ น แล้ ว แต่ อุทยานประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นบริเวณที่อาจจะ กรณี ก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2.7.2 อาคารที ่ ใช้ ในการประกอบธุ รกิ จค้ าปลี กหรือ ค้าส่ง 27.3 อาคารที่ใช้เป็นสํานักงานหรือที่ทําการของเอกชน 28 การจัดสรรที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบ ที ่ ม ี จ ํ า นวนที ่ ด ิ น แปลง ในขั้นขออนุญาตจัดสรรที่ดิ น ตาม การพาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ย่อย ตั้งแต่ 500 แปลง กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ขึ ้ น ไปหรื อ มี เ นื ้ อ ที ่ เ กิ น กว่า 100 ไร่ 29 โรงพยาบาลหรื อ สถานพยาบาลตามกฎหมายว่ า ที่มีเตียงสำหรับผู้ป่วยไว้ ในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหาก ด้วยสถานพยาบาล ค้ างคื นตั ้ งแต่ 30 เตี ยง ใช้ ว ิ ธ ี ก ารแจ้ ง ต่ อ เจ้ า พนั ก งาน 29.1 กรณีตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำ ตามเอกสารท้ายประกาศ ขึ้นไป ที่มีเตีย งสํ า หรั บ ท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการ 2 ฝั ่ งทะเล ทะเลสาบหรื อชายหาด ในระยะ ผู้ป่วยไว้ ค้ างคื น ตั้งแต่ ควบคุ ม อาคาร โดยไม่ ย ื ่ น ขอรั บ 50 เมตร 60 เตียงขึ้นไป ใบอนุญาต ให้เสนอในขั้นการแจ้ ง 29.2 กรณีโครงการที่ไม่อยู่ในข้อ 29.1 ต่ อเจ้ าพนั ก งานท้ อ งถิ ่ น แล้ ว แต่ กรณี 30 โรงแรมหรือสถานที่พักตากอากาศตามกฎหมายว่า ที่มีจ ํานวนห้องพักตั้งแต่ ในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหาก ด้วยโรงแรม 80 ห้องขึ้นไป หรือมีพื้นที่ ใช้ ว ิ ธ ี ก ารแจ้ ง ต่ อ เจ้ า พนั ก งาน ใช้ ส อยตั ้ ง แต่ 4,000 ท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการ ตารางเมตรขึ้นไป ควบคุ ม อาคาร โดยไม่ ย ื ่ น ขอรั บ ใบอนุญาต ให้เสนอในขั้นการแจ้ ง ต่ อเจ้ าพนั ก งานท้ อ งถิ ่ น แล้ ว แต่ กรณี 31 อาคารอยู่อาศัยรวมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม ที่มีจ ํานวนห้อ งชุ ด หรื อ ในขั้นขออนุญาตก่อสร้าง หรือหาก อาคาร ห้ อ งพั ก ตั ้ ง แต่ 80 ห้ อ ง ใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้สอย ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม ตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตร อาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาต ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ที่มา : ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 136 ตอนพิเศษ 3 ง วันที่ 4 มกราคม 2562) กรมทางหลวงชนบท 8-102 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ข) ในกรณีที่สำนักโยธาธิ การและผังเมืองจังหวัดกระบี่ พิจารณาตรวจสอบโฉนดที่ดินแล้วว่า ไม่ขัดต่อกฎหมายใดๆ ให้ผู้ขออนุ ญาตฯ จัดส่งเอกสารหลักฐานต่างๆ ได้แก่ โฉนดที่ดิน แบบแปลนแผนผัง พร้อมรายการประกอบแบบแปลนแผนผังอาคารโรงแรมที่วิศวกรและสถาปนิก ผู้ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ลงชื่อรับรอง แผนที่แสดงบริเวณและสถานที่ตั้งของโรงแรมและสถานที่ใกล้เคียง รวมทั้งหลักฐานแสดงความเป็น เจ้าของอาคารหรือสถานที่ที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรมหรือหนังสือยินยอมให้ใช้อาคารหรือสถานที่ที่ขออนุญาต ประกอบกิจการพาณิชย์ในกรณีที่อาคารหรือสถานที่นั้นเป็นของผู้อื่น ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ที่ขออนุญาตพิจารณาตรวจสอบ ค) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดส่งหนังสือและเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการ ขออนุญาตให้สำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกระบี่พิจารณา เพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม 5) การหารือด้านการจัดการขยะมูลฝอยกับสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดกระบี่ ที ่ ป รึ กษาได้ ต ิด ต่อประสานงานกับ ผู ้แทนสำนักงานส่ง เสริ ม การปกครองท้ องถิ ่ นจั ง หวั ดกระบี่ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 เกี่ยวกับแผนการบริหารจัการขยะมูลฝอยในพื้นที่จังหวัด กระบี่ พบว่าจังหวัดกระบี่ บริหารจัดการขยะภายใต้แผนแม่ทบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ จังหวัดกระบี่ โดยสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดกระบี่ ได้ประสานองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) ทุกแห่งให้ดำเนินการบริหารจัดการขยะตามแผนแม่ทบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของ ประเทศ (พ.ศ. 2559-2564) ดำเนินการภายใต้แนวทาง 3 ขั้นตอน คือ ต้นทางมีการลดปริมาณ และคัดแยกขยะ มูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด ด้วยการรณรงค์ให้ลดการใช้ หรือใช้เท่าที่จำเป็ น นำมาใช้ซ้ำหรือการนำมาใช้ใหม่ ส่วนขยะเปียก นำมาทำขยะอินทรีย์หรือปุ๋ยชีวภาพ และมีอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอย กลางทาง เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บขยะมูลฝอย ของ อปท. โดยแบ่งประเภทถังขยะ เพื่อง่ายต่อการคัดแยก เช่น ถังเขียวใส่ขยะอินทรีย์ ถังขยะสีเหลืองใส่ขยะรีไซเคิล ถังขยะสีน้ำเงินใส่ขยะทั่วไป และถังขยะสีส้มหรือแดง ใส่ขยะอันตราย และมีกิจกรรมเสริม เช่น ขยะแลกไข่ ส่วนปลายทางมีการกำจัดขยะอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ซึ่งการบริหารจัดการขยะได้มีการวางแผนและการกำหนดเวลาจัดเก็บที่ไม่กระทบต่อพื้นที่ การจำกัดขยะระบบปิดแบบเผาตรงจะไม่ส่งกระทบในเรื่องของกลิ่น ควัน และมลพิษ รวมถึงน้ำชะขยะ สามารถนำไปบำบัดและกลับมาใช้ในระบบโรงไฟฟ้าได้ทั้งหมด เป็นเทคโนโลยีจากเยอรมัน แต่นำมาประยุกต์ใช้ ในเชิงดีไซน์ เนื่องจากขยะประเทศไทยมีความชื้นสูงกว่าและมีขยะหลากหลายชนิด อย่างไรก็ตาม เนื่องจากขยะเก่า ในจังหวัดกระบี่มีอยู่ประมาณ 800,000 ตัน และต้องมีการกำจัดขยะใหม่ด้วย จึงได้ตั้งเป้าจะจำกัดขยะเก่าให้หมด ภายใน 10 ปี และจะปรับปรุงพื้นที่เป็นสวนสาธารณะ ประชาชนสามารถเข้ามาใช้บริการได้ สิ่งสำคัญที่สามารถ กำจัดขยะสดได้นั้น คือการเผาไหม้ที่มีอุณหภูมิความร้อนสูงถึง 1 ,000 องศาเซลเซียส ซึ่งไอร้อนที่เกิดขึ้นมีระบบ ทำความสะอาดที่เข้มข้นกว่า 5 ระบบ ก่อนที่อากาศจะออกจากปล่อง ซึ่งต้องบริสุทธิ์และได้ตามมาตรฐาน” องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีการจัดทำ กลุ่ม Cluster โดยจังหวัดกระบี่ตอนใต้ เป็น cluster ที่มี อบต.พรุดินนา อ.คลองท่อม เป็นเจ้าภาพ ส่วน Cluster ตอนบนมีเทศบาลเมืองกระบี่เป็นเจ้าภาพ อปท.16 แห่ง และหน่วยงานอื่นๆ ร่วมทำ MOU นำขยะเข้าสู่โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ (รูปที่ 8.8.10-6) ตั้งอยู่ที่ตำบลไสไทย อ.เมือง จ.กระบี่ ซึ่งเป็นการลงทุนร่วมกับ บริษัท อันไล แอนดซ์ คลีน เพาเวอร์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยในเครือ บริ ษ ั ท ACE รั บ ปริ ม าณขยะได้ ว ั น ละ 500 ตั น ผลิ ต ไฟฟ้ า จากขยะ 6 เมกกะวั ต ต์ เสนอขายการไฟฟ้ า 4.4 เมกกะวัตต์ ซึ่งปัจจุบันได้เริ่มเดินเครื่องจำหน่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ ( COD) ให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เรียบร้อยตั้งแต่วันที่ 28 ธันวาคม 2563 กรมทางหลวงชนบท 8-103 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน ้ อยู่ที่ตำบลไสไทย อ.เมือง จ.กระบี่ รูปที่ 8.8.10-6 โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ ตัง 6) การประสานกับงานกับกรมทางหลวง ทางหลวงหมายเลข 4206 อยู ่ ในการดู แลของกรมทางหลวง ซึ ่ งจากการตรวจสอบพื ้ นที ่ก่ อสร้าง โครงการฯ พบว่า แนวเส้นทางโครงการบางช่วงตั้งอยู่บนทางหลวงหมายเลข 4206 (บริเวณจุดต้นทาง ฝั่งตำบล เกาะกลาง) โดยกรมทางหลวงมีอํานาจตาม พรบ.ทางหลวง พ.ศ. 2535 มาตรา 37 หามมิใหผูใดสรางทาง ถนน หรือสิ่งอื่นใดในเขตทางหลวง เพื่อเปนทางเขาออกทาง หลวงเวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากผูอํานวยการ ทางหลวงหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจาก ผูอํานวยการทางหลวง ในการอนุญาตผูอํานวยการทางหลวงหรือผูซึ่งไดรับ มอบหมายจากผู อํานวยการทางหลวงจะกําหนดเงื่อนไขอยางใดก็ได รวมทั้งมีอํานาจกําหนดมาตรการในการ จัดการเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม การปองกันอุบัติภัยและการติดขัดของการจราจร ผลการเข้าหารือกับ ์ วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษกรมทางหลวง เมื่อวันศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ชั้น 6 ห้องประชุมสำนักสำรวจและออกแบบกรมทางหลวง ( รูปที่ 8.8.10-7) สรุปได้ว่า เมื่อโครงการฯ ได้รับความเห็นชอบรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ( EIA) จาก ครม. เพื่อประกอบการ ขออนุมัติก่อสร้างโครงการแล้ว กรมทางหลวงชนบทจะดำเนินการขออนุญาตเชื่ อมทาง ทล.4206 กับโครงการ สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง-ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และขอรับมอบ พื้นที่ก่อสร้างจากกรมทางหลวง พร้อมทั้งจะปฏิบัติตามเงื่อนไขต่าง ๆ ในการอนุญาตให้เชื่อมทาง ซึ่งกรมทางหลวง ได้กำหนดเป็นมาตรการในการจัดการเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม การปองกันอุบัติภัย และการติดขัดของการจราจรไว้แล้ว 7) การประสานงานกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ที่ปรึกษาได้ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ส่วนอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าชายเลน กองอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ณ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2565 เพื่อขอความ อนุเคราะห์ข้อมูล “ระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการปลูกและบำรุงป่าชายเลนทดแทน เพื่อการอนุรักษ์หรือรักษาสภาพแวดล้อม กรณี การดำเนินการโครงการใด ๆ ของหน่วยงานรัฐที่มีความจำเป็น ต้องเข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชายเลน พ.ศ. 2556” นำมาประกอบการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมของโครงการฯ เรียบร้อยแล้ว กรมทางหลวงชนบท 8-104 รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Report) บทที่ 8 สะพานเชื่อมเกาะลันตา ตำบลเกาะกลาง – ตำบลเกาะลันตาน้อย อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ งานการมีส่วนร่วมของประชาชน รูปที่ 8.8.10-7 การประชุมหารือกับกรมทางหลวง เมื่อวันศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ชั้น 6 ห้องประชุมสำนักสำรวจและออกแบบกรมทางหลวง - กรมทางหลวงชนบท ต้องจัดตั้งงบประมาณให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ดำเนินการ ปลูกป่าชายเลนทดแทน 20 เท่า (1.2 ×20 = 24 ไร่) ของพื้นที่ป่าชายเลนที่ต้องสูญเสียไป โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เป็นผู้สำรวจ คัดเลือกพื้นที่และกำหนดชนิดพันธุ์ไม้ที่เหมาะสมในการปลูก และบำรุงรักษา - กรมทางหลวงชนบทประสานงานกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ในการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายปลูกป่าชายเลนทดแทนในปีที่ 1 ระยะดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง (อายุ 2-6 ปี) เป็นเวลา 5 ปี โดยให้ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งพิจารณาพื้นที่ที่เ หมาะสมในการปลูกป่าชายเลนทดแทนที่ต้องสูญเสียไป จากการดำเนินโครงการ - การปลูกและบำรุงป่าชายเลนทดแทนเพื่อการอนุรักษ์หรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้ดำเนินการ ในพื้นที่จังหวัดที่ดำเนินโครงการ หรือในพื้นที่จังหวัดใกล้เคียง ตามลำดับ - ดำเนินการตามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการปลูกบำรุงป่าชายเลน ทดแทนเพื่อการอนุรักษ์หรือรักษาสภาพแวดล้อม กรณีการดำเนินการโครงใด ๆ ของหน่วยงานรัฐที่มีความจำเป็น ต้องเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชายเลน พ.ศ. 2556 “ข้อ 6 หน่วยงานของรัฐที่เข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชายเลน ต้องจัด งบประมาณให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปลูกป่าชายเลนทดแทน ไม่น้อยกว่า 20 เท่า ของพื้นที่ป่าชายเลนที่ใช้ประโยชน์ โดยให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินโครงการสำหรับ การพัฒนาค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามมาตรฐานที่สำนักงบประมาณกำหนด รวมทั้งเงื่อนไขและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติกำหนด” - ดำเนินการตามแนวทางปฏิบัติตามระเบียบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ว่าด้วยการ ปลูกป่าและบำรุงรักษาป่าชายเลน พ.ศ. 2564 เพื่อให้การปฏิบัติเกี่ยวกับการปลูกป่าและบำรุงป่าชายเลนเป็นไป ในทางเดียวกัน กรมทางหลวงชนบท 8-105